Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore รับ สป. เอาลง E-book

รับ สป. เอาลง E-book

Published by เมฆา 13, 2021-01-16 02:43:25

Description: รับ สป. เอาลง E-book

Search

Read the Text Version

เอกสาร เรอ่ื งการรับ สป. ทางอากาศ เลม่ น้ไี ดจ้ ดั ทาสาหรับเป็นคู่มือในการ พฒั นา Unit School ของหนว่ ย วชิ าการ รบั สป. ทางอากาศ มคี วามจาเปน็ อยา่ งยง่ิ ของ หนว่ ยทหารทีต่ อ้ งปฏบิ ัติภารกิจ ภาคสนาม จงึ ตอ้ งมคี วามรู้ ความสามารถ เพ่อื ให้หนว่ ยปฏบิ ตั ิภารกจิ สาเร็จไดต้ ามที่ กาหนดไว้

เนื้อหา หนา้ บทที่ 1 เรอ่ื งท่ี 1 ประเภทของการขนส่ง 6–7 เร่ืองท่ี 2 สาเหตุทตี่ ้องมกี ารสง่ กาลงั ทางอากาศ 8 เรอ่ื งท่ี 3 วิธสี ง่ กาลงั ทางอากาศ 9 เรื่องที่ 4 วิธกี ารท้ิงลง บทที่ 2 10 – 15 เรอ่ื งท่ี 1 การเลอื กเขตสง่ ลง (DZ) สาหลับการใช้ร่ม เรอ่ื งท่ี 2 การหาขนาดของเขตสง่ ลง 16 – 17 เรอ่ื งท่ี 3 การหาจุดปล่อย 19 – 22 เรอ่ื งที่ 4 การประมาณค่าความเรว็ ของลมภาคพนื้ ดนิ 23 – 27 เร่ืองท่ี 5 ลาดบั ขนั้ การพจิ ารณาหาจดุ ปล่อย เร่อื งท่ี 6 การรบั ของทางอากาศ แบง่ การปฏบิ ตั อิ อกได้ 28 เรอ่ื งท่ี 7 การรายงานเขตสง่ ลง 29 - 31 เร่ืองที่ 8 การปเู คร่ืองหมายเพ่อื กาหนดจดุ ปล่อย เรื่องท่ี 9 การจัดกาลังรบั ของทางอากาศ 32 เรื่องที่ 10 การนาอากาศยาน เข้ามายงั พ้ืนที่ 33 – 34 เอกสารอ้างอิง 35 - 41 42 – 43 44 – 57 58

วิชาการรบั สป.ทางอากาศ มีวตั ถุประสงค์ ให้ผ้เู ข้ารับการฝึก - ศึกษา ทราบถงึ การ สนบั สนนุ ทางอากาศ เพือ่ ใหห้ นว่ ยที่ ปฏบิ ตั ิภารกจิ ที่มีความจาเปน็ ต้องการ รบั สนันสนุนทาง สป. และการส่งกาลัง หรอื การสง่ กลับของผบู้ าดเจบ็ เพราะการ รบในป่าและภเู ขา ไมม่ เี ส้นทางท่ีจะใช้ใน การขนสง่ ประเภททางอื่นที่รวดเรว็ ได้

- เพอ่ื ใหผ้ ้เู ข้ารับการฝึก เรียนรู้วิธกี าร รับ สป.ทางอากาศ,การส่งกาลังทางอากาศ ,และขดี ความสามารถของ บ. และ ฮ. - เพือ่ ใหผ้ ูเ้ ขา้ รับการฝกึ เรยี นรู้วิธีการ คานวนทาสนามสาหรับการส่งของลงสูพ่ น้ื และขนยา้ ย สป. หลงั จากการสง่ ลง -เพ่อื ให้ผเู้ ขา้ รบั การฝกึ รหู้ ัวข้อการ ร้องขอใหม้ กี ารสง่ กาลงั ทางอากาศ,การ เลือกพ้ืนท่ี,และการติดต่อสอื่ สารกนั นกั บนิ ได้

บทที่ 1 1. ประเภทของการขนสง่ ประเภทของการขนสง่ ของ กองทัพบกไทยในปัจจบุ นั การขนส่งกาลงั แบง่ ประเภทการขนสง่ ออกเปน็ ประเภท ใหญๆ่ ได้ 4 ประเภท คอื 1. การขนสง่ ทางท่อ 2. การบนส่งทางบก 3. การขนสง่ ทางน้า 4. การขนสง่ ทางอากาศ



2.สาเหตุที่ต้องมกี ารสง่ กาลังทาง อากาศ 1 ภมู ปิ ระเทศขัดขวาง เชน่ ภมู ิประเทศ เปน็ ป่าทึบ , เสน้ ทางทุรกันดาร , เป็นภเู ขาสูง ไม่ สามารถใชย้ านพาหนะอน่ื ๆ ได้ 2 ข้าศึกขดั ขวาง หน่วยปฏิบัตกิ ารแทรก ซึมเขา้ ไปปฏิบัตกิ ารหลงั แนวขา้ ศกึ ข้าศกึ มขี ีด ความสามารถขดั ขวางตาม เสน้ ทางส่งกาลังทาง บก , ทางนา้ ได้ 3 ระยะทางขัดขวาง หน่วยปฏิบัตกิ ารอยู่ ในระยะไกล ถา้ นามาประกอบกับเวลาแล้ว หนว่ ย รบั การสนบั สนุนไม่ได้รับส่งิ อปุ กรณ์ทัน ตามความตอ้ งการภายในเวลากาหนด

3. วธิ สี ง่ กาลงั ทางอากาศ 1 เครอ่ื งบินลงสู่พนื้ ให้เครือ่ งบินที่ บรรทกุ ของร่อนลงสนามทีเ่ ตรียมไว้ โดย เตรียมการทาสนาม ให้เครื่องบินลง 2 การท้งิ ของโดยใชร้ ่ม ใช้ร่มตดิ กบั ของรม่ จะการพยุงของลงกบั พื้น 3 การทิง้ ของโดยไม่ใชร้ ม่ เป็นวิธี ประหยดั มาก ของทีท่ ิ้งต้องไมเ่ สียหาย เช่น เสื้อผา้ อาหารแหง้ การทง้ิ แบบน้ี เคร่ืองบิน ตอ้ งลดความเรว็ ลงและระยะบินต่อพล สมควร

4. วธิ ีการท้ิงลง 1 การท้ิงทางประตู 2 การทิ้งทางปกี 3 การท้งิ ระบบเลอื่ นไหล 4 การทง้ิ โดยวธิ แี ยกหรือจงู 5 การทงิ้ แบบวิธีพเิ ศษ มี 2 แบบ - จูงออกระยะต่า - การเกี่ยวหยอ่ น

การทิ้งทางประตู (DOOR LOAD)

การทิ้งระบบเลื่อนไหล ( GARVITY )

การทงิ้ โดยวิธแี ยก หรอื จูง (EXTRACTION)

การจูงออกระยะตา่ (ROLEX)

การเก่ยี วหย่อน (HELICOPTER HOOKLOAD)

บทที่ 2 1. การเลอื กเขตสง่ ลง (DZ) สาหลับการ ใช้ร่ม 1 สถานการณ์ : ปราศจาก ขศ. , ใกลก้ บั ฐาน ลว. 2 รูปขบวนบิน และความสงู : ถา้ ใช้ เครอื่ งบนิ มากกวา่ 1 เครอ่ื ง ใช้ความสูง 200 ถงึ 300 ฟุต เหนอื สนาม 3 เส้นทางเข้า – ออก : ต้องมพี ้นื ที่ บิน เข้า – ออก ของสนาม 4 ขนาดของสนาม : ของ 1 ชิ้น / ความ ยาวของสนาม 50 ม. 5 การพิจารณาทางอากาศ : ภูมิ ประเทศท่ีเหมาะสม ,สภาพอากาศ,สิ่งกีดขวาง (หากมสี ง่ิ กีดขวางสูงกว่า 90 ม. ในรศั มี 8 กม. ใหร้ ายงานกอ่ น) 6 การพิจารณาทางภาคพ้ืน : รปู ร่าง และขนาด (ทพ่ี ึงประสงค์ 300 x 300 เลอื กได้ ทนั ท)ี ลักษณะพืน้ ผิว ,การระวังป้องกัน

เขตสง่ ลง มีทิศทางบินเขา้ ทางเดยี ว ตอ้ งมีพื้นที่ บินวนของเครอื่ งบนิ ดังน้ี - บ.ขนาดเบา มีพน้ื ทบี่ นิ วน อยา่ งนอ้ ย 1.5 กม. - บ.ขนาดกลาง มพี ืน้ ท่บี ินวน อย่างนอ้ ย 5 กม. หมายเหตุ มมุ ปดิ คือ มมุ ที่มสี ง่ิ กดี ขวาง ,มุมเปิด มุมเดยี ว 90 องศา

เขตสง่ ลง มที ิศทางบินเขา้ 2 ทาง ตอ้ งมีมุมเปดิ ในการบนิ เข้าไมน่ ้อยกวา่ 45 องศา หมายเหตุ มมุ เปดิ คอื มุมทไ่ี มม่ สี ิ่งกดี ขวาง

2. การหาขนาดของเขตส่งลง ขนาดของเขตส่งลง ถ้ามีการกระโดดร่ม หรือท้งิ สัมภาระทางอากาศตั้งแต่ 2 ร่มขนึ้ ไป จะมี “การกระจาย” หรอื ระยะถงึ พน้ื ดนิ ระหว่างร่มแรกถึงร่มสดุ ทา้ ย จะเป็น เครอ่ื งกาหนดความยาวของเขตสง่ ลง ซง่ึ “ระยะของการกระจาย” หาได้จากสตู ร สูตรคานวณระยะของการกระจาย D = ½ ST D = ระยะของการกระจาย (เป็นเมตร) S = ความเรว็ ของเครือ่ งบิน (เปน็ นอ็ ต) T = เวลาที่ใช้ในการทงิ้ ของ (เปน็ วินาที)

ระยะของการกระจาย vvvvv 1 S. 1 S. 1 S. 1 S. ย่านของการกระจาย จากภาพมรี ม่ 5 รม่ โดยคดิ 1 รม่ ต่อ 1 วินาที ร่มแรกจะไมน่ ับ ฉะน้นั แลว้ 5 ร่ม ใช้เวลาท้งิ ของ 4 วินาที

ตัวอยา่ ง ตอ้ งการรับสมั ภาระทาง อากาศโดยใชร้ ่มทง้ิ ของ ต้องการรับสมั ภาระทางอากาศ โดยใชร้ ่มทงิ้ ของ จานวน 5 รม่ เครื่องบิน บินสงู 500 ฟุต ความเร็วเครอ่ื งบิน100 น๊อต ความเรว็ ของลมผวิ พนื้ 5 นอ๊ ต จากสูตร D = ½ ÷ S x T แทนคา่ D = ½ ÷100 x 4 = 200 เมตร นั่นคอื ระยะของการกระจาย 200 ม. แต่เพ่อื ความปลอดภัยควรเพิม่ ความยาวหัวสนามทา้ ย สนามอกี 10 % ฉะนนั้ ความยาวของสนามรับของจงึ เป็น 240 ม. “หากความยาวของเขตสง่ ลงที่มีอยู่ สั้นกว่า ระยะของการกระจาย ควรกาหนดเทย่ี วบิน เพมิ่ ขน้ึ ”

ปัจจยั ที่มผี ลกระทบต่อการคานวณ ระยะการกระจาย - คา่ ความเร็วของเครอ่ื งบินในอากาศ จะตา่ งจากความเร็วภาคพน้ื ดิน - ทศิ ทางและความเรว็ ของลม การบิน ตามลม,ทวนลมหรือเฉยี งกบั แกนลม - การแปลงหน่วยของความเรว็ ของ เครื่องบนิ จากนอ๊ ตมาเปน็ เมตรตอ่ วินาที ซึง่ เปน็ ค่าโดยประมาณ 50 เมตร/วินาที

3. การหาจุดปล่อย - จดุ ปลอ่ ย เป็นจุดหนึง่ ทกี่ าหนดขน้ึ ทางพนื้ ดนิ อาจกาหนดไว้ในสนามทิ้งของ หรอื บรเิ วณใกล้เคียงกไ็ ด้โดยใช้ผ้าสัญญาณ เป็นเครื่องหมาย เพ่ือใหน้ ักบินและ จนท. ท้ิงของไดส้ ังเกตเห็น สาหรับแผน่ ผา้ สญั ญาณจะปเู ป็น รหัสอกั ษร ซ่งึ จะกาหนด แนวทางการบนิ และจุดปล่อย - สาหรับทิศทางบิน เพ่อื จะให้สง่ิ ของ ท่ที ิง้ ลง กระจายตามแกนยาวของสนาม จึง ควรกาหนดทิศทางบนิ ให้ขนานกับแนวแกน ยาวของสนาม

การหาระยะตา่ งๆ เพื่อนามา พจิ ารณากาหนดจดุ ปล่อย ซึ่งมอี ยูด่ ้วยกัน 2 ระยะ คือระยะของแรงเฉื่อย และระยะของความเยือ้ ง การหาระยะของแรงเฉ่อื ย เมอื่ สง่ิ ของท่ีถูกปล่อยออกไปแล้ว ก่อนทร่ี ม่ จะ กางเต็มทีน่ นั้ ร่มจะลอยไปตามทิศทางของเคร่อื งบิน เป็นระยะหนง่ึ และระยะจดุ ปล่อยไปถึงจุดทีร่ ม่ กาง เตม็ ทีน่ ัน้ เรียกวา่ “ระยะของแรงเฉื่อย” หาได้จากสตู ร D = ½ S D = ระยะของแรงเฉ่อื ย (หน่วยเปน็ เมตร) S = ความเร็วของเคร่อื งบิน (หน่วยเปน็ นอ๊ ต)

ตัวอย่างการหาแรงเฉอ่ื ย เครื่องบนิ เคลือ่ นทด่ี ว้ ยความเรว็ 100 น๊อต แลว้ ปลอ่ ยรม่ ทิ้งสมั ภาระลงมา จะมรี ะยะ ของแรงเฉื่อยเท่าไหร่ หาได้จากสตู ร D = ½ S แทนคา่ D = ½ x 100 = 50 เมตร * ระยะของแรงเฉ่ือย = 50 เมตร

การหาระยะเพ่อื นามาพิจารณา กาหนดจดุ ปลอ่ ย - การหาระยะของความเยอ้ื ง เม่อื รม่ กางเตม็ ที่รม่ จะถูกพัดไปตามทศิ ทางลมจน ร่มตกถงึ พื้นนน้ั เรียกว่า “ระยะของความเยื้อง” จะ คานวณไดด้ งั นี้ หาได้จากสูตร D = KAV D คือ ระยะของความเย้อื ง (หนว่ ยเปน็ เมตร) K คือ คา่ คงท่ขี องรม่ คดิ ไดจ้ าก (ร่มทง้ิ ของ = 2.6 , รม่ บุคคล = 4.1) A คือ ความสูงบนิ (คดิ หลักร้อยฟตุ ) V คอื ความเร็วผิวพน้ื ดนิ (หน่วยเปน็ น็อต)

ตัวอย่างการหาระยะของความเยือ้ ง เคร่ืองบิน บนิ สูง 500 ฟตุ แล้วปล่อยร่มทิ้ง สัมภาระลงมา จะมรี ะยะของความเย้อื ง ดงั น้ี.- (เมอ่ื ความเร็วลมผิวพืน้ ดนิ ประมาณ 5 นอ๊ ต) คา่ K รม่ ทิ้งของ = 2.6 หาได้จากสูตร D = KAV แทนคา่ D = 2.6x5x5 = 65 * ระยะของความเย้อื งคือ = 65 เมตร

4. การประมาณคา่ ความเร็วของ ลมภาคพ้นื ดิน โดยพจิ ารณาจากควนั ไฟ , การโปรยหญ้าแห้ง - ลอยตรง ๆ ไม่มีลม - ลอยทามุม 30 องศา ความเร็วลม 3 – 5 น๊อต - ลอยทามมุ 60 องศา ความเร็วลม 5 – 7 น๊อต - ลอยขนานกับพน้ื ความเรว็ ลม 8 น๊อตขนึ้ ไป - รปู ประกอบการพจิ ารณาความเร็วลม -

5.ลาดบั ขั้นการพจิ ารณาหาจดุ ปล่อย 1 กาหนดทิศทางเคร่ืองบนิ เขา้ สสู่ นาม โดยกาหนดใหข้ นานกับแกนความยาวของ สนาม 2 สมมตุ ิจดุ ตกถงึ พน้ื ของรม่ แรก ดา้ น หวั สนาม และบนแกนความยาวของสนาม 3 วัดระยะสวนทศิ ทางลม จากจุดสมมตุ ิ เปน็ ระยะทางเท่ากบั ระยะความเย้อื ง จะเปน็ จุด ท่รี ่มกางเตม็ ที่ 4 จากระยะความเยือ้ ง วัดระยะสวนทิศ ทางการบนิ เปน็ ระยะทางเท่ากับระยะของแรง เฉ่ือย จากจุดน้จี ะเป็นจุดปลอ่ ยทตี่ อ้ งการ

ทศิ ทางลมต้งั ฉากกบั แกนยาวสนาม ทิศทางลมขนานแกนยาวสนาม

ทิศทางลมเฉยี งกบั แกนความยาวสนาม ทิศทางลมเฉียงกบั แกนยาวของสนาม

6. การรบั ของทางอากาศ แบ่งการ ปฏิบตั ิออกได้ ดังน.ี้ - 1 การรอ้ งขอให้ส่งของทางอากาศ และ การรายงานเขตสง่ ลง 2 การเลอื กเขตส่งลง 3 เขตส่งลงสารอง 4 การทาเคร่ืองหมายบนเขตส่งลง 5 การรับรองว่าเป็นฝา่ ยเดียวกนั บนเขตส่ง ลง 6 การปฏิบัติทางภาคพ้นื ดนิ ในเขตส่งลง 7 การเกบ็ รวบรวม และการสง่ กลบั

7. การรายงานเขตส่งลง หวั ข้อรายงาน 1 นามรหสั = ประมวลลับ 2 ท่ตี ง้ั = เป็นพกิ ดั 6 ตวั 3 มมุ เปดิ = รายงานจากสง่ิ กีดขวางหนึ่งไปอีกท่ีหนึง่ หากไม่มสี ิ่งกีดขวางใหร้ ายงานวา่ มุมเปิด ๓๖๐ องศา 4 แนะนาทศิ ทางบนิ เข้า = ใหว้ ดั จากก่งึ กลางสนามฯ แล้ววดั ไปทางทศิ ทางบินเข้า 5 สิง่ กีดขวาง = คอื ส่งิ ทส่ี งู เกิด ๙๐ ม. ในรศั มี ๘ กม. ใหร้ ายงานเปน็ พกิ ดั โปล่า 6 จุดสอบ = เป็นจดุ ทสี่ ังเกตเหน็ ได้จากทางอากาศ หรือทาเคร่อื งหมายไวบ้ นพ้ืน ให้รายงานเป็นพกิ ัดโป ลา่ เชน่ เดยี วกับสง่ิ กีดขวาง 7 วันเวลาทีต่ ้องการ = ให้ใช้เหมือนรายงานข่าวสาร (๐๑๐๙๐๐ ส.ค. ๖๒) 8 สิ่งของท่ตี อ้ งการ = จานวนของทตี่ ้องการให้สง่ ส่งิ ทคี่ วรรายงานเพม่ิ เตมิ (สนามทงิ้ ของสารอง, จดุ เร่ิมต้น หรือจุดตรวจสอบวา่ อากาศยานไดบ้ ินมา ถกู ทาง)

ตัวอย่างการรายงานเขตสง่ ลง 1 ชื่อรหสั (ลบั ) = c ชาลี 2 ทีต่ ้งั = QS123456 3 มมุ เปดิ ของสนาม = 220 องศา ถงึ 190 องศา 4 ทิศทางบินเข้า = 360 องศา 5 สิง่ กดี ขวาง = เขานอ้ ยทศิ 240 องศา ระยะหา่ ง 1 กโิ ลเมตร 6 จดุ สอบ = วดั พระพทุ ธฉาย ทิศทาง 180 ระยะห่าง 4 กโิ ลเมตร 7 วันเวลาที่ตอ้ งการ = 191100 พ.ย. 63 8 สงิ่ ของทีต่ ้องการ = สป.5 เตม็ อัตรา สป.1 เตม็ อตั รา

8. การปเู ครอ่ื งหมายเพอื่ กาหนดจดุ ปลอ่ ย มี ๒ วิธี วิธีที่ 1 ความสูง 800 ฟตุ ลงมา แผ่นผ้า สัญญาณ ( โคมไฟ ) จานวน 5 ผนื - ปเู ปน็ หัว T 3 ผืน ปูเป็นขาตัว T 2 ผนื - ระยะตอ่ ของแผน่ ผา้ สญั ญาณหา่ งกัน 25 ม. วิธีที่ 2 ความสูง 800 ฟตุ ข้ึนไป แผ่นผา้ สญั ญาณ( โคมไฟ ) จานวน 7 ผนื - ปเู ป็นหวั T 3 ผนื ปูเปน็ ขาตัว T 2 ผนื - เคร่ืองบินจะบนิ เข้าทางขาตวั T - ระยะต่อของแผ่นผา้ สญั ญาณ หา่ งกัน 50 ม. - ปแู ผ่นผ้าสญั ญาณเพ่มิ ทางปกี ซ้ายตัว T 1 ผืน หา่ ง 200 ม. - ปแู ผ่นผ้าทางไกลอีก 1 ผนื หา่ งจากหัวตัว T 500 ม.

รหัสอกั ษรในกองทพั บก เวลากลางวนั การวาง รหัสอกั ษร เราใช้แผ่นสัญญาณ วเี อส - ๑๗ (VS - 17) วาง (แผน่ ผ้าสัญญาณดาเข้มเป็ นแผ่นผา้ สัญญาณหลักของรหสั อักษร)

วธิ ีที่ 1 เมื่อบินต่ากว่า 800 ฟุต ใชแ้ ผ่นผ้า สัญญาณ 5 ผนื ปูเปน็ รูปตัว T ระยะห่าง ระหวา่ งผืนผา้ 25 เมตร ดังรปู ภาพ ทิศทางลม 25 25 MM เมอ่ื บ.บนิ ความสูงต่ากวา่ 800 Ft. 25 25 MM + สญั ญาณควนั ไฟ รหสั บอกฝ่าย ทิศทางการบนิ

วธิ ีท่ี 2 เมือ่ บนิ สูงกว่า 800 ฟตุ ขึ้นไปใชแ้ ผ่น ผา้ สัญญาณ 7 ผนื ระยะหา่ งระหว่างผืนผ้า 50 เมตร และเพมิ่ ข้างหนา้ 1 ผนื ห่างจากหวั ตวั T. 500 เมตร กบั เพ่มิ ทางซา้ ยตวั T. 1 ผนื หา่ ง 200 เมตร ทิศทางลม 200 5 5 5 M 50 0 0 0M M +รหสั บอกฝ่าย MM สญั ญาณควนั ไฟ ทศิ ทางการบิน

ขอ้ ควรจาในการทาเครอ่ื งหมาย - การทาเครอื่ งหมายตอ้ งใหห้ ่างจากสิ่ง กาบังการเห็น ๑๕ : ๑ - ตอ้ งให้นักบินสังเกตเหน็ แผน่ ผา้ สัญญาณในระยะ ๑.๖ กม. ในความสูง ๑,๐๐๐ ฟุต - ตอ้ งใหส้ งั เกตเหน็ ไดเ้ พยี งทศิ ทางเดยี ว คือ ทิศทางท่ี บ. บินเข้า ( ใชไ้ ฟฉายหรือกระจกเรยี ก บ. ก็ได้ ) - การปแู ผน่ ผา้ ตอ้ งใหแ้ ผน่ ผ้าทามุม ๔๕ องศา กับ พ้นื ดิน และ หนั หนา้ ไปทศิ ทางท่ี บ. เข้า

ตวั อย่าง อัตรา 15 : 1 10 เมตร อัตรา 15 : 1 ทิศทางบิน แผ่นผ้าสัญญาณ 150 เมตร

การปแู ผ่นผา้ สัญญาณ ทศิ ทางบนิ เขา้

9. การจดั กาลงั รบั ของทางอากาศ 1 สว่ นบังคบั บัญชา - มหี น้าท่คี วบคมุ บังคับบญั ชา - มีกาลังพลประกอบด้วย หน.สว่ น สป.ส่ง ทางอากาศ , พลวิทยุ และ พลนาสาร 2 สว่ นทาเครือ่ งหมายหรอื ทาสนาม - ทาเครอื่ งหมายบนเขตส่งลง 3 ส่วนเกบ็ ของ - เก็บรวบรวม สป. / อุปกรณ์ส่งทางอากาศ - กลบเกลอ่ื นรอ่ งรอย 4 สว่ นขนของ - ขนย้าย สป. กลบั ฐาน 5 สว่ นระวงั ป้องกนั - ระวงั ปอ้ งกนั ข้าศกึ ท้งั ภายในและภายนอก

ภาพตัวอยา่ งการวางลงั

10. การนาอากาศยาน เขา้ มายังพ้ืนท่ี การนาเข้าดว้ ยระบบนาฬกิ า ๑ . เ มื่ อ ห น่ ว ย ภ า ค พื้ น ไ ด้ ยิ น เ สี ย ง เฮลิคอปเตอร์ แต่มองไม่เห็น ให้รายงานโดย กาหนดทิศทางหลักคือ (ทิศเหนือ,ทิศใต้,ทิศ ตะวันออก,ทิศตะวันตก,ทิศตะวันออกเฉียงเหนือ ,ทิศตะวันออกเฉียงใต้,ทิศตะวันตกเฉียงเหนือ และ ทิศตะวันตกเฉียงใต้) ที่ได้ยินเสียงก่อนเป็นอันดับ แรกว่าอยูท่ างทศิ ใดของท่หี มาย ๒ . เ มื่ อ ห น่ ว ย ภ า ค พ้ื น ม อ ง เ ห็ น เฮลิคอปเตอร์ แต่นกั บินไมส่ ามารถมองเห็นท่ีหมาย หน่วยภาคพ้ืนจะช่วยนา เฮลิคอปเตอร์ เข้าสู่ท่ี หมายได้โดยกาหนดทิศทางหัวเครื่องเฮลิคอปเตอร์ เป็น ๑๒ นาฬิกา และกาหนดตัวเองว่าอยู่ทางทิศกี่ นาฬิกาของ เฮลิคอปเตอร์ หรือนักบินอาจจะร้อง ขอให้หน่วยภาคพ้ืนแสดงควันสีเพื่อเป็นการยืนยัน ถ้าเมอื่ จาเปน็

การนา เฮลคิ อปเตอร์ เข้ามายงั พน้ื ท่ีขน้ึ – ลง

ตรงเข้ามา ยกแขนต้งั ขอ้ ศอกท้งั สอง ข้างแล้วโบกไปทางด้านหลัง ทาซา้ หลาย ๆ คร้ัง ความเรว็ – ชา้ ของเครือ่ งข้นึ อย่กู ับ การใหส้ ญั ญาณมือ

ใหบ้ นิ อยกู่ บั ท่ี (HOVER) เหยยี ดแขนทงั้ สองข้างใหไ้ ดร้ ะดบั ไหล่คว่าฝ่ ามอื

กลางวนั กลางคืน ใหบ้ นิ ถอยหลัง (MOVE BACK) กระทา โดยเหยยี ดแขนทั้งสองขา้ งลงขา้ งลาตัว หัน ฝา่ มือไปข้างหน้าแล้วโบกฝ่ามือไปข้างหน้า ชา้ ๆ สูงเสมอระดับไหล่ การปฏิบัติดังกล่าว กระทาเพ่ือให้ เฮลิคอปเตอร์บินลอยตัว เหนือพื้นประมาณ ๓ - ๕ ฟุต เคลื่อนท่ีไป ขา้ งหลัง ณ จดุ ท่ีตอ้ งการ

หมนุ ตวั ทางซ้าย (TURN TO LEFT) จดุ ท่ตี ้องการ (SPOT TURN) ช้มี ือขวาตรงทจี่ ดุ เล้ยี ว แขนซ้าย (ซ่ึงถือเป็นหางเครอ่ื ง) เหยียดตรงไปข้างหน้า แบบฝ่ามอื หงายขน้ึ แลว้ โบกไปขา้ งหลงั

กลางวนั กลางคนื เคล่ือนไปทางซ้าย (ทง้ั เครอ่ื ง) (MOVE TO LEFT) เหยยี ดแขนขวาไปทางข้างให้ไดร้ ะดบั แบมอื ไปขา้ งหนา้ แขนซา้ ยซง่ึ ติดกับลาตวั โบก ไปหาแขนขวา


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook