Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Description: Art

Search

Read the Text Version

แนวคดิ และแรงบนั ดาลใจ ทางศลิ ปะ

ความรู้เบือ้ งต้นเก่ียวกับศลิ ปะและการส่ือสาร แรงบนั ดาลใจ (Inspiration) >>>> แรงบันดาลใจ คือ พลังอาํ นาจในตนเอง ชนิดหน่ึง ท่ีใช้ในการขับเคล่ือนการคิด กระตุ้น หรื อจูงใจให้ เกิด แนวคิด กระบวนการท่ี สร้ างสรรค์โดยมีวัตถุประสงค์เพ่ือตอบสนอง ความต้ องการทางจิตใจ มักเกิดจากความ ประทับใจ หรือสะเทือนใจ ต่อส่ิงต่างๆท่ีอยู่ รอบตัว ช่วยให้มนุษย์เรากระทําการสร้างสรรค์ งานได้โดยอสิ ระ

ความรู้เบอื้ งต้นเก่ียวกับศลิ ปะและการส่ือสาร สถานท่ี บุคคล เหตุการณ์ ช่วงเวลา การได้สัมผัส ผ่านประสาทสัมผัสทงั้ 5 แรงบนั ดาลใจ inspiration

ความรู้เบอื้ งต้นเก่ียวกับศลิ ปะและการส่ือสาร ความคดิ สร้างสรรค์ [Creative Thinking] ความคิดสร้ างสรรค์ มักเป็ นความคิดเชิงบวก ผลท่ีได้ จะเป็ น ประโยชน์กับคนหมู่มากหรือส่วนใหญ่ มากกว่าการจะคดิ หรือประดษิ ฐ์ส่ิงใด เพ่ือคนไม่ก่ีคน ความคิดสร้างสรรค์ท่ีเห็นได้ชัดเจนและเข้าใจได้ง่าย คงจะ เป็ นส่วนเก่ียวข้องกับปัจจัย 4 ท่ใี ช้ในการดาํ เนินชีวิตเป็ นหลัก เพราะมนุษย์ บนโลกต้ องพ่ึงพาอาศัยปั จจัยส่ี การคิดค้ นหรือการประดิษฐ์ อุปกรณ์ เคร่ืองมือเคร่ืองใช้ ต้ององิ กับปัจจัยส่ีท่จี าํ เป็ นในการดาํ รงชีวิตในแต่ละวัน

ความรู้เบือ้ งต้นเก่ียวกับศลิ ปะและการส่ือสาร ผู้สร้ างงานศิลปะหรือศิลปิ นอาจจะกําหนดแบ่งเรียกออกไปตาม ลักษณะงานท่สี ร้าง โดยมีช่ือเรียกท่ตี ่างกัน คือ จติ รกร หมายถงึ การเรียกศลิ ปิ นผู้สร้างสรรค์งานจติ รกรรม ประตมิ ากร หมายถงึ การเรียกศิลปิ นผู้สร้างสรรค์งานประตมิ ากรรม สถาปนิก หมายถงึ การเรียกศิลปิ นผู้สร้างสรรค์สถาปัตยกรรม นอกนัน้ การสร้างสรรค์ศิลปะลักษณะอ่ืน ๆ มักจะเรียกผู้สร้างสรรค์ว่าเป็ น ศิลปิ นแทบทั้งสิน้ การท่ีศิลปิ นจะสร้ างงานศิลปะขึน้ มา ย่ อมต้ องมี กระบวนการของพฤตกิ รรม ในการสร้างงานศลิ ปะ ดงั นี้

ความรู้เบอื้ งต้นเก่ียวกับศลิ ปะและการส่ือสาร กระบวนการของพฤตกิ รรม ในการสร้างงาน ศลิ ปะ 1. ท่มี าของการสร้างงานศลิ ปะ สาเหตุหรือที่มาที่ศิลปิ นในการสร้ างงานศิลปะ ย่อม Vincent Van แตกต่างกันออกไป สุดแท้แต่ผู้สร้ างงานนัน้ จะให้ความกระจ่าง เหตทุ ี่สร้างอาจเพราะอย่วู ่าง ไม่รู้จะทําอะไร อาจสร้างเพราะใจรัก Gogh ศิลปิ นสมยั อิมเพรสชั่น นิสต์ ซ่ึงมีแนวทางสร้าง งานศิลปะอย่างมี เอกลกั ษณ์เฉพาะตวั เพื่อความเพลิดเพลิน เพื่อขาย เพ่ือสะท้อนสภาพสงั คม อาจเพื่อ บันทึกสภาพเหตุการณ์ หรือความทรงจําที่ประทับใจ หรืออาจ เพราะแรงกดดนั ท่ีต้องการ หาทางระบายอารมณ์ และเหตผุ ลอื่น ๆ อนั เป็ นสาเหตผุ ลกั ดนั ให้สร้างงานนนั้ ๆ ออกมา http://203.158.253.5/wbi/Education

ความรู้เบอื้ งต้นเก่ียวกับศลิ ปะและการส่ือสาร ภาพ TheScream, 2. แรงบันดาลใจของการสร้างงานศิลปะ 1893. พฤติกรรมการแสดงออกของมนุษย์แต่ละครัง้ ย่อมต้อง โดยศิลปิ น Edvard ได้รับการกระต้นุ จากส่ิงเร้าหรือแรงบนั ดาลใจ ซึ่ง แรงบนั ดาลใจ Munch แบง่ ออกเป็ น 2 ประเภท คอื 2.1 แรงบันดาลใจภายนอก ได้แก่ สรรพส่ิงที่ เป็ นสภาพแวดล้อมรอบ ๆ ตัวศิลปิ น อันอาจได้แก่ คน สัตว์ ทิวทศั น์ สิง่ ของ ขนบธรรมเนียมประเพณี เช่น ธรรมชาติที่งดงาม ความยากจน ความทารุณโหดร้ าย การกดข่ีข่มเหง เป็ นต้น แล้ วเกิดความสะเทือนใจต่อแรงบันดาลใจนัน้ ก่อให้ เกิด ความรู้สกึ และจินตนาการขนึ ้ และถ่ายทอดความรู้สกึ นนั้ ออกมา เป็ นผลงานศิลปะ ฯลฯ ท่ีล้วนสามารถกระต้นุ ให้เกิดแรงบนั ดาล ใจได้ทงั้ สนิ ้

ความรู้เบอื้ งต้นเก่ียวกับศลิ ปะและการส่ือสาร TheScream, 1893. โดยศิลปิ น Edvard Munch ภ า พ ว า ด \" ห วี ด \" ห รื อ \" The Scream\" ผลงานภาพวาดชิน้ เอกของ\"เอ็ดเวิร์ด มุงค์\" ศิลปิ นชาวนอร์เวย์ ภาพนีเ้ ป็ นท่ีรู้จักอย่าง กว้างขวางในวงการศิลปะทั่วโลก เน่ืองจากเป็ น ภาพของชายท่ีกําลงั ทําท่ากรีดร้องและเอามือป้ อง หอู ารมณ์หวาดกลวั ที่ส่ือออกมาชดั เจนและการให้ สีสันท่ีสะท้ อนการดํารงอยู่ของความกังวล และความท้อแท้สิน้ หวงั ในโลกปัจจบุ นั ถกู ประมลู ด้วยราคาถึง 119.9 ล้านดอลลาร์สหรัฐ (ประมาณ 3,597 ล้ านบาท) ที่สถาบันประมูลซอร์ เธอบี นครนิวยอร์ก และนบั เป็นภาพวาดของศิลปิ นระดบั โลกทท่ี าํ ราคาประมลู ได้สงู ทสี่ ดุ ในโลก

ความรู้เบอื้ งต้นเก่ียวกับศลิ ปะและการส่ือสาร \"Nude, Green Leaves and Bust\" ภาพวาด น้ดู ใบไม้สีเขียว และรูปสลกั ของปิ กสั โซ ถกู ประมลู ไปด้วยราคา 106.5 ล้านดอลลาร์สหรัฐ (ประมาณ 3,195 ล้านบาท) เมื่อปี 2010 คําอธิบายภาพวาดนี ้โดย Glenys Roberts โดยภาพวาดนี ้ ของปิ กสั โซวาดขนึ ้ เมื่อปี 1932 โดยนางแบบเปลือยในภาพคอื Marie-Therese Walter สาวน้อยวยั 17 ปี (ช้รู ักของ ปิ กสั โซ) 1 หากสงั เกตดีๆ บริเวณด้านข้างของรูปสลกั จะเห็นภาพโครงหน้า ท่ีเห็นจมกู ริมฝี ปาก และเจ้าของ ใบหน้านนั้ ก็คือ ปิ กสั โซ ซงึ่ อธิบายได้ถึง ความสมั พนั ธ์รุ ะหวา่ ง ปิกสั โซ กบั มาเรีย นนั้ เป็นสงิ่ ต้องห้าม ท่ีไมอ่ าจเปิ ดเผยได้ ( เป็นช้กู นั ) 2 เป็นรูปสลกั ของมาเรีย ตงั้ อย่บู นแท่น ซงึ่ แสดงให้เห็นวา่ ปิ กสั โซ ยกย่อง และลมุ่ หลง มาเรียเป็น อย่างมาก ในสว่ นของรูปสลกั ใช้เทคนิคในการวาดโดยใช้ เกรียงผสมส(ี Palette Knife) ทาํ ให้ภาพ รูปสลกั ดมู ีมิตติ ืน้ ลกึ ตดั กบั ภาพเปลอื ยของเธอบริเวณด้านลา่ งที่ดู นมุ่ นวล

ความรู้เบือ้ งต้นเก่ียวกับศลิ ปะและการส่ือสาร 3 ใบไม้ขนาดใหญ่ในภาพนนั้ คือ ใบของต้น Philodendron ซ่ึงช่ือนีม้ าจากภาษากรีก 2 คํา คือคําว่า Philo แปลว่า รัก (Love) และคําว่า dendron แปล ต้นไม้(Tree) รวมกนั ก็ คือ ต้นรัก ต้นรักนีเ้ป็นต้นไม้ที่เติบโตเร็ว และปิ กสั โซก็ได้ปลกู ต้นรัก นีไ้ ว้ในห้องนอน และปิ กัสโซคงต้องการจะสื่ อถึง ความรักท่ีเขามี ตอ่ มาเรีย 4 เงาดํา 2 แถบนีย้ งั คงเป็นท่ีถกแถลงกนั ของเหลา่ นกั วเิ คราะห์วา่ มนั มีความหมายอย่างไร พวกหนงึ่ ให้ ความเห็นวา่ พวกหน่ีง มีความเห็นวา่ ปิ กสั โซอย่ใู นห้วงแหง่ ความลมุ่ หลง มาเรียอย่างโงหวั ไมข่ นึ ้ พวกหนงึ่ มีความเหน็ วา่ แถบที่คอก็คือ เคร่ืองประดบั 5 มนั คือผลแห่งกิเลส ตญั หา ในพระคมั ภีร์ ท่ีพระเจ้าได้ห้ามไม่ให้อดมั ส์ กบั อีวา กินแอปเปิ ล้ แต่พวก เขาก็ไมส่ ามารถหยดุ ยงั้ ความต้องการ และการยแุ หย่ของซาตาล เช่นเดียวกบั ปิ กสั โซ ที่ไม่อาจห้ามใจท่ี มีตอ่ มาเรียได้เชน่ กนั

ความรู้เบอื้ งต้นเก่ียวกับศลิ ปะและการส่ือสาร ตาํ นานของแอปเปิ้ล ผลไม้ยอดนิยมท่ไี ด้รับการกล่าวขวัญถงึ มาช้านาน แอปเปิล้ (Apple) เป็นผลไม้ที่ได้รับการกล่าวถึงในตํานานของชาวคริสต์ โดยเฉพาะการกลา่ วถึง แอปเปิล้ ในคมั ภีร์ไบเบลิ ว่าผลไม้ต้องห้ามที่พระเจ้าห้ามไมไ่ ห้อดมั ส์กบั อีวากิน แตท่ งั้ คหู่ ลงในกิเลสทําให้ ถกู ซาตานหลอกให้กินแอปเปิ ล้ จนกลายเป็นจดุ เริ่มต้นให้มนษุ ย์ทําบาป ทําให้แอปเปิ ล้ ในภาษาละติน ตรงกบั คําว่า malus ซงึ่ แปลวา่ ชวั่ ร้าย นนั่ เอง ในตะวนั ตกสาวโสดจะมีเกมชนิดหนง่ึ เรียกวา่ Hallowtide โดยหญิงสาวจะนง่ั ล้อมวงกนั แตล่ ะคนจะผกู แอปเปิ ล้ 1 ชิน้ ไว้กบั เชือกแล้วหมนุ หน้ากองไฟ ชิน้ ไหนตกลงมา ก่อน คนนนั้ จะได้แตง่ งาน เป็ นคนแรก อีกพิธีกรรมหนง่ึ เพ่ือหาคขู่ องสาวตะวนั ตก สาวๆ จะปอกเปลือกแอปเปิล้ จนหมดผลโดย ไมใ่ ห้ขาดเลย(ถ้าขาดจะเป็นลางร้าย) แล้วโยนข้ามไหลซ่ ้ายไปข้างหลงั เปลือก แอปเปิล้ ท่ีตกพืน้ จะเป็น รูปร่างอกั ษรย่อ หรืออกั ษรตวั แรกของสามีในอนาคต

นาน (ต่อ) ตาํ นานของแคอวปาเมปิร้ลู้เบผลือ้ ไงมต้ย้นอเดกน่ียิยวมกทับ่ไี ดศ้รลิ ับปกะาแรกลละ่ากวาขรวสัญ่ือถสงึ มาารช้า คนกรีกในสมยั โบราณมีประเพณีวา่ เวลาผ้ชู ายจะขอสาวแตง่ งานจะต้องโยนผลแอปเปิ ล้ ให้ และถ้าเธอรับได้ นน่ั หมายความวา่ ตกลง(ถ้ารับพลาดคงร้องไห้ตายเลย) คนเดนมาร์กโบราณเชื่อวา่ เวลาแอปเปิ ล้ อยใู่ กล้คนท่ีนอกใจคนรักมนั จะเห่ียว การตดั แอปเปิ ล้ โดยไร้เหตผุ ล ถือวา่ จะทําให้โชคร้าย เพราะแอปเปิ ล้ เป็นสญั ลกั ษณ์ของ ความเป็นอมตะ ความเป็นนิรันดร์ และความสขุ หลงั ความตาย วา่ กนั วา่ เทพเจ้าของชาวสแกนดิเนเวีย คงความเป็นหน่มุ สาวได้ตลอดกาล โดยการกิน แอปเปิ ล้ ทองคําของ ‘ไอดนั ' ซงึ่ เป็นเทพีแหง่ ความหนมุ่ สาวและฤดใู บไม้ผลิ

ความรู้เบอื้ งต้นเก่ียวกับศลิ ปะและการส่ือสาร ตาํ นานของแอปเปิ้ล (ต่อ 2 ) คนองั กฤษถือวา่ วนั ท่ี 21 ต.ค. ของทกุ ปีเป็นวนั แอปเปิ ล้ เพราะในคริสต์ศตวรรษที่ 16 ครูองั กฤษ สว่ นใหญ่มีรายได้ต่ํา พอ่ แม่ของนกั เรียนจงึ ชอบจดั แอปเปิ ล้ ใสต่ ะกร้าไป เป็นของขวญั ให้ครู ชาวเดวอนไชร์ขององั กฤษ ใช้แอปเปิล้ รักษาไฝหรือหดู โดยผ่าเป็นซีกแล้วนําไปถบู นไฝหรือหดู แปะเอาไว้ จะทําให้ไฝหรือหดู นนั้ หายไปได้ ซง่ึ วิธีการนีย้ งั คงปฏิบตั ิกนั อย่ใู นปัจจบุ นั ชาวตะวนั ตกสมยั ก่อน จะเอาแอปเปิ ล้ ใสใ่ นถงุ มนั ฝร่ัง เพ่ือป้ องกนั ไมใ่ ห้มนั ฝร่ังงอกเป็นต้นออ่ น และถ้าใส่ ในถงุ เก็บนํา้ ตาลหรือกลอ่ งคกุ กี ้จะช่วยป้ องกนั ความชืน้ ได้ ในตํานานกรีก ‘เอริส' เทพธิดาแหง่ ความขดั แย้งได้รับเชิญไปงานแตง่ งาน นางอยากจะป่ วนงานก็เลยเอา แอปเปิล้ ทองคําที่มีคําจารึกว่า \"สําหรับคนท่ีสวยท่ีสดุ \" โยนขนึ ้ ไปบนโต๊ะทําให้เทพธิดาท่ีสวยเทา่ กนั สามองค์ คือ ‘เฮร่า' ‘อะเทน่า' และ ‘อะโพรไดท์' แย่งแอปเปิล้ กนั จนทําให้เกิดสงครามถลม่ กรุงทรอยต์ตามมา นอกจากนีแ้ ล้ว แอปเปิ ล้ ยงั มีบทบาททางวิทยาศาสตร์ด้วย เพราะเมื่อ ‘ไอแซค นิวตนั ' เหน็ แอปเปิล้ ตก จากต้น เขาจงึ ค้นพบกฎเร่ืองแรงโน้มถ่วง

ความรู้เบอื้ งต้นเก่ียวกับศลิ ปะและการส่ือสาร Apple 3 ลูกท่เี ปล่ียนแปลงโลก 12 3

ความรู้เบอื้ งต้นเก่ียวกับศลิ ปะและการส่ือสาร ภาพ Impression Sunrise,1872 2.2 แรงบันดาลใจภายใน โดยศิลปิ น Claude Monet ได้แก่ อารมณ์ ความรู้สกึ นกึ คดิ ความต้องการ ศิลปิ นลทั ธิอิมเพรสชนั่ นิสต์ ความเจ็บปวด สภาพจิตสํานกึ และจิตใต้สาํ นกึ ฯลฯ ซ่ึงลทั ธินีน้ ิยมบนั ทึกความประทบั ใจ ที่เกิดขนึ ้ ภายในตวั ศลิ ปิ นเองเม่ือเกิดขนึ ้ แล้ว ศลิ ปิ น ในธรรมชาติในทนั ทีทนั ใด จะรีบบนั ทกึ แนวคดิ นนั้ เป็ นผลงานศลิ ปะทนั ที หรือ เกิดจากการสง่ั สมประสบการณ์ในเรื่องนนั้ ๆ มา นาน จนกระทง่ั เกิดจินตนาการ และถ่ายทอด จินตนาการนนั้ นนั้ ออกมาเป็ นผลงานศลิ ปะ

ความรู้เบือ้ งต้นเก่ียวกับศลิ ปะและการส่ือสาร ภาพ Impression, Sunrise เป็ น ภาพทิวทศั น์ของท่าเรือท่ี เลอ อาฟร์ (Le Havre) ในกรุงปารีสของประเทศฝร่ังเศสในขณะท่ีดวงอาทิตย์ กําลงั โผล่ขนึ ้ จากผิวนํา้ สีครามท่ามกลางฝงู หมอกท่ีก่อ ตวั อย่างหนาแน่น พร้อมเข้าปกคลมุ ท้องฟ้ ายามเช้าใน เขตอตุ สาหกรรมแห่งนี ้หากมองดเู พียงผิวเผิน ภาพนี ้ อาจดเู หมือนเป็ นภาพวิวธรรมดาๆ ดไู ม่มีจดุ ม่งุ หมาย ทุกอย่างดูจางๆ เลอะเลือนเลื่อนลอย แต่หากแต่ ลกั ษณะของศิลปะอิมเพรสชนั นิสม์ พิจารณาดีๆจะสังเกตุได้ ว่าจิตรกรมุ่งเน้ นไปยัง ซึ่งเป็ นสไตล์หน่ึงของการเขียนภาพท่ีสร้ าง แสงอาทิตย์ท่ีสาดส่องและตกกระทบลงบนผิววัตถุ อารมณ์โดยใช้สีมากกว่าจะแสดงรายละเอียด แล้วสะท้ อนกลับมาเป็ นภาพแห่งความประทับใจ ของสิง่ ท่ีวาดและใช้จินตนาการถ่ายทอดออกมา สมกบั ชื่อ Impression, Sunrise จากความประทับใจสิ่งที่เห็นครัง้ แรกอย่าง ทนั ทีทนั ใดและลกั ษณะการลงแปรงจะเร็วและ ทิง้ รอยแปรงเอาไว้ และในยุคนี ้ นิยมวาดกัน ด้วยการ \"แต้ม\" สเี ป็นจดุ ๆ บนผืนผ้าใบ

ความรู้เบือ้ งต้นเก่ียวกับศลิ ปะและการส่ือสาร ภาพวาดแบบ Impressionism นนั้ จะสะท้อนภาพชีวิตท่ีศิลปินเหน็ รอบๆ ตวั เขา เช่น ภาพ ในชนบท ชีวิตในเมือง คนแต่งกายด้วยชุดประจําวัน และให้ ความสนใจกับแสงที่ตกลงบนวัตถุในสภาวะ อากาศที่แตกตา่ งกนั และในชว่ งเวลาตา่ งๆ ของวนั นอกจากความงดงามและความประทบั ใจ ของผลงานศิลปะภาพนี ้ ทําให้เราได้ความรู้ในเรื่อง ศลิ ปะอิมเพรสชนั นิสม์ และเรียนรู้วิธีการใช้หรือลงสีใน ศิลปะแนวนี ้และจิตรกรรมของศิลปิ นอิมเพรสชนั นิสต์ ได้ทําให้ชนรุ่นหลงั ได้รู้จกั ทิวทศั น์ของประเทศฝร่ังเศส ตามสถานที่ต่างๆที่ศิลปิ นได้เขียนภาพไว้ ตลอดจน แหล่งสนุกสนานบันเทิงและวิถีชีวิตของคนฝรั่งเศส โดยเฉพาะอย่างยิ่งชาวปารีส

ภาพ Persimmon ความรู้เบอื้ งต้นเก่ียวกับศลิ ปะและการส่ือสาร โดยศิลปิ น Robert Rauschenberg 3. . การสร้ างงานศิลปะหลังจากได้รับแรงบันดาลใจ ศิลปิ นหลังจากได้รับแรงบันดาลใจทางใดทางหนึ่งแล้ว ก็จะมี แนวทางในการสร้างงานได้สองแนวทาง คือ แนวทางที่ 1 จากแรงบนั ดาลใจภายใน เม่ือเกิดขึน้ แล้ว ศิลปิ นจะรีบบนั ทึกแนวคิดนนั้ เป็ นผลงานศิลปะทนั ที หรือเกิดจาก การสั่งสมประสบการณ์ในเรื่องนัน้ ๆ มานาน จนกระทั่งเกิด จินตนาการ และถ่ายทอดจินตนาการนัน้ นัน้ ออกมาเป็ นผลงาน ศิลปะ แนวทางท่ี 2 จากแรงบนั ดาลใจภายนอก ศิลปิ นได้รับแรง บันดาลใจจากสิ่งใดสิ่งหน่ึง เหตุการณ์ใดเหตุการณ์หนึ่ง เช่น ธรรมชาติที่งดงาม ความยากจน ความทารุณโหดร้าย การกดขี่ข่ม เหง เป็ นต้ น แล้ วเกิดความสะเทือนใจต่อแรงบันดาลใจนัน้ ก่อให้เกิดความรู้สกึ และจินตนาการขนึ ้ และถ่ายทอดความรู้สกึ นนั้ ออกมาเป็นผลงานศลิ ปะ

ความรู้เบอื้ งต้นเก่ียวกับศลิ ปะและการส่ือสาร ภาพ Third of May 4. การสร้ างงานศิลปะจากแนวคิดของตนเอง โดยศิลปิ น Francisco Goya การสร้ างงานศิลปะจากแนวคิดของตนเองนี ้ อาจเป็ นปฏิกิริยา ศิลปิ นลทั ธิโรแมนติก สืบเนื่องจากการได้ รับสิ่งเร้ า หรื อแรงบันดาลใจ แล้ วศิลปิ น แสดงความความโหดร้ายทารุณ เกิดปฏิกิริยาตอบสนองต่อส่ิงเร้ าหรือแรงบันดาลใจนัน้ ได้ข้อสรุป แนวคิด ความเพลิดเพลิน ความประทบั ใจ ความโศกเศร้าสะเทือนใจ และอื่น ๆ ตลอดจนกระทง่ั เกิดทัศนคติที่มีต่อแรงบนั ดาลใจนัน้ เช่น เม่ือศิลปิ นได้พบกบั เหตกุ ารณ์ของสงคราม เกิดความรู้สกึ สะเทือนใจ ในความโหดร้ายทารุณของสงคราม เม่ือจะถ่ายทอดความรู้สกึ นี ้ย่อม ต้องผนวกเพ่ิมกับแนวความคิดของตนเข้าไปอีกว่า ความโหดร้ าย ทารุณนีเ้ ม่ือแสดงออกไปแล้ว ต้องการให้ ผู้ดูได้รับรู้อะไรอันเป็ น แนวคิด หรือความรู้สึกของตัวศิลปิ นเอง อันอาจได้แก่ แนวคิดที่ ต้องการต่อต้านสงคราม หรือต้องการเปิ ดเผยถึงภาพความตายที่คน ทวั่ ไปไม่สามารถพบเห็นได้ ดงั นี ้เป็นต้น

ความรู้เบือ้ งต้นเก่ียวกับศลิ ปะและการส่ือสาร Birthday โดย มาร์ค ชากาลล์ 5. จุดมุ่งหมายในการสร้ างงานศิลปะ Marc Chagall ค.ศ 1915 ในการสร้ างงานศิลปะแต่ ละครั้ง ศิลปิ นย่ อมตัง้ ศิลปิ นลทั ธิเซอเรียลิสต์แสดงความคิดฝันทีเ่ หนือจริง จุดประสงค์ในการถ่ายทอดสร้ างสรรค์ไว้ทุกครั้ง นอกเหนื อจากการให้ ผ้ ูดูช่ืนชมความสวยงามตาม แทนทางศิลปะแล้ว ศิลปิ นย่อมต้องการ ให้ผู้ดูได้ รับรู้เนือ้ หาเร่ืองราว ความสนุกเพลิดเพลิน ความ ซาบซึง้ ฯลฯ จากการรับรู้ ในผลงานท่ีสร้างสรรค์ขึน้ สุดแต่ ศิลปิ นจะวางจุดมุ่งหมายไว้ ซ่ึงการรั บรู้ จุดประสงค์หรือเป้ าหมาย ของศิลปิ นนี้ ย่อมทําให้ สามารถวางแนวทางในการรับรู้ให้สอดคล้องกับการ ถ่ายทอดสร้างสรรค์ จากส่อื สร้างสรรค์แต่ละชนิ้

ความรู้เบือ้ งต้นเก่ียวกับศลิ ปะและการส่ือสาร Birthday โดย มาร์ค ชากาลล์ Marc Chagall ค.ศ 1915 ศิลปิ นลทั ธิเซอเรียลิสต์แสดงความคิดฝันทีเ่ หนือจริง ศิลปะลทั ธิเหนือจริง ( Surrealism ) ศิลปกรรม ท่ีเปิดเผยความฝันและจิตใต้สาํ นกึ การแสดงออกทางจิตรกรรม ของศิลปิ นลัทธิเหนือจริงมีหลายแนวทางเช่นการสร้ างสรรค์ รูปทรงจากจิตใต้สํานึก การใช้รูปทรงจากโลกท่ีมองเห็นได้ เป็นตวั ส่ือในการแสดงออกอาจเป็นเร่ืองของความฝันร้าย อารมณ์เก็บกด เรื่องราวจากตํานาน เร่ืองเร้ นลับ การท้าทาย ศาสนา การเปรียบเทียบส่ิงที่แปลก แตกต่างกันแสดงออกในสภาพที่เพ้อฝัน น่าตื่นตระหนก น่าหวาดกลัว แดนสนธยา เป็ นการใช้สี และสร้างบรรยากาศที่ลกึ ลบั

ความรู้เบอื้ งต้นเก่ียวกับศลิ ปะและการส่ือสาร ภาพ Morning Break 6. ส่ือสัญลักษณ์ ในการสร้ างงานศิลปะ โดยศิลปิ น John Miro ในการสร้ างงานศิลปะมีรูปแบบท่ีหลากหลาย มีทงั้ ที่เป็ น แสดงออกโดยส่ือสัญลกั ษณ์ รูปธรรม กึ่งนามธรรม และท่ีเป็ นนามธรรม ในกรณีรูปแบบท่ีเป็ น รูปธรรมหรือก่งึ นามธรรม ผ้ดู ยู งั พอจบั ใจความตีความหมายได้วา่ เป็น อะไร หมายถึงอะไร ฯลฯ แต่ในกรณีท่ีรูปแบบเป็ นนามธรรม อาจจะ ยากต่อการคาดเดาหรือตีความ ในการทําความเข้าใจงานศิลปะ รูปแบบนีอ้ าจจะศึกษาจาก คําอธิบาย การให้ความหมาย การชีแ้ นะ จากตวั ศลิ ปินเอง ซง่ึ บางครัง้ ต้องศกึ ษาจากส่ือวสั ดุ และเทคนิควิธีการ ที่ศิลปินนํามาถ่ายทอดเป็นสอื่ สญั ลกั ษณ์ แทนความรู้สกึ แทนรูป เช่น ความรักอาจแสดงออกด้วยสีแดง สีชมพู สีขาว สีม่วง และสดี ํา นน่ั คือ การใช้สอ่ื ประเภท สี สว่ นส่ือการแสดงออกที่เป็นรูปสญั ลกั ษณ์ ความรักอาจใช้สอ่ื รูปดอกกหุ ลาบ รูปหวั ใจ รูปกามเทพ เป็นต้น สือ่ การแสดงออกนีอ้ าจรวมถึงการเลอื กใช้วสั ดุ และเทคนิควิธีการ ที่ศลิ ปินนํามาสร้างงานด้วย

ความรู้เบือ้ งต้นเก่ียวกับศลิ ปะและการส่ือสาร แนวทางและทฎษฎีการถ่ายทอดแนวคดิ ทางศลิ ปะ

ความรู้เบอื้ งต้นเก่ียวกับศลิ ปะและการส่ือสาร ผลงานศลิ ปะแตล่ ะชิน้ เป็นสง่ิ ที่ศิลปิ นสร้างสรรค์ขนึ ้ เพื่อ สอ่ื เนือ้ หาเร่ืองราวตา่ ง ๆ ด้วยรูปแบบตา่ ง ๆ ถกู สร้างมา ในแนวทางและทฎษฎีการถา่ ยทอดที่แตกตา่ งกนั แตก่ ็มี ทฤษฎีที่นิยมกนั สามารถจําแนกออกได้ 3 ทฤษฎี ดงั ตอ่ ไปนี ้ ภาพ The Dream, 1910 โดยศิลปิ น Henri Rousseau ภาพสีนํา้ มนั บนผ้าใบ อยใู่ นพพิ ธิ ิภณั ฑ์ The Museum of Modern Art, New York 1. ทฤษฎนี ิยมการเลียนแบบ (Naturalism Theory) เป็นทฤษฎีการสร้างงานศิลปะท่ีเหมือนจริงตาม ที่ตาเหน็ จากสง่ิ ท่ีมี ในธรรมชาติ หรือตามความรู้สกึ หรือ ทัง้ 2 แบบรวมกัน โดยผู้ดูและผู้วิจารณ์งานศิลปะตามทฤษฎีนีน้ ัน้ สามารถรับรู้ตีความได้ โดยอาศัย พืน้ ฐานประสบการณ์เดิมมาประกอบในการตีความ และประเมินคณุ ค่าของผลงานว่า เหมือน ไม่เหมือน และ เข้าใจได้ว่า เป็ นภาพอะไร รวมทงั้ การนําประสบการณ์พืน้ ฐานเดิมเกี่ยวกบั รูปแบบนนั้ ๆ มาตีความ อาจเป็ น ความหลงั ความฝันใฝ่ ความประทบั ใจ ความทรงจํา ฯลฯ การระลึกถึงเร่ืองราวท่ีเก่ียวข้องเหล่านีท้ ําให้เกิด ความเพลิดเพลิน (Pleasure) กินใจ (Empathy) หรือเกิดความทุกข์หรือรู้สึกไม่พอใจ (Disinterested)

ภาพ Les Demoiselles ความรู้เบอื้ งต้นเก่ียวกับศลิ ปะและการส่ือสาร d'Avignon โดยศิลปิ น Pablo Picasso 2. ทฤษฎีนิยมรูปทรง (Formalism Theory) เป็นทฤษฎีการสร้างงานศลิ ปะท่ีใช้สว่ นประกอบ มลู ฐาน ของศิลปะ เช่น เส้น รูปร่าง รูปทรง มาใช้โดยตรง และอาจจะเป็ นลักษณะผสมผสานกันระหว่างรูปแบบ ธรรมชาติที่ถูกลดสกัดตัดทอน กับรูปแบบนึกคิดและ จินตนาการของศลิ ปิ น โดยผ้วู จิ ารณ์งานศิลปะตามทฤษฎี นีน้ ัน้ พอจะสามารถ ระบุได้ ว่าเป็ นภาพอะไร ดังนัน้ รูปแบบก่ึงนามธรรมจึงมีลักษณะแปลกตาต่างไปจาก รูปแบบเหมือนจริง ในธรรมชาติ สงิ่ สําคญั ท่ีต้องใช้ในการ วิจารณ์ศิลปะรูปแบบนี ้ คือต้องใช้จินตนาการเป็ นตัว เช่ือมโยงการรับรู้ ให้เคล่ือนไหวต่อเน่ืองเป็ นเร่ืองราวได้ เพ่ือท่ีจะให้สอดคล้องกบั การถา่ ยทอดที่ศิลปิ น

ความรู้เบอื้ งต้นเก่ียวกับศลิ ปะและการส่ือสาร ภาพ Les Demoiselles เม่ือสิน้ ปี ค.ศ. 1906 ปี กัสโซ่ได้ทํางานชิน้ สําคญั เป็ น d'Avignon ภาพท่ีมีขนาดใหญ่ ในรูปเป็ นภาพของ หญิงงาม ชาวเมือง โดยศลิ ปิ น Pablo Picasso Barcelona ในย่านโสเภณี ของเมืองบาร์เซโลนาเอง หญิงทงั้ 5 คน ในภาพนนั้ เปลือยกาย ภาพนีถ้ ือได้ว่าเป็ นการปฏิวตั ิรูปแบบ ศิลปะตะวนั ตก ท่ีเคยมีมาแต่เดิมทงั้ หมด กล่าวคือ บริเวณสว่างใน ภาพมีอยู่ตรงโน้นบ้างตรงนีบ้ ้าง ตามแต่ศิลปิ นจะแต่งเติม ใบหน้า คนที่เหมือน กับหน้ ากาก รูปทรงและเส้ นท่ีตัดกันแข็งๆ และ ผิดเพีย้ นนีแ้ สดงออก ซง่ึ ความขดั ต่อศีลธรรม และ ความกร้าน ต่อ โลกของหญิงสาวพวกนีไ้ ด้เป็นอยา่ งดี ความสมั พนั ธ์ระหวา่ งร่างคน กบั บรรยากาศตืน้ ลึก รอบๆ ตวั ในธรรมเนียม แบบเก่าหมดสิน้ ลง โดยสมบรู ณ์แบบ จากภาพนี ้เม่ือทงั้ พืน้ ผิวภาพท่ีว่างเปล่า กบั ร่าง คนนนั้ คาบเกี่ยว และกลืนกนั ไป หมดจนแยกไม่ออกนนั่ เอง

ภาพ Orange and Yellow ความรู้เบอื้ งต้นเก่ียวกับศลิ ปะและการส่ือสาร โดยศิลปิ น Mark Rothko 3. ทฤษฎีนิยมอารมณ์ (Emotionalism Theory) เป็ นทฤษฎีการสร้างงานศิลปะโดยเน้นการ แสดงออก ซง่ึ ความรู้สกึ และ อารมณ์เป็นสําคญั ผลงาน ทป่ี รากฎออกมาจะ มีลักษณะ ท่ีไม่สามารถ ระบุได้ว่า เหมือน หรือเป็ นภาพอะไร เป็ นลักษณะนามธรรม (Abstract) โดยไม่มีรูปแบบ ธรรมชาติปรากฏให้เหน็ อย่เู ลย แตร่ ูปแบบท่ีปรากฏให้เหน็ นนั้ จะ เป็ นรูปแบบท่ีเกิดจากการใช้สื่อ ใช้วัสดุที่สร้ างสรรค์ขึน้ ด้วย เทคนิควิธีการตา่ ง ๆ จนกระทง่ั ปรากฏเป็นรูปแบบทไี่ มใ่ ช่รูปแบบ ดงั ที่ปรากฏในธรรมชาติ ซ่ึงรูปแบบนามธรรมท่ีปรากฏนี ้ จะไม่ กระต้นุ เร้ าการรับรู้ให้เห็นเป็ นรูปสิ่งต่าง ๆ แต่จะกระตุ้นเร้ าให้ เกิดเป็นความรู้สกึ ตา่ ง ๆ จากการรับรู้มากกวา่ ซงึ่ ตามความรู้สกึ ทเี่ กิดจากการรับรู้ อาจได้แก่ ความสวยงาม ความน่ากลวั ความ สบั สน ความเวงิ ้ ว้าง ความเร็ว การเคลอื่ นไหว ฯลฯ

ความรู้เบอื้ งต้นเก่ียวกับศลิ ปะและการส่ือสาร การศกึ ษาดูงานและการวเิ คราะห์วจิ ารณ์ผลงานศลิ ปะ

ความรู้เบอื้ งต้นเก่ียวกับศลิ ปะและการส่ือสาร ภาพ Four squares, 1915 ผลงานศลิ ปะด้านเนือ้ หาท่ีแสดงออก โดยศลิ ปิ น Kasimir Malevich การตีความโดยทําความเข้าใจกบั เนือ้ หาเร่ืองราว จากรูปแบบให้ได้ความรู้ซึง้ สอดคล้องกบั จดุ ม่งุ หมายตามที่ ศิลปิ นต้องการ การตีความในแนวทางนี ้ ผู้ดูจะต้องได้รับ ข้อมูลท่ีแท้จริงก่อนการตีความ ข้อมูลท่ีจะได้ คือ ทําไม ศิลปิ นถึงสร้ างงานนีข้ ึน้ มา โดยได้รับแรงบันดาลใจอะไร มีความรู้สึกอย่างไร มีแนวคิดอย่างไร ตัง้ จุดมุ่งหมาย ต้องการให้ผ้ดู ู ได้รับรู้อะไรจากผลงานท่ีสร้างขึน้ ใช้รูปแบบ หรื อสื่อวัสดุแทนความรู้ สึกอย่างไร และ สื่อท่ีใช้ มี ความหมายอยา่ งไร ฯลฯ ซงึ่ ข้อมลู เหลา่ นี ้คือ ข้อมลู ในการทําความเข้าใจเก่ียวกบั ตวั ผ้สู ร้างงานหรือศิลปิ น นน่ั เอง ถ้าผ้ดู เู ข้าใจตวั ศิลปิ นและพฤติกรรม การถ่ายทอดของศิลปิ นแล้ว ความเข้าใจใน ผลงานศิลปะท่ีบนั ทกึ พฤติกรรมการถ่ายทอดของศิลปิ นแตล่ ะครัง้ ผ้ดู กู ็ย่อมเข้าใจ ตามไป ด้วยเช่นกนั

ความรู้เบือ้ งต้นเก่ียวกับศลิ ปะและการส่ือสาร ด้านวัสดุและเทคนิควธิ ีการท่แี สดงออก การทําความเข้าใจในวสั ดแุ ละเทคนิควิธีการนี ้ผ้ดู ู จะต้องรู้และเข้าใจประเภทของงานศิลปะชิน้ นนั้ ๆ ก่อนว่า เป็ นงานในประเภทใด จิตรกรรม ประติมากรรม ภาพพิมพ์ หรือสื่อผสม เพราะศิลปกรรมแต่ละประเภท จะใช้วัสดุท่ี แตกต่างกนั เช่น จิตรกรรมส่วนมากจะใช้วสั ดุประเภทสีใน การสร้างสรรค์งาน และสีท่ีใช้ ก็มีความแตกต่างกนั ไปตาม คณุ สมบตั ิทางกายภาพอีก คือ สีนํา้ สีนํา้ มัน สีฝ่ ุน สีเทียน งานเทคนิคส่ือผสม เป็ นต้น ซึ่งสีแต่ละชนิด เมื่อสร้ างออกมาเป็ นผลงานก็จะ โดยศลิ ปิ น Robert Smithson กระต้นุ ให้เกิดความรู้สกึ จากการรับรู้ตา่ งกนั ออกไปอีก สว่ นศลิ ปกรรม ประเภทประติมากรรมก็จะใช้วสั ดแุ ปรสภาพได้มาใช้ในการสร้างสรรค์ เช่น ดิน ขีผ้ ึง้ ปูนปลาสเตอร์ ไม้ โลหะ หิน ฯลฯ ส่วนสื่อผสมก็จะใช้วัสดุในการสร้ างสรรค์ หลากหลายชนิด นอกจากนี ้เทคนิควธิ ีสร้างงานของศลิ ปิ น แตล่ ะคนจะแตกตา่ งกนั ออกไป

ความรู้เบอื้ งต้นเก่ียวกับศลิ ปะและการส่ือสาร ด้ านกฎเกณฑ์ ของการสร้ างผลงาน กฎเกณฑ์ทางศิลปะได้แก่กฎเกณฑ์ทางด้านหลกั การ ศิลปะ หรือหลกั องค์ประกอบศิลป์ ซ่ึงเป็ นกฎเกณฑ์ที่ใช้กนั เป็ น สากล ในการประเมินผลงานศิลปะ แต่หลกั เกณฑ์ทางศิลปะใน แต่ละยุคละสมัยก็ยังมีข้อปลีกย่อยแตกต่างอันอกไป ซ่ึงผู้ดู จะต้องรู้ ประวัติศาสตร์ศิลป์ และลัทธิศิลปะประกอบ ในการ พิจารณาประเมิน เพ่ือเป็ นข้อสังเกตว่าทําไม ศิลปกรรมที่เคย เป็ นท่ียอมรับในยคุ ก่อนนนั้ ดแู ล้วก็ไม่เห็นมีอะไรเลย หรือท่ีเขา ภาพ The Life of Christ นิยมยกย่องกนั นนั้ เขายอมรับกนั ตรงไหน เพราะอะไร เป็นต้น โดยศิลปิ น Emil Nolde ดงั นีแ้ ล้วพอจะเข้าใจได้ว่า แม้มาตรการทางศิลปะนนั้ ยงั ขึน้ อย่กู บั เงื่อนไขประกอบอ่ืน อีก เช่น กล่มุ สงั คม ยคุ สมยั และสภาพแวดล้อมอื่น ๆนอกจากกฎเกณฑ์ท่ีเป็ นหลกั ทางวิชาการ แล้ว มาตรการเฉพาะของแตล่ ะวงการก็ถกู นํามาใช้ในการประเมินด้วยเช่นกนั เช่น ศิลปะชิน้ หนงึ่ นําไปให้พ่อค้าตามร้านขายภาพประเมิน จะต่างไปจากการประเมินของกล่มุ นกั สะสมภาพ หรือ กลมุ่ ผ้ปู ระกอบการทางด้านศิลปะด้วยกนั

ความรู้เบอื้ งต้นเก่ียวกับศลิ ปะและการส่ือสาร ประตมิ ากรรม Reclining figure การรับรู้ผลงานศลิ ปะ โดยศิลปิ น Henry Moore การที่จะทําความเข้าใจในผลงานศิลปะ ผ้รู ับรู้งาน ศิลปะ ต้องทําความเข้าใจกับตนเองก่อนว่า จากการท่ีได้ สัมผัสรับรู้กับศิลปกรรมในแต่ละชิน้ ผู้ดูต้ องทบทวน พฤติกรรมของตนเองว่ามีอะไรเปล่ียนแปลงบ้าง ทงั้ ท่ีเป็ น ความรู้สึกและท่ีเป็ นความรู้ ความคิด ทางด้านสติปัญญา และอารมณ์ ซง่ึ พอท่ีจะแยกออกได้ ดงั นี ้ 1. ด้านความรู้สกึ เป็ นความรู้สกึ ของผ้เู สพงานศิลปะ จากการที่ได้สมั ผสั รับรู้กบั ศิลปกรรมชิน้ นนั้ ๆ ว่ามีความรู้สึก ชอบ ไม่ชอบ มีความสวยงาม น่าเกลียด รู้สึกดี หรือไม่ดีอย่างไร เป็นอารมณ์ความรู้สกึ ท่ีเกิดขนึ ้ เบือ้ งต้นจากการดผู ลงานชิน้ นนั้ ๆ

ความรู้เบอื้ งต้นเก่ียวกับศลิ ปะและการส่ือสาร 2. ด้านการรับรู้ งานศิลปะส่วนมาก จะมีเร่ืองราวหรือเนือ้ หา ต่าง ๆ ไว้มากมาย อันเป็ นผลสะท้อนแสดงให้เห็นถึง สภาพอารมณ์ความรู้สึกของศิลปิ น และสภาพแวดล้อม ท่ีศิลปิ นนัน้ เก่ียวข้องด้วย ซ่ึงเร่ืองราวทัง้ ท่ีเป็ นภายใน และภายนอกของศิลปิ นนัน้ ได้รับการกล่ันกรองบันทึก ถ่ายทอดออกมาเป็ นผลงานศิลปะ ดังนั้น เม่ือผู้ดูได้ สัมผัสรั บร้ ู กับผลงานแล้ วต้ องทําความเข้ าใจกับตนเอง ว่า ได้รับรู้รูปแบบเนือ้ หาเร่ืองราวอะไรจากภาพท่ีดูนัน้

ศิลปะ Land Art ความรู้เบือ้ งต้นเก่ียวกับศลิ ปะและการส่ือสาร โดยศิลปิ น Jean Claud ช่ือ Valley Curtain 3. ด้านแนวคดิ Colorado การที่ได้สมั ผสั งานศลิ ปะแล้วเกิดความรู้สกึ และเข้าใจใน เนือ้ หาท่ีศลิ ปิ นตงั้ ใจถ่ายทอดออกมาแล้ว สงิ่ เหลา่ นีม้ กั จะกระต้นุ เร้าผ้เู สพให้เกิดความรู้สกึ แนวคดิ ที่สมั พนั ธ์ตอ่ เน่ืองจากความรู้สกึ และเร่ืองราวนนั้ อาจเป็นแนวคิดใหมท่ ่ีแตกตา่ งไปจากแนวคดิ ท่ี ศิลปิ นได้สร้างสรรค์มาในผลงานนนั้ ความรู้และแนวคิดท่ีเกิดขนึ ้ นี ้ สามารถนํามาพฒั นาลกั ษณะนสิ ยั ของตนให้ก้าวหน้าหรืองอกงาม ขนึ ้ ได้หรือไม่ ถ้าหากวา่ กอ่ นและหลงั การสมั ผสั รับรู้ผลงาน มีระดบั ความรู้และอารมณ์คงท่ีก็แสดงวา่ พฤตกิ รรมไมเ่ ปลี่ยนแปลง แตถ่ ้า หลงั การรับรู้ผลงานระดบั ของอารมณ์เปล่ยี นไป การสงั เกตเรียนรู้ และจินตนาการ ตลอดจนความคิดพอกพนู เพม่ิ ขนึ ้ และแปรคา่ เป็น ประสบการณ์เพื่อเกบ็ ไว้ใช้ในโอกาสอนั ควรภายภาคหน้า กเ็ ทา่ กบั เกิดความงอกงามขนึ ้ จากการรับรู้แตล่ ะครัง้

ภาพ Third of May ความรู้เบือ้ งต้นเก่ียวกับศลิ ปะและการส่ือสาร โดยศิลปิ น Francisco Goya ศิลปิ นลทั ธิโรแมนติก 4. การสร้ างงานศิลปะจากแนวคิดของตนเอง แสดงความความโหดร้ายทารุณ การสร้ างงานศิลปะจากแนวคิดของตนเองนี ้ อาจเป็ นปฏิกริยา สืบเน่ืองจากการได้รับสิ่งเร้ า หรือแรงบันดาลใจ แล้วศิลปิ น เกิดปฏิกิริยาตอบสนองต่อส่ิงเร้ าหรือแรงบันดาลใจนัน้ ได้ ข้ อสรุปแนวคิด ความเพลิดเพลิน ความประทับใจ ความ โศกเศร้าสะเทือนใจ และอื่น ๆ ตลอดจนกระทง่ั เกิดทศั นคติที่มี ต่อแรงบันดาลใจนัน้ เช่น เมื่อศิลปิ นได้พบกับเหตุการณ์ของ สงคราม เกิดความรู้สึกสะเทือนใจในความโหดร้ ายทารุณของ สงคราม เมื่อจะถ่ายทอดความรู้สึกนี ้ ย่อมต้องผนวกเพ่ิมกับ แนวความคิดของตนเข้าไปอีกว่า ความโหดร้ ายทารุณนีเ้ ม่ือ แสดงออกไปแล้ว ต้องการให้ผ้ดู ไู ด้รับรู้อะไรอนั เป็ นแนวคิด หรือ ความรู้สึกของตัวศิลปิ นเอง อันอาจได้แก่ แนวคิดท่ีต้องการ ต่อต้านสงคราม หรือต้องการเปิ ดเผยถึงภาพความตายท่ีคน ทวั่ ไปไมส่ ามารถพบเหน็ ได้ ดงั นี ้เป็นต้น


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook