Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore วิท

วิท

Published by ypnschool, 2021-01-06 13:39:16

Description: วิท

Search

Read the Text Version

วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี เล่ม 1 ชั้นมธั ยมศึกษาปที ่ี 2 กล่มุ สาระการเรยี นรวู้ ทิ ยาศาสตรแ์ ละเทคโนโลยี หน่วยการเรยี นรทู้ ี่ 1 หน่วยการเรยี นรทู้ ่ี 2 หน่วยการเรยี นรู้ที่ 3 Slide PowerPoint_สอ่ื ประกอบการสอน บริษัท อกั ษรเจรญิ ทศั น์ อจท. จำกัด : 142 ถนนตะนำว เขตพระนคร กรงุ เทพฯ 10200 Aksorn CharoenTat ACT.Co.,Ltd : 142 Tanao Rd. Pranakorn Bangkok 10200 Thailand โทรศัพท์ : 02 622 2999 โทรสำร : 02 622 1311-8 [email protected] / www.aksorn.com

1หนว่ ยการเรยี นรทู้ ่ี ระบบรา่ งกายมนุษย์ ตวั ชวี้ ัด • ระบอุ วัยวะและบรรยำยหนำ้ ทขี่ องอวัยวะทเ่ี ก่ยี วข้องในระบบหำยใจ • อธบิ ำยกลไกกำรหำยใจเข้ำและออก โดยใช้แบบจำลอง รวมทง้ั อธบิ ำยกระบวนกำรแลกเปลย่ี นแกส๊ • ตระหนักถงึ ควำมสำคัญของระบบหำยใจ โดยกำรบอกแนวทำงในกำรดแู ลรกั ษำอวยั วะในระบบหำยใจให้ทำงำนเปน็ ปกติ • ระบุอวัยวะและบรรยำยหนำ้ ทข่ี องอวัยวะในระบบขับถำ่ ยในกำรกำจดั ของเสียทำงไต • ตระหนกั ถึงควำมสำคัญของระบบขบั ถำ่ ยในกำรกำจดั ของเสียทำงไต โดยกำรบอกแนวทำงในกำรปฏิบัติตนทชี่ ่วยให้ระบบขับถ่ำยทำหนำ้ ท่ีได้อย่ำงปกติ • บรรยำยโครงสรำ้ งและหนำ้ ที่ของหัวใจ หลอดเลอื ด และเลือด • อธบิ ำยกำรทำงำนของระบบหมนุ เวียนเลือด โดยใช้แบบจำลอง • ออกแบบกำรทดลองและทดลอง ในกำรเปรยี บเทยี บอัตรำกำรเตน้ ของหวั ใจ ขณะปกติและหลังทำกจิ กรรม • ตระหนักถงึ ควำมสำคัญของระบบหมุนเวียนเลอื ด โดยกำรบอกแนวทำงในกำรดูแลรกั ษำอวัยวะในระบบหมุนเวยี นเลือดใหท้ ำงำนเปน็ ปกติ

ระบบหายใจ ระบบแลกเปล่ยี นแก๊สของร่างกายกบั สิ่งแวดล้อม หายใจเข้า หายใจออก แกส๊ ออกซเิ จน (O2) แกส๊ คาร์บอนไดออกไซด์ (CO2)

อวยั วะในระบบหายใจ อวัยวะทีเ่ กีย่ วข้องกบั ระบบหายใจ จมูก กระดูกซี่โครง • ทำงผ่ำนเขำ้ – ออกของอำกำศ • ทำงำนร่วมกับกล้ำมเนื้อยึดกระดูกซี่โครง • มขี นทำหน้ำท่ีกรองเชือ้ โรคและสง่ิ แปลกปลอม ในกำรเปล่ียนแปลงปริมำตรช่องอกระหว่ำง • โพรงจมูกช่วยควบคุมอุญหภูมิและควำมช้ืน หำยใจเข้ำและออก ของอำกำศกอ่ นเข้ำสู่ทอ่ ลมและปอด กะบงั ลม ท่อลม • ช่วยรั้งปอดลงขณะหำยใจเข้ำ และดนั ปอดขึ้นขณะหำยใจออก • ท่อกลวงทป่ี ระกอบดว้ ยกระดกู ออ่ นรูปเกือกม้ำ ช่วยป้องกนั กำรยุบตัวขณะหำยใจเขำ้ และออก ถุงลมมีผนังบำง มีหลอดเลือดฝอย มำห่อหุ้ม ทำหนำ้ ท่แี ลกเปลี่ยนแกส๊ ปอด • มี 2 ขำ้ ง • ประกอบดว้ ยถงุ ลมจำนวนมำก

กลไกการหายใจ การหายใจมี 2 รปู แบบ การหายใจเขา้ อำกำศเข้ำ การหายใจออก อำกำศออก • กล้ำมเนอื้ ยึดกระดูกซ่โี ครงหดตัว ทำใหก้ ระดกู ซโี่ ครงเล่ือนสงู ขน้ึ • กล้ำมเนอื้ ยึดกระดูกซโ่ี ครงคลำยตวั ทำให้กระดกู ซโ่ี ครงเล่ือนตำ่ ลง • กล้ำมเน้ือกะบังลมหดตัว ทำใหก้ ะบังลมเลอื่ นตำ่ ลง • กลำ้ มเน้ือกะบงั ลมคลำยตัว ทำให้กะบงั ลมเลอ่ื นสูงขึ้น • ปรมิ ำตรช่องอกเพม่ิ ขึ้น ควำมดนั อำกำศในชอ่ งอกลดลง • ปริมำตรชอ่ งอกลดลง ควำมดนั อำกำศในช่องอกเพิม่ ข้ึน

การแลกเปล่ยี นแก๊ส ปอด CO2 - แก๊สออกซิเจนแพร่จำกถุงลมเข้ำ O2 สูห่ ลอดเลอื ดฝอย เซลล์ - แก๊สคำรบ์ อนไดออกไซด์แพร่จำก หลอดเลือดฝอยเขำ้ สู่ถงุ ลม - แกส๊ ออกซิเจนแพรจ่ ำก หลอดเลือดฝอยเข้ำสู่เซลล์ O2CO2 OC2 O2 - แก๊สคำร์บอนไดออกไซด์แพร่จำก เซลล์เขำ้ สหู่ ลอดเลอื ดฝอย

การดแู ลรกั ษาอวยั วะ ในระบบหายใจ

ระบบขับถา่ ย ระบบกาจัดของเสียออกจากรา่ งกาย การขบั ถา่ ยของเสียของมนุษย์ CO2 แกส๊ คารบ์ อนไดออกไซด์ เหง่อื และ ปสั สาวะ จากการหายใจออก อจุ จาระ

อวยั วะในระบบขบั ถา่ ยปสั สาวะ • มี 2 ขำ้ ง รปู ร่ำงคล้ำยเมล็ดถว่ั • ภำยในมีหน่วยไตทำหน้ำท่ีกรองของเสียและสำรต่ำง ๆ ออก ไต ท่อไต จำกเลอื ด • ท่อขนำดเลก็ และยำวทต่ี ่อมำจำกไตท้ัง 2 ข้ำง ไปเชื่อมต่อกับ กระเพำะปัสสำวะ • ลำเลียงปัสสำวะจำกไตไปสู่กระเพำะปัสสำวะ กระเพาะปสั สาวะ • อวยั วะทีส่ ำมำรถยืดหยุ่นได้ • ทำหน้ำทเ่ี กบ็ ปัสสำวะที่มำจำกไต ทอ่ ปัสสาวะ • นำปัสสำวะจำกกระเพำะปสั สำวะออกสภู่ ำยนอกรำ่ งกำย

การกาจัดของเสียของไต ภายในไต ประกอบดว้ ยหน่วยไตจำนวนมำก ทำหน้ำท่กี รองของเสียและสำรต่ำงๆออกจำกเลอื ดและดดู สำรทม่ี ีประโยชน์กลับ สว่ นที่ทาหน้าที่กรองของเสีย สำรที่ผำ่ นกำรกรองเป็นสำรทม่ี ขี นำดเลก็ เชน่ น้ำ กลโู คส ยเู รีย สว่ นสำรท่ีมีขนำดใหญ่ เชน่ โปรตนี เซลลเ์ มด็ เลอื ด จะไมผ่ ำ่ นกำรกรอง หลอดเลือดฝอย บริเวณดูดกลบั สาร หลอดเลือดอาร์เตอรี สำรทมี่ ปี ระโยชน์ เช่น นำ้ กลูโคส จะถูก หลอดเลือดเวน ดดู กลบั เข้ำสูห่ ลอดเลือดฝอย ของเสียและสารอ่นื ๆ ทไ่ี ม่ถูกดูดกลบั กลายเปน็ “ปสั สาวะ”

VDO

การดแู ลรกั ษาอวัยวะ ในระบบขบั ถา่ ย

ระบบหมุนเวยี นเลอื ด ระบบขนส่งสำรตำ่ ง ๆ เชน่ สำรอำหำร แกส๊ ออกซเิ จน ไปยงั เซลลท์ ัว่ ร่ำงกำย และนำของเสยี ท่เี กิดจำกกิจกรรมของเซลล์ เชน่ ยูเรีย แก๊สคำร์บอนไดออกไซด์ มำกำจัดออกจำกรำ่ งกำย อวยั วะในระบบหมนุ เวียนเลือด หวั ใจ หลอดเลือด เลอื ด

หวั ใจ หวั ใจห้องบนซา้ ย ซรา้ับยเลอื ดทีม่ ีแกส๊ ออกซเิ จนสงู หัวใจห้องบนขวา จำกปอดทง้ั 2 ข้ำง รบั เลือดทม่ี แี กส๊ ออกซเิ จนต่ำ จำกอวัยวะตำ่ งๆของร่ำงกำย หวั ใจหอ้ งล่างซ้าย ซสา้่งยเลือดท่ีมีแกส๊ ออกซิเจนสูงไป หวั ใจห้องล่างขวา ยงั อวัยวะต่ำง ๆ ของร่ำงกำย สง่ เลือดทมี่ แี กส๊ ออกซเิ จนต่ำ ไปยงั ปอดทงั้ 2 ข้ำง ลนิ้ หวั ใจ เพอ่ื แลกเปล่ยี นแก๊ส กัน้ หัวใจห้องบนและหอ้ งลำ่ ง ปอ้ งกนั กำรไหลย้อนกลบั ของเลอื ด

หลอดเลือด หลอดเลือดอารเ์ ตอรี (artery) - นำเลือดที่มี O2 สูงไปยังส่วนต่ำง ๆ ของรำ่ งกำย (ยกเว้นหลอดเลือดอำร์เตอรี ไปยงั ปอด) - ผนงั หนำและยดื หยนุ่ ดี มแี รงดันเลือดสูงและคงท่ี หลอดเลือดเวน (vein) - นำเลอื ดทมี่ ี O2 ตำ่ กลบั เขำ้ สูห่ วั ใจ (ยกเว้นหลอดเลอื ดเวนจำกปอด) - ผนงั บำง ควำมดันต่ำกว่ำหลอดเลอื ดอำรเ์ ตอรี มลี น้ิ กัน้ ภำยใน หลอดเลือดฝอย (capillary) - แลกเปลยี่ นแกส๊ และสำรต่ำง ๆ ระหวำ่ งเซลล์กับเลือด - มผี นงั บำงมำก ประกอบด้วยเซลลเ์ พยี งชัน้ เดยี ว

เลือด สว่ นทเ่ี ปน็ ของเหลว น้าเลือดหรือพลาสมา • ประกอบดว้ ยนำ้ สำรอำหำร เอนไซม์ ฮอร์โมน แกส๊ คำรบ์ อนไดออกไซด์ และของเสยี ต่ำง ๆ • ทำหนำ้ ท่ลี ำเลยี งสำรไปยังสว่ นต่ำง ๆ ของร่ำงกำย ส่วนทเี่ ป็นเซลลเ์ มด็ เลือด เซลลเ์ มด็ เลอื ดแดง (erythrocyte) • รปู รำ่ งกลมแบน ตรงกลำงบมุ่ ไม่มีนิวเคลยี ส • มีเฮโมโกลบนิ เปน็ องค์ประกอบ • ทำหน้ำทลี่ ำเลยี งแก๊สออกซเิ จนไปยงั เซลล์ทั่วร่ำงกำย เซลล์เมด็ เลือดขาว (leucocyte) • มขี นำดใหญ่กวำ่ เซลลเ์ มด็ เลอื ดแดง และมนี วิ เคลยี สอย่ภู ำยในเซลล์ • ทำหน้ำที่ทำลำยเชอื้ โรคและสงิ่ แปลกปลอม โดยกำรสรำ้ งแอนตบิ อดี หรอื กำรกลืนกินของเซลล์ เกลด็ เลอื ด (plateles) • มีรูปรำ่ งไม่แน่นอน ไมม่ นี ิวเคลียส • ชว่ ยกำรแขง็ ตัวของเลอื ดเมือ่ เกิดบำดแผล

การดแู ลรกั ษาอวยั วะ ในระบบหมุนเวียนเลอื ด

ระบบประสาท ระบบควบคมุ และประสำนกำรทำงำนของระบบอวยั วะต่ำง ๆ เพ่ือรกั ษำสมดลุ ของรำ่ งกำย รวมถงึ ควบคุมกำรแสดงพฤติกรรมต่ำงๆของมนุษย์ อวัยวะในระบบประสาท สมอง ไขสนั หลัง เส้นประสาท

สมอง เซรเี บลลัม ควบคุมกำรเคลอ่ื นไหว เซรบี รัม และกำรทรงตวั ของร่ำงกำย ควบคุบควำมคิด ควำมจำ สติปัญญำ และเป็นศูนย์ควบคุมกำรทำงำน เช่น พอนส์ กำรสัมผัส กำรมองเห็น กำรได้ยิน ควบคุมกำรหำรใจ กำรเคยี้ ว กำรรับรส กำรดมกลิ่น กำรทำงำน กำรหล่งั น้ำลำย กำรเคล่อื นไหว ของกลำ้ มเน้ือ ของใบหน้ำ ไฮโพทาลามัส เมดัลลา ออบลองกาตา ควบคุมอุณหภมู ิของร่ำงกำย กำรเตน้ ควบคุมกำรเต้นของหวั ใจ ของหัวใจ ควำมดนั และควำมตอ้ งกำร กำรหำยใจ ควำมดันเลอื ด พื้นฐำน เช่น นำ้ อำหำร กำรจำม กำรอำเจียน กำรกลืน ทาลามสั ศนู ยร์ วบรวมกระแสประสำทเขำ้ และ ออกจำกสมองส่วนตำ่ งๆ

ไขสันหลงั และเสน้ ประสาท ไขสันหลงั สว่ นทตี่ ่อจำกสมอง อยู่ภำยในกระดกู สันหลงั ขอ้ แรกถึงกระดกู บนั้ เอว มีหน้ำท่หี ลัก • สง่ ผ่ำนกระแสประสำทจำกหน่วยรับควำมรู้สึกไปสูส่ มอง • สง่ ผ่ำนกระแสประสำทจำกสมองไปสู่หนว่ ยปฏบิ ตั ิงำนต่ำง ๆของร่ำงกำย • เป็นศนู ย์รีเฟลก็ ซค์ วบคุมกำรทำงำนภำยนอกอำนำจจิตใจ ใยประสาท เส้นประสาท ใยประสำทหลำยอันมำรวมกันเป็นมัด ทำหน้ำที่ส่งกระแสประสำท จำกสมองและไขสันหลังไปยังอวัยวะต่ำง ๆ หรือรับกระแสประสำท จำกอวัยวะต่ำง ๆ มำยังไขสันหลังและสมอง

เซลล์ประสาท เดนไดรต์ แอกซอน ตัวเซลล์ • ประกอบด้วยนิวเคลียสและไซโทพลำซึมท่ีมีออร์แกเนลล์ต่ำง ๆ อย่ภู ำยใน • ทำหน้ำท่ีสังเครำะห์สำรที่จำเป็นต่อเซลล์ประสำทและส่งสำรไป ยังเซลลป์ ระสำทอ่ืนๆ ใยประสาท • แขนงทแ่ี ยกออกมำจำกตวั เซลล์ • ประกอบดว้ ยเดนไดรต์ทำหนำ้ ท่นี ำกระแสประสำทเข้ำสตู่ ัวเซลล์ และแอกซอนทำหนำ้ ทน่ี ำกระแสประสำทออกจำกตัวเซลล์

การทางานของระบบประสาท กำรทำงำนประสำนกันของสมอง ไขสนั หลงั และเสน้ ประสำท เม่อื มสี ง่ิ เรำ้ มำกระตุ้นอวัยวะควำมร้สู ึกตำ่ ง ๆของรำ่ งกำย 1 เม่ือถูกหนำมท่ิม หน่วยรับควำมรู้สึกใต้ผิวหนัง บรเิ วณปลำยน้วิ จะไดร้ ับกำรกระต้นุ 1 5 2 2 กระแสประสำทถูกส่งผ่ำนเซลล์ประสำทจำก 3 ปลำยนว้ิ ไปยังไขสนั หลัง 4 3 กระแสประสำทถกู สง่ จำกไขสันหลงั ต่อไปยังสมอง ทำให้รูส้ ึกเจบ็ ปวดท่ีบริเวณปลำยนิ้ว ศนู ย์ประสำทสัง่ กำรในสมองจะสงั่ กำรลงมำยัง 4 ไขสันหลัง แล้วส่ังกำรต่อไปยังหน่วยปฏิบัติงำน คือ กล้ำมเนื้อทโี่ คนแขน 5 กล้ำมเนือ้ ทีโ่ คนแขนจะหดตวั ทำให้แขนพับงอและ ยกปลำยนิว้ ออกจำกหนำม

การดูแลรักษาอวัยวะ ในระบบประสาท

ระบบสืบพนั ธุ์ มนุษย์มกี ำรสืบพนั ธุ์แบบอำศยั เพศ เกิดจำกกำรปฏสิ นธขิ องเซลลส์ ืบพนั ธ์ุเพศชำย คือ เซลล์อสุจิ กบั เซลล์สบื พันธ์ุเพศหญงิ คือ เซลล์ไข่ เมือ่ เซลล์สืบพนั ธท์ุ ั้ง 2 เพศ ปฏิสนธกิ ันจะได้ไซโกต แบง่ เซลลเ์ ปน็ เอ็มบรโิ อ และเจรญิ เติบโตเปน็ ทำรก เซลลอ์ สุจิ เซลลไ์ ข่ ปฏสิ นธิ

ระบบสืบพนั ธเุ์ พศชาย ต่อมสรา้ งน้าเล้ียงอสุจิ มสี ภำพเป็นเบสอ่อนๆประกอบดว้ ยนำ้ อัณฑะ สำรเมอื ก กรดอะมโิ น และนำ้ ตำล มี 1 คู่ อยู่ภำยในถงุ อณั ฑะ ทำหนำ้ ทผี่ ลิต โมเลกลุ เด่ยี ว (ฟรักโทส) ที่เป็นอำหำร ฮอร์โมนเพศชำยและสร้ำงเซลลอ์ สุจิ ของเซลลอ์ สจุ ิ ถุงอัณฑะ ตอ่ มลูกหมาก ห่อหุ้มอณั ฑะและปรบั อุณหภมู ขิ องอัณฑะ หลั่งสำรที่มสี มบัตเิ ปน็ เบสเพื่อลดควำม ใหต้ ำ่ กว่ำอุณหภูมปิ กตขิ องรำ่ งกำย เป็นกรดในชอ่ งคลอดของเพศหญิง ประมำณ 3 องศำเซลเซยี ส ต่อมคาวเปอร์ หลอดเกบ็ อสจุ ิ สร้ำงสำรหลอ่ ล่ืนช่วยใหเ้ ซลล์อสจุ ิ อยู่ด้ำนบนของอณั ฑะ ทำหน้ำท่ี เคลอ่ื นที่ไดเ้ รว็ ข้นึ เกบ็ อสุจทิ ส่ี รำ้ งมำจำกอัณฑะ องคชาต หลอดนาอสจุ ิ เปน็ อวัยวะสืบพนั ธ์ุภำยนอกรำ่ งกำย เปน็ ทำงผำ่ นของเซลล์อสุจิที่สรำ้ งจำก ซ่ึงเป็นทำงผำ่ นของอสจุ อิ อกจำกร่ำงกำย อณั ฑะ

การสรา้ งเซลลอ์ สจุ ิ • เซลลอ์ สจุ ถิ กู สรำ้ งจำกอณั ฑะและเคลอ่ื นทีม่ ำยังหลอดเก็บอสุจซิ งึ่ เป็นแหล่งพฒั นำเซลลอ์ สุจิ • เมอ่ื มีกำรหลัง่ อสจุ ิ เซลลอ์ สุจถิ กู ลำเลยี งตำมหลอดนำอสุจไิ ปยงั ทอ่ ปัสสำวะ ซ่ึงมีกำรหลั่งของเหลวจำกตอ่ มต่ำงๆ มำรวม เรยี กว่ำ นา้ อสจุ ิ • เพศชำยเร่ิมสรำ้ งเซลลอ์ สจุ ิเม่อื อำยุ 12-13 ปี และสรำ้ งตลอดชวี ติ ส่วนหัว มีนิวเคลียสที่บรรจุสำรพันธุกรรม ซึ่งถูกห่อหุม้ ด้วยถุงอะโครโซมท่ี ประกอบดว้ ยเอนไซมส์ ำหรบั เจำะเยอื่ ห้มุ เซลล์ไข่ ส่วนลาตัว มีไมโทคอนเดรียทำหนำ้ ท่สี ร้ำงพลงั งำนสำหรับกำรเคลอ่ื นที่ สว่ นหาง ประกอบด้วยแฟลเจลลัมชว่ ยในกำรเคลอื่ นที่

ระบบสืบพนั ธ์เุ พศหญงิ รงั ไข่ • มี 2 อัน อยู่ดำ้ นขำ้ งมดลูก • ทำหนำ้ ทีผ่ ลิตเซลลไ์ ขแ่ ละฮอรโ์ มนเพศหญงิ ท่อนาไข่ หรือปกี มดลูก • ทำงเชื่อมระหว่ำงรังไขก่ บั มดลกู • เปน็ บรเิ วณทีเ่ กดิ กำรปฏิสนธขิ องเซลล์อสจุ กิ บั เซลล์ไข่ มดลูก • อยู่บรเิ วณอ้งุ เชิงกรำนระหว่ำงกระเพำะปสั สำวะกับทวำรหนัก • เป็นบรเิ วณฝงั ตวั ของเอ็มบริโอและเจรญิ เตบิ โตของทำรก ชอ่ งคลอด • อยตู่ อ่ จำกมดลูก ประกอบด้วยกลำ้ มเนอื้ เรียบ จงึ ยืดหยุ่นได้ • เป็นทำงผ่ำนของเซลล์อสุจิเข้ำสู่มดลูกและเป็นทำงออกของ ทำรกเมือ่ ครบกำหนดคลอด

การสรา้ งเซลล์ไข่ เซลล์ไข่ท่ีเจรญิ เติบโตเต็มทีแ่ ละพร้อมที่จะไดร้ ับกำรผสม เรยี กวำ่ ไข่สกุ ซ่ึงจะเคลือ่ นที่จำกรงั ไข่เข้ำสู่ปีกมดลูก เรยี กกระบวนกำรนว้ี ่ำ การตกไข่ 1 เซลลไ์ ขเ่ จรญิ และพัฒนำอย่ใู นรงั ไข่ 1 2 3 4 2 เมอ่ื เซลล์ไขส่ ุกจะตกจำกรงั ไขเ่ ขำ้ สูท่ ่อนำไข่ 3 เซลล์ไข่เคล่ือนไปยังผนังมดลูกที่หนำตัว เพอ่ื เตรยี มพรอ้ มรับกำรฝงั ตวั 4 หำกเซลล์ไข่ไม่ถูกปฏิสนธิจะสลำยตัว ผนังมดลูกและหลอดเลือดหลุดกลำยเป็น ประจาเดือน

ฮอรโ์ มนเพศ สำรเคมีที่ร่ำงกำยสร้ำงขึ้น ทำหน้ำที่ควบคุมกำรสร้ำงเซลล์สืบพันธุ์ รวมทั้ง ควบคุมกำรเปล่ยี นแปลงลักษณะทำงร่ำงกำยเม่อื เจริญเขำ้ สู่วัยหนมุ่ สำว ฮอร์โมนเพศชาย : เทสโทสเทอโรน ฮอร์โมนเพศหญิง : โพรเจสเทอโรนและอสี โทรเจน • สร้ำงจำกอณั ฑะ • สรำ้ งจำกรงั ไข่ • ควบคุมกำรสรำ้ งเซลลอ์ สุจแิ ละกำรเกิดลักษณะข้ันที่ 2 • ฮอร์โมนท้ัง 2 ชนิด ทำหนำ้ ทีร่ ่วมกนั กระตนุ้ กำรเจริญของ ของเพศชำย เช่น มีหนวดเครำ ขนบรเิ วณรกั แร้ หนำ้ แข้ง ผนงั มดลูกเพื่อรองรบั กำรฝงั ตวั ของเอม็ บริโอ และอีสโทรเจน และอวยั วะเพศ หัวนมแข็ง เสียงแหบและหำ้ ว มมี ัดกล้ำมเนื้อ ยงั ควบคุมกำรเกิดลกั ษณะข้ึนท่ี 2 ของเพศหญิง เช่น สะโพกแคบและไหลกวำ้ ง อวัยวะเพศโต หล่ังนำ้ อสุจิขณะหลับ เสียงเล็กแหลม สะโพกผำย หน้ำอกและอวยั วะเพศใหญ่ ขนขึ้นบริเวณรกั แร้และอวยั วะเพศ

ฮอร์โมนจากรังไข่การเปล่ยี นแปลงของฮอร์โมนเพศหญงิ โพรเจสเทอโรน อีสโทรเจน ัวฏ ัจกรของมด ูลก ประจาเดอื น ระยะก่อนตกไข่ ระยะหลังตกไข่ ประจาเดอื น

การคมุ กาเนิด กำรป้องกนั กำรตง้ั ครรภ์ โดยกำรป้องกันกำรปฏสิ นธหิ รอื ป้องกนั กำรฝ่งั ตัวของเอม็ บริโอท่ผี นงั มดลกู 1. วิธีธรรมชาติ กำรนับวันมีเพศสัมพนั ธ์ คอื ก่อนมีประจำเดือน 7 วนั และหลงั จำกมีประจำเดือนวนั แรก 7 วัน ขอ้ ดี : สำมำรถคำนวณระยะเวลำในกำรมเี พศสัมพันธไ์ ดด้ ว้ ยตนเอง ขอ้ เสยี : ไม่สำมำรถป้องกันกำรติดเช้อื จำกโรคติดตอ่ ทำงเพศสัมพนั ธ์ 2. การคมุ กาเนิดโดยใชอ้ ปุ กรณ์ กำรใชถ้ งุ ยำงอนำมยั ในเพศชำย กำรใช้หว่ งคมุ กำเนดิ ในเพศหญิง ขอ้ ดี : สำมำรถปอ้ งกันกำรติดเชื้อจำกโรคตดิ ต่อทำงเพศสมั พันธ์ได้ ขอ้ เสีย : ไม่สำมำรถป้องกันกำรตั้งครรภ์ไดอ้ ยำ่ งแนน่ อน

การคมุ กาเนิด 3. การคุมกาเนิดโดยใช้สารเคมี กำรใชย้ ำคมุ กำเนิด ขอ้ ดี : สำมำรถใชใ้ นกรณีฉกุ เฉนิ ได้ เชน่ ถกู ขม่ ขนื ขอ้ เสยี : อำจส่งผลข้ำงเคยี งตอ่ ร่ำงกำยได้ 4. การทาหมัน กำรปอ้ งกนั ท่ีมีประสิทธิสูงท่สี ดุ ไดแ้ ก่ กำรตัดทอ่ นำอสุจิในเพศชำย กำรตัดทอ่ นำไขใ่ นเพศหญงิ ข้อดี : สำมำรถปอ้ งกันกำรต้ังครรภ์ได้อยำ่ งถำวร ขอ้ เสยี : ไมส่ ำมำรถมีบุตรเพ่ิมในอนำคตอีก

2หนว่ ยการเรียนรู้ที่ การแยกสารผสม ตวั ชี้วดั • อธบิ ำยกำรแยกสำรผสมโดยกำรระเหยแหง้ กำรตกผลึก กำรกลั่นอย่ำงงำ่ ย โครมำโทกรำฟแี บบกระดำษ กำรสกัดดว้ ยตวั ทำละลำย โดยใชห้ ลกั ฐำนเชงิ ประจกั ษ์ • แยกสำรโดยกำรระเหยแหง้ กำรตกผลกึ กำรกลนั่ อยำ่ งงำ่ ย โครมำโทกรำฟแี บบกระดำษ กำรสกดั ดว้ ยตวั ทำละลำย • นำวิธกี ำรแยกสำรไปใชแ้ กป้ ัญหำในชีวิตประจำวนั โดยบูรณำกำรวทิ ยำศำสตร์ คณิตศำสตร์ เทคโนโลยี และวศิ วกรรมศำสตร์

การแยกสารผสม โครมาโทกราฟีแบบกระดาษ การระเหยแห้ง การสกดั ดว้ ยตวั ทาละลาย การตกผลกึ การกล่ัน

การระเหยแห้ง กำรแยกสำรละลำยซ่ึงประกอบดว้ ยตัวละลำยทีเ่ ปน็ ของแข็งในตวั ทำละลำยทีเ่ ปน็ ของเหลว โดยใชค้ วำมร้อนทำใหข้ องเหลวระเหย อย่ำงช้ำๆ เหลอื แต่ของแขง็ หลักการ สารละลาย สารทม่ี จี ดุ เดอื ดต่าระเหยกลายเปน็ ไอ ของแข็งทเ่ี หลืออยู่ สารที่มีจุดเดือดต่ากว่าระเหยกลาย เป็นไอได้ดีกว่าสารที่มีจุดเดือดสูงกว่า ดังน้ัน สารที่ระเหยออกมาก่อนจึงเป็น ของเหลว (ตัวทาละลาย) ส่วนสารที่ เหลืออยเู่ ปน็ ของแข็ง (ตัวละลาย) ใหค้ วามร้อน การระเหยแหง้ ของสารละลาย

การผลิตเกลือสมทุ ร ความรอ้ นจากดวงอาทติ ย์ นา้ ระเหยกลายเป็นไอ น้าทะเล สบู นา้ เขา้ นา เกลือสมุทร ขั้นตอนที่ 1 ขั้นตอนท่ี 2 ขน้ั ตอนที่ 3 • น้ำทะเลมีโซเดียมคลอไรด์ (NaCl) • ให้ควำมร้อนจำกดวงอำทิตย์กับ • เหลือเฉพำะโซเดียมคลอไรด์ท่ีมี ละลำยอยู่ในรูปโซเดียมไอออน (Na+) และคลอไรด์ไอออน (Cl−) น้ำทะเลในนำเกลือ น้ำซึ่งมีจุดเดือด จุดเดือดสูงกว่ำ (1,413 องศำเซลเซียส) ต่ำกว่ำ (100 องศำเซลเซียส) ระเหย อยู่ในรูปผลึกของแข็ง ซึ่งเป็นผลึกของ กลำยเปน็ ไอ เกลือสมทุ ร

การตกผลกึ กำรแยกตวั ละลำยท่ีเป็นของแขง็ ออกจำกตวั ทำละลำยท่เี ปน็ ของเหลวในสภำพของสำรละลำยอม่ิ ตัว สารผสม หลกั การ เมื่อให้ความร้อนกับตัวทาละลาย ตัวละลายจะสามารถละลายใน ตัวทาละลายไดเ้ พิ่มขึ้นจนกลายเป็น ส า ร ล ะ ล า ย อ่ิ ม ตั ว ท่ี อุ ณ ห ภู มิ สู ง เมื่ออุณหภูมิของสารละลายลดลง ตวั ละลายจะตกผลึกแยกออกมา การทาสารให้บรสิ ทุ ธโิ์ ดยวธิ ีการตกผลึก สารบรสิ ทุ ธิ์

การผลิตนา้ ตาลทราย ขนั้ ตอนที่ 1 เกบ็ เกยี่ วอ้อยทป่ี ลกู เปน็ เวลำ 12-18 เดือน 1 ขน้ั ตอนท่ี 2 นำอ้อยมำตัดและบดละเอยี ด 6 2 ขัน้ ตอนที่ 3 นำอ้อยมำตม้ เพื่อสกัดเปน็ นำ้ อ้อย 5 ขั้นตอนที่ 4 นำน้ำออ้ ยมำทำใหบ้ รสิ ุทธิ์ โดยแยก ส่งิ เจือปนต่ำงๆออก 3 ข้ันตอนท่ี 5 นำน้ำออ้ ยมำเค้ยี วเพ่อื ระเหยน้ำออก จนกลำยเป็นน้ำอ้อยอ่ิมตัว 4 ขั้นตอนที่ 6 นำนำ้ อ้อยอมิ่ ตวั มำป่นั เหวี่ยงเพ่ือแยกนำ้ ตำล ออกมำ ซึง่ อยใู่ นรูปผลกึ นำ้ ตำล

การกล่ัน กำรแยกสำรละลำยทปี่ ระกอบดว้ ยของเหลว 2 ชนดิ ขึ้นไป ท่มี จี ดุ เดอื ดตำ่ งกนั โดยใช้ควำมร้อน หลกั การ • ของเหลวแต่ละชนิดระเหยกลายเป็นไอ ท่อี ุณหภมู ติ า่ งกนั • ของเหลวท่ีมีจุดเดือดต่ากว่าระเหยกลาย เปน็ ไอออกมาก่อน ส่วนของเหลวที่มีจุดเดือด สงู กวา่ ระเหยกลายเปน็ ไอออกมาทีหลงั ประเภทของการกลัน่ • การกล่นั แบบธรรมดา • การกลั่นแบบไอนา้ • การกล่นั ลาดบั สว่ น

การกลั่นธรรมดา กำรแยกสำรละลำยที่ประกอบดว้ ยตวั ทำละลำยเป็นสำรระเหยงำ่ ยและมีจุดเดอื ดตำ่ ออกจำกตัวละลำยทีเ่ ปน็ สำรระเหยยำก และมจี ุดเดือดสูง โดยตวั ทำละลำยและตัวละลำยควรมจี ดุ เดือดตำ่ งกนั ตั้งแต่ 30 องศำเซลเซียสขึ้นไป ตวั อยา่ งเชน่ ทางนา้ ออก การกลน่ั นา้ ออกจากน้าเกลือ น้าเกลือ เคร่ืองควบแน่น ทางนา้ เข้า นา้

การกลนั่ ไอน้า กำรแยกสำรที่มีจุดเดือดต่ำ ระเหยง่ำย และไม่ละลำยน้ำ ออกจำกสำรท่ีระเหยยำก โดยควำมดันจำกไอน้ำทำให้สำรเดือกลำยเป็นไอ และถูกกลั่นออกมำพร้อมกับไอน้ำ แลว้ ควบแน่นกลับเป็นของเหลวอกี ครง้ั แต่สำรทีถ่ กู กล่ันออกมำจะแยกช้นั กบั นำ้ ทางน้าออก เครือ่ งควบแน่น ตวั อย่างเชน่ การกล่ันนา้ มันหอมระเหยจากพชื น้า พชื ทางน้าเข้า น้ามันหอมระเหย น้า

การกลัน่ ลาดบั สว่ น กำรแยกสำรละลำยท่ีประกอบด้วยสำรที่มี จุดเดือดใกล้เคียงกัน หรือสำรละลำยท่ีมี ตัวทำละลำยและตัวละลำยเป็นสำรท่ี ระเหยงำ่ ย หอกล่ัน ทางน้าออก เคร่อื งควบแนน่ ตัวอยา่ งเชน่ เอทานอลผสมน้า ทางน้าเขา้ • การกลั่นแยกเอทานอลออกจากนา้ • การกลนั่ น้ามนั ดบิ เอทานอล

การกลัน่ นา้ มนั ดบิ ตา่ แก๊สปโิ ตรเลียม จดุ เดอื ด : < 30°C แนฟทาเบา คจวุดาแเมลดหะือนดืด ประโยชน์ : ทาสารเคมี จุดเดือด : 30 - 110°C วสั ดสุ ังเคราะห์ เชื้อเพลงิ แก๊สหงุ ต้ม ประโยชน์ : ทาสารเคมี สงู ตวั ทาละลาย น้ามันเบนซนิ จดุ เดอื ด : 65 - 170°C นา้ มนั ก๊าด ประโยชน์ : ทาเชอื้ เพลิงใน จดุ เดือด : 170 - 250°C เคร่ืองยนต์เบนซนิ ประโยชน์ : เชือ้ เพลิงใน ตะเกียงและเคร่อื งยนตไ์ อพน่ นา้ มันดีเซล จดุ เดอื ด : 250-340°C นา้ มันหล่อล่ืน ประโยชน์ : ทาเชอื้ เพลงิ ใน เคร่อื งยนตด์ เี ซล จุดเดือด : > 350°C ประโยชน์ : ทานา้ มนั หลอ่ ล่นื นา้ มันหล่อลื่น น้ามันเคร่อื ง จดุ เดือด : > 500°C ประโยชน์ : ไขใช้ทาเทยี นไข นา้ มันดิบ และเคร่อื งสาอางค์ น้ามันเตา ใช้เปน็ เชื้อเพลงิ เครือ่ งจักร อณุ หภมู ิ 320-385°C

โครมาโทกราฟีแบบกระดาษ ตวั ทาละลาย กำรแยกสำรละลำยที่ประกอบด้วยสำรมำกกว่ำ 1 ชนิด ออก - ทำหนำ้ ทล่ี ะลำยและพำสำรให้เคล่อื นท่ี จำกกัน โดยอำศัยควำมสำมำรถในกำรละลำยของสำรใน - สำรทล่ี ะลำยในตัวทำละลำยได้ดจี ะเคลอ่ื นที่ ตวั ทำละลำยและกำรถูกดดู ซับบนตัวดดู ซบั ท่แี ตกตำ่ งกัน แยกออกมำกอ่ น สว่ นสำรทีล่ ะลำยในตวั ทำละลำย สารผสม ได้ไมด่ ีจะแยกออกมำทีหลัง สารองค์ประกอบ - ตัวทำละลำยท่นี ยิ มใช้ เชน่ น้ำ แอลกอฮอล์ เฮกเซน อเี ทอร์ สำรละลำยโซเดียมคลอไรด์ ระยะทางทตี่ ัวทาละลายเคลอ่ื นท่ี ตัวดดู ซบั ตวั ดดู ซับ - ดดู ซบั สำรและเปน็ ตัวกลำงใหส้ ำรเคลื่อนท่ผี ่ำน - สำรทีถ่ กู ดูดซับดว้ ยตวั ดดู ซับไดด้ ีจะเคล่อื นที่ช้ำ ตวั ทาละลาย ส่วนสำรท่ถี กู ดูดซบั ด้วยตวั ดูดซบั ไดไ้ ม่ดจี ะเคล่อื นท่เี รว็ - ตัวดูดซับท่ีนิยมใช้ เช่น กระดำษโครมำโทกรำฟี กระดำษกรอง

โครมาโทรกราฟีแบบกระดาษ คานวณหาอัตราการเคลอ่ื นที่ของสาร ระยะทางทส่ี ารเคลอื่ นที่ (ซม.) Rf = ระยะทางท่ีตวั ทาละลายเคล่ือนท่ี (ซม.) การแยกสารสีในพืชชนิดหนึ่งโดยวิธีโครมาโทกราฟีแบบกระดาษ พบว่า ประกอบด้วยสารสี 4 ชนิด คือ คลอโรฟิลล์เอ คลอโรฟิลล์บี แคโรทีนอยด์ และแซนโทฟิลล์ จงคานวณหาอัตราการเคล่ือนท่ีของสารสีท้ัง 4 ในเอทิลแอลกอฮอล์ พร้อมเรียงลาดบั ความสามารถในการละลายจากสูงไปตา่ ระยะทาง (เซนติเมตร) ตวั ทำละลำย 9.5 แคโรทีนอยด์ 8.2 แซนโทฟิลล์ 3.8 คลอโรฟิลลเ์ อ 2.4 คลอโรฟลิ ลบ์ ี 10..50 สำรสีผสม

โครมาโทรกราฟแี บบกระดาษ วธิ ีทา จำกสตู ร Rf = ระยะทางท่สี ารเคล่ือนที่ (ซม.) คลอโรฟิลลเ์ อ ระยะทางทต่ี ัวทาละลายเคลื่อนที่ (ซม.) คลอโรฟลิ ล์บี แคโรทีนอยด์ = 2.4 แซนโทฟลิ ล์ = 9.5 0.25 = 1.5 สรุป = 90..516 แคโรทีนอยด์มีความสามารถในการละลายในเอทิลแอลกอฮอล์สูงท่ีสุด = 8.2 มอี ัตราการเคล่อื นที่ 0.86 รองลงมา คอื แซนโทฟิลล์ คลอโรฟลิ ล์เอ และ 9.5 คลอโรฟิลล์บี มีอตั ราการเคลื่อนที่ 0.40 0.25 และ 0.16 ตามลาดบั = 0.86 = 3.8 = 09..540

การสกดั ดว้ ยตวั ทาละลาย กำรแยกสำรออกจำกสำรผสม ท้งั สำรท่เี ปน็ ของเหลวปนกบั ของเหลว หรือของเหลวปนกับของแข็ง โดยอำศัย สมบัติกำรละลำยของสำรในตัวทำละลำย ซ่ึงสำรแต่ละชนิดละลำยในตัวทำละลำยแต่ละชนิดได้แตกต่ำงกัน และละลำยได้ในปรมิ ำณทแี่ ตกตำ่ งกนั หลกั การเลือกตวั ทาละลาย การสกดั สารจากใบพืชดว้ ยตัวทาละลาย • ต้องละลายสารท่ตี ้องการแยก • ไมล่ ะลายสารอืน่ ทีไ่ ม่ต้องการหรือละลายได้นอ้ ยมาก • ไม่ทาปฏกิ ริ ยิ ากบั สารท่ตี อ้ งการแยก • มีจุดเดอื ดตา่ และระเหยง่าย • ไม่เป็นพษิ • แยกออกจากสารละลายไดง้ า่ ย • ทาให้บริสุทธเ์ิ พื่อนากลับมาใชใ้ หมไ่ ด้ • ตวั ทาละลายท่นี ยิ มใช้ เชน่ นา้ เบนซนี เอทิลแอลกอฮอล์ อีเทอร์ โทลูอีน เฮกเซน

การสกัดนา้ มนั จากเมลด็ พชื น้ามนั จากเมล็ดทานตะวัน เมลด็ เฮกเซน เฮกเซน เฮกเซน ทานตะวนั ขน้ั ตอนท่ี 2 ขัน้ ตอนที่ 3 ข้นั ตอนที่ 1 การกรอง การกลั่น การสกดั ด้วยตวั ทาละลาย • นำเฮกเซนที่มีน้ำมันจำกเมล็ด ทำนตะวันละลำยอยู่มำกรอง • นำเฮกเซนจำกข้ันตอนที่ 2 มำกลั่น • นำเมล็ดพืชชนิดต่ำง ๆ เช่น เพื่อแยกกำกของเมล็ดออก เพื่อแยกเฮกเซนออก จะได้น้ำมัน ทำนตะวนั ถ่วั ลสิ ง รำข้ำว องุ่น เมล็ดทำนตะวันออกมำ (แต่ต้อง ปำล์ม มำสกัดในตัวทำละลำย นำไปฟอกสี ดูดกลิ่น กำจัดสำรอ่ืน เชน่ เฮกเซน ออกก่อนนำไปใช้)

3หนว่ ยการเรียนรู้ท่ี สารละลาย ตัวชี้วัด • ออกแบบกำรทดลองและทดลองในกำรอธิบำยผลของชนดิ ตวั ละลำย ชนิดตัวทำละลำย อุณหภูมิท่มี ีต่อสภำพละลำยได้ของสำร รวมทง้ั อธิบำยผลของควำมดันที่มตี อ่ สภำพละลำยได้ของสำร โดยใชส้ ำรสนเทศ • ระบปุ ริมำณตวั ละลำยในสำรละลำย ในหนว่ ยควำมเข้มขน้ เป็นรอ้ ยละปริมำตรต่อปรมิ ำตร มวลต่อมวล และมวลตอ่ ปริมำตร • ตระหนักถึงควำมสำคัญของกำรนำควำมร้เู ร่ืองควำมเขม้ ข้นของสำรไปใช้ โดยยกตวั อยำ่ งกำรใชส้ ำรละลำยในชวี ติ ประจำวันอยำ่ งถกู ตอ้ งและปลอดภัย

สารละลาย สารเนอื้ เดยี วท่ีมอี นุภาคขนาดเล็กกว่า 10−7 เซนติเมตร ประกอบด้วยธาตุหรอื สารประกอบตง้ั แต่ 2 ชนิด ขึ้นไปผสมกนั โดยมธี าตหุ รือสารประกอบชนดิ หนง่ึ เปน็ ตัวทาละลาย ส่วนอีกชนิดหรอื มากกวา่ เป็นตัวละลาย ตัวทาละลาย ตวั ละลาย


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook