Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore การจัดการขนส่ง

การจัดการขนส่ง

Published by rungrut.way060144, 2020-09-09 01:53:14

Description: การจัดการขนส่ง

Search

Read the Text Version

Transportation Management การจัดการการขนส่ง

ความหมายของการจัดการการขนส่ ง คำวำ่ “กำรขนส่ง (Transportation)” ควำมหมำย โดยรวมหมำยถึง กำรเคล่ือนยำ้ ยคน (People) สินคำั (Goods) หรือบริกำร (Services) จำกตำแหน่งหน่ึงไปยงั อีกตำแหน่งหน่ึง ในกรณีของกำรเคล่ือนยำ้ ยคนน้นั จะเป็น เร่ืองของกำรขนส่งผโู้ ดยสำรเสียเป็นส่วนใหญ่ ในบริบท ของหลกั สูตรกำรจดั กำรกำรขนส่งน้ีจะเนน้ ที่กำรขนส่ง สินคำ้ หรือบริกำรเป็นสำคญั

เป้าหมายของการจดั การการขนส่ง 1) เพื่อลดต้นทุน ถือเปน็ เป้าหมายยอดนิยมของการจดั การด้านโลจิสติกส์ทกุ กิจกรรม รวมทั้งการขนสง่ ดว้ ย ผปู้ ระกอบการมักจะ ตั้งเป้าหมายเปน็ อนั ดับแรกว่าเมือ่ มีการจัดการการขนส่งทีด่ ีจะต้องช่วยลดต้นทุนของธรุ กิจลงได้ โดยอาจจะเป็นค่าน้ามันเชอื้ เพลิง ค่าแรงงาน หรอื ค่าบา้ รุงรกั ษารถบรรทกุ 2) เพือ่ เพิม่ ประสิทธิภาพการทา้ งาน บริษทั ขนส่งอาจตงั้ เป้าหมายว่าเมอ่ื มีการจัดการการขนส่งที่ดีดว้ ยจ้านวนทรพั ยากรที่เท่าเดิม ประสิทธิภาพการทา้ งานจะสูงข้ึน เชน่ จา้ นวนรถบรรทกุ และพนกั งานเท่าเดิม แตส่ ่งสินค้าให้ลกู ค้าได้มากขึน้ เป็นต้น 3) เพื่อสร้างความพึงพอใจสูงสุดให้แก่ลูกค้า บริษัทขนส่งอาจตง้ั เป้าหมายว่าเม่อื จดั การการขนส่งได้ดีขอ้ ต้าหนติ ิเตียนจากลกู ค้าจะลด นอ้ ยลงจนหมดส้ินไป ท้าใหล้ กู ค้ามคี วามพอใจในบรกิ ารทีไ่ ด้รบั และยงั คงใช้บริการของบริษัทตอ่ ไปในภายภาคหน้า 4) เพื่อลดระยะเวลา บริษทั ขนส่งอาจตงั้ เป้าหมายว่าเมอ่ื มีการจัดการการขนส่งที่ดจี ะสามารถส่งมอบสินค้าให้แก่ลกู ค้าได้รวดเร็วขึน้ โดยเฉพาะอย่างยิง่ รวดเรว็ กว่าคู่แข่ง ผลติ ภัณฑ์ของตนก็จะออกสู่ตลาดได้เรว็ และแพร่หลายมากกว่าคู่แขง่ ขัน 5) เพื่อสร้างรายได้เพิม่ เปน็ ไปได้เช่นกนั ว่าบริษทั ขนส่งอาจจะตั้งเป้าหมายว่าเมอ่ื มีการจัดการการขนส่งทีด่ ีจะสามารถสร้างรายได้เพิ่มให้แก่ บริษทั ไม่ว่าจะเป็นจากกลุ่มลกู ค้าเดิมทีย่ อมจ่ายแพงข้ึนเพือ่ แลกกบั บริการทีร่ วดเรว็ ขนึ้ พิเศษขึ้นหรอื ละเอียดถกู ต้องมากขึ้น หรอื รายได้จาก กลุ่มลกู ค้าใหม่ทีเ่ ข้ามาใช้บริการ 6) เพื่อเพิม่ ก้าไร ไม่บ่อยนกั ทีเ่ ราจะได้ยินวา่ บริษัทขนสง่ ลงทุนปรบั ปรงุ ระบบการจัดการหรอื ลงทนุ ในระบบการจัดการใหมเ่ พื่อตอ้ งการเพิ่ม ผลกา้ ไรของบริษทั โดยมากจะมองว่าก้าไรเปน็ ผลพลอยได้จากการทีก่ ารจัดการไปลดต้นทุนลง มมุ มองเพื่อหวงั เพิ่มก้าไรเป็นสิ่งท้าทายฝีมือ ผบู้ ริหารมากกว่า เพราะว่าเปน็ การพิจารณาสองทางไปพร้อมๆ กนั คือ สร้างรายได้เพิม่ และลดตน้ ทนุ ซึ่งไม่ใช่เรอ่ื งทีจ่ ะท้าได้ง่ายๆ สา้ หรบั บริษทั ขนส่งโดยทว่ั ไป 7) เพือ่ เพิม่ ความปลอดภัยในการท้างาน อาจจะไม่ใช่เป้าหมายหลักส้าหรับบริษทั ขนส่งในการลงทนุ ปรบั ปรุงระบบการจดั การการขนส่ง แตก่ ็ มีความส้าคญั ไม่น้อย บริษัทขนส่งหลายแห่งแสดงสถิตขิ องช่วงเวลาต่อเน่ืองทีไ่ ม่มอี ุบัติเหตุเกิดข้ึนให้พนกั งานได้รับทราบโดยท่วั กนั และ พยายามกระตุ้นใหพ้ นักงานช่วยกนั รกั ษาสถิตินั้นใหน้ านที่สดุ เท่าทีจ่ ะเป็นไปได้

Choice of Transportation

1 การขนส่งทางบก (Land Transportation) การขนส่งทางถนน (Road Transportation) เป็นรูปแบบการขนส่งท่มี ีปรมิ าณสูงท่สี ุดและเปน็ รูปแบบการขนสง่ หลักท่ี หล่อเล้ียงสงั คมและชมุ ชนมาโดยตลอด การขนส่งทางถนนกระทา้ ได้โดยการใช้รถบรรทุก 4 ลอ้ 6 ลอ้ 10 ลอ้ หรือ มากกว่า 10 ลอ้ เป็นยานพาหนะในการเคลอ่ื นย้ายสนิ ค้า อาจกลา่ วไดว้ ่าสนิ ค้าทกุ ชนิดสามารถขนสง่ ได้โดยการขนส่ง ทางถนน ขอ้ ดที ่สี ้าคัญทส่ี ุดของการขนสง่ ทางถนน ได้แก่ คณุ ลักษณะที่เรียกว่าบรกิ ารถงึ ทีห่ รอื Door-to-door Service หรือการน้าสินคา้ ไปสง่ ได้ถึงบา้ น ทงั้ ผู้ผลิตและผู้บริโภคไดร้ ับความสะดวกสบายมากกว่ารูปแบบการขนสง่ อื่นๆ ใน ปจั จบุ ันประเทศไทยมีโครงขา่ ยถนนคอ่ นข้างดมี ากทั้งในเขตเมืองและนอกเมืองการขนส่งสินค้าทางถนนสามารถเขา้ ถงึ ได้ทั่วทุกอ้าเภอของ 76 จงั หวัดในประเทศไทย การขนส่งทางราง (Rail Transportation) เปน็ รูปแบบการเดนิ ทางท่ีอยู่คสู่ ังคมไทยมานบั ตง้ั แตส่ มัยรชั กาลท่ี 5 สนิ ค้าท่ี ขนสง่ ทางรางมกั จะเป็นสนิ ค้าที่มีการขนย้ายคราวละมากๆ เชน่ ขา้ ว น้าตาล ปนู ซีเมนต์ ถ่านหิน ก๊าซและผลิตภัณฑ์ ปิโตรเลยี ม ในรอบหลายปีทผ่ี ่านมาการขนส่งสนิ คา้ ทางรถไฟมีปรมิ าณและมูลค่าเพิ่มสูงขึน้ แตก่ ็ยังมีปญั หาอีกหลาย ประการที่ยังรอการปรับปรุงแก้ไข ทง้ั ในสว่ นของโครงขา่ ยทีไ่ ม่ทวั่ ถงึ และการเชือ่ มโยงระหว่างรถไฟกับการขนสง่ วิธอี ่นื ๆ ยงั ท้าได้ไม่ดีอย่างทผ่ี ู้ประกอบการขนส่งตอ้ งการ รปู ที่ 3 แสดงเครอื ข่ายการขนสง่ ทางรถไฟของประเทศไทย ซึ่งมีความ ยาวทง้ั สนิ้ 4,180 กิโลเมตร เส้นทางวิง่ ผ่าน 46 จงั หวัด

การขนสง่ ทางล้าน้า (Inland Water Transportation) หมายถงึ การ การขนส่งทางน้า (Water ขนสง่ ทางน้าที่ใชส้ ายน้าในแผ่นดนิ เป็นเส้นทางขนสง่ สินค้า ได้แก่ การ Transportation) ขนสง่ ผ่านคลองและแมน่ ้า เสน้ ทางการขนสง่ ทางลา้ น้าที่ส้าคัญของ ประเทศไทย คือ แมน่ ้าโขง เจ้าพระยา ท่าจนี ป่าสกั แมก่ ลองและบาง ปะกง การขนสง่ ทางทะเล (Sea and Ocean Transportation) หมายถงึ การขนสง่ ทางน้าที่ ผ่านทะเลและมหาสมุทร การขนส่งรูปแบบนี้ต้องใช้เงินลงทนุ มหาศาลในการ ก่อสร้างโครงสร้างสาธารณูปโภคพื้นฐาน เชน่ ทา่ เรือ และจุดเชื่อมต่อกบั การขนสง่ ทางถนนและทางราง สา้ หรับประเทศไทยการขนสง่ ทางทะเลเป็นการขนสง่ ระหวา่ ง ประเทศทีม่ มี ูลค่ามากทีส่ ดุ อาจกล่าวได้ว่าสินค้าน้าเข้าและส่งออกเกือบทั้งหมดของ ประเทศไทยใชก้ ารขนสง่ ทางทะเลทงั้ สนิ้ ณ ปจั จบุ นั การขนสง่ ทางทะเลของประเทศ ไทยเกือบท้ังหมดจะผ่านท่าเรือสองแหง่ ได้แก่ ท่าเรือกรงุ เทพ (คลองเตย) และ ท่าเรือน้าลกึ แหลมฉบงั จากสถิติของการท่าเรือแหง่ ประเทศไทย ณ ปี พ.ศ. 2550 มีสินค้าประมาณ 18 ลา้ นตนั และ 45 ลา้ นตันผ่านท่าเรือกรงุ เทพและท่าเรือแหลม ฉบังตามลา้ ดับ

3 การขนสง่ ทางอากาศ (Air Transportation)เปน็ รปู แบบการขนสง่ ทีไ่ ปได้ไกลที่สดุ และรวดเรว็ ทีส่ ุด แต่มตี ้นทนุ ต่อหน่วยแพงทีส่ ดุ จา้ เปน็ ต้องก่อสร้างโครงสร้างสาธารณปู โภคจ้านวนมหาศาลเพื่อรองรบั รูปแบบการ ขนส่งทางอากาศทั้งระบบ อกี ท้ังต้องอาศยั ระบบขนสง่ สินค้าทางถนนเพือ่ ให้สินค้าไปถึง ลูกค้าทีป่ ลายทางตามพื้นทีต่ ่างๆ ได้ ปัจจบุ นั ประเทศไทยมสี นามบนิ ที่ใหบ้ ริการเชงิ พาณิชย์ 35 แห่ง จ้าแนกออกเปน็ • สนามบนิ ระหวา่ งประเทศ (International Airports) ด้าเนินการโดยบรษิ ัทท่าอากาศยานไทยจา้ กดั (มหาชน) จา้ นวน 6 แห่ง ไดแ้ ก่ สนามบนิ ดอนเมือง สุวรรณภูมิ เชยี งใหม่ เชยี งราย ภเู กต็ และ หาดใหญ่จงั หวัดสงขลา ปริมาณการขนส่งสนิ ค้าของประเทศไทยเกือบท้ังหมดผ่านท่าอากาศ ยานเหล่านี้ • สนามบนิ ภายในประเทศ (Domestic Airports) เกือบท้ังหมดบริหารโดยกรมการขนส่งทางอากาศ กระทรวงคมนาคม ยกเว้นสนามบนิ สโุ ขทัย สมยุ และระนอง ซึง่ บริหารโดยบริษทั การบิน กรงุ เทพ จ้ากัดนอกจากนีย้ ังมีสนามบินอู่ตะเภา จงั หวดั ระยอง ซึง่ เป็นของกองทัพเรือ

เป็นระบบการขนสง่ ท่มี ีลักษณะเฉพาะเนื่องจากสินค้าท่ขี นส่งต้องอยู่ในรูป 4 ของเหลว เปน็ การขนสง่ ทางเดยี วจากแหล่งผลติ ไปยงั ปลายทาง ไมม่ ีการ ขนสง่ เที่ยวกลับสนิ ค้าที่นิยมขนสง่ ทางท่อ ได้แก่ น้า น้ามนั ดบิ ผลติ ภณั ฑ์ การขนส่งทางท่อ (Pipeline ปิโตรเลยี มและก๊าซธรรมชาติ ในสว่ นของน้ามันนั้น มีผู้ใหบ้ ริการขนส่ง Transportation) น้ามนั ทางท่ออยู่ 2 ราย ได้แก่ บริษัท ท่อส่งปิโตรเลยี มไทย จ้ากดั และ บริษทั ขนส่งน้ามันทางท่อ จา้ กัด แสดงโครงข่ายระบบขนสง่ น้ามนั ทางท่อ ของประเทศไทย ซึง่ ท้ังหมดเร่มิ จากโรงกลั่นน้ามันของบริษัทต่างๆ ตาม พื้นที่ชายฝั่งทะเลตะวันออกและชานกรงุ เทพฯ ไปยังคลังน้ามนั ทางด้าน เหนือของกรุงเทพมหานครและทีส่ ระบรุ ี ความยาวทอ่ รวมประมาณ 430 กโิ ลเมตร ปัจจบุ ันการใช้ประโยชน์ทอ่ ส่งน้ามนั ยังไม่เต็มที่เทา่ ทค่ี วรจะเปน็ ชว่ งทอ่ ที่ใชง้ านมากทีส่ ดุ คือ ชว่ งระหว่างคลังน้ามันล้าลกู กาไปยงั สนามบนิ สวุ รรณภูมิ ซ่งึ เปน็ การส่งน้ามันไปให้บรกิ ารแกส่ ายการบนิ ต่างๆ แมก้ ระนั้นอตั ราการใช้ประโยชน์ของชว่ งดงั กล่าวก็เพยี งแค่ประมาณ 50% ของความจุ เท่าน้ัน ผู้ประกอบการยงั นิยมขนสง่ น้ามนั ทางถนนมากกว่า เนื่องจากต้นทุนค่าขนสง่ ต่า้ กวา่ (เพราะว่าไมต่ ้องลงทุนก่อสร้างท่อ) และมี โครงข่ายท่ัวถึงท้ังประเทศ ผิดกบั ระบบท่อซ่งึ กระจุกตวั อยู่ในภาค ตะวนั ออกและรอบๆ พื้นที่กรงุ เทพมหานครเท่าน้ัน

เปน็ รารขนสง่ ทางทะเลจัดเปน็ การขนสง่ ที่มคี วามสา้ คญั ที่สดุ และใช้มากที่สดุ เมือ่ เทียบกบั รปู แบบ การขนสง่ อืน่ ๆ เนือ่ งจากมตี ้นทุนการขนส่งทีต่ ้า่ และสามารถขนสง่ สินค้าได้คราวละมากๆ โดย รูปแบบการขนสง่ ทางทะเลในปจั จบุ นั ส่วนใหญ่เปน็ การขนส่งดว้ ยระบบตู้คอนเทนเนอร์ (Container Box) โดยสินค้าที่จะขนสง่ จะต้อง มีการน้ามาบรรจตุ ู้ (Stuffing) และมกี ารขนยา้ ยตู้ขึ้นไว้ บนเรือ Container Ship ซึ่งออกแบบมาเปน็ พิเศษ ส้าหรับใช้ในการขนส่งสินค้าด้วย ตู้คอนเทนเนอร์ ซึง่ ท่าเรือที่จะมารองรบั เรือประเภทนี้ จะต้องมีการออกแบบ ทีเ่ รยี กว่า Terminal Design เพื่อใหม้ ี ความเหมาะสมท้ังในเชิงวิศวกรรมและ ส่งิ แวดลอ้ ม โดยจะต้องประกอบดว้ ย ท่าเทียบเรือ เขื่อน ก้ันคลืน่ รวมถงึ สิง่ อ้านวยความสะดวกต่างๆ ซึ่งผู้ที่ศึกษาในดา้ น Logistics จะต้องให้ความสนใจใน 5การทีจ่ ะศึกษาเกีย่ วกับการขนส่งดว้ ยระบบคอนเทนเนอรใ์ ห้เข้าใจอย่างลึกซ้งึ ะบบการขนสง่ ที่มี ลักษณะเฉพาะเนือ่ งจากสินค้าที่ขนสง่ ต้องอยใู่ นรปู ของเหลว เป็นการขนสง่ ทางเดยี วจากแหล่ง การขนส่งด้วยระบบต้คู อนเทนเนอร์ผลติ ไปยงั ปลายทาง ไมม่ ีการขนส่งเทีย่ วกลบั สนิ ค้าทีน่ ิยมขนสง่ ทางท่อ ได้แก่ น้า น้ามันดบิ ผลติ ภัณฑป์ ิโตรเลยี มและก๊าซธรรมชาติ ในสว่ นของน้ามันนั้น มีผู้ใหบ้ ริการขนส่งน้ามันทางท่ออยู่ 2 ราย ได้แก่ บริษทั ท่อสง่ ปิโตรเลียมไทย จ้ากดั และบรษิ ทั ขนสง่ น้ามันทางท่อ จ้ากดั แสดง (Container Box) โครงข่ายระบบขนส่งน้ามันทางท่อของประเทศไทย ซึง่ ทั้งหมดเริ่มจากโรงกลนั่ น้ามนั ของบรษิ ัท ต่างๆ ตามพื้นทีช่ ายฝั่งทะเลตะวันออกและชานกรงุ เทพฯ ไปยังคลังน้ามันทางด้านเหนือของ กรุงเทพมหานครและทีส่ ระบรุ ี ความยาวท่อรวมประมาณ 430 กิโลเมตร ปัจจบุ นั การใช้ประโยชน์ ท่อส่งน้ามนั ยงั ไมเ่ ต็มทีเ่ ท่าทีค่ วรจะเป็น ชว่ งทอ่ ทีใ่ ชง้ านมากทีส่ ดุ คือ ชว่ งระหว่างคลังน้ามนั ล้าลูก กาไปยังสนามบนิ สวุ รรณภมู ิ ซึ่งเป็นการสง่ น้ามนั ไปใหบ้ ริการแก่สายการบินต่างๆ แมก้ ระนั้น อตั ราการใช้ประโยชน์ของชว่ งดงั กล่าวกเ็ พยี งแค่ประมาณ 50% ของความจุ เท่าน้ัน ผู้ประกอบการยงั นิยมขนสง่ น้ามันทางถนนมากกว่าเนื่องจากต้นทนุ ค่าขนสง่ ตา้่ กวา่ (เพราะว่าไม่ ต้องลงทุนก่อสร้างท่อ) และมโี ครงข่ายท่วั ถึงท้ังประเทศ ผิดกับระบบท่อซ่งึ กระจุกตวั อยู่ในภาค ตะวันออกและรอบๆ พื้นที่กรุงเทพมหานครเท่าน้ัน

การสรา้ งโครงข่ายการขนสง่ ในทางปฏิบตั ิ รัฐบาลเปน็ ผู้ลงทุนก่อสร้างโครงสร้างสาธารณูปโภคข้ันพื้นฐานดา้ นการขนสง่ ผู้ประกอบการขนส่งทุกราย สามารถใช้งานงถนน รางรถไฟ ท่าเรือ สนามบนิ และท่อ ได้ค่อนข้างอิสระและเท่าเทียมกนั ดังน้ันสิง่ ทีท่ ้าทายความสามารถ อย่างมากของบริษัทขนสง่ ทั้งหลาย คือ ทา้ อย่างไรจึงจะหาประโยชน์จากสาธารณปู โภคฟรีๆ เหล่านี้ใหไ้ ด้เหนือกว่าคู่แข่ง ซึง่ ขึ้นอยู่กบั ความคิดสร้างสรรค์ของผู้ประกอบการทีจ่ ะสามารถออกแบบและคิดค้นนวตั กรรมด้านการขนส่งให้เปน็ ประโยชน์ต่อ ธุรกิจของตนเองไดห้ รือไม่ ในทางทฤษฎีนั้น มีการคิดค้นรูปแบบการสร้างโครงข่ายการขนสง่ ที่ช่วยเพิ่มประสทิ ธิภาพการขนสง่ มากมาย ในทีน่ ีจ้ ะขอยกตวั อย่างทีช่ ัดเจนสองประการไดแ้ ก่ การใช้ศนู ยก์ ลางกระจายสนิ ค้า (Distribution Center, DC) และการ พฒั นาระบบขนส่งหลายรปู แบบ(Multimodal Transportation)

การใชศ้ นู ยก์ ลางกระจายสินคา้ (Distribution Center, DC) เป็นการสรา้ งโครงข่ายทีค่ ิดขึน้ เพือ่ ลดเสน้ ทางการขนสง่ จา้ นวนมากและสลบั ซับซ้อน ใหเ้ หลือ โครงข่ายการขนสง่ น้อยลงและเรียบง่ายข้ึน ท้าให้บรหิ ารจัดการเส้นทาง งา่ ยขึ้น เปิดโอกาสให้เกดิ การ Consolidate สนิ ค้าให้เตม็ คันรถบรรทกุ ณ ศนู ยก์ ลางเนื่องจากมีค้าสง่ั ซื้อหนาแนน่ และช่วยลดต้นทุนการขนสง่ ใน ภาพรวม รูปที่ 5 และ 6 อธิบายประโยชน์ของการมีศูนยกลางการ กระจายสนิ ค้า ในกรณไี มม่ ีศนู ยก์ ลางกระจายสนิ ค้า (ดงั รูปที่ 5) หาก ผู้ผลติ A, B, และ C ต้องการสง่ สินค้าไปถงึ ลกู ค้า 1, 2, และ 3 โดยตรง ต้องวิง่ รถท้ังส้นิ 9 เสน้ ทาง (หรือเท่ากับจา้ นวนลูกศร) บางคันอาจจะ เตม็ คันบ้างไมเ่ ตม็ คันบ้าง ขากลบั กย็ ังต้องวิ่งรถเท่ยี วเปล่ากลับมา โรงงานเป็นระยะทางไกล แต่เมื่อมีศูนย์กลางกระจายสนิ ค้า (ดังรูปที่ 6) ผู้ผลติ A, B, และ C เพียงแต่วิง่ มาส่งสนิ ค้าทีศ่ นู ย์กลางและให้ศนู ยก์ ลาง Consolidate สนิ ค้าลงรถบรรทุกกอ่ นสง่ ต่อไปให้ลูกค้า 1, 2, และ 3 ต่อไป ซึ่งจา้ นวนเสน้ ทางท่ใี ช้น้อยลงเหลือเพียง 6 เส้นทางเท่านั้น และ ในบางคร้ังยังสามารถจดั ใหล้ กู ค้า 1, 2, และ 3 อยบู่ นเสน้ ทางเดียวกัน ได้อีกด้วย (จะกล่าวถงึ ในเรื่องการจดั เส้นทางการเดนิ รถต่อไป) ยง่ิ จะทา้ ให้จ้านวนเสน้ ทางน้อยและระยะทางสั้นลง ชว่ ยประหยัดต้นทุนการ ขนสง่ ลงไดอ้ ย่างเห็นได้ชดั

Multimodal การใช้การขนส่งหลายรูปแบบ รปู แบบการขนสง่ มหี ลากหลาย ไมไ่ ด้มเี ฉพาะการขนสง่ ทางถนนโดยรถเท่าน้ัน Transportation ความจรงิ ท่เี กดิ ขึน้ ขณะนีค้ ือผู้ประกอบการโลจิสติกส์ไทยมกั จะมีความเชย่ี วชาญ การขนสง่ แบบใดแบบหนึ่งเท่าน้ัน ไมส่ ามารถใช้ประโยชน์จากการขนสง่ รปู แบบ ต่างๆ ร่วมกนั ได้ แต่ในปจั จุบันรฐั บาลไดใ้ ห้ความสา้ คัญกบั การขนส่งหลาย รูปแบบมากขึน้ มีการออกพระราชบญั ญตั ิการขนสง่ ต่อเนื่องหลายรปู แบบ พ.ศ. 2548 กระทรวงพาณชิ ย์เองกร็ ับเปน็ ตัวกลางประสานให้เกิดการรวมกลุ่มของ ผู้ประกอบการโลจิสติกส์ซง่ึ มคี วามเช่ยี วชาญดา้ นต่างๆ เช่น ขนส่ง Shipping และ Freight Forwarder มาเปน็ พันธมิตรกนั เพื่อใหส้ ามารถทา้ ธรุ กิจไดค้ รบวงจร โดยมเี ป้าหมายระยะยาวว่าจะสามารถแข่งขนั ได้กับคู่แข่งทเ่ี ข้มแขง็ จากต่างชาติ ซึง่ เปน็ กรณที ี่น่าศกึ ษาเปน็ อยา่ งยง่ิ วา่ อนาคตของธรุ กจิ ขนสง่ และโลจิสติกส์ไทย จะเป็นอย่างไรในอนาคต

จดั ทาโดย 63302140101 น.ส. รุ่งรัตน์ แจม่ ศรี

THANK YOU


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook