Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore การจัดตั้งจุดตรวจ

การจัดตั้งจุดตรวจ

Published by เมฆา 13, 2021-01-14 04:29:45

Description: การจัดตั้งจุดตรวจ จ่าหนุ่ม1

Search

Read the Text Version

แผนกวชิ าการรบพเิ ศษ กศ.รร.ม.ศม.

การจดั ตั้งจดุ ตรวจ

จ.ส.ท.อภิชาติ ภูมปิ ระพนั ธ์ ครู แผนกวชิ าการรบพเิ ศษ กศ.รร.ม.ศม.

การศึกษา - ม.6 รร.กุมภวาปี จว.อุดรธานี - ปวส.วทิ ยาลัยสารพัดช่างสระบุรี - ระดับปริญญาตรี คณะรฐั ศาสตร์ ม.รามคาแหง ปี 2562 - รร.นส.ทบ. รุ่นท่ี 13(2/52) ปี 2552 - หลักสูตรนายสบิ ช้ันต้น (เหลา่ ม.) รุ่น 1/62 ปี 2562 - หลกั สูตรส่งทางอากาศ รนุ่ ท่ี 299 (รร.สพศ.ศสพ.) ปี 2560 - หลักสูตรการรบแบบจู่โจม รุน่ ท่ี 109 (รร.ร.ศร.) ปี 2555 - หลักสูตรนายสิบ เคมี ชีวะ รงั สี นิวเคลยี ร์ ร่นุ ท่ี 9 ปี2561



จดุ ตรวจ คือ สถานท่ที ี่เจา้ พนักงาน ปฏบิ ตั หิ นา้ ทเ่ี พอ่ื ตรวจคน้ จบั กมุ หรอื ปอ้ งกนั ผกู้ ระทา ความผดิ ตามกฎหมายในเขตทางเดินรถหรือทางหลวง

วัตถปุ ระสงคห์ ลกั ของการจัดต้ังจุดตรวจ ๑. ตรวจจบั บุคคลผกู้ ระทาความผิด หรอื ผู้ต้องสงสยั วา่ ได้กระทาความผิด ๒. ตรวจสอบสนิ ค้า หรือสิ่งผดิ กฎหมาย ท่บี รรทกุ บนยานพาหนะต่าง ๆ หรือ ตดิ อยู่กบั ตวั บคุ คล ๓. จากดั เสรีในการเคลือ่ นยา้ ยหรือการปฏบิ ตั ขิ องฝา่ ย ตรงข้าม

๔. ปอ้ งกันการลักลอบขนส่งลาเลียงวตั ถหุ รือสิง่ ของ ท่ีมกี ารควบคุม ๕. รักษาความปลอดภัย บก., ทก.หรอื ฐานปฏบิ ตั กิ าร

ประเภทของจดุ ตรวจ ๑. จุดตรวจถาวร ๒. จดุ ตรวจเรง่ ดว่ น (จุดตรวจลอย)

๑. จุดตรวจถาวร จดุ ตรวจถาวร คอื จดุ ตรวจที่มเี จ้าหนา้ ท่ปี ฏิบัตหิ นา้ ท่ี ตลอด ๒๔ ชม. มเี ครือ่ งกีดขวางถาวร และก่งึ ถาวร จัดใหม้ แี สงสอ่ งสวา่ งเพยี งพอในเวลากลางคนื แสดง เครือ่ งหมาย ณ จดุ ตรวจโดยแน่ชดั สามารถให้ ยานพาหนะ และบุคคลหยุดตรวจ ได้อยา่ งปลอดภัย

๑. จุดตรวจแบบประณีตคอื จุดตรวจทีจ่ ดั ตั้งข้ึนในพน้ื ท่ีเมือง หรอื ในพ้นื ท่โี ลง่ กวา้ ง ตามท้องที่ ต่างๆ โดยปกติมักจะจัดตง้ั ตามถนน สายหลัก (ภาพ 1 ) A.พืน้ ทตี่ รวจยานพาหนะ B. พืน้ ทต่ี รวจสตรี C. ส่ิงกดี ขวาง D. จุดเฝ้าตรวจ E. ชุดตอบโต้ F. พืน้ ทคี่ วบคุมตวั

การจดั ต้งั จุดตรวจถาวร โครงสร้างทางกายภาพของจุดตรวจหากไม่ต้องพจิ ารณาถงึ ประเภท ของจุดตรวจ จุดตรวจทุกแห่งกจ็ ะมีลกั ษณะและโครงสร้างทว่ั ไปที่ คล้ายกนั จุดตรวจโดยทว่ั ไปจะประกอบด้วยส่วนต่างๆ ดงั นี:้ ๑. สิ่งกดี ขวาง (จาหล่อ) ๒. พืน้ ที่ตรวจค้น ๓. จุดเฝ้าตรวจเพื่อการระวงั ป้องกนั และจุด เตรียมพร้อมสาหรับการปะทะ ๔. พืน้ ทหี่ ยุดรอ

๑. สิ่งกีดขวาง การจดั ตงั้ จุดตรวจสามารถทาได้โดยการวางสิ่งกีดขวางสองอันให้ เปน็ แนวขนานกันขวางถนนไว้ (เวน้ ระยะห่างระหว่างกนั ) ส่ิงกีดขวางน้ี จะต้องมีขนาดใหญ่และหนาพอทีจ่ ะปอ้ งกันไมใ่ หย้ านพาหนะแลน่ ฝ่าไป ได้ ระยะห่างระหวา่ งส่ิงกีดขวางจะขึ้นอยกู่ บั จานวนของยานพาหนะท่ี ควบคุมไว้ในบริเวณพน้ื ท่ตี รวจคน้ ใหว้ างไม้กระดกไว้ตรงจุดกงึ่ กลาง ระหวา่ งสง่ิ กีดขวางสองอันเพ่ือควบคมุ การเคลอ่ื นทจี่ ากพน้ื ที่ตรวจค้นไป ยงั สิ่งกีดขวางทีก่ าหนดไว้ใหเ้ ป็นทางออก

๒.พืน้ ทต่ี รวจค้น ประเภทของการตรวจค้นจะเป็ นปัจจัยทกี่ าหนดจานวน ยานพาหนะ ทต่ี ้องควบคุมไว้ในพืน้ ทต่ี รวจ ค้นหาก จาเป็ น สามารถ แยกพืน้ ที่ตรวจค้นเป็ นส่วนต่างๆ ดงั นี:้ - พืน้ ทต่ี รวจค้นยานพาหนะ - พืน้ ทต่ี รวจค้นผู้หญงิ - พืน้ ทต่ี รวจค้นบุคคลประเภทอื่นๆ ได้แก่ ผู้ต้องสงสัย และบุคคลอื่นๆ ทตี่ ้องควบคุมตวั ไว้เพ่ือสอบสวน

๓.จดุ เตรียมพร้อมสำหรับกำรปะทะ ต้องจัดต้งั จุดเตรียมพร้อมสาหรับการปะทะเพ่ือวางตาแหน่ง ยานพาหนะ อาวธุ สนับสนุน และวางกาลงั พลเพื่อเฝ้าตรวจ และคอยระวงั ป้องกนั จุดตรวจ ๔.พน้ื ทหี่ ยดุ รอ จดั ต้งั พืน้ ทห่ี ยดุ รอโดยเว้นระยะ ห่างไว้หลายร้อยเมตรก่อนถงึ จุดตรวจเพ่ือควบคุม การจราจรและเพ่ือไม่ให้จุดตรวจเกดิ ความสับสนและมี ความคบั คง่ั มากเกนิ ไป

การจดั กาลังระดับหมวด rer

การจัดกาลงั การจดั เฉพาะกจิ เจ้าหน้าท่ี ทป่ี ฏบิ ตั ิงาน ณ จุดตรวจจะจดั กาลงั เป็ นชุดหรือส่วนต่างๆ ดงั ต่อไปนี้ เพื่อให้กจิ เฉพาะต่าง ๆ บรรลุผลสาเร็จ ๑. ส่วนบังคบั การ (บก.) ๒. ส่วนระวงั ป้องกนั ๓. ชุดตรวจค้น ๔. ชุดประจาช่องทาง ๕. กาลงั พลอื่นๆ

Razor barbed tape wire ( หลวดหนามหีบเพลง) cover (รวป.) cover (รวป.) Quick reaction force Detention area (พืน้ ท่ีควบคุม) ชดุ เผชญิ เหตุ civilian(ประชาชน) criminal (ผูก้ ระทาผิด) cover (รวป.) Command post (ทบ่ี งั คับการ) Machine gun(ปืนกล) Machine gun(ปนื กล) Vehicle search area cover (รวป.) Search area พนื้ ท่ีตรวจค้นยานยนต์ Search area พน้ื ที่ตรวจคน้ พืน้ ทตี่ รวจคน้ cover (รวป.) cover (รวป.)

๑.ส่วนบงั คบั การ ส่วนบงั คบั การประกอบดว้ ย ผบ. มว. , รอง ผบ. มว.หรอื ผบ.หมู่ ที่ได้รับเลอื กมา พลวิทยุ และเจา้ หนา้ ที่ พยาบาล ๒.สว่ นระวงั ป้องกนั ส่วนระวงั ปอ้ งกนั ประกอบดว้ ย ชุดระวงั ปอ้ งกัน และ ชุดเผชิญเหตุ จะวางตาแหนง่ เฝ้าตรวจ และ/หรอื วาง ตาแหน่งระวงั ป้องกันตามวงรอบกาลงั พลของส่วนระวงั ป้องกนั จะคอย เฝ้าตรวจดูการปฏิบัตใิ นพนื้ ที่ตรวจคน้ อย่างต่อเนอื่ งและคอยระวัง ปอ้ งกนั ให้กบั กาลงั พลทีก่ าลงั ปฏิบัตหิ นา้ ท่ี ณ จุดตรวจ นอกจากน้ี ยังคอยระวังปอ้ งกันให้แกช่ ดุ ยามคอยเหตุและพืน้ ทีห่ ยุดรอ

ชุดเผชิญเหตุ (Quick reaction force-QRF) เป็นชดุ ท่ซี อ่ นพรางตัว จัดชุดโดยมีจดุ มุ่งหมายเพื่อ ปอ้ งกันไม่ใหย้ านพาหนะเลยี่ งจดุ ตรวจ กาลงั พลสว่ นนี้อาจ เป็นส่วนหนึง่ ของสว่ นระวังป้องกันและสามารถตอบโต้ การจโู่ จมท่เี กดิ ขึน้ บริเวณจุดตรวจหรอื สามารถรบั มอื กับ สถานการณฉ์ ุกเฉนิ และตอ้ งเคล่ือนท่ีไปยงั จดุ ตรวจได้ อยา่ งรวดเรว็ เพ่อื เป็นกาลังสนับสนุนในสถานการณท์ ่จี าเปน็

๓. ชดุ ตรวจคน้ ชดุ ตรวจค้นประกอบดว้ ยกาลงั พลสอง ถึงสามนาย มีหนา้ ท่ีตรวจค้นยานพาหนะและตัวบคุ คล โดยจะ แบง่ หนา้ ทีก่ นั ทางานตามส่วนตา่ งๆ คอื พลตรวจค้นและพลระวงั ปอ้ งกนั ในระหว่างที่ทาการตรวจค้น กาลังพลอย่างน้อยหนง่ึ นาย ของสว่ นระวงั ปอ้ งกนั จะตอ้ งคอยตรวจการณ์หรอื จบั ตาดูบคุ คล หรอื ยานพาหนะทีก่ าลังถกู ตรวจค้นอยตู่ ลอดเวลา

๔. ชุดประจาช่องทาง จะควบคมุ ทางเขา้ -ออก ของจดุ ตรวจและ พื้นที่หยุดรอ คอยควบคมุ สายการจราจรผา่ นจดุ ตรวจ รวมทั้งการเคลื่อนท่ี จากทางเข้าไปยังพน้ื ทตี่ รวจค้น และจากพื้นที่ตรวจคน้ ไปยังทางออก ๕. กาลังพลส่วนอน่ื ๆ หากเปน็ ไปได้ ควรจะมีกาลังพลดงั ต่อไปนี้ ไวค้ อยสนบั สนุนการปฏิบตั ิหน้าที่ ทีจ่ ดุ ตรวจ - เจา้ หนา้ ทต่ี ารวจหรอื เจ้าหนา้ ปกครองที่ในพ้นื ท่ี - ลา่ ม - เจา้ หนา้ ทีต่ รวจค้นผ้หู ญิง ซ่งึ เป็นผทู้ ไ่ี ดผ้ ่านการ ฝกึ มาแลว้

จดุ ตรวจแบบเรง่ ด่วนนั้นจดั ต้ังข้ึนเพ่อื ไม่ให้ผถู้ ูกตรวจค้นรู้ตัวโดยจัดตัง้ ในพนื้ ที่ ที่ผ้สู ญั จรผ่านเขา้ มามองไม่เหน็ จนกวา่ จะเขา้ มาในระยะใกล้และไมส่ ามารถถอย กลับหรอื หลบหนไี ปไดโ้ ดยที่เจ้าหน้าทม่ี องไม่เหน็ พื้นทีท่ เี่ หมาะสมในการจดั ต้ัง จดุ ตรวจแบบเร่งดว่ นได้ มดี งั ตอ่ ไปน้ี - อโุ มงคแ์ ละทอ่ ขนาดใหญ่ - สะพาน - ชอ่ งทางแคบหรือช่องเขา - บริเวณพืน้ ท่ถี ดั จากโค้งหกั มมุ - ทางแยกตรงทางหลวง - ภูมิประเทศสาคญั ตรงทางหลวง - พน้ื ทีล่ าดอีกด้านของเนินเขา (ลาดหลงั เนิน) - พนื้ ทอ่ี ่นื ๆ ท่ไี ม่สามารถมองเห็นไดใ้ นระยะไกล

จดุ ตรวจแบบเร่งดว่ น มผี งั โครงสรา้ งพ้นื ฐานคล้ายกบั จุดตรวจแบบ ถาวร อยา่ งไรกต็ าม เนอ่ื งจากจุดตรวจแบบเร่งด่วนเป็นการจดั ตง้ั แบบชว่ั คราวและ เปลีย่ นพนื้ ทไ่ี ปเรือ่ ยๆ ดังนัน้ หมวดหรือตอนที่จดั ต้งั จดุ ตรวจจะตอ้ งนาวัสดุอปุ กรณ์ ท่จี าเป็นในการจัดต้งั จดุ ตรวจไปกบั หน่วยของตนด้วย หมวดหรอื ตอนทป่ี ฏิบัติ หนา้ ทส่ี ามารถใชย้ านยนต์ของหนว่ ยประกอบกบั ลวดหนามหีบเพลงจัดวางเป็น เคร่ืองกดี ขวาง โดยจดั วางยานยนตป์ ดิ กนั้ ถนนหรอื เสน้ ทางบางส่วน พ้ืนท่ีตรวจคน้ จะอยรู่ ะหวา่ งยานยนตท์ ีใ่ ชเ้ ปน็ เครอื่ งกีดขวาง PKOPlatoon ตาแหน่งของจะอยตู่ รงสว่ นทา้ ย ท้ังสองฝัง่ ของจดุ ตรวจ และคมุ้ กัน ดว้ ยอาวุธอัตโนมตั ซิ ่ึงอาจตดิ ต้งั อยูก่ บั ท่ีหรือไมก่ ็ได้ วางกาลังชุดตอบโต้ ที่ซอ่ นพรางตวั อยู่ใกลบ้ ริเวณจุดตรวจ PKO Platoon

การจดั กาลังระดับหม/ู่ ชป. ๑. ผบ.หมู่/ผบ.ชป. ๒. รอง.ผบ. หมู่/รองผบ.ชป. ๓. พลวทิ ยุ ๔. พลตรวจค้น (๑นาย ) ๕. พลจราจร (๒นาย) ๖. พลระวงั ป้องกนั (๓นาย) ๗. พลซ่มุ /สกดั กน้ั (๒นาย) rer

ผบ.ชุด ชป. พลวทิ ยุ รวป. รอง ผบ.ชป. cover (ซุ่ม/สกดั ก้นั ) Command post (ทีบ่ ังคบั การ) พลจราจร รวป. พลจราจร Vehicle search area cover (ซุ่ม/สกดั กน้ั ) พืน้ ท่ตี รวจค้นยานยนต์ พลตรวจคน้ พลระวงั ปอ้ งกัน)

การตรวจค้นบุคคล ก.หากพบของผิดกฎหมายในตัวบคุ คลให้ทาการควบคมุ ตัว และรายงานให้ผบู้ ังคบั บญั ชาทราบ ข.หากบคุ คลปฏิเสธไม่ยอมใหต้ รวจคน้ ใหค้ วบคุมตัวทาการ ตรวจคน้ และรายงานใหผ้ ู้บังคบั บัญชาทราบ ค.หา้ มตรวจคน้ แบบสมั ผัสตวั กบั เพศตรงขา้ มเดด็ ขาดไมว่ า่ ในกรณีใดๆทง้ั สน้ิ หากไมม่ ีทหารหญงิ มาทาการตรวจคน้ ตอ้ งทาการตรวจค้นแบบไม่สมั ผัสตัว rer

ง.ตรวจคน้ กระเป๋ าทกุ ใบนอกจุดตรวจใกล้กบั หลุมวัตถุ ระเบดิ ทย่ี ังไม่ระเบดิ (UXO) ใหค้ นทม่ี ีกระเป๋ าเอา ของออกจากกระเป๋ าใหห้ มดขณะทถี่ ูกตรวจคน้ การตรวจค้นแบบสัมผัสตัว การตรวจค้นแบบไม่สมั ผัสตวั (สาหรับการตรวจค้น เพศตรงข้าม) การตรวจค้นดว้ ยเครื่องตรวจจบั โลหะ rer

การตรวจคน้ แบบสมั ผสั ตวั • การค้นตัว. การตรวจคน้ ชนิดนเี้ ป็นการตรวจคน้ รา่ งกายอยา่ งรวดเรว็ เพ่ือหา อาวุธหลกั ฐานหรอื สงิ่ ผิดกฎหมายเมือ่ ทาการตรวจค้นชนดิ น้คี วรมีผู้ช่วย (คน ระวงั ป้องกัน) และพยานอยดู่ ว้ ยถา้ เป็นไปได้ในการค้นตัวผตู้ รวจคน้ ต้องอยใู่ น ตาแหน่งท่ีสามารถจะปอ้ งกันอันตรายท่ีอาจเกิดขนึ้ ได้ โดยอาจให-้ rer

๑.การตรวจคน้ แบบใหห้ นั หนา้ เข้าหากาแพง การตรวจคน้ แบบใหพ้ งิ กาแพงนี้จะชว่ ยเพม่ิ ความ ปลอดภยั ให้แก่ผู้ตรวจค้นโดยการจดั ใหผ้ ูถ้ ูกตรวจคน้ อยู่ ในท่าทเ่ี กง้ ก้างและทาอะไรไม่ถนดั rer

การตรวจค้นบุคคลหลายคน: • เมื่อต้องตรวจค้นบุคคลตง้ั แต่ ๒ คนขน้ึ ไปตอ้ งใหบ้ คุ คลท่ถี กู ตรวจค้นหนั หน้า เข้าหากาแพง (หรือวตั ถอุ นื่ ) เดียวกนั แตม่ รี ะยะหา่ งมากพอทีพ่ วกเขาจะไม่ สามารถเออื้ มมอื ถึงกนั ได้ ผรู้ ะวังป้องกนั จะยนื อยู่ดา้ นหลังบคุ คลทถี่ กู ตรวจคน้ โดยยนื ห่างออกไปราว ๒-๓ กา้ วโดยมีอาวุธเตรียมพรอ้ ม rer

การตรวจค้นจะเร่ิมจากคนทอ่ี ยู่ขวามอื สดุ ของแถว หลงั จากตรวจคนแรกเรยี บรอ้ ยแลว้ ผู้ตรวจค้นจะนาคนแรกทต่ี รวจ เสรจ็ แลว้ ไปอยูซ่ ้ายสุดของแถวโดยให้ยนื พิงกาแพงในตาแหน่งที่ เหมาะสมจากน้ันผตู้ รวจคน้ จะตอ้ งใช้ความระมัดระวังในการ เขา้ ถงึ และตรวจค้นบคุ คลท่ีเหลืออยโู่ ดยไม่ยืนขวางอยรู่ ะหว่าง บคุ คลท่ถี กู ตรวจค้นและผรู้ ะวงั ปอ้ งกนั rer

เทคนคิ การตรวจคน้ บุคคล ผูต้ รวจคน้ ทาการตรวจคน้ ทลี ะดา้ นของลาตวั ผู้ต้องสงสัย โดยเร่มิ จากส่วนบน ของร่างกายดงั น้ี - ถอดหมวกผู้ต้องสงสัย คน้ ในหมวกและตามเข็มขดั อย่างละเอียด เสร็จแลว้ วาง หมวกไวใ้ กลๆ้ ที่ซง่ึ ผ้ชู ว่ ยตรวจยนื อยู่ อาจจะใชห้ มวกเปน็ ทเี่ ก็บสิ่งของที่ ค้นพบได้ - จบั ฝ่ามอื ของผู้ต้องสงสยั ออกจากผนงั ผลิกดฝู ่ามือ น้ิวมอื และเลบ็ มอื rer

การตรวจคน้ ยานพาหนะ การตรวจคน้ ยานพาหนะตอ้ งเปน็ ไปอย่างมแี บบแผนซ่ึงตอ้ งตรวจคน้ บรเิ วณ ต่อไปน:ี้ ๑. ภายนอกตัวรถ ๒. ภายในตวั รถ ๓. ห้องสัมภาระหรอื ทีว่ ่างท้ายรถสาหรบั บรรทกุ ของ

๑. ภายนอกตัวรถ ๑.บงั โคลนหน้าขวาและล้อ ๒.ใต้กนั ชนหน้าและหลังตะแกรง ๓.บงั โคลนหน้าซ้ายและล้อ ๔.ใต้ฝัง่ ซา้ ยของตัวรถ (ใช้กระจกที่หาไดห้ รือทจ่ี ดั หามาให้โดยเฉพาะเพ่ือดูใต้ทอ้ งรถ) ๕.บงั โคลนหลังซา้ ยและลอ้ ๖.ดา้ นลา่ งและหลงั กันชนหลัง ๗.บงั โคลนหลงั ขวาและลอ้ กลบั ไปใต้ฝงั่ ขวาของตวั รถ ๘.ด้านบนของรถรวมท้ังท่ีวางกระเป๋าดว้ ย ๙.สาหรบั รถท่ีมขี นาดใหญก่ ว่าและมเี พลาหลายอันหรอื ลอ้ หลังคู่ให้ตรวจดูบริเวณ ตามแนวยาวของเพลาและระหวา่ งลอ้ คู่เปน็ พเิ ศษ

rer

๒. ภายในตวั รถ ๑. แผงบังแดด ๒.ใตเ้ บาะ ๓. หลงั เบาะ ๔. ใต้พรม, ๕. ชอ่ งขา้ งประตู, ๖. ใต้แผงหนา้ ปัดควบคมุ , ๗.ในชอ่ งเก็บของ, ๘.ชอ่ งทอ่ี าจซอ่ นอยูใ่ นเพดาน/ ๙. กล่องแบตเตอร่ี, ๑๐. พื้นท่ีบรรทกุ สัมภาระ หลงั คาท่ี มกี ารบุ, rer

rer

๓. ห้องสมั ภาระหรือที่วา่ งท้ายรถสาหรบั บรรทุกของ ๑. ประตกู ลหรอื บริเวณอนื่ ๆทอ่ี าจเปน็ ทซ่ี ่อนเชน่ ในยางสารอง ๒. ตรวจดูสัมภาระและกระเป๋าของแต่ละคนหรอื ส่งิ ของท่ีน่า สงสัยควรถามคาถามเกี่ยวกับการตรวจค้นในท่เี ก็บของ ๓. ใช้ใหค้ นขบั รถเปดิ ทกุ อยา่ งใหใ้ นขณะทท่ี า่ นคอยสงั เกตดู ๔. ให้คนขับเปิดฝาครอบเครอ่ื งยนต์มองหากับระเบิดและตรวจดู ทุกท่ตี ั้งแตบ่ นจรดล่างท่อระบายอากาศเปน็ บริเวณทต่ี ้องใสใ่ จ เป็นพเิ ศษ

rer

เตรียมแผนเผชิญเหตุทจี่ ุดตรวจ • ผบ. หมวดจะตอ้ งกาหนดยุทธวิธีและกระบวนการในการตอบรบั สถานการณ์ตา่ งๆ ที่อาจเกิดขึน้ เช่น อาจมีคนเดินเท้าและยานพาหนะ จานวนมากผา่ นเขา้ มาในจุดตรวจ ความแออัดคบั ค่งั เกิดจากนสิ ยั การขบั ข่ี อย่างไรร้ ะเบียบวินยั ของคนในพน้ื ท่แี ละอาจเกิดจากการขาดแคลนกาลงั พลทพ่ี ูดภาษาท้องถ่ินได้ • ผกู้ ่อความไม่สงบอาจใชป้ ระโยชนจ์ ากความสับสนเพอ่ื ลักลอบขนอาวธุ และวตั ถรุ ะเบิดผา่ นจุดตรวจ กาลงั พลท่จี ุดตรวจจงึ ตอ้ งเผชิญกับภยั คกุ คามจากความรุนแรง • ผบ. จะต้องวางแผนและกาหนดแผนเผชิญเหตใุ นระหว่างการจัดกาลงั พล เพื่อไปปฏิบตั ิหนา้ ทที่ ่ีจดุ ตรวจ กฎการใชก้ าลังตอ้ งมีความชัดเจนและ ยืดหยนุ่ พอท่จี ะตอบสนองการเปลยี่ นแปลงท่รี วดเรว็ ตามสถานการณ์ใดๆ ท่อี าจเกดิ ข้นึ

สถานการณ์ทีอ่ าจตอ้ งเผชญิ ๑.การซุม่ ยิง หาทก่ี าบัง, ใชค้ วนั เป็นฉากกาบงั , คมุ้ กันผ้บู าดเจบ็ , หา ตาแหน่งซุ่มยิง, รายงาน ,ตอบโต้สถานการณต์ ามกฎการใช้ กาลัง ๒. การขวา้ งวัตถุ รักษาระยะห่าง, ค้มุ กันตนเองและคนอื่นๆ, หา้ มขวา้ งวัตถุ กลบั ไป, รายงาน, ตอบโตส้ ถานการณ์ตามกฎการใช้กาลงั

๓. การขับรถผา่ นเข้ามายงิ หาที่กาบงั , รายงาน, ตอบโตส้ ถานการณต์ ามกฎการใช้กาลัง ๔. ผู้บาดเจบ็ ทเ่ี ป็นพลเรือน ทาการปฐมพยาบาล, รายงาน และรอ้ งขอการส่งกลับสาย แพทย์ ๕. อันตรายทเี่ กิดข้นึ ฉกุ เฉิน ค้มุ กนั ตนเองและคนอน่ื ๆ, ใช้กาลังตามกฎการใช้กาลัง, รายงาน

๖. ประชาชนเกิดความไม่พอใจการทางานของเจ้าหนา้ ที่ พยายามใชก้ าลังเพือ่ เขา้ สู่จดุ ตรวจ ตรวจตราประเมิน สถานการณอ์ ารมณข์ องฝูงชน ชุดเผชญิ เหตุ(QRF)เพม่ิ เติมกาลัง ใหก้ บั สว่ นที่ตอ้ งเผชิญหนา้ กบั ฝงู ชน ควบคุมฝูงชนโดยการจากัดวง และกระจาย กาลงั ตรึงฝงู ชน ใหอ้ ยใู่ นพื้นทที่ ส่ี ามารถควบคมุ ได้ ใชก้ ารสังเกตหาตัวแกนนาและทา การเจราจากับตวั แกนนา ถามความต้องการจดุ ประสงค์ ทาความเขา้ ใจกบั ประชาชน ถึงการปฏิบัติงานของหน่วย การใชก้ าลงั ใหเ้ ปน็ ไปตามกฎการใช้กาลัง rer


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook