Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore สมบัติของวัสดุ

สมบัติของวัสดุ

Published by ศุภธิดา มุสิกมาศ, 2022-01-21 04:12:33

Description: สมบัติของวัสดุ

Search

Read the Text Version

คานา ชุดกจิ กรรมการเรยี นรู้ กลมุ่ สาระการเรยี นรวู้ ิทยาศาสตร์ เรอ่ื ง สมบัติของวสั ดุ ในชีวติ ประจาวัน สาหรบั นกั เรียนชัน้ ประถมศกึ ษาปที ่ี 5 ชดุ ที่ 1 ความยดื หยุ่นของวัสดุ พฒั นาขึน้ โดยยดึ มาตรฐานการเรยี นรู้ และตวั ชว้ี ัด กลุม่ สาระการเรยี นรวู้ ิทยาศาสตร์ สาระท่ี 3 สารและสมบัตขิ องสาร ตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พทุ ธศักราช 2551 เพื่อใช้จัดกิจกรรมการเรยี นรู้ เรอ่ื ง สมบัติของวัสดุในชีวติ ประจาวนั ชัน้ ประถมศกึ ษาปที ี่ 5 ประกอบด้วย ค่มู ือการใช้ชุดกิจกรรมการเรียนรู้ วธิ ใี ช้ชดุ กิจกรรมการเรียนรู้ บทบาทของครู บทบาทของนกั เรยี น และชดุ กิจกรรมการเรยี นรู้ ซึง่ มใี บความรู้ใหน้ ักเรียนศกึ ษาและมกี ิจกรรมให้นกั เรียนปฏบิ ตั ติ ามอยา่ งหลากหลาย เชน่ การสังเกต การอภปิ ราย การทางานกลุ่ม การสืบค้นขอ้ มลู การวิเคราะห์ขอ้ มลู การจดั กระทาและสอื่ ความหมายข้อมูล เปน็ การฝึกให้นกั เรียนเป็นคนช่างสังเกต ช่างคิด หาเหตผุ ล เพ่ือตอบปญั หาตา่ ง ๆ ไดด้ ว้ ยตนเอง หวงั เป็นอยา่ งย่ิงวา่ ชุดกจิ กรรมการเรยี นรนู้ ี้ จะเป็นประโยชนส์ าหรับ นกั เรยี น ครูผู้สอน และผูส้ นใจทัว่ ไป ณชั ชา พลิ าทอง

สารบัญ หน้า ก ค่มู อื การใช้ชุดกิจกรรมการเรยี นรู้ ค คาชี้แจงในการใชช้ ดุ กจิ กรรมการเรยี นรู้ ง ขนั้ ตอนการใช้ชุดกจิ กรรมการเรยี นรู้ จ บทบาทของครู ช บทบาทของนักเรยี น 1 ชดุ กจิ กรรมการเรยี นรู้ 2 บตั รคาส่งั 3 แบบทดสอบกอ่ นเรียน 5 ใบความรู้ เรอ่ื ง ความยดื หยุ่นของวัสดุ 8 ใบกจิ กรรมที่ 1 เร่ือง วสั ดุท่มี ีสภาพยืดหยุ่นมลี ักษณะอย่างไร 9 แบบบนั ทกึ ผลกิจกรรมที่ 1 10 แบบฝึกหัด เรือ่ ง ความยดื หยุ่นของวสั ดุ 11 แบบทดสอบหลงั เรยี น 13 แนวการบนั ทกึ ผลกจิ กรรมท่ี 1 14 เฉลยแบบฝกึ หัด 15 เฉลยแบบทดสอบก่อนเรยี น 16 เฉลยแบบทดสอบหลงั เรยี น 17 บรรณานกุ รม

ก คมู่ ือการใช้ชุดกิจกรรมการเรยี นรู้ คมู่ ือการใช้ชุด กจิ กรรม การเรียนรู้ เป็นเอกสารช้ีแจงลกั ษณะของ รูปแบบของชดุ กิจกรรม การเรยี นรู้ วธิ ีการใชช้ ุด กิจกรรมการเรียนรู้ รวมทงั้ ขอ้ เสนอแนะในการดาเนินการจดั กจิ กรรมการเรยี นรู้ ซ่งึ มสี ่วนประกอบ ดังนี้ 1. องค์ประกอบของเน้อื หา ชุดกิจกรรมการเรยี นรู้ ชดุ ที่ 1 ความยืดหย่นุ ของวสั ดุ ตรงตาม เน้ือหาในหลักสตู ร ตามคาอธิบายรายวิชากลมุ่ สาระการเรียนร้วู ิทยาศาสตร์ ชั้นประถมศกึ ษาปีท่ี 5 เร่อื ง สมบตั ิของวัสดุในชวี ิตประจาวนั 2. เอกสารชดุ นี้ประกอบดว้ ย 2.1 ค่มู อื การใช้ชุดกจิ กรรมการเรียนรู้ 2.2 คาช้แี จงในการใช้ชุดกิจกรรมการเรียนรู้ 2.3 ข้ันตอนการใช้ชดุ กิจกรรมการเรียนรู้ 2.4 บทบาทของครู 2.5 บทบาทของนักเรยี น

ข 3. สง่ิ ท่ีครจู ะต้องเตรยี ม ครูจะตอ้ งเตรียมส่ือการเรยี นรใู้ หค้ รบตามขน้ั ตอนการจัดกจิ กรรม การเรยี นรู้ ดังน้ี 3.1 แบบทดสอบกอ่ นเรียน 3.2 ชุดกิจกรรมการเรียนรู้ 3.3 แ บบสรุปการเรยี น 3.4 แบบทดสอบหลังเรยี น 4. การจดั ช้นั เรยี น การจดั ชัน้ เรียนการใชช้ ุดกิจกรรมการเรยี นรใู้ นขณะจดั กจิ กรรม จะแบ่ง นักเรยี นเป็นกลมุ่ กลุ่มละ 5-6 คน จะมกี ่กี ลุ่มขนึ้ อยกู่ ับจานวนนกั เรยี นแต่ละหอ้ ง และ เม่ือทากิจกรรมกลุม่ เสร็จเรียบร้อยแลว้ แต่ละกลุ่มจะแยกนัง่ เด่ยี วเพื่อทาการวัดผล การเรยี นรู้ โดยใชแ้ บบทดสอบหลังเรยี น 5. การประเมนิ ผลการเรียนรู้ 5.1 ประเมนิ ผลดา้ นความรู้ ความกา้ วหนา้ ในการเรยี นรู้จากแบบทดสอบ  ตรวจแบบทดสอบก่อนเรียน  ตรวจแบบทดสอบหลังเรยี น 5.2 ประเมินด้านทักษะ/ทกั ษะกระบวนการทางวิทยาศาสตร์ ประเมินตามสภาพจรงิ ตามตัวบ่งชีก้ ารปฏิบัตกิ ิจกรรมการทดลอง 5.3 ประเมินดา้ นจิตวทิ ยาศาสตร์ ประเมินโดยใช้แบบสังเกตพฤตกิ รรม นักเรยี น

ค คาชแี้ จงในการใชช้ ุดกจิ กรรมการเรยี นรู้ ก่อนนาชดุ กจิ กรรมการเรียนรูไ้ ปใชค้ วรปฏบิ ัติ ดงั นี้ 1. ศกึ ษาคมู่ อื การใชช้ ดุ กิจกรรมการเรยี นรูแ้ ละปฏบิ ตั ิตามขน้ั ตอน ในการใช้ชดุ กิจกรรมการเรียนรใู้ หถ้ กู ตอ้ งตามลาดับ 2. ศึกษาแผนการจดั การเรยี นรู้โดยละเอยี ด และปฏบิ ตั ิ กจิ กรรมตามแผนการจดั การเรียนรใู้ หค้ รบทุกขัน้ ตอน 3. ศึกษาเนื้อหา วธิ ีการจัดกจิ กรรม การวดั และประเมินผล ของชุด กจิ กรรมการเรยี นรู้ โดยละเอียด 4. เตรยี มส่อื วัสดอุ ปุ กรณ์ต่าง ๆ ให้พร้อมใชง้ านได้

ง ขัน้ ตอนการใชช้ ุดกจิ กรรมการเรียนรู้ ครูผู้ใช้ชดุ กิจกรรมการเรยี นรู้ ศกึ ษาขนั้ ตอนในการใชช้ ุดกจิ กรรมการเรียนรู้ ให้เขา้ ใจ ดงั น้ี 1. นักเรยี นทาแบบทดสอบ วดั ผลสมั ฤทธ์ิทางการเรยี น (กอ่ นเรียน) เรอ่ื ง สมบัติ ของวัสดุในชีวติ ประจาวนั จานวน 30 ขอ้ เป็นแบบปรนัย ชนิดเลอื กตอบ 4 ตวั เลอื ก ใชเ้ วลา 45 นาที 2. ครูอธบิ ายวิธีการเรยี นโดยใชช้ ุด กิจกรรมการเรยี นรู้ 3. ครูชี้แจงบทบาทของนกั เรยี น ให้นกั เรยี นเข้าใจบทบาทของตนเองในการ ดาเนนิ กิจกรรมในแตล่ ะชดุ กิจกรรมการเรียนรู้ 4. ครูเปิดโอกาสใหน้ กั เรียนซักถามเกย่ี วกบั วธิ ี หรอื ข้นั ตอน หรอื บทบาทของ นกั เรยี น ตลอดจนข้อสงสยั อื่น ๆ 5. ครูดาเนินการจดั กิจกรรมตามท่กี าหนดไว้ในแผนการจัดการเรยี นรู้ เพ่อื กระตุ้นให้นักเรยี นเกิดความสนใจในเนื้อหาท่กี าลังเรยี น 6. ครูดาเนนิ การจดั กจิ กรรมตามทกี่ าหนดไวใ้ นแผนการจดั การเรยี นรูโ้ ดย คานงึ ถึงความสามารถในการรับรขู้ องนักเรียน และเนน้ ผ้เู รยี นเปน็ สาคัญ ให้นกั เรยี น ไดป้ ฏิบตั ติ ามกจิ กรรมท่ีกาหนดไว้ ลักษณะการจดั กจิ กรรมการเรียนรู้ควรปฏบิ ตั ิ ดงั น้ี - อธิบายเร่ืองราวจากเรอื่ งที่สอน โดยใชว้ ธิ กี ารต่าง ๆ เช่น การอธบิ าย การซกั ถาม การใหเ้ ดก็ แสดงความคิดเห็น การสาธิตประกอบการทดลอง เป็นตน้ 7. ครแู ละนกั เรียนร่วมกนั สรุปสิง่ ที่ไดเ้ รียนมา โดยใหน้ กั เรยี นอภิปรายและ ครูคอยชีแ้ นะ 8. นกั เรยี นทาแบบทดสอบวดั ผลสัมฤทธท์ิ างการเรยี น (หลังเรียน) เมอื่ จดั กิจกรรมการเรยี นรู้ ครบ 7 ชดุ แบบทดสอบเปน็ ชดุ เดียวกบั แบบทดสอบ วัดผลสัมฤทธ์ิ ทางการเรียน (ก่อนเรยี น) จานวน 30 ขอ้ ใชเ้ วลา 45 นาที

จ บทบาทของครู ส่งิ ทคี่ รคู วรปฏบิ ตั ิ ก่อน-หลงั และขณะใช้ชุดกิจกรรมการเรียนรู้ มดี งั นี้ 1. ครูควรศึกษาและทาความเข้าใจวธิ กี ารใชช้ ดุ กจิ กรรมการเรยี นรู้ ขั้นตอนการ ดาเนินกจิ กรรม การใช้สือ่ และอปุ กรณ์ รวมทงั้ วิธวี ัดและประเมนิ ผลของชุด กจิ กรรม การเรียนรใู้ ห้ชดั เจน สาหรับเกณฑใ์ นการผา่ นจดุ ประสงค์ในแตล่ ะแผนการจดั การเรยี นรู้ กาหนดไว้รอ้ ยละ 80 2. ครคู วรคน้ ควา้ และอ่านเน้ือหาที่เกี่ยวขอ้ งเพม่ิ เตมิ จากหนงั สือเรียน คมู่ อื ครู หนังสือเสรมิ ประสบการณ์ต่าๆงและอินเทอรเ์ น็ต ในเรอื่ ง สมบัตขิ องวสั ดุ ในชวี ติ ประจาวนั เพือ่ ใหม้ คี วามรคู้ วามแมน่ ยาในเน้ือหาใหม้ ากย่ิงข้นึ 3. ครคู วรเตรียมการจดั กจิ กรรมการเรยี นรู้ลว่ งหน้า และเตรียมสถานที่ ตลอดจน สื่อต่าง ๆ ใหพ้ รอ้ มก่อนใช้ชดุ กิจกรรมการเรยี นรู้ 4. ครูควรเตรียมสอ่ื ต่าง ๆ ทก่ี าหนดไวใ้ นแผนการจดั การเรียนรแู้ ต่ละแผน และไม่อาจบรรจลุ งในชุดกจิ กรรมการเรียนรู้ได้ 5. ครูควรตรวจวสั ดุ อุปกรณ์ตา่ ง ๆ ทีม่ ีอยู่ในชดุ กจิ กรรมการเรยี นรู้ให้เรียบรอ้ ย ทั้งกอ่ นและหลงั ใช้ชดุ กิจกรรมการเรียนรูท้ กุ ครงั้ 6. การจดั ช้ันเรียน จัดนกั เรียนนัง่ เปน็ กลุม่ กล่มุ ละ 5- 6 คน คละ เกง่ ปานกลาง อ่อน ตามความเหมาะสม เพอ่ื ฝึกทักษะการทางานกล่มุ (ทกั ษะกระบวนการ) ร่วมกบั ผูอ้ ่นื 7. ครคู วรชี้แจงบทบาทของนักเรยี น เวลาทใี่ ช้ในการประกอบกิจกรรมแต่ละ กจิ กรรม หรอื แต่ละแผนการจัดการเรยี นรู้ ใหน้ กั เรียนทราบ 8. แจง้ จุดประสงค์การเรยี นร้ใู ห้นกั เรียนทราบ

ฉ 9 . ให้นกั เรียนทาแบบทดสอบก่อนเรยี น เพ่อื ประเมินความร้เู ดมิ ของนกั เรยี น ก่อนเรม่ิ เรยี นในแตล่ ะชุดกิจกรรมการเรยี นรู้ 10. แจกชุดกจิ กรรมการเรยี นรู้ ให้นกั เรียนศึกษาและแนะนาวิธใี ชช้ ดุ กิจกรรม การเรยี นรู้ เพอ่ื นักเรียนจะได้ปฏิบตั ิไดอ้ ย่างถกู ตอ้ ง 11. ดาเนินการสอนตามกิจกรรมการเรียนรู้ท่ีกาหนดไวใ้ นแผนการจดั การเรยี นรู้ 12. ในขณะที่นกั เรียนปฏบิ ตั กิ ิจกรรม ครูควรให้การดแู ลอย่างท่วั ถงึ และให้ คาแนะนากรณที นี่ กั เรยี นไม่เข้าใจในกิจกรรมต่าง ๆ และต้องพยายามกระตุน้ ใหน้ กั เรียน ปฏบิ ัติกจิ กรรมด้วยตนเองมากท่สี ดุ 13. หากมนี ักเรียนคนใดเรยี นไมท่ ัน ครูควรให้คาแนะนาหรอื อาจมอบหมายงาน หรือเอกสารใหศ้ ึกษาเพิ่มเติมในเวลาวา่ ง 14. ใหน้ กั เรยี นทาแบบทดสอบหลงั เรียน หลังจากที่เรียนโดยใช้ชุด กิจกรรม การเรยี นรเู้ สรจ็ เรยี บร้อยในแตล่ ะชุด 15. เมอ่ื นักเรยี นทาแบบทดสอบกอ่ นเรยี น ครคู วรตรวจคาตอบแลว้ แจ้งคะแนน ใหน้ ักเรยี นทราบทนั ที และเมือ่ เรียนจบเนื้อหาให้นกั เรียนทาแบบทดสอบหลงั เรียน ครูตรวจคาตอบแล้วแจ้งคะแนนใหน้ ักเรยี นทราบ เพือ่ ดคู วามก้าวหน้าของตนเอง หากมี นกั เรยี นไมผ่ ่านเกณฑ์ ครคู วรให้นักเรยี นรับชดุ กจิ กรรม การเรียนรู้ชุดที่ไม่ผ่านเกณฑ์ ไปศึกษาเองเพ่ิมเติมนอกเวลาเรยี น 16. ครคู วรสรุปผลการใชช้ ุด กิจกรรมการเรยี นรู้ สภาพปญั หาและขอ้ เสนอแนะ หลงั จากใชช้ ุดกจิ กรรมการเรียนร้แู ตล่ ะคร้งั เพ่อื นาไปปรับปรุงในการใชค้ ร้ังตอ่ ไป

ช บทบาทของนักเรียน 1. อ่านคู่มือการใช้ชุด กจิ กรรม การเรยี นรู้และบทบาทของนักเรียนให้เขา้ ใจ กอ่ นลงมอื ศึกษาชุดกจิ กรรมการเรียนรู้ 2. ตวั แทนนักเรียนรับชุดกจิ กรรมการเรยี นรู้ทีค่ รูผ้สู อน 3. ทาแบบทดสอบก่อนเรียนจานวน 10 ข้อ โดยใช้เวลา 10 นาที เพื่อประเมนิ ความร้เู ดมิ ของนักเรียน 4. นักเรียนศกึ ษาชดุ กิจกรรมการเรยี นรู้ ตามข้ันตอนทรี่ ะบไุ วใ้ นบัตรคาสงั่ 5. ทาแบบทดสอบหลงั เรียน จานวน 10 ขอ้ โดยใช้เวลา 10 นาที เพื่อทราบ ความก้าวหน้าในการเรียนของนักเรยี นหลงั จากทากจิ กรรมเสรจ็ เรยี บร้อยในแตล่ ะชุด 6. บอกคะแนนท่ีทาได้จากแบบทดสอบหลงั เรยี นให้ครทู ราบเพอื่ บนั ทกึ ลงใน แบบบนั ทกึ ผลการประเมนิ ดา้ นความรู้จากการทากิจกรรมตามชดุ กิจกรรม การเรียนรู้ เพือ่ หาคะแนนสรุป 7. หลังจากทากจิ กรรมเสรจ็ เรียบรอ้ ยแลว้ ใหน้ ักเรียนเกบ็ วัสดอุ ุปกรณป์ ระกอบ ชุดกจิ กรรมการเรียนรใู้ ห้เรียบรอ้ ย 8. ในการทากจิ กรรมตามชุด กจิ กรรมการเรยี นรูท้ กุ ชุด ขอใหน้ กั เรียนทาดว้ ย ความตง้ั ใจ ให้ความร่วมมือ และมคี วามซื่อสัตย์ตอ่ ตนเองใหม้ ากทส่ี ดุ โดยไมด่ เู ฉลยกอ่ น ทากิจกรรมและแบบทดสอบ 9. หากนักเรยี นคนใดเรยี นไมท่ นั หรือเรียนยังไมเ่ ข้าใจ ให้รบั ชุด กิจกรรม การเรียนรู้ ไปศึกษาเพม่ิ เติมนอกเวลาเรียน เพ่ือใหเ้ ข้าใจมากยิ่งขึ้น

1 ชดุ กิจกรรมการเรยี นรู้ ชุดท่ี 1 ความยืดหยนุ่ ของวัสดุ ตวั ชี้วัด 1. มฐ. ว 3.1 ป.5/1 ทดลองและอธิบายสมบัติของวัสดุชนิดตา่ ง ๆ เก่ียวกับ 2. มฐ. ความยดื หยนุ่ ความแข็ง ความเหนยี ว การนาความรอ้ น การนาไฟฟา้ และความหนาแนน่ ว 8.1 ป.5/1, ป.5/2, ป.5/3, ป.5/4, ป.5/5, ป.5/6, ป.5/7, ป.5/8 จุดประสงค์การเรียนรู้ 1. ทดลองและสรุปผลการทดลองเก่ียวกับความยืดหย่นุ ของวสั ดุชนดิ ต่าง ๆ ได้ 2. อธิบายได้วา่ ความยืดหยุ่นเป็นสมบตั ิของวัสดุ และวสั ดตุ ่างชนดิ กนั มีความยืดหยนุ่ ตา่ งกัน ทกั ษะ/กระบวนการ 1. การสังเกต 2. การจาแนกประเภท 3. การลงความเหน็ ขอ้ มลู 4. การจดั กระทาและสื่อความหมายขอ้ มูล สว่ นประกอบในชุด กจิ กรรมการเรียนรู้ 1. บัตรคาส่ัง 2. แบบทดสอบก่อนเรียน 3. ใบความรู้ เรอ่ื ง ความยดื หยุ่นของวสั ดุ 4. ใบกจิ กรรมที่ 1 เรอ่ื ง วสั ดทุ ม่ี ีสภาพยดื หยนุ่ มีลกั ษณะอยา่ งไร 5. แบบบนั ทึกกจิ กรรมที่ 1 6. แบบฝกึ หัด เร่ือง ความยืดหยุ่นของวสั ดุ 7. แบบทดสอบหลงั เรยี น 8. แนวการบันทกึ ผลกจิ กรรมที่ 1 9. เฉลยแบบฝกึ หดั 10. เฉลยแบบทดสอบกอ่ นเรียน 11. เฉลยแบบทดสอบหลังเรียน

2 บตั รคาส่งั คาชแ้ี จง ใหน้ กั เรยี นแตล่ ะคนปฏิบตั ติ ามข้นั ตอนต่อไปน้ี 1. นักเรียนสามารถศึกษาเป็นรายบุคคลตามระดับความสามารถและเปน็ รายกลุ่ม ซ่ึงควรมสี มาชกิ ประมาณกลมุ่ ละ 5-6 คนในแต่ละกลุม่ (คละ เกง่ ปานกลาง และ ออ่ น) 2. อา่ นคาชแ้ี จงในการใช้ชดุ กิจกรรมการเรยี นรู้ 3. ทาแบบทดสอบ กอ่ นเรยี นเป็นรายบุคคล 4. ศึกษาใบความรู้ เรอ่ื ง ความยืดหย่นุ ของวัสดุ ดว้ ยความตง้ั ใจ 5. ศึกษาใบกจิ กรรม 6. ปฏบิ ัตติ ามใบกจิ กรรม 7. บนั ทกึ ผลการทากิจกรรมลงในแบบบนั ทึกกจิ กรรม 8. ทาแบบฝึกหดั 9. ทาแบบทดสอบ หลงั เรยี นเป็นรายบคุ คล เวลาทใ่ี ช้ 2 ชั่วโมง

3 แบบทดสอบก่อนเรยี น เรือ่ ง ความยดื หย่นุ ของวสั ดุ คาชแ้ี จง - แบบทดสอบมีทัง้ หมด 10 ขอ้ - ใหน้ ักเรียนเลอื กคาตอบท่ีถกู ตอ้ งทส่ี ุดเพยี งคาตอบเดยี ว 1. เปล่ยี นรูปร่างหรอื ขนาด และเมื่อหยดุ 4. เราจะทดสอบความยืดหยุน่ ของวสั ดุได้ ออกแรงกค็ นื สู่สภาพเดมิ แสดงว่าวัสดนุ ้ัน โดยวิธใี ด มีสมบัติดา้ นใด ก. การนาไปลนไ ฟ ก. การคนื สภาพ ข. การนาไปลอยนา้ ข. สภาพยืดหยนุ่ ค. การใช้วัสดุอืน่ มาขดู ขดี ค. การยืดหด ง. การออกแรงกระทาต่อวัสดุ ง. การคลายตัว 2. จากคาตอบข้อ 1 นา่ จะเปน็ วสั ดุในขอ้ ใด 5. วสั ดใุ นข้อใดมคี วามยืดหยุน่ มากที่สดุ ก. ดินเหนียว ก. แผ่นไม้ ข. ดนิ น้ามัน ค. ฟองน้า ข. แผ่นยาง ง. เชือกฟาง ค. แผ่นเหล็ก ง. แผ่นพลาสตกิ 3. ข้อใดเปน็ การนาความรู้เรื่อง 6. ขอ้ ใดต่อไปนไ้ี ม่ถูกตอ้ ง ความยดื หยุน่ ของวสั ดุมาใชป้ ระโยชน์ ก. ความยืดหยุน่ เปน็ สมบัติ ก. การนายางพารามาทาเปน็ ประการหนง่ึ ของวัสดุ ยางรดั ส่งิ ของ ข. วตั ถทุ ที่ าจากแก้วไมม่ ีความยืดหยุน่ ข. การใชก้ ากเพชรในการตดั กระจก เหมอื นกบั วตั ถทุ ท่ี าจากยาง ค. การนาพลาสตกิ มาทาเป็น ค. วสั ดเุ มื่อถูกดึง บีบ หรือกระแทก กล่องเก็บของ แล้วสามารถกลับคืนสูส่ ภาพเดิมได้ ง. การนาโลหะมาตีแผเ่ ป็นแผ่นเพ่อื ใช้ แสดงว่า วสั ดนุ น้ั มสี ภาพยดื หยนุ่ ง. วสั ดุทกุ ชนดิ มสี มบัติความยืดหยนุ่ ทาอปุ กรณต์ ่าง ๆ

4 7. วัสดุในข้อใดมคี วามยดื หย่นุ 9. วัสดใุ นขอ้ ใดไม่มคี วามยืดหย่นุ ก. แกว้ นา้ ลูกโป่ง ก. ถุงพลาสตกิ ท่อพวี ซี ี ข. หนงั สตก๊ิ ปากกา ข. ฟองน้า ลกู ปงิ ปอง ค. ยางยดื ขดลวดสปริง ค. ลูกบอล ขดลวดสปริง ง. ลูกบอล ดนิ น้ามัน ง. สายยางใหม่ กระดาษ 8. ปอ ทาการทดลองสภาพยดื หยนุ่ ของ 10. ขอ้ ใดตอ่ ไปนี้ไมถ่ ูกต้อง วสั ดุตา่ ง ๆ และได้ผลการทดลอง ดังน้ี ก. เอ ใชน้ วิ้ กดลงบนฟองนา้ มีรอยบุ๋ม เมอ่ื ปล่อยนว้ิ ฟองนา้ กลับคืนสู่ เร่มิ ต้นวัสดทุ กุ ชนิดมีขนาดเทา่ กนั ขณะดึง สภาพเดิม แสดงว่าฟองนา้ มี แถบลูกโป่งและแถบยางยืดจะยืดออก สภาพยดื หยนุ่ ได้มาก แต่แถบพลาสตกิ จะยดื ไดไ้ ม่มาก ข. บี ใชน้ ้วิ กดลงบนดินน้ามนั มีรอยบมุ๋ หลังจากปลอ่ ยมอื แถบลูกโปง่ และแถบ เมอ่ื ปล่อยนว้ิ ดินนา้ มนั ไมก่ ลับคืน ยางยืดกลบั สู่สภาพเดิม แตแ่ ถบพลาสติก สูส่ ภาพเดิม แสดงว่าดินนา้ มนั จะไมก่ ลับสูส่ ภาพเดมิ มสี ภาพยดื หยนุ่ ค. ซี ออกแรงดึงหนงั ยาง เมื่อหยดุ ดึง จากผลการทดลอง ข้อใดสรปุ ถูกต้อง หนงั ยางกลับคืนสูส่ ภาพเดิมแสดงว่า ก. แถบลูกโป่งมีสภาพยืดหยนุ่ หนงั ยางมสี ภาพยดื หยนุ่ ง. ดี ออกแรงดึงถงุ พลาสตกิ เมือ่ หยดุ มากกวา่ แถบยางยดื ดึงถงุ พลาสตกิ ไมก่ ลับคืนสูส่ ภาพเดิม ข. แถบลกู โปง่ แถบยางยืดและแถบ แสดงว่าถงุ พลาสตกิ ไมม่ สี ภาพยดื หยนุ่ พลาสตกิ มสี ภาพยดื หยนุ่ เทา่ กนั ค. แถบลูกโป่งและแถบยางยืด มสี ภาพยดื หยนุ่ ส่วนแถบพลาสตกิ ไมม่ สี ภาพยดื หยนุ่ ง. แถบลูกโป่ง แถบยางยดื และ แถบพลาสตกิ มสี ภาพยดื หยนุ่ ต้ังใจทานะคะ

5 ใบความรู้ เรือ่ ง ความยืดหยุ่นของวสั ดุ ความยดื หยุน่ เป็นสมบตั ิของวสั ดทุ ่สี ามารถกลับคืนสูส่ ภาพเดิมไดห้ ลังจากหยดุ แรงกระทาท่ีทาให้เกดิ การเปลยี่ นรปู รา่ งไป เชน่ ฟองน้า ยางรดั หนงั สตก๊ิ และแถบยางยืด ความยืดหยุ่น หมายถึง ลกั ษณะท่ีวัตถุน้ัน สามารถกลับคืนสู่สภาพเดมิ หลงั จากทแ่ี รงมากระทาตอ่ วัตถุหยดุ กระทา เชน่ - การดึงหนงั ยางแลว้ เมอ่ื หยุดออกแรง หนงั ยาง จะกลับคนื สสู่ ภาพเดมิ - การบบี ฟองน้าแลว้ เมื่อหยดุ ออกแรง ฟองนา้ จะคืนกลบั รปู รา่ งเหมือนเดิม แสดงว่า หนงั ยางและฟองนา้ เปน็ วัสดุทมี่ สี ภาพ ยดื หยุน่ เปน็ ตน้ ไม้ ไมม่ ีความยืดหยุ่น ยางรัดของ มีความยืดหยุ่น เพราะเมือ่ เรางอไม้ เพราะเมอื่ ถกู ดงึ ยดื ออกแล้ว ไมจ้ ะหัก สามารถกลับคืนสู่รปู ทรงเดิมได้

6 เม่อื ออกแรงกระทาตอ่ วสั ดใุ ดทาใหว้ สั ดนุ น้ั เปล่ียนรูปร่างและความยาว แต่เมือ่ หยดุ ออกแรงกระทา ต่อวัสดุนน้ั วสั ดุน้ันจะกลับคืนส่สู ภาพเดมิ แสดงว่า วัสดุ น้นั มีสภาพการยดื หยุ่น เชน่ การแขวนสงิ่ ของที่มนี ้าหนัก ลงบนลวดสปริง เราพบวา่ สปริงเป็นวัสดุท่ีมสี ภาพยืดหยนุ่ เมอื่ ใช้นว้ิ กดลงไปที่ฟองนา้ นว้ิ มือของเราจะจมลงไป ฟองนา้ จะเปลยี่ นแปลง รปู รา่ ง เมื่อปล่อยมือฟองนา้ จะกลับคนื สูส่ ภาพเดมิ ฟองน้ามคี วามยดื หยุน่ จงึ กลบั คืนส่สู ภาพเดมิ ได้ เม่ือออกแรงดงึ หนงั สตกิ๊ จะยดื ออก และเมื่อปลอ่ ยมือ รปู รา่ งของหนงั สต๊ิกจะ กลบั คืนสู่สภาพเดมิ หนงั สต๊กิ มีความยดื หยนุ่ จึงกลบั คนื สู่สภาพเดมิ ได้

7 วสั ดทุ ไ่ี มม่ คี วามยดื หยุ่น เมือ่ หยดุ ออกแรงกระทา แลว้ จะไมก่ ลบั คนื สู่สภาพเดมิ เชน่ กระดาษ ไม้ โลหะ ผา้ และพลาสตกิ เปน็ ตน้ วัสดุแตล่ ะชนดิ มีความยดื หยนุ่ ไมเ่ ทา่ กนั วสั ดุ บางชนดิ ถงึ แมจ้ ะมแี รงมากระทามาก ๆ กย็ งั คงสภาพ ความยดื หยุ่นอยู่ได้ เชน่ เส้นเอน็ สว่ นวัสดุบางชนดิ จะรับ แรงที่มากระทาได้ในระดบั หนงึ่ เทา่ นัน้ เมื่อมีแรงมากระทา มากเกินไป จะหมดสภาพความยืดหย่นุ และเสยี สภาพไป เช่น แถบยางยืด ยางรัดของ การใช้ประโยชน์จากสมบตั ดิ า้ นความยดื หยนุ่ ของวัสดุ วสั ดปุ ระเภทยาง จดั เปน็ วัสดุทม่ี ีความยดื หยนุ่ สูง ยางได้มาจากนา้ ยางที่กรดี จากตน้ ยางพารา จากนนั้ นามาผา่ นกระบวนการทาเป็นยางแผ่น จากน้นั จงึ นาไปทาเปน็ ผลติ ภัณฑ์ต่าง ๆ เช่น ลูกโป่ง ยางยืด ยางรดั ของ ถุงมือยาง ยางรถยนต์ เป็นต้น ลกู โป่ง ยางรถยนต์ ลูกบอล ยางรดั ของ ยางยืด ถงุ มือยาง

8 ใบกิจกรรมที่ 1 เรอ่ื ง วัสดุท่มี สี ภาพยืดหย่นุ มีลกั ษณะอยา่ งไร วัตถปุ ระสงค์ของกิจกรรม เพ่ือศกึ ษาสภาพยดื หย่นุ ของวัสดบุ างชนิด วัสดุอุปกรณ์ 1 ช้ิน 1 ก้อน 1. ฟองนา้ 1 กอ้ น 2. ดินนา้ มนั 1 แผ่น 3. กอ้ นอิฐ 4. ไม้ วิธีทา 1. ทดสอบวสั ดุต่าง ๆ โดยใชป้ ลายนิ้วมือกดลงบนวัสดเุ หลา่ น้ันแล้วปลอ่ ย 2. สงั เกตและบันทึกผลขณะกดและปล่อยน้ิวมือจากวัสดุ

9 แบบบันทกึ ผลกิจกรรมท่ี 1 เรอ่ื ง วสั ดทุ มี่ สี ภาพยืดหย่นุ มลี ักษณะอยา่ งไร สมาชิกในกล่มุ 1).................................................... 2).......................................................... 3).................................................... 4).......................................................... 5).................................................... 6).......................................................... บันทึกผลการทากจิ กรรม ตาราง การเปล่ยี นแปลงของวัสดุขณะกดนว้ิ และหลังปลอ่ ยน้ิว วสั ดุท่นี ามาทดสอบ ผลการเปล่ยี นแปลงของวัสดุ 1. ฟองนา้ ขณะกดน้วิ ลงไป หลงั ปล่อยนว้ิ 2. ดินนา้ มนั 3. ก้อนอิฐ 4. ไม้ คาถามหลงั ทากจิ กรรม 1. วัสดุชนดิ ใดทกี่ ดแลว้ มรี อยบุม๋ ลงแล้วรูปร่างกลบั สู่สภาพเดมิ ............................................. 2. วสั ดุชนดิ ใดที่กดแล้วมรี อยบุ๋มลงแล้วรปู ร่างไม่กลบั ส่สู ภาพเดมิ .......................................... 3. วัสดุชนดิ ใดที่กดแล้วรูปร่างอยูใ่ นสภาพเดิม .......................................... 4. วัสดุท่ีมีสภาพยืดหยุ่นเป็นอยา่ งไร ....................................................................................... ............................................................................................................................................ 5. วสั ดุท่มี สี ภาพไมย่ ืดหยุ่นเป็นอย่างไร ................................................................................... ............................................................................................................................................

10 แบบฝึกหัด เรอื่ ง ความยืดหยุน่ ของวสั ดุ ชอื่ -สกลุ ..........................................................................ชั้น....................... เลขที่................. คาชีแ้ จง จำแนกวสั ดทุ ก่ี ำหนดใหล้ งในแผนภมู ใิ หถ้ ูกต้อง (10 คะแนน) ยางรดั ของ ดนิ สอ ถุงมือยาง ลูกปิงปอง ปากกา ไมบ้ รรทดั เหล็ก หนังสตกิ๊ ยางยืด กระดาษ ฟองนา้ ถุงพลาสติก แก้วน้า ต๊กุ ตายาง ดินน้ามนั ลูกโปง่ ขดลวดสปริง ลูกบอลยาง ผา้ เช็ดหน้า กอ้ นอิฐ ยางรัดผม วสั ดุทม่ี คี วามยดื หยนุ่ วัสดุที่ไม่มีความยดื หย่นุ ......................................... ......................................... ......................................... ......................................... ......................................... ......................................... ......................................... ......................................... ......................................... ......................................... ......................................... ......................................... ......................................... ......................................... ......................................... ......................................... ......................................... ......................................... ......................................... .........................................

11 แบบทดสอบหลงั เรียน เรอ่ื ง ความยดื หยนุ่ ของวสั ดุ คาชแี้ จง - แบบทดสอบมีทง้ั หมด 10 ขอ้ - ให้นักเรียนเลือกคาตอบทีถ่ กู ต้องทสี่ ุดเพยี งคาตอบเดยี ว 1. เราจะทดสอบความยืดหยนุ่ ของวสั ดุได้ 4. เปลี่ยนรปู ร่างหรือขนาด และเมื่อหยดุ โดยวธิ ใี ด ออกแรงกค็ นื สสู่ ภาพเดิม แสดงวา่ วัสดุนัน้ มีสมบตั ิด้านใด ก. การนาไปลนไ ฟ ข. การนาไปลอยนา้ ก. การคนื สภาพ ค. การใช้วสั ดอุ ่นื มาขูดขีด ข. สภาพยดื หยุน่ ค. การยดื หด ง. การออกแรงกระทาต่อวัสดุ ง. การคลายตัว 2. วัสดใุ นขอ้ ใดมีความยดื หยุน่ มากท่สี ดุ ก. แผ่นไม้ 5. จากคาตอบข้อ 4 นา่ จะเปน็ วสั ดุในข้อใด ก. ดนิ เหนยี ว ข. แผ่นยาง ข. ดินน้ามนั ค. แผ่นเหลก็ ค. ฟองน้า ง. เชือกฟาง ง. แผ่นพลาสติก 6. ขอ้ ใดเป็นการนาความรู้เร่ือง 3. ข้อใดต่อไปนไี้ ม่ถูกต้อง ความยืดหยนุ่ ของวัสดมุ าใช้ประโยชน์ ก. ความยืดหย่นุ เป็นสมบตั ิ ก. การนายางพารามาทาเป็น ประการหนง่ึ ของวัสดุ ยางรดั ส่งิ ของ ข. วัตถทุ ท่ี าจากแกว้ ไมม่ คี วามยืดหยนุ่ ข. การใช้กากเพชรในการตดั กระจก เหมอื นกบั วตั ถทุ ท่ี าจากยาง ค. การนาพลาสตกิ มาทาเป็น ค. วสั ดเุ ม่ือถูกดงึ บบี หรอื กระแทก กล่องเก็บของ แล้วสามารถกลับคืนสูส่ ภาพเดิมได้ ง. การนาโลหะมาตแี ผเ่ ป็นแผน่ เพ่ือใช้ แสดงว่า วสั ดนุ น้ั มสี ภาพยดื หยนุ่ ง. วัสดุทกุ ชนดิ มสี มบัตคิ วามยืดหยุน่ ทาอปุ กรณต์ ่าง ๆ

12 7. ปอ ทาการทดลองสภาพยืดหยนุ่ ของ 9. ขอ้ ใดตอ่ ไปนไี้ ม่ถูกต้อง วัสดุตา่ ง ๆ และได้ผลการทดลอง ดังน้ี ก. เอ ใชน้ ้วิ กดลงบนฟองน้ามีรอยบุ๋ม เร่มิ ต้นวัสดุทุกชนดิ มีขนาดเท่ากนั ขณะดงึ เมอ่ื ปล่อยนว้ิ ฟองนา้ กลับคืนสู่ แถบลูกโปง่ และแถบยางยดื จะยดื ออก สภาพเดิม แสดงว่าฟองนา้ มี ได้มาก แต่แถบพลาสตกิ จะยืดไดไ้ ม่มาก สภาพยดื หยนุ่ หลงั จากปล่อยมอื แถบลูกโปง่ และแถบ ข. บี ใช้น้วิ กดลงบนดินน้ามนั มรี อยบุม๋ ยางยืดกลบั สสู่ ภาพเดิม แต่แถบพลาสตกิ เมอ่ื ปล่อยนว้ิ ดินนา้ มนั ไมก่ ลับคืน จะไม่กลับสู่สภาพเดิม สูส่ ภาพเดิม แสดงว่าดินนา้ มนั มสี ภาพยดื หยนุ่ จากผลการทดลอง ข้อใดสรุปถูกตอ้ ง ค. ซี ออกแรงดงึ หนังยาง เมอ่ื หยุดดึง ก. แถบลกู โปง่ มีสภาพยืดหยนุ่ หนงั ยางกลับคืนสูส่ ภาพเดิมแสดงว่า หนงั ยางมสี ภาพยดื หยนุ่ มากกวา่ แถบยางยดื ง. ดี ออกแรงดงึ ถงุ พลาสติก เมอื่ หยดุ ข. แถบลูกโป่ง แถบยางยืดและแถบ ดึงถงุ พลาสตกิ ไมก่ ลับคืนสูส่ ภาพเดิม แสดงว่าถงุ พลาสตกิ ไมม่ สี ภาพ พลาสตกิ มสี ภาพยดื หยนุ่ เทา่ กนั ยดื หยนุ่ ค. แถบลูกโป่งและแถบยางยดื มี สภาพยดื หยนุ่ สว่ นแถบพลาสติก ไมม่ สี ภาพยดื หยนุ่ ง. แถบลกู โปง่ แถบยางยืด และ แถบพลาสตกิ มสี ภาพยดื หยนุ่ 8. วสั ดุในข้อใดมีความยดื หยุ่น 10. วสั ดใุ นขอ้ ใดไม่มีความยดื หยุ่น ก. แกว้ น้า ลูกโปง่ ก. ถุงพลาสติก ท่อพีวีซี ข. หนงั สตกิ๊ ปากกา ข. ฟองนา้ ลูกปงิ ปอง ค. ยางยืด ขดลวดสปรงิ ค. ลูกบอล ขดลวดสปริง ง. สายยางใหม่ กระดาษ ง. ลกู บอล ดินน้ามัน ต้ังใจทานะคะ

13 แนวการบนั ทกึ ผลกิจกรรมที่ 1 เร่ือง วสั ดุท่มี สี ภาพยืดหยุน่ มีลักษณะอย่างไร บนั ทึกผลการทากิจกรรม ตัวอยา่ งคาตอบ ตาราง การเปลยี่ นแปลงของวัสดุขณะกดน้วิ และหลังปลอ่ ยนว้ิ วสั ดทุ ี่นามาทดสอบ ผลการสังเกต 1. ฟองน้า ขณะกดนิว้ ลงไป หลงั ปล่อยน้ิว 2. ดินน้ามนั 3. ก้อนอฐิ มรี อยบุ๋ม ไม่มรี อยบมุ๋ 4. ไม้ มรี อยบ๋มุ มีรอยบ๋มุ ไมม่ ีรอยบุ๋ม ไมม่ รี อยบุ๋ม ไมม่ รี อยบมุ๋ ไมม่ รี อยบมุ๋ คาถามหลังทากจิ กรรม 1. วสั ดุชนิดใดท่กี ดแล้วมรี อยบุม๋ ลงแลว้ รปู ร่างกลบั สู่สภาพเดิม (ฟองนา้ ) 2. วัสดชุ นิดใดทก่ี ดแลว้ มีรอยบมุ๋ ลงแล้วรปู ร่างไม่กลับสสู่ ภาพเดมิ (ดินน้ามนั ) 3. วัสดุชนิดใดทก่ี ดแลว้ รปู ร่างอย่ใู นสภาพเดมิ (ก้อนอิฐ และ ไม้) 4. วัสดุทีม่ สี ภาพยดื หยุน่ เปน็ อยา่ งไร (เม่ือออกแรงกดแลว้ มรี อยบุ๋มลง เม่ือหยุดออกแรงกด วสั ดนุ ้นั คงสภาพเหมือนเดมิ ) 5. วสั ดุท่มี สี ภาพไมย่ ดื หยุ่นเป็นอย่างไร (เมอ่ื ออกแรงกดแล้วมรี อยบุม๋ ตามที่ออกแรง แต่เมื่อหยุดออกแรงกดวัสดุน้นั ไม่กลบั สสู่ ภาพเหมือนเดิม หรือไม่มีรอยใด ๆ เกดิ ขึน้ )

14 เฉลยแบบฝกึ หัด เร่อื ง ความยืดหย่นุ ของวสั ดุ คาชแี้ จง จำแนกวัสดทุ ก่ี ำหนดใหล้ งในแผนภมู ใิ หถ้ ูกต้อง (10 คะแนน) ยางรดั ของ ดินสอ ถุงมอื ยาง ลูกปงิ ปอง ปากกา ไม้บรรทัดเหลก็ หนังสตกิ๊ ยางยืด กระดาษ ฟองน้า ถงุ พลาสตกิ แกว้ นา้ ตุ๊กตายาง ดินนา้ มัน ลูกโปง่ ขดลวดสปริง ลกู บอลยาง ผา้ เชด็ หนา้ ก้อนอฐิ ยางรดั ผม วัสดุท่มี คี วามยดื หยนุ่ วสั ดุที่ไม่มคี วามยดื หยุ่น ยางรัดของ ดนิ สอ ถุงมอื ยาง ลกู ปิงปอง หนงั สต๊กิ ปากกา ยางยดื ไมบ้ รรทดั เหลก็ ฟองน้า กระดาษ ตุก๊ ตายาง ถงุ พลาสติก ลูกโปง่ แกว้ นา้ ขดลวดสปรงิ ดินนา้ มัน ลูกบอลยาง ผ้าเช็ดหนา้ ยางรัดผม ก้อนอิฐ

15 เฉลยแบบทดสอบก่อนเรยี น เร่อื ง ความยืดหยนุ่ ของวสั ดุ ข้อที่ คาตอบ 1ข 2ค 3ก 4ง 5ข 6ง 7ค 8ค 9ก 10 ข เก่งมากครบั

16 เฉลยแบบทดสอบหลังเรยี น เรอ่ื ง ความยดื หยุน่ ของวสั ดุ ข้อท่ี คาตอบ 1ง 2ข 3ง 4ข 5ค 6ก 7ค 8ค 9ข 10 ก เย!้ ทำถูกทุกข้อเลยค่ะ

17 บรรณานกุ รม นคร มีแก้ว. คูม่ อื เตรียมสอบ สาระการเรยี นรวู้ ทิ ยาศาสตร์ ป. 5 ช่วงชนั้ ที่ 2 (ป. 4-ป. 6). กรงุ เทพฯ : หจก. สานกั พิมพภ์ มู ิบัณฑิต, 2546. บญั ชา แสนทวี และคณะ. แบบฝึกทักษะรายวชิ าพืน้ ฐาน วทิ ยาศาสตร์ ป. 5 ชนั้ ประถมศึกษาปีท่ี 5 กลมุ่ สาระการเรยี นรู้วทิ ยาศาสตร์ ตามหลักสตู ร แกนกลางการศกึ ษาขน้ั พืน้ ฐาน พทุ ธศกั ราช 2551. กรุงเทพฯ : สานักพิมพ์ วฒั นาพานิช, 255 6. ________. หนงั สอื เรยี น รายวิชาพน้ื ฐาน วิทยาศาสตร์ ป. 5 ช้นั ประถมศึกษาปที ่ี 5 กล่มุ สาระการเรียนรูว้ ิทยาศาสตร์ ตามหลกั สตู รแกนกลางการศึกษาขนั้ พน้ื ฐาน พทุ ธศกั ราช 2551. กรงุ เทพฯ : สานักพิมพว์ ัฒนาพานชิ , 2556. พมิ พพ์ ร อสมั ภินพงศ์. ค่มู อื เตรยี มสอบวิทยาศาสตร์ ป.5 หลกั สูตรแกนกลางการศกึ ษา ขั้นพ้นื ฐาน พุทธศกั ราช 2551 กลุ่มสาระการเรยี นรู้วิทยาศาสตร์. กรุงเทพฯ : ไฮเอ็ดพบั ลิชช่ิง, 255 5. ศริ ิรตั น์ วงศ์ศริ ิ และรักซอ้ น รตั นว์ จิ ิตต์เวช. หนงั สอื เรียน รายวชิ าพื้นฐานวิทยาศาสตร์ ช้ันประถมศกึ ษาปีท่ี 5 กลุ่มสาระการเรียนร้วู ิทยาศาสตร์ ตามหลักสูตร แกนกลางการศึกษาขนั้ พ้นื ฐาน พทุ ธศักราช 2551. พิมพค์ รงั้ ท่ี 2. กรุงเทพฯ : อักษรเจริญทศั น์, 255 4. สถาบันส่งเสรมิ การสอนวทิ ยาศาสตรแ์ ละเทคโนโลยี, กระทรวงศึกษาธิการ. หนงั สอื เรียน รายวชิ าพืน้ ฐาน วิทยาศาสตร์ ชั้นประถมศึกษาปีท่ี 5 กลุม่ สาระการเรยี นรู้ วทิ ยาศาสตร์ ช้ันประถมศกึ ษาปที ่ี 5 ตรงตามหลกั สตู รแกนกลางการศึกษา ขน้ั พน้ื ฐาน พทุ ธศกั ราช 2551. กรงุ เทพฯ : โรงพิมพ์ครุ สุ ภา ลาดพรา้ ว, 2559. สานกั พมิ พ์ บรษิ ทั พัฒนาคุณภาพวิชาการ (พว.) จากัด. คูม่ ือครวู ิทยาศาสตร์ ป.5 กลุ่มสาระการเรยี นรูว้ ทิ ยาศาสตร์ ชน้ั ประถมศกึ ษาปีที่ 5 ตรงตามหลกั สตู ร แกนกลางการศกึ ษาขน้ั พืน้ ฐาน พุทธศักราช 2551. กรุงเทพฯ : สถาบันพฒั นา คุณภาพวชิ าการ (พว.), 255 9. ________. ค่มู อื ครูวทิ ยาศาสตร์ ชั้นประถมศึกษาปีท่ี 5 กลุม่ สาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ ตามหลกั สูตรแกนกลางการศกึ ษาข้ันพื้นฐาน พุทธศักราช 2551. กรุงเทพฯ : สถาบันพัฒนาคุณภาพวชิ าการ (พว.), 255 9.

18 วรรณทิพา รอดแรงค้า และคณะ. หนงั สอื แบบฝึกหัด วทิ ยาศาสตร์ ป.5 กลุ่มสาระ การเรียนรู้วิทยาศาสตร์ ชัน้ ประถมศึกษาปที ่ี 5 ตรงตามหลักสูตรแกนกลาง การศกึ ษาข้ันพืน้ ฐาน พทุ ธศักราช 2551. กรงุ เทพฯ : สถาบันพัฒนา คุณภาพวชิ าการ (พว.), 255 5. เอกรินทร์ ส่มี หาศาล และคณะ. สอ่ื การเรยี นรู้ สาระพน้ื ฐาน ชดุ แมบ่ ทมาตรฐาน วทิ ยาศาสตร์ ช้นั ประถมศึกษาปีที่ 5. กรงุ เทพฯ : อักษรเจริญทัศน์, 2549. ________. แบบวัดและบันทกึ ผลการเรยี นรู้ วทิ ยาศาสตร์ ป. 5 ตามหลักสูตรแกนกลาง การศกึ ษาขนั้ พนื้ ฐาน พุทธศกั ราช 2551. พมิ พ์ครง้ั ท่ี 2. กรงุ เทพฯ : อักษรเจริญทศั น์, 2557. อุดมพร ลา้ เลศิ ปัญญา และคณะ. แบบฝกึ หัดเสรมิ ทักษะกลุ่มสาระการเรียนรวู้ ทิ ยาศาสตร์ เกง่ วทิ ยาศาสตร์ ป. 5 เล่ม 1 ตรงตามหลกั สตู รแกนกลางการศกึ ษาขน้ั พ้นื ฐาน พทุ ธศักราช 2551. กรุงเทพฯ : บริษัท สานักพมิ พ์ พ.ศ. พฒั นา จากดั , 2556.


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook