Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore แผนการวัดและประเมินผลวิชาสังคมศึกษาม.3

แผนการวัดและประเมินผลวิชาสังคมศึกษาม.3

Published by momoci157, 2021-08-28 13:52:16

Description: แผนการวัดและประเมินผลวิชาสังคมศึกษาม.3

Search

Read the Text Version

แผนการวดั ผลและประเมินผล รายวชิ า สงั คมศึกษา รหสั วชิ า ส๒๓๑๐๑ ระดับช้ันมัธยมศึกษาปีท่ี ๓ ภาคเรยี นท่ี ๑ ปกี ารศกึ ษา ๒๕๖๔ นางสาวสุกัญญา วงศอ์ ภชิ น ตำแหน่งครผู ชู้ ่วย

โรงเรยี นราชประชานเุ คราะห์ ๒๔ จังหวัดพะเยา สำนักบรหิ ารงานการศกึ ษาพเิ ศษ สำนกั งานคณะกรรมการการศึกษาขัน้ พ้ืนฐาน กระทรวงศึกษาธกิ าร จุดมุ่งหมายของหลกั สตู รโรงเรยี นราชประชานุเคราะห์ ๒๔ จังหวัดพะเยา จดุ มุ่งหมายของหลักสูตร หลักสูตรโรงเรียนราชประชานุเคราะห์ ๒๔ จังหวัดพะเยา ระดับมัธยมศึกษาตอนปลายมุ่งพัฒนา ผู้เรียนให้เป็นคนดี มปี ัญญา มีความสุข มีศกั ยภาพในการศึกษาต่อ และประกอบอาชพี จึงกำหนดเป็นจุดหมาย เพ่ือให้เกิดกบั ผู้เรยี นเมอื่ จบการศึกษาขน้ั พืน้ ฐาน ดังน้ี 1. มีคุณธรรม จริยธรรม และค่านิยมที่พึงประสงค์ เห็นคุณค่าของตนเอง มีวินัยและปฏิบัติตนตาม หลักธรรมของพระพทุ ธศาสนา หรือศาสนาทตี่ นนบั ถือ ยึดหลกั ปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพยี ง 2. มีความรู้อนั เปน็ สากลและมีความสามารถในการสื่อสาร การคิด การแก้ปญั หา การใช้ เทคโนโลยีและมที ักษะชีวติ 3. มีสขุ ภาพกายและสุขภาพจติ ทดี่ ี มีสุขนิสัย และรักการออกกำลงั กาย 4. มีความรักชาติ มีจิตสำนึกในความเป็นพลเมืองไทยและพลโลก ยึดมั่นในวิถีชีวิตและการปกครอง ตามระบอบประชาธปิ ไตยอนั มพี ระมหากษัตรยิ ์ทรงเป็นประมขุ 5. มีจิตสำนึกในการอนุรักษ์วัฒนธรรมและภูมิปัญญาไทย การอนุรักษ์และพัฒนาสิ่งแวดล้อมมีจิต สาธารณะทีม่ ุง่ มนั่ ทำประโยชน์และสร้างส่งิ ทดี่ งี ามในสงั คม และอยู่รว่ มกันในสังคมอย่างมีความสขุ สมรรถนะสำคัญของผเู้ รยี น หลกั สูตรโรงเรียนราชประชานุเคราะห์ ๒๔ จังหวัดพะเยา มงุ่ พัฒนาผูเ้ รยี น ให้มคี ณุ ภาพตามมาตรฐาน การเรียนรู้ ซ่ึงการพัฒนาผูเ้ รียนให้บรรลุมาตรฐานการเรยี นรูท้ กี่ ำหนดนน้ั จะช่วยใหผ้ ู้เรยี นเกดิ สมรรถนะสำคัญ 5 ประการ ดังน้ี 1. ความสามารถในการสือ่ สาร เป็นความสามารถในการรับและส่งสาร มีวัฒนธรรมในการใช้ภาษา ถ่ายทอดความคิด ความรู้ความเข้าใจ ความรู้สึก และทัศนะของตนเอง เพื่อแลกเปลี่ยนข้อมูลข่าวสารและ ประสบการณ์อันจะเป็นประโยชน์ต่อการพัฒนาตนเองและสังคมรวมทั้งการเจรจาต่อรองเพื่อขจัดและลด ปัญหาความขัดแย้งต่าง ๆ การเลือกรับหรือไม่รับข้อมูลข่าวสารด้วยหลักเหตุผล และความถกู ต้อง ตลอดจนการเลอื กใช้วธิ กี ารสอ่ื สารท่มี ีประสิทธิภาพโดยคำนึงถงึ ผลกระทบทม่ี ีต่อตนเองและ สงั คม

2. ความสามารถในการคิด เป็นความสามารถในการคิดวิเคราะห์ การคิดสังเคราะห์ การคิดอย่าง สร้างสรรค์ การคิดอย่างมีวิจารณญาณ และการคิดเป็นระบบเพื่อนำไปสู่การสร้างสรรค์ องคค์ วามรหู้ รือสารสนเทศเพ่ือการตัดสนิ ใจเกีย่ วกับตนเองและสังคมไดอ้ ย่างเหมาะสม 3. ความสามารถในการแก้ปัญหา เป็นความสามารถในการแก้ปัญหาและอุปสรรคต่าง ๆ ที่เผชิญได้อย่างถูกต้องเหมาะสมบนพื้นฐานของหลักเหตุผล คุณธรรมและข้อมูลสารสนเทศ เข้าใจ ความสัมพันธ์และการเปลี่ยนแปลงของเหตุการณ์ต่าง ๆ ในสังคมแสวงหาความรู้ ประยุกต์ความรู้ มาใช้ในการป้องกันและแก้ไขปัญหาและมีการตัดสินใจที่มีประสิทธิภาพ โดยคำนึงถึงผลกระทบ ที่เกดิ ขนึ้ ต่อตนเอง สงั คมและส่ิงแวดล้อม 4. ความสามารถในการใช้ทักษะชีวิต เป็นความสามารถในการนำกระบวนการต่าง ๆ ไปใช้ในการ ดำเนินชีวิตประจำวัน การเรียนรู้ด้วยตนเอง การเรียนรู้อย่างต่อเนื่อง การทำงานและ การอยู่ร่วมกันในสังคมด้วยการสร้างเสริมความสัมพันธ์อันดีระหว่างบุคคล การจัดการปัญหา และความขัดแย้งต่าง ๆ อย่างเหมาะสม การปรับตัวให้ทันกับการเปลี่ยนแปลงของสังคมและสภาพแวดล้อม และการรู้จักหลีกเลย่ี งพฤติกรรมไม่พึงประสงคท์ ่สี ง่ ผลกระทบตอ่ ตนเองและผ้อู น่ื 5. ความสามารถในการใช้เทคโนโลยี เป็นความสามารถในการเลือก และใช้เทคโนโลยี ด้านต่าง ๆ และมีทักษะกระบวนการทางเทคโนโลยี เพื่อการพัฒนาตนเองและสังคม ในด้านการเรียนรู้ การ สอื่ สารการทำงาน การแก้ปญั หาอยา่ งสร้างสรรค์ ถกู ต้องเหมาะสม และมีคณุ ธรรม คุณลกั ษณะอนั พงึ ประสงค์ หลักสูตรโรงเรียนราชประชานุเคราะห์ ๒๔ จังหวัดพะเยา มุ่งพัฒนาผู้เรียนให้มีคุณลักษณะอันพึง ประสงค์เพื่อใหส้ ามารถอยู่ร่วมกบั ผู้อนื่ ในสังคมได้อยา่ งมีความสุข ในฐานะเป็นพลเมอื งไทยและพลโลก ดังน้ี 1. รกั ชาติ ศาสน์ กษตั รยิ ์ 2. ซอื่ สตั ยส์ จุ ริต 3. มวี ินยั 4. ใฝ่เรียนรู้ 5. อยู่อย่างพอเพียง 6. มงุ่ ม่นั ในการทำงาน 7. รกั ความเปน็ ไทย 8. มจี ิตสาธารณะ คณุ ภาพผ้เู รียนเมอ่ื จบชน้ั มัธยมศึกษาปที ่ี 3

จบชั้นมธั ยมศกึ ษาปีท่ี ๓ • มีความรู้เกี่ยวกับความเป็นไปของโลก โดยการศึกษาประเทศไทยเปรียบเทียบกับประเทศ ในภมู ภิ าคตา่ งๆในโลก เพื่อพัฒนาแนวคดิ เร่ืองการอยู่รว่ มกนั อยา่ งสันตสิ ุข • มีทกั ษะที่จำเป็นต่อการเปน็ นกั คดิ อยา่ งมีวิจารณญาณได้รับการพฒั นาแนวคิด และขยายประสบการณ์ เ ป ร ี ย บ เ ท ี ยบ ร ะ ห ว ่ า ง ปร ะ เท ศ ไ ท ย ก ั บป ร ะ เ ท ศ ใ น ภู ม ิภ าค ต ่ าง ๆ ใ น โ ล ก ไ ด ้ แ ก ่ เ อ เ ชีย ออสเตรเลยี โอเชยี เนยี แอฟริกา ยุโรป อเมริกาเหนอื อเมริกาใต้ ในด้านศาสนา คณุ ธรรม จริยธรรม คา่ นิยม ความเชื่อ ขนบธรรมเนียม ประเพณี วัฒนธรรม การเมืองการปกครอง ประวัติศาสตร์และภูมิศาสตร์ ด้วย วิธีการทางประวัตศิ าสตร์ และสังคมศาสตร์ • รู้และเข้าใจแนวคิดและวิเคราะห์เหตุการณ์ในอนาคต สามารถนำมาใช้เป็นประโยชน์ในการดำเนิน ชีวติ และวางแผนการดำเนนิ งานไดอ้ ย่างเหมาะสม สาระและมาตรฐานการเรยี นรู้ วชิ าสงั คมศึกษา รหสั วิชา ส23101 กล่มุ สาระการเรียนรู้สังคมศึกษา ศาสนาและวัฒนธรรม ช้นั มัธยมศึกษาปที ่ี 3 เวลา 60 ชวั่ โมง จำนวน 1.5 หน่วยกิต สาระที่ ๑ ศาสนา ศีลธรรม จรยิ ธรรม มาตรฐาน ส ๑.๑ รู้ และเข้าใจประวัติ ความสำคัญ ศาสดา หลักธรรมของพระพุทธศาสนาหรือศาสนา ท่ีตนนบั ถอื และศาสนาอ่ืน มีศรัทธาทถ่ี ูกต้อง ยดึ ม่ัน และปฏบิ ัติตามหลักธรรม เพ่ืออยรู่ ว่ มกันอย่างสนั ตสิ ุข มาตรฐาน ส ๑.๒ เข้าใจ ตระหนักและปฏิบัติตนเป็นศาสนิกชนที่ดี และธำรงรักษาพระพุทธศาสนา หรอื ศาสนาทตี่ นนับถอื สาระท่ี ๒ หน้าทีพ่ ลเมอื ง วัฒนธรรม และการดำเนินชวี ิตในสงั คม มาตรฐาน ส ๒.๑ เข้าใจและปฏิบัติตนตามหน้าที่ของการเป็นพลเมืองดี มีค่านิยมที่ดีงาม และธำรง รักษาประเพณีและวฒั นธรรมไทย ดำรงชวี ิตอยรู่ ่วมกนั ในสังคมไทยและสังคมโลกอยา่ งสนั ตสิ ุข

มาตรฐาน ส ๒.๒ เขา้ ใจระบบการเมอื งการปกครองในสังคมปัจจบุ ัน ยดึ มน่ั ศรัทธา และธำรงรักษา ไวซ้ ่งึ การปกครองระบอบประชาธปิ ไตยอันมีพระมหากษตั ริย์ สาระท่ี ๓ เศรษฐศาสตร์ มาตรฐาน ส ๓.๑ เขา้ ใจและสามารถบรหิ ารจัดการทรัพยากรในการผลิตและการบรโิ ภค การใช้ ทรพั ยากรที่มอี ยจู่ ำกดั ได้อยา่ งมปี ระสิทธิภาพและคมุ้ คา่ รวมท้งั เข้าใจหลกั การของเศรษฐกจิ พอเพียง เพ่อื การดำรงชีวติ อยา่ งมีดุลยภาพ มาตรฐาน ส ๓.๒ เข้าใจระบบและสถาบันทางเศรษฐกิจต่าง ๆ ความสัมพันธ์ทางเศรษฐกิจ และ ความจำเป็นของการร่วมมือกนั ทางเศรษฐกิจในสังคมโลก คำอธบิ ายรายวชิ า วชิ าสังคมศึกษา รหสั วิชา ส23101 กลมุ่ สาระการเรยี นรู้สังคมศึกษา ศาสนาและวัฒนธรรม ชน้ั มัธยมศกึ ษาปที ี่ 3 เวลา 60 ช่วั โมง จำนวน 1.5 หน่วยกิต ศกึ ษา วเิ คราะห์พระพทุ ธเกี่ยวกบั การเผยแผพ่ ระพุทธศาสนาเขา้ สู่ประเทศต่าง ๆ ทั่วโลก และการนับ ถือพระพทุ ธศาสนาของประเทศเหล่านน้ั ในปัจจุบัน ความสำคญั ของพระพุทธศาสนาในฐานะท่ีช่วยสร้างสรรค์ อารยธรรมและความสงบสุขให้แก่โลก สัมมนาพระพุทธศาสนากับปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงและการ พัฒนาอย่างย่ังยืน การศึกษาพุทธประวัติจากพระพทุ ธรูปปางต่าง ๆ การวิเคราะห์พุทธประวตั ิ รวมทั้งชาดก

เรื่องนันทิวิสาลชาดกและสุวณั ณหังสชาดก ศึกษา วิเคราะห์ พระธรรมเกี่ยวกบั พระรตั นตรัยเรื่อง สังฆคุณ 9 หลักธรรมสำคัญในกรอบอริยสัจ 4 ไดแ้ ก่ ทุกข์ (ธรรมทคี่ วรร้)ู : ขันธ์ 5 ไตรลักษณ์ สมทุ ยั (ธรรมท่คี วรละ): หลัก กรรม วัฏฏะ 3 ปปัญจธรรม 3 (ตัณหา มานะ ทิฎฐิ) นิโรธ (ธรรมที่ควรบรรลุ): อัตถะ 3 มรรค (ธรรมที่ควร เจริญ): มรรคมอี งค์ 8 ปัญญา 3 สัปปรุ สิ ธรรม 7 บญุ กิริยาวตั ถุ 10 อุบาสกธรรม 7 มงคล 38 เร่อื งมศี ลิ ปวิทยา พบสมณะ ฟงั ธรรมตามกาล สนทนาธรรมตามกาล พุทธศาสนสภุ าษติ บทว่า อตตฺ า หเว ชติ ํ เสยโฺ ย ชนะตนน่ัน แลดีกว่า ธมฺมจารี สุขํ เสติ ผู้ประพฤติธรรมย่อมอยู่เป็นสุข ปมาโท มจฺจุโน ปทํ ความประมาทเป็นทางแห่ง ความตาย สุสฺสูสํ ลภเต ปญฺญํ ผู้ฟังด้วยดีย่อมได้ปัญญา เรื่องน่ารู้จากพระไตรปิฎก:พุทธปณิธาน 4 ในมหา ปรินิพพานสูตร การปฏิบัติตนตามหลักธรรมในการพัฒนาตนเพื่อเตรียมพร้อมสำหรับการทำงานและการมี ครอบครวั ศึกษา วเิ คราะห์ พระสงฆ์เกย่ี วกบั การประพฤติตนตามแบบอยา่ งการดำเนนิ ชวี ิตและข้อคิดจากพุทธ สาวก พุทธสาวิกา ได้แก่ พระอัญญาโกณฑัญญะ พระมหาปชาบดีเถรี พระเขมาเถรี พระเจ้าปเสนทิโกศล ศา สนกิ ชนตวั อย่าง ไดแ้ ก่ ม.จ.หญิงพูนพิสมัย ดิสกลุ ศาสตราจารย์สญั ญา ธรรมศักด์ิ ศกึ ษา วิเคราะห์การปฏิบัติ ตนเปน็ ชาวพุทธท่ดี เี ก่ยี วกบั หน้าทีช่ าวพทุ ธเรื่อง การเรยี นรวู้ ิถกี ารดำเนนิ ชีวิตของศาสนกิ ชนศาสนาอน่ื ๆ หนา้ ท่ี ของพระภิกษุในการปฏิบัติตามหลักพระธรรมวินัย และจริยวัตรอยา่ งเหมาะสม การเป็นศิษย์ที่ดตี ามหลักทศิ เบื้องขวาในทศิ 6 ของพระพุทธศาสนา การปฏิบัติหนา้ ที่ชาวพุทธตามพุทธปณิธาน 4 ในมหาปรินิพพานสูตร การศึกษาเรียนรู้เรื่ององค์ประกอบของพระพุทธศาสนานำไปปฏิบัติและเผยแผ่ตามโอกาส การศึกษาการ รวมตัวขององค์กรชาวพุทธ การปลูกจิตสำนึกในด้านการบำรุงรักษาวัดและพุทธสถานให้เกิดประโย ชน์ มารยาทชาวพทุ ธเรือ่ ง การปฏิบัติตนต่อพระภิกษุในงานศาสนพิธที ี่บ้าน การสนทนา การแต่งกาย การพูดกบั พระภิกษุตามฐานะ การปฏิบัติตนอย่างเหมาะสมต่อบุคคลต่าง ๆ ตามหลักศาสนา ศาสนพิธีเรื่อง พิธีทำบุญ งานมงคลและงานอวมงคล การนิมนต์พระภิกษุ การเตรียมที่ตั้งพระพุทธรูปและเครื่องบูชา การวงด้าย สายสญิ จน์ การปลู าดอาสนะ การเตรียมเครื่องรับรอง การจุดธปู เทยี น ขอ้ ปฏิบตั ใิ นวนั เล้ียงพระ การถวายข้าว พระพทุ ธ การถวายไทยธรรม การกรวดนำ้ การแสดงตนเป็นพทุ ธมามกะ ประวตั ิวนั สำคัญทางพระพุทธศาสนา ในประเทศไทย หลกั ปฏิบตั ิตน: การฟังพระธรรมเทศนา การแตง่ กายในการประกอบศาสนพิธที ว่ี ัด การงดเว้น อบายมุข การประพฤตปิ ฏบิ ตั ิในวันธรรมสวนะและเทศกาลสำคญั ศกึ ษา วเิ คราะหก์ ารบริหารจติ และการเจริญ ปัญญาเกี่ยวกับการสวดมนต์แปลและแผ่เมตตา วิธีปฏิบัติและประโยชน์ของการบริหารจิตและเจริญปัญญา การฝึกการบริหารจิตและเจริญปัญญาตามหลักสติปัฎฐานเนน้ อานาปานสติ การพัฒนาการเรยี นรู้ด้วยวิธีคดิ แบบโยนิโสมนสิการ 2 วิธี คือ วิธีคิดแบบอริยสัจ และวิธีคดิ แบบสืบสาวเหตุปัจจัย ศึกษา วิเคราะห์ อภิปราย ลักษณะการกระทำความผิดทางอาญาและโทษ ลักษณะการกระทำความผิดทางแพ่งและโทษ ตัวอย่างการ กระทำความผดิ ทางอาญา ตวั อยา่ งการทำความผิดทางแพง่ เช่นการทำผิดสัญญา ความหมาย และความสำคัญ ของสทิ ธมิ นุษยชน การมสี ว่ นรว่ มค้มุ ครองสทิ ธิมนษุ ยชนตามรฐั ธรรมนญู แหง่ ราชอาณาจักรไทย ตามวาระและ โอกาสที่เหมาะสม ศึกษา วิเคราะห์ อภิปรายความสำคัญของวัฒนธรรมไทย ภูมิปัญญาไทย และวัฒนธรรม สากล การอนุรกั ษ์วัฒนธรรมไทยและภูมปิ ัญญาไทยทีเ่ หมาะสม การเลือกรบั วฒั นธรรมสากลท่เี หมาะสม ศึกษา วเิ คราะห์ อภิปรายปจั จัยทก่ี อ่ ให้เกดิ ความขัดแยง้ ในประเทศดา้ นการเมอื ง การปกครอง เศรษฐกจิ สังคม ความ เชอื่ สาเหตปุ ัญหาทางสงั คม แนวทางความรว่ มมอื ในการลดความขัดแยง้ และการสร้างความสมานฉนั ท์ ปัจจัย

ที่ส่งเสริมการดำรงชีวิตให้มีความสุข ศึกษา วิเคราะห์ อภิปรายระบอบการปกครอง แบบต่าง ๆ ที่ใช้ในยุค ปัจจุบัน ความแตกต่าง ความคล้ายคลึงของการปกครองของไทยกับประเทศอื่น ๆ ที่มีการปกครองระบอบ ประชาธิปไตย บทบัญญัติของรัฐธรรมนูญในมาตราต่าง ๆ ที่เกี่ยวข้องกบั การเลือกต้ัง การมีส่วนร่วมและการ ตรวจสอบการใช้อำนาจรฐั อำนาจหน้าที่ของรฐั บาล บทบาทสำคัญของรัฐบาลในการบริหารราชการแผ่นดนิ ความจำเป็นในการมีรัฐบาลตามระบอบประชาธิปไตย ประเด็นปัญหาและผลกระทบที่เป็นอุปสรรคต่อการ พฒั นาประชาธปิ ไตยของประเทศไทย แนวทางการแกไ้ ขปญั หา โดยใช้กระบวนการคิดวเิ คราะห์ กระบวนการสืบค้นข้อมูล กระบวนการสรา้ งความตระหนัก กระบวนการกลุม่ เพ่ือให้เกดิ ความรู้ ความเขา้ ใจ เห็นคณุ คา่ ศรัทธา ยดึ ม่ันในศาสนาท่ีตนนับถือ ปฏิบัติตนเป็นศาสนิกชน ท่ีดีมคี ุณธรรม จรยิ ธรรม และค่านยิ มท่เี หมาะสมดีงาม มีความเขา้ ใจ เห็นคุณคา่ ศรทั ธา ยึดมน่ั ธำรงรักษาไว้ซงึ่ การปกครองระบอบประชาธิปไตยอันมีพระมหากษัตริย์ทรงเป็นประมุข ปฏิบัติตนเป็นพลเมืองดี มีคุณธรรม จรยิ ธรรม และคา่ นยิ มที่เหมาะสมดีงาม สามารถดำเนินชีวิตอยูร่ ่วมกนั ในสงั คมไทยและสังคมโลกอย่างสันติสุข และการนำความรู้ไปประยุกต์ใช้ในชวี ิตประจำวนั ตามหลกั ปรชั ญาของเศรษฐกิจพอเพยี ง มาตรฐานการเรียนรู้และตัวชว้ี ัด ส 1.1 ม. 3/1, 3/2, 3/3, 3/4, 3/5, 3/6, 3/7, 3/8, 3/9, 3/10 ส 1.2 ม. 3/1, 3/2, 3/3, 3/4, 3/5, 3/6, 3/7 ส 2.1 ม. 3/1, 3/2, 3/3, 3/4, 3/5 ส 2.2 ม. 3/1, 3/2, 3/3 ,3/4 รวมทั้งหมด 26 ตัวชีว้ ัด

ตัวช้ีวดั รายวิชา วิชาสังคมศกึ ษา รหสั ส23101 กลุ่มสาระการเรียนรู้สงั คมศึกษา ศาสนาและวัฒนธรรม ชัน้ มธั ยมศึกษาปที ่ี 3 เวลา 60 ชั่วโมง จำนวน 1.5 หนว่ ยกิต มาตรฐาน ส 1.1 รู้ และเข้าใจประวัติ ความสำคัญ ศาสดา หลักธรรมของพระพุทธศาสนาหรือ ศาสนาที่ตนนับถอื และศาสนาอ่ืน มศี รัทธาท่ถี กู ตอ้ ง ยดึ มน่ั และปฏิบตั ติ ามหลักธรรม เพอ่ื อยู่ร่วมกันอย่าง สนั ตสิ ุข ตัวชี้วัดที่ 1 อธิบายการเผยแผ่พระพุทธศาสนาหรอื ศาสนาท่ตี นนบั ถอื สูป่ ระเทศต่าง ๆ ทว่ั โลก ตวั ชีว้ ัดท่ี 2 วิเคราะห์ความสำคญั ของพระพทุ ธศาสนาหรือศาสนาท่ตี นนับถือในฐานะท่ชี ่วยสร้างสรรค์ อารยธรรมและความสงบสขุ แก่โลก ตัวชี้วัดที่ 3 อภิปรายความสำคัญของพระพุทธศาสนา หรือศาสนาที่ตนนับถือกับปรัชญาเศรษฐกิจ พอเพียงและการพัฒนาอย่างย่ังยืน ตัวชี้วัดที่ 4 วิเคราะห์พุทธประวัติจากพระพุทธรูปปางต่าง ๆ หรือประวัติศาสดาที่ตนนับถือตามที่ กำหนด ตัวช้ีวดั ท่ี 5 วิเคราะห์และประพฤตติ นตามแบบอย่างการดำเนินชวี ติ และขอ้ คิดจากประวตั ิสาวก ชาดก เรอ่ื งเลา่ และศาสนกิ ชนตัวอยา่ งตามที่กำหนด ตัวชี้วัดที่ 6 อธิบายสังฆคุณและข้อธรรมสำคัญในกรอบอริยสัจ 4 หรือหลักธรรมของศาสนาที่ตนนับ ถอื ตามท่กี ำหนด ตัวชี้วัดท่ี 7 เห็นคุณค่าและวิเคราะห์การปฏิบัติตนตามหลักธรรมในการพัฒนาตนเพื่อพรอ้ มสำหรับ การทำงานและการมคี รอบครวั ตัวชี้วัดที่ 8 เห็นคุณค่าของการพัฒนาจิตเพื่อการเรียนรู้และการดำเนินชีวิตด้วยวิธีคิดแบบโยนิโส มนสิการคือวธิ ีคิดแบบอรยิ สัจและวิธีคิดแบบสบื สาวเหตุปัจจยั หรือการพฒั นาจิตตามแนวทางของศาสนาที่ตน นบั ถือ ตัวชี้วัดท่ี 9 สวดมนต์ แผ่เมตตา บริหารจิตและเจรญิ ปัญญาด้วยอานาปานสติ หรือตามแนวทางของ ศาสนาทต่ี นนบั ถอื ตัวชี้วัดท่ี 10 วิเคราะห์ความแตกตา่ งและยอมรบั วิถกี ารดำเนนิ ชีวติ ของศาสนิกชนในศาสนาอ่ืน ๆ มาตรฐาน ส 1.2 เข้าใจ ตระหนัก และปฏิบัติตนเป็นศาสนิกชนทีด่ ี และธำรงรักษาพระพุทธศาสนาหรอื ศาสนาท่ีตนนับถอื

ตัวช้วี ัดท่ี 1 วิเคราะห์หนา้ ที่และบทบาทของสาวก และปฏบิ ตั ติ นต่อสาวกตามท่กี ำหนดได้ถกู ต้อง ตัวชี้วดั ท่ี 2 ปฏบิ ตั ิตนอยา่ งเหมาะสมต่อบุคคลตา่ ง ๆ ตามหลกั ศาสนาตามที่กำหนด ตัวชว้ี ดั ท่ี 3 ปฏบิ ตั ิหน้าท่ีของศาสนกิ ชนที่ดี ตวั ชว้ี ัดท่ี 4 ปฏบิ ตั ติ นในศาสนพิธี พิธกี รรมได้ถูกต้อง ตวั ชี้วดั ที่ 5 อธิบายประวัติวนั สำคัญทางศาสนาตามที่กำหนดและปฏบิ ัตติ นได้ถกู ตอ้ ง ตวั ชี้วดั ที่ 6 แสดงตนเป็นพทุ ธมามกะหรอื แสดงตนเปน็ ศาสนกิ ของศาสนาที่ตนนบั ถือ ตวั ชว้ี ดั ที่ 7 นำเสนอแนวทางในการธำรงรกั ษาศาสนาท่ีตนนับถือ มาตรฐาน ส 2.1 เข้าใจและปฏิบัติตนตามหน้าท่ขี องการเป็นพลเมืองดี มคี ่านิยมท่ีดงี ามและธำรงรักษา ประเพณแี ละวัฒนธรรมไทย ดำรงชีวติ อยรู่ ่วมกันในสังคมไทยและสังคมโลกอย่างสันตสิ ุข ตัวช้ีวัดที่ 1 อธบิ ายความแตกตา่ งของการกระทำความผิดระหว่างคดอี าญาและคดแี พ่ง ตวั ช้ีวัดท่ี 2 มีส่วนร่วมในการปกป้องคุ้มครองผูอ้ ื่นตามหลกั สทิ ธมิ นษุ ยชน ตัวชว้ี ดั ที่ 3 อนุรกั ษว์ ัฒนธรรมไทยและเลอื กรบั วัฒนธรรมสากลท่เี หมาะสม ตัวช้วี ัดท่ี 4 วิเคราะหป์ ัจจัยท่ีก่อให้เกดิ ปญั หาความขดั แย้งในประเทศ และเสนอแนวคิดในการลด ความขัดแย้ง ตวั ชี้วดั ที่ 5 เสนอแนวคดิ ในการดำรงชีวิตอย่างมีความสุขในประเทศและสงั คมโลก มาตรฐาน ส 2.2 เขา้ ใจระบบการเมอื งการปกครองในสงั คมปัจจุบัน ยึดม่นั ศรทั ธาและธำรงรักษาไว้ซ่ึง การปกครองระบอบประชาธปิ ไตยอันมีพระมหากษัตริยท์ รงเป็นประมุข ตวั ชี้วัดที่ 1 อธบิ ายระบอบการปกครองแบบต่างๆ ที่ใชใ้ นยุคปัจจบุ นั ตัวชว้ี ดั ที่ 2 วิเคราะห์ เปรยี บเทียบระบอบการปกครองของไทยกับประเทศอ่นื ๆ ทม่ี ีการปกครอง ระบอบประชาธิปไตย ตัวชี้วัดที่ 3 วิเคราะหร์ ฐั ธรรมนญู ฉบบั ปจั จบุ นั ในมาตราต่างๆ ท่ีเกี่ยวข้องกบั การเลอื กตง้ั การมีสว่ น รว่ ม และการตรวจสอบการใช้อำนาจรฐั ตวั ช้ีวัดท่ี 4 วิเคราะหป์ ระเด็น ปัญหาทีเ่ ปน็ อุปสรรคต่อการพฒั นาประชาธิปไตยของประเทศไทยและ เสนอแนวทางแกไ้ ข

โครงสร้างรายวิชา รายวิชา สงั คมศกึ ษา รหัสวิชา ส 23101 กลุ่มสาระการเรยี นรู้สงั คมศกึ ษา ศาสนาและวัฒนธรรม ระดับชั้นมัธยมศกึ ษาปที ่ี 3 เวลา 60 ชั่วโมง จำนวน 1.5 หน่วยกิต ลำดบั ช่ือหนว่ ยการ มาตรฐานการ สาระสำคัญ เวลา นำ้ หนกั ท่ี เรยี นรู้ เรยี นร้/ู ตัวชว้ี ัด (ชว่ั โมง) คะแนน 1 พระพุทธ ส 1.1 ม. 3/1 การจัดการเรียนรู้รายวิชาพื้นฐาน 5 10 ส 1.1 ม. 3/2 พระพุทธศาสนา ม. 3 เป็นไปตาม ส 1.1 ม. 3/4 น โ ย บ า ย ข อ ง ส ำ น ั ก ง า น ส 1.1 ม. 3/5 คณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน (สพฐ.) ที่ได้ให้สถานศึกษาจัดการ เรียนรู้อีกรายวิชาหนึ่งในกลุ่มสาระ การเรียนรู้สังคมศึกษา ศาสนา และ วัฒนธรรม โดยได้กำหนดสาระและ มาตรฐานการเรียนรู้ของรายวิชา พื้นฐาน พระพุทธศาสนา ม. 3 เป็น 2 มาตรฐาน และยังได้กำหนด ตัวชี้วัดชั้นปีและสารการเรียนรู้ที่ สอดคล้องกับมาตรฐานการเรียนรู้ รวมทั้งยงั ไดจ้ ัดทำคำอธบิ ายรายวิชา เพื่อให้สถานศึกษานำไปกำหนดเป็น

2 พระธรรม ส 1.1 ม. 3/6 ห ล ั ก ส ู ต ร ส ถ า น ศ ึ ก ษ า ข อ ง ต น ใ ห้ 5 10 ส 1.1 ม. 3/7 เปน็ ไปในทศิ ทางเดยี วกัน สังฆคุณเป็นคุณความดีของพระสงฆ์ มี 9 ประการ ได้แก่ เป็นผู้ปฏิบัติดี เปน็ ผปู้ ฏิบตั ิตรง เปน็ ผ้ปู ฏิบัติถูกทาง เป็นผู้ปฏิบัติสมควร เป็นผู้ควรแก่ การสักการบูชา เป็นผู้ควรแก่การ ตอ้ นรับ เป็นผู้ควรรบั ของที่เขานำมา ทำบุญ เป็นผู้ควรแก่การกราบไหว้ เป็นเนื้อนาบุญของชาวโลก การ ศึกษาสงั ฆคุณให้มคี วามรู้ความเข้าใจ และนำไปเป็นแบบอย่างในการ ประพฤติปฏิบัติตนมีผลดีต่อตนเอง ครอบครวั ชุมชน และสงั คม ลำดบั ชอื่ หน่วยการ มาตรฐานการ สาระสำคญั เวลา น้ำหนกั ท่ี เรียนรู้ เรยี นร้/ู ตวั ชีว้ ัด (ชวั่ โมง) คะแนน 3 พระสงฆ์ ส 1.1 ม. 3/5 พระอัญญาโกณทัญญะเป็นพุทธ 5 10 สาวกที่ได้รับการยกย่องจาก พระพุทธเจ้าว่า มีคุณธรรมดีเด่น (เอตทัคคะ) ทางด้านรัตตัญญู (ผู้รู้ ราตรนี าน) สว่ นพระเจา้ ปเสนทิโกศล เป็นพุทธสาวกที่มีคุณธรรมที่ควร ยึดถือเป็นแบบอย่าง เช่น ทรงเป็นผู้ ใฝ่เรียนใฝ่รู้ ทรงเป็นผู้หนักแน่นใน เหตุผล ทรงเป็นผู้ไม่ถือตน ทรงมี ศรัทธาในพระรตั นตรยั อย่างม่นั คง 4 การปฏิบตั ิตนเป็น ส 1.1 ม. 3/3 ชาวพุทธที่ดีมีหน้าที่ที่ควรปฏิบัติ 5 ชาวพทุ ธทดี่ ี ส 1.1 ม. 3/8 หลายประการ ที่สำคัญ ได้แก่ การ ส 1.1 ม. 3/9 เรียนรู้หน้าที่ของพระสงฆ์ในการ

ส 1.1 ม. 3/10 ปฏิบัติตามหลักธรรมวินัยและจริยา ส 1.2 ม. 3/1 วัตรอย่างเหมาะสม พระ-ธรรมวินัย ส 1.1 ม. 3/2 แบ่งออกเป็น 2 ส่วน ได้แก่ พระ ส 1.1 ม. 3/3 ธรรมและพระวินัย การปฏิบัติตาม ส 1.1 ม. 3/4 หลักพระธรรมวินัยก็คือการนำเอา ส 1.1 ม. 3/5 หลักคำสอนและคำสั่งของ ส 1.1 ม. 3/6 พระพุทธเจ้ามาปฏิบัติใน ส 1.1 ม. 3/7 ชีวิตประจำวนั ก า ร เ ป ็ น ศ ิ ษ ย ์ ที่ ด ี ต า ม ห ล ั ก ทิ ศ เบื้องขวาในทิศ 6 ควรปฏิบัติตนโดย ลุกขึ้นยืนรับ ช่วยเหลือท่าน เชื่อฟัง ครูอาจารย์ ตั้งใจศึกษาเลา่ เรียนด้วย ความเคารพ การปฏิบัติหน้าที่ชาวพุทธตาม พุทธปณิธาน 4 ในมหาปรินิพพาน สูตร ได้แก่ การศึกษาหลักธรรมทาง พระพุทธศาสนา การปฏิบัติตาม หลักธรรมทางพระพุทธศาสนา การ เผยแผ่หลักธรรมทาง พระพุทธศาสนา และการปกป้อง หลกั ธรรมทางพระพทุ ธศาสนา การศึกษาเรียนรู้องค์ประกอบ ของพระพทุ ธศาสนาซ่งึ มี 6 ประการ คือ พระพุทธเจ้า หลักคำสอน พระไตรปิฎก พระสงฆ์ ศาสนพิธี และวดั หรอื ศาสนสถาน การศึกษาการรวมตัวขององค์กร ชาวพทุ ธเพ่อื ที่จะได้เข้าร่วมกิจกรรม หรือสมัครเป็นสมาชิกขององค์กร ชาวพุทธเพื่อเผยแผ่และปกป้อง พระพุทธศาสนา

การปลูกจิตสำนึกในการ บ ำ ร ุ ง ร ั ก ษ า ว ั ด แ ล ะ พ ุ ท ธ ส ถ า น ก็ เ พ ื ่ อ ใ ห ้ ช า ว พ ุ ท ธ ท ุ ก ค น ช ่ ว ย กั น บำรุงรักษาและใช้ประโยชน์จากวัด และพุทธสถานให้ถูกต้องและปฏบิ ัติ ตนไดเ้ หมาะสม การเรียนรู้วิถีการดำเนินชีวิต ของศาสนิกชนของศาสนาอืน่ ๆ โดย การเคารพต่อกัน ให้เกียรติกัน ไม่ดู หมิ่นเหยียดหยามกัน แสดง กิริยามารยาทเรียบร้อย ไม่ยกตนข่ม ท่าน รู้จักกาลเทศะ มีความเข้าอก เข้าใจกัน รู้จักเอาใจเขามาใส่ใจเรา กจ็ ะอยู่รว่ มกันไดอ้ ยา่ งสันติสขุ 5 การเมืองการ ส 2.2 ม. 3/1 การจัดการเรียนรู้รายวิชาพื้นฐาน 5 10 5 10 ปกครอง ส 2.2 ม. 3/2 หน้าที่พลเมือง วัฒนธรรม และการ ส 2.2 ม. 3/3 ดำเนินชวี ติ ในสังคม ม. 3 เปน็ ไปตาม ส 2.2 ม. 3/4 หลักสูตรแกนกลางการศึกษาข้ัน พื้นฐาน พุทธศักราช 2551 สำหรับ นักเรียนมัธยมศึกษาตอนต้น โดยได้ กำหนดมาตรฐานการเรียนรู้ของ รายวิชาพื้นฐาน หน้าที่พลเมือง วัฒนธรรม และการดำเนินชีวิตใน สงั คม ม. 3 เป็น 2 มาตรฐาน และยัง ได้กำหนดตัวชี้วัดช้ันปแี ละสาระการ เรียนรู้ท่ีสอดคล้องกับมาตรฐานการ เรียนรู้ เพื่อพัฒนานักเรียนให้มี คุณภาพตามมาตรฐานการเรียนรู้ และตวั ช้วี ัดทห่ี ลักสตู รกำหนด 6 กฎหมายและ ส 2.1 ม. 3/1 กฎหมายอาญาเป็นกฎหมายที่ สิทธมิ นุษยชน ส 2.1 ม. 3/2 กำหนดว่าการกระทำใด ๆ ถือเป็น

ค ว า ม ผ ิ ด แ ล ะ ต ้ อ ง ร ั บ โ ท ษ ต า ม ที่ กำหนด ลักษณะการกระทำผิดทาง อาญาท่ีสำคัญ คอื การกระทำผิดโดย เจตนา การกระทำผิดโดยไม่เจตนา การกระทำผิดโดยประมาท ตัวอย่าง ของความผิดเกี่ยวกับทรัพย์ซึ่งเป็น ความผดิ ทางอาญาประเภทหน่งึ เชน่ ความผิดฐานลักทรัพย์ ความผิดฐาน วิ่งราวทรัพย์ ความผิดฐานชิงทรัพย์ ความผดิ ฐานกรรโชกทรัพย์ ความผิด ฐานรีดเอาทรัพย์ ความผิดฐานปล้น ทรัพย์ ความผิดฐานฉ้อโกง ความผิด ฐานบุกรุก ทั้งนี้ หากเกิดข้อพิพาท หรือคดีทางอาญาขึ้นจะต้องมีการ ดำเนินคดที างอาญาเพ่ือตัดสินช้ีขาด ขอ้ พิพาทหรือคดที างอาญานนั้ 7 วัฒนธรรมและ ส 2.1 ม. 3/3 วัฒนธรรมเป็นสิ่งที่มนุษย์สร้างขึ้น 5 10 ภูมิปญั ญา เ พ ื ่ อ ค ว า ม เ จ ร ิ ญ ก ้ า ว ห น ้ า จ น เ ป็ น เอกลักษณ์ของสังคมนั้น ๆ และ ถ่ายทอดไปสู่คนรุ่นหลัง ส่วน วัฒนธรรมไทยเป็นสิ่งที่คนไทยสร้าง ขึ้นเพื่อความ เจริญก้าวหน้าจนเป็น เอกลักษณ์ของสังคมไทย และ ถ่ายทอดไปสู่คนรุ่นหลัง วัฒนธรรม ไทยแบ่งออกเป็น 4 ประเภท ได้แก่ คติธรรม เนติธรรม สหธรรม และ วตั ถธุ รรม ภ ู ม ิ ป ั ญ ญ า ไ ท ย เ ป ็น คว ามรู้ ความสามารถ ทักษะของคนไทยท่ี เ ก ิ ด ข ึ ้ น จ า ก ป ร ะ ส บ ก า ร ณ ์ เ พ่ื อ นำมาใช้ในการดำเนินชีวิตให้กับ สหภาพแวดล้อม เหมาะสมกับยุค

สมยั มเี อกลักษณ์เปน็ ของตนเอง ภมู ิ ปัญญามีความสำคัญ เช่น ช่วยสร้าง ชาติให้เป็นปึกแผ่น สร้างความ ภาคภูมิใจและศักดิ์ศรีเกียรติภูมิแก่ คนไทย สามารถปรับประยุกต์ หลักธรรมคำสอนทางศาสนาให้กับ วถิ ีชีวติ ไดอ้ ย่างเหมาะสม สรา้ งความ สมดุลระหว่างคนในสังคมและ ธรรมชาติได้อย่างยั่งยืน ช่วย เปลย่ี นแปลงปรับปรงุ วิถีชีวิตของคน ไทยให้เหมาะสมกับยุคสมัย ภูมิ ปัญญาไทยแบ่งออกเป็น 9 ด้าน ได้แก่ ด้านการเกษตร ด้าน อุตสาหกรรมและหัตถกรรม ด้าน การแพทย์แผนไทย ด้านการจัดการ ทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม ด้านกองทุนและธุรกิจชุมชน ด้าน ศิลปกรรม ด้านภาษาและ วรรณกรรม ด้านปรัชญา ศาสนา และประเพณี และดา้ นโภชนาการ 8 การอยู่ร่วมกัน ส 2.1 ม. 3/4 ความขดั แย้ง คอื ความคับขอ้ งใจ 5 10 อยา่ งสันตสิ ุข ส 2.1 ม. 3/5 หรือความไม่ลงรอยกนั เกิดขึน้ มา จากหลายปัจจัย ทั้งปัจจยั ด้าน - 80 การเมอื งการปกครอง ปัจจยั ดา้ น - 20 เศรษฐกิจ และปจั จัยทางดา้ นสงั คม 40 100 รวมระหว่างภาค กลางภาคและปลายภาคเรยี น รวม

ผงั มโนทศั น์ รายวิชาสังคมศึกษา รหสั วิชา ส2310 กล่มุ สาระการเรยี นรู้สังคมศกึ ษา ศาสนาและวัฒนธรรม ระดับช้ันมัธยมศกึ ษาปที ่ี 3 เวลา 60 ช่ัวโมง จำนวน 1.5 หน่วยกิต หน่วยการเรยี นรู้/แผนการจัดการเรยี นรู้ เร่ือง หน่วยการเรียนร้ทู ่ี 1 พระพุทธ แผนการจัดการเรยี นรทู้ ่ี 1 พระพุทธศาสนาในประเทศต่าง ๆ ท่ัวโลก แผนการจดั การเรยี นรทู้ ่ี 2 ความสำคัญของพระพทุ ธศาสนา แผนการจดั การเรียนรู้ท่ี 3 พทุ ธประวัติชาดก หน่วยการเรียนรทู้ ี่ 2 พระธรรม แผนการจัดการเรียนรู้ท่ี 1 พระรตั นตรยั แผนการจัดการเรียนรู้ท่ี 2 หลกั ธรรมทางพระพุทธศาสนา แผนการจัดการเรยี นรู้ท่ี 3 พทุ ธศาสนสุภาษติ หนว่ ยการเรยี นรู้ที่ 3 พระสงฆ์ แผนการจัดการเรียนรทู้ ่ี 1 พทุ ธสาวก แผนการจดั การเรยี นร้ทู ่ี 2 พุทธสาวกิ า แผนการจัดการเรียนรทู้ ่ี 3 ชาวพทุ ธตวั อย่าง หนว่ ยการเรยี นรู้ท่ี 4 การปฏบิ ัตติ นเป็น ชาวพุทธทด่ี ี แผนการจดั การเรียนรทู้ ี่ 1 หนา้ ที่ชาวพทุ ธ แผนการจดั การเรียนรู้ที่ 2 ศาสนพิธี แผนการจดั การเรยี นรู้ที่ 3 วันสำคญั ทางพระพุทธศาสนา หน่วยการเรียนรทู้ ี่ 5 การเมอื งการปกครอง แผนการจดั การเรยี นรทู้ ี่ 1 ระบอบการปกครอง แผนการจัดการเรยี นรทู้ ี่ 2 การปกครองของไทยและตา่ งประเทศ แผนการจัดการเรียนรทู้ ี่ 3 รฐั ธรรมนญู และรัฐบาล หนว่ ยการเรยี นร้ทู ่ี 6 กฎหมายและสทิ ธมิ นษุ ยชน

แผนการจดั การเรยี นรทู้ ี่ 1 กฎหมายอาญา แผนการจดั การเรยี นรู้ที่ 2 กฎหมายแพง่ แผนการจดั การเรียนรู้ท่ี 3 สิทธมิ นษุ ยชน หนว่ ยการเรยี นรทู้ ี่ 7 วฒั นธรรมและภูมปิ ัญญา แผนการจัดการเรยี นรู้ที่ 1 วฒั นธรรมและภมู ปิ ัญญาไทย แผนการจัดการเรยี นรู้ท่ี 2 การอนรุ ักษว์ ัฒนธรรมและภูมปิ ัญญาไทย แผนการจัดการเรยี นรทู้ ี่ 3 วัฒนธรรมสากล หนว่ ยการเรียนร้ทู ่ี 8 การอยู่รว่ มกันอย่างสันติสุข แผนการจัดการเรยี นร้ทู ี่ 1 ความขัดแยง้ แผนการจดั การเรยี นรทู้ ี่ 2 ปญั หาทางสังคม แผนการจัดการเรยี นรู้ท่ี 3 การอยรู่ ่วมกันอย่างสันติสุข

การกำหนดสัดส่วนคะแ รายวิชา สงั คมศึกษา รหัสวิชา ส23101 ก ระดับชั้นมธั ยมศึกษาปีที่ 3 เว หน่วย ชื่อหน่วย ตัวชว้ี ัด ท่ี 1 พระพุทธ มาตรฐาน ส 1.1 รู้ และเข้าใจประวัติ 4 ความสำคญั ศาสดา หลกั ธรรมของ พระพุทธศาสนาหรือศาสนาทีต่ นนบั ถอื และศาสนาอน่ื มีศรทั ธาทถี่ กู ตอ้ ง ยดึ มน่ั และปฏบิ ตั ิตามหลกั ธรรม เพือ่ อย่รู ว่ มกัน อย่างสนั ติสขุ ส 1.1 ม.3/1 อธบิ ายการเผยแผ่ พระพุทธศาสนาหรือศาสนาท่ีตนนับถอื สู่ ประเทศตา่ ง ๆ ท่ัวโลก

แนนและการวัดผลประเมินผล กลุ่มสาระการเรียนรู้สังคมศึกษา ศาสนาและวัฒนธรรม วลา 60 ชั่วโมง จำนวน 1.5 หนว่ ยกติ คะแนน วิธีการวดั ผล ความ ู้ร (K) เครอ่ื งมอื ัทกษะ กระบวนการ (P) ุคณลักษณะ(A) คะแนนรวม 4 3 3 10 -ประเมินกิจกรรมการเรียนรู้ -แบบประเมนิ กิจกรรมการ -สงั เกตทักษะกระบวนการ เรียนรู้ -การทดสอบ - สังเกตทักษะกระบวนการ - แบบทดสอบ

ส 1.1 ม.3/2 วิเคราะห์ความสำคัญของ พระพุทธศาสนาหรือศาสนาท่ีตนนบั ถือใน ฐานะที่ช่วยสรา้ งสรรคอ์ ารยธรรมและ ความสงบสุขแกโ่ ลก ส 1.1 ม.3/4 วเิ คราะหพ์ ุทธประวัตจิ าก พระพุทธรปู ปางต่าง ๆ หรือประวตั ิศาสดา ทตี่ นนับถอื ตามที่กำหนด ส 1.1 ม.3/5 วิเคราะหแ์ ละประพฤตติ น ตามแบบอย่างการดำเนินชีวิตและข้อคิด จากประวัติสาวก ชาดก เรื่องเล่า และศา สนิกชนตัวอยา่ งตามทก่ี ำหนด 2 พระธรรม มาตรฐาน ส 1.1 รู้ และเขา้ ใจประวัติ 4 ความสำคญั ศาสดา หลกั ธรรมของ พระพทุ ธศาสนาหรือศาสนาท่ตี นนับถอื และศาสนาอนื่ มีศรัทธาท่ีถูกตอ้ ง ยดึ มัน่ และปฏบิ ตั ิตามหลักธรรม เพื่ออยู่รว่ มกนั อย่างสันติสขุ

4 3 3 10 -ประเมนิ กจิ กรรมการเรยี นรู้ -แบบประเมินกจิ กรรมการ -สงั เกตทกั ษะกระบวนการ เรียนรู้ -การทดสอบ - สงั เกตทักษะกระบวนการ - แบบทดสอบ

ส 1.1 ม.3/6 อธบิ ายสังฆคณุ และขอ้ ธรรม สำคัญในกรอบอรยิ สัจ 4 หรอื หลักธรรม ของศาสนาท่ตี นนบั ถอื ตามทก่ี ำหนด ส 1.1 ม.3/7 เห็นคุณคา่ และวเิ คราะห์การ ปฏบิ ตั ติ นตามหลักธรรมในการพัฒนาตน เพื่อพร้อมสำหรับการทำงานและการมี ครอบครัว 3 พระสงฆ์ มาตรฐาน ส 1.1 รู้ และเข้าใจประวัติ 4 ความสำคัญ ศาสดา หลกั ธรรมของ พระพุทธศาสนาหรือศาสนาท่ีตนนบั ถอื และศาสนาอน่ื มีศรทั ธาทถ่ี ูกต้อง ยดึ มน่ั และปฏบิ ัติตามหลักธรรม เพือ่ อย่รู ว่ มกัน อย่างสนั ติสุข ส 1.1 ม.3/5 วเิ คราะหแ์ ละประพฤตติ น ตามแบบอยา่ งการดำเนนิ ชีวติ และข้อคดิ จากประวัติสาวก ชาดก เรื่องเล่า และศา สนิกชนตวั อย่างตามท่ีกำหนด

4 3 3 10 -ประเมนิ กจิ กรรมการเรยี นรู้ -แบบประเมินกจิ กรรมการ -สงั เกตทกั ษะกระบวนการ เรียนรู้ -การทดสอบ - สงั เกตทักษะกระบวนการ - แบบทดสอบ

4 การปฏิบตั ติ นเปน็ ชาวพุทธท่ดี ี มาตรฐาน ส 1.1 รู้ และเขา้ ใจประวัติ 4 ความสำคัญ ศาสดา หลักธรรมของ พระพุทธศาสนาหรือศาสนาท่ตี นนับถอื และศาสนาอน่ื มศี รัทธาทถ่ี กู ต้อง ยดึ มน่ั และปฏิบัตติ ามหลักธรรม เพอ่ื อยู่รว่ มกัน อยา่ งสันตสิ ุข ส 1.1 ม. 3/3 อภิปรายความสำคญั ของ พระพุทธศาสนา หรือศาสนาท่ีตนนบั ถือ กบั ปรชั ญาเศรษฐกิจพอเพยี งและการ พฒั นาอยา่ งยงั่ ยืน ส 1.1 ม. 3/8 เห็นคุณค่าของการพฒั นา จิตเพื่อการเรียนรู้และการดำเนนิ ชวี ติ ดว้ ย วิธคี ดิ แบบโยนโิ สมนสกิ ารคือวธิ ีคิดแบบ อรยิ สจั และวิธีคดิ แบบสบื สาวเหตปุ จั จัย หรอื การพัฒนาจิตตามแนวทางของศาสนา ที่ตนนบั ถือ ส 1.1 ม. 3/9 สวดมนต์ แผ่เมตตา บริหาร จิตและเจริญปัญญาดว้ ยอานาปานสติ หรือตามแนวทางของศาสนาที่ตนนบั ถอื

4 3 3 10 -ประเมนิ กจิ กรรมการเรยี นรู้ -แบบประเมินกจิ กรรมการ -สงั เกตทกั ษะกระบวนการ เรียนรู้ -การทดสอบ - สงั เกตทักษะกระบวนการ - แบบทดสอบ

ส 1.1 ม. 3/10 วเิ คราะห์ความแตกต่าง และยอมรับวถิ กี ารดำเนินชวี ิตของศาสนิก ชนในศาสนาอื่น ๆ มาตรฐาน ส 1.2 เข้าใจ ตระหนัก และ ปฏิบัติตนเป็นศาสนิกชนที่ดี และธำรง รักษาพระพุทธศาสนาหรือศาสนาที่ตน นบั ถอื ส 1.2 ม. 3/1 วิเคราะหห์ น้าท่แี ละบทบาท ของสาวก และปฏบิ ัติตนต่อสาวกตามที่ กำหนดไดถ้ กู ต้อง ส 1.1 ม. 3/2 ปฏิบัตติ นอยา่ งเหมาะสมตอ่ บคุ คลต่าง ๆ ตามหลักศาสนาตามที่ กำหนด ส 1.1 ม. 3/3 ปฏิบตั ิหนา้ ทข่ี องศาสนิกชน ทีด่ ี ส 1.1 ม. 3/4 ปฏิบตั ิตนในศาสนพธิ ี พธิ ีกรรมได้ถูกต้อง ส 1.1 ม. 3/5 อธบิ ายประวตั วิ นั สำคัญ



5 การเมืองการปกครอง ทางศาสนาตามทกี่ ำหนดและปฏิบัติตนได้ ถูกตอ้ ง ส 1.1 ม. 3/6 แสดงตนเป็นพุทธมามกะ หรือแสดงตนเปน็ ศาสนิกของศาสนาท่ีตน นบั ถอื ส 1.1 ม. 3/7 นำเสนอแนวทางในการ ธำรงรกั ษาศาสนาที่ตนนับถอื มาตรฐาน ส 2.2 เข้าใจระบบการเมอื ง 4 การปกครองในสังคมปจั จบุ นั ยึดมั่น ศรทั ธาและธำรงรกั ษาไว้ซึง่ การปกครอง ระบอบประชาธปิ ไตยอนั มี พระมหากษัตรยิ ์ทรงเป็นประมขุ ส 2.2 ม. 3/1 อธบิ ายระบอบการปกครอง แบบต่างๆ ท่ีใชใ้ นยุคปจั จุบัน ส 2.2 ม. 3/2 วเิ คราะห์ เปรยี บเทยี บ ระบอบการปกครองของไทยกับประเทศ อน่ื ๆ ท่ีมกี ารปกครองระบอบ ประชาธิปไตย ส 2.2 ม. 3/3

4 3 3 10 -ประเมนิ กจิ กรรมการเรยี นรู้ -แบบประเมินกจิ กรรมการ -สงั เกตทกั ษะกระบวนการ เรียนรู้ -การทดสอบ - สงั เกตทักษะกระบวนการ - แบบทดสอบ

6 กฎหมายและสทิ ธิ ส 2.2 ม. 3/4 4 มนษุ ยชน ส 2.1 ม. 3/1 4 ส 2.1 ม. 3/2 7 วฒั นธรรมและภูมิปัญญา ส 2.1 ม. 3/3 8 การอยูร่ ่วมกันอยา่ งสันตสิ ุข ส 2.1 ม. 3/4 4 ส 2.1 ม. 3/5 ระหวา่ งเรียน 3 สอบกลางภาคเรยี น 1 สอบปลายภาคเรยี น 1 รวม 5

4 3 3 10 -ประเมินกจิ กรรมการเรียนรู้ -แบบประเมนิ กิจกรรมการ -สังเกตทกั ษะกระบวนการ เรยี นรู้ -การทดสอบ - สงั เกตทักษะกระบวนการ - แบบทดสอบ 4 3 3 10 -ประเมนิ กจิ กรรมการเรยี นรู้ -แบบประเมนิ กจิ กรรมการ -สังเกตทกั ษะกระบวนการ เรยี นรู้ -การทดสอบ - สังเกตทกั ษะกระบวนการ - แบบทดสอบ 4 3 3 10 -ประเมินกิจกรรมการเรยี นรู้ -แบบประเมินกิจกรรมการ -สงั เกตทักษะกระบวนการ เรียนรู้ -การทดสอบ - สงั เกตทกั ษะกระบวนการ - แบบทดสอบ 32 24 24 80 10 - - 10 10 - 10 52 24 24 100

แผนการวดั และประเมินผล รายวิชา สังคมศึกษา รหสั วิชา ส23101 กลุม่ สาระการเรียนรู้สังคมศกึ ษา ศาสนา และวัฒนธรรม ระดบั ช้นั มธั ยมศกึ ษาปีที่ 3 เวลา 60 ชั่วโมง จำนวน 1.5 หนว่ ยกติ 1. อัตราสว่ นการประเมินผลการเรยี นรู้ ระหวา่ งเรยี น กลางภาคเรยี น ปลายภาคเรียน 10 คะแนน 80 คะแนน 10 คะแนน 2. อตั ราสว่ นการประเมินผล KPA ความรู้ (K) ทกั ษะ/กระบวนการ (P) คุณลักษณะอันพึงประสงค์ (A) คะแนน คะแนน คะแนน 3. สัดสว่ นคะแนนของการประเมินผล การประเมิน ความรู้ สดั สว่ นคะแนน รวม ทักษะ คุณลักษณะอนั ระหว่างเรียน 32 กระบวนการ พึงประสงค์ 80 กลางภาคเรียน 10 24 24 10 ปลายภาคเรยี น 10 10 52 -- 100 รวม -- 24 24

กำหนดการจดั กจิ กรรมการเรียนรู้ รายวชิ า สังคมศึกษา รหัสวิชา ส23101 กลมุ่ สาระการเรยี นรู้สังคมศกึ ษา ระดับชัน้ มัธยมศกึ ษาปีท่ี 3 เวลา 60 ช่ัวโมง จำนวน 1.5 หนว่ ยกิต หนว่ ยการเรยี นรู้/แผนการจัดการเรียนรู้ เรื่อง เวลา/จำนวน ชว่ั โมง หน่วยการเรียนรู้ท่ี 1 หนว่ ยการเรยี นรู้ที่ 1 แผนการจัดการเรยี นรทู้ ่ี 1 แผนการจัดการเรียนรทู้ ี่ 1 2 แผนการจัดการเรียนรทู้ ่ี 2 แผนการจดั การเรยี นรทู้ ี่ 2 2 แผนการจัดการเรยี นรู้ที่ 3 แผนการจดั การเรยี นรทู้ ี่ 3 2 หนว่ ยการเรยี นรู้ท่ี 2 หนว่ ยการเรียนรู้ที่ 2 แผนการจดั การเรียนรู้ท่ี 1 แผนการจัดการเรียนรทู้ ่ี 1 2 แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 2 แผนการจดั การเรยี นรู้ที่ 2 2 แผนการจดั การเรียนรู้ท่ี 3 แผนการจดั การเรยี นรู้ที่ 3 2 หน่วยการเรียนรทู้ ี่ 3 หนว่ ยการเรียนรทู้ ี่ 3 แผนการจัดการเรยี นรู้ท่ี 1 แผนการจัดการเรียนรทู้ ี่ 1 2 แผนการจัดการเรยี นรู้ท่ี 2 แผนการจดั การเรยี นรทู้ ่ี 2 2 แผนการจดั การเรยี นรทู้ ่ี 3 แผนการจดั การเรียนรทู้ ่ี 3 2 หน่วยการเรียนรทู้ ่ี 4 หนว่ ยการเรียนรทู้ ่ี 4 แผนการจดั การเรียนร้ทู ี่ 1 แผนการจัดการเรยี นรู้ที่ 1 2 แผนการจดั การเรียนรู้ที่ 2 แผนการจดั การเรียนรู้ที่ 2 2 แผนการจดั การเรยี นรทู้ ี่ 3 แผนการจดั การเรียนรู้ท่ี 3 2 หน่วยการเรียนรทู้ ่ี 5 หนว่ ยการเรยี นรู้ท่ี 5 แผนการจัดการเรยี นรู้ท่ี 1 แผนการจดั การเรยี นรทู้ ่ี 1 2 แผนการจัดการเรียนรทู้ ี่ 2 แผนการจัดการเรียนรทู้ ี่ 2 2 แผนการจัดการเรยี นรู้ที่ 3 แผนการจัดการเรียนรู้ท่ี 3 2 หนว่ ยการเรยี นรู้ท่ี 6 หนว่ ยการเรยี นรู้ท่ี 6 แผนการจดั การเรียนรทู้ ่ี 1 แผนการจดั การเรียนรู้ท่ี 1 2 แผนการจัดการเรียนรทู้ ี่ 2 แผนการจัดการเรยี นรทู้ ี่ 2 3 แผนการจัดการเรยี นรทู้ ่ี 3 แผนการจัดการเรยี นรทู้ ี่ 3 3 หนว่ ยการเรยี นรู้ท่ี 7 หนว่ ยการเรยี นรทู้ ่ี 7

แผนการจดั การเรยี นรู้ท่ี 1 แผนการจดั การเรียนรู้ที่ 1 3 แผนการจดั การเรียนรูท้ ี่ 2 แผนการจดั การเรียนรทู้ ี่ 2 3 แผนการจัดการเรยี นรู้ที่ 3 แผนการจัดการเรยี นรทู้ ี่ 3 3 หนว่ ยการเรียนรทู้ ี่ 8 หน่วยการเรยี นรทู้ ่ี 8 แผนการจดั การเรยี นรู้ท่ี 1 แผนการจดั การเรียนรู้ที่ 1 3 แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 2 แผนการจดั การเรียนรทู้ ่ี 2 3 แผนการจัดการเรยี นรทู้ ่ี 3 แผนการจัดการเรยี นรู้ที่ 3 3 สอบกลางภาค 2 สอบปลายภาค 2 รวม 60 การออกแบบหน่วยการเรียนรู้ หนว่ ยการเรยี นรู้ท่ี 1 เรอื่ ง พระพทุ ธ รายวิชา สังคมศึกษา ภาคเรยี นที่ 1 กล่มุ สาระการเรียนรู้สังคมศึกษา ช้นั มธั ยมศกึ ษาปที ี่ 3 เวลาเรยี น 60 ช่วั โมง ผสู้ อน นางสาวสุกัญญา วงศ์อภชิ น 1. เป้าหมายการเรยี นรู้ 1.1 ความเข้าใจทค่ี งทน 1. ภายหลังการสงั คายนาคร้ังที่ 3 ในสมัยพระ- เจา้ อโศกมหาราช พระพุทธศาสนาไดเ้ ผยแผ่ ไปยงั ประเทศตา่ ง ๆ ทว่ั โลกอยา่ งเปน็ ทางการ โดยเผยแผไ่ ปยงั ประเทศในทวีปเอเชียก่อน ตอ่ มาจึงไดเ้ ผยแผ่เข้าไปยงั ประเทศในทวีปยุโรป ทวีปอเมรกิ าเหนือ ทวีปอเมรกิ าใต้ ทวีปออสเตรเลีย และ ทวปี แอฟรกิ า ตามลำดบั 2. พระพุทธศาสนาไม่เพยี งแต่มีอิทธิพลต่อ ชาวพุทธด้านจิตใจเท่านั้น แต่ยังมีความสำคัญในฐานะท่ี ช่วยสรา้ งสรรคอ์ ารยธรรมและความสงบให้แก่โลกอีกดว้ ย 3. การศกึ ษาพทุ ธประวัติจากพระพุทธรปู ปางต่าง ๆ ทำใหร้ แู้ ละเขา้ ใจประวตั ขิ องพระพทุ ธเจา้ ศาสดา ของพระพทุ ธศาสนา และไดแ้ บบอยา่ งในการดำเนนิ ชวี ิตทีถ่ ูกต้อง 4. การศึกษานนั ทวิ ิสาลชาดกและสุวัณณหงั สชาดกทำใหไ้ ดข้ ้อคดิ ท่ีสามารถนำไปประยุกต์ใช้หรือเป็น แบบอยา่ งในการดำเนนิ ชวี ติ ได้ 5. คำสำคญั ไดแ้ ก่ นิกายเถรวาท นิกายอาจาริยวาท สมณทูต พระศรมี หาโพธิ พระธรรม- วินยั สังฆมณฑล พระปริยัตธิ รรม ไสยศาสตร์วปิ สั สนากรรมฐาน กรรมฐาน เทวทตู 4 ทุกกรกริ ยิ า ปฐมสาวก ปฐมเทศนา ภทั ทวัคคยี ์ พทุ ธบริษัท 4 ภิกษุณี 6. ภายหลังการสังคายนาครั้งที่ 3 พระพุทธศาสนาได้เผยแผ่ไปยังประเทศต่าง ๆ ทั่วโลก แม้จะเป็น ช่วงเวลาที่แตกต่างกัน และมีลักษณะการเผยแผ่ตลอดจนรูปแบบการปฏิบัติที่แตกต่างกันไปบ้าง แต่มี

จุดประสงค์เหมือนกันคือ เพื่อสร้างความเข้าใจอันดีระหว่างกัน และอยู่ร่วมกันอย่างสันติสุข อันเป็นผลให้ พระพุทธศาสนาประดษิ ฐานมั่นคงมาไดจ้ นถึงทกุ วนั นี้ 7. พระพุทธศาสนามคี วามสำคญั ตอ่ สังคมไทยและสงั คมโลกในฐานะท่ชี ว่ ยสรา้ งสรรคอ์ ารย- ธรรมและความสงบให้แก่โลก พระพุทธศาสนา มีหลักคำสอนหลายเรื่องที่สะท้อนให้เห็นถึงความสำคัญ ดงั กลา่ วน้ี เช่น อารยวัฒิ 5 ทศพิธราชธรรม และหลกั คำสอนทีส่ ง่ เสริมสิทธิมนุษยชน หลกั คำสอนเรือ่ งเมตตา กรุณา และความไม่ประมาท 8. พุทธประวัติ คือ ประวัติของพระพทุ ธเจ้า ศาสดาของพระพุทธศาสนา การศึกษาพุทธประวัติจาก พระพุทธรูปปางต่าง ๆ ช่วยให้ผู้ศึกษามีความเข้าใจเรื่องราวของพระพุทธเจ้า และยึดเป็นแบบอย่างในการ ดำเนนิ ชวี ติ ในทางท่ถี กู ตอ้ ง 9. ชาดก คือ เรื่องราวในอดีตของพระพุทธเจ้า ก่อนที่จะมาประสูติและตรัสรู้เปน็ พระพุทธเจา้ ในชาติ สุดท้าย นันทิวิสาลชาดกให้ข้อคิดว่า บุคคลไม่ควรพูดคำหยาบ เพราะคำหยาบย่อมไม่เป็นที่พอใจของใคร ๆ ควรพูดแต่คำที่ไพเราะอ่อนหวาน เพราะคำที่ไพเราะอ่อนหวานย่อมเป็นที่พอใจของทุก ๆ คน ส่วนสุวัณณหงั สชาดกให้ข้อคิดว่า บุคคลควรพอใจในสิ่งที่ตนมยี ินดีในสิ่งที่ตนได้ ไม่ควรโลภเกินประมาณเพราะโลภมากมัก ลาภหาย เราควรนำข้อคิดจากการศึกษาชาดกมาประพฤตปิ ฏิบตั ใิ น ชีวิตประจำวัน 1.2. มาตรฐานการเรียนรู้ มาตรฐาน ส 1.1 รู้และเขา้ ใจประวตั ิ ความสำคญั ศาสดา หลักธรรมของพระพทุ ธศาสนาหรือศาสนาที่ ตนนบั ถอื และศาสนาอื่น มีศรัทธาท่ีถูกต้อง ยดึ ม่ัน และปฏิบัติตามหลกั ธรรมเพือ่ อยรู่ ว่ มกันอย่างสนั ตสิ ขุ มาตรฐาน ส 1.2 เข้าใจ ตระหนักและปฏิบัติตนเป็นศาสนิกชนที่ดี และธำรงรักษาพระพุทธ-ศาสนา หรอื ศาสนาท่ีตนนับถอื 2. ตัวชีว้ ัดชน้ั ปี 1. อธบิ ายการเผยแผพ่ ระพุทธศาสนาหรอื ศาสนาทตี่ นนบั ถอื สปู่ ระเทศตา่ ง ๆ ทวั่ โลก (ส 1.1 ม. 3/1) 2. วิเคราะห์ความสำคัญของพระพุทธศาสนาหรือศาสนาที่ตนนับถือในฐานะที่ช่วยสร้างสรรค์อารย ธรรมและความสงบสขุ แก่โลก (ส 1.1 ม. 3/2) 3. อภิปรายความสำคัญของพระพุทธศาสนาหรือศาสนาท่ีตนนับถอื กบั ปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง และการพฒั นาท่ีย่งั ยนื (ส 1.1 ม. 3/3) 4. วิเคราะห์พทุ ธประวัตจิ ากพระพุทธรปู ปางต่าง ๆ หรือประวัติศาสดาที่ตนนับถือตามที่กำหนด (ส 1.1 ม. 3/4) 5. วเิ คราะหแ์ ละประพฤตติ นตามแบบอย่างการดำเนนิ ชวี ติ และข้อคิดจากประวตั ิสาวก ชาดก เร่ืองเล่า และศาสนิกชนตัวอยา่ งตามทกี่ ำหนด (ส 1.1 ม. 3/5)

6. อธิบายสังฆคุณและข้อธรรมสำคัญในกรอบอริยสจั 4 หรือหลักธรรมของศาสนาที่ตนนับถือตามท่ี กำหนด (ส 1.1 ม. 3/6) 7. เห็นคุณค่าและวิเคราะหก์ ารปฏบิ ตั ิตนตามหลักธรรมในการพัฒนาตนเพ่ือเตรยี มความพรอ้ มสำหรับ การทำงานและการมคี รอบครวั (ส 1.1 ม. 3/7) 8. เห็นคุณค่าของการพัฒนาจติ เพือ่ การเรียนรู้และการดำเนินชวี ติ ดว้ ยวิธีคิดแบบโยนโิ สมนสิการ คือ วิธีคิดแบบอริยสัจและวธิ คี ิดแบบสบื สาวเหตุปัจจยั หรือการพฒั นาจิตตามแนวทางของศาสนาที่ตนนบั ถอื (ส 1.1 ม. 3/8) 9. สวดมนต์ แผเ่ มตตา บรหิ ารจติ และเจริญปญั ญาด้วยอานาปานสติ หรอื ตามแนวทางของศาสนาที่ ตนนบั ถอื (ส 1.1 ม. 3/9) 10. วิเคราะหค์ วามแตกต่างและยอมรับวิถกี ารดำเนินชวี ิตของศาสนกิ ชนในศาสนาอ่นื ๆ (ส 1.1 ม. 3/10) 11. วเิ คราะห์หน้าทแ่ี ละบทบาทของสาวก และปฏิบตั ติ นตอ่ สาวกตามทีก่ ำหนดได้ถูกต้อง (ส 1.2 ม. 3/1) 12. ปฏบิ ัตติ นอย่างเหมาะสมต่อบคุ คลต่าง ๆ ตามหลกั ศาสนาท่กี ำหนด (ส 1.2 ม. 3/2) 13. ปฏบิ ตั ิหนา้ ท่ีของศาสนิกชนทีด่ ี (ส 1.2 ม. 3/3) 14. ปฏิบตั ิตนในศาสนพธิ ี พิธกี รรมได้ถกู ตอ้ ง (ส 1.2 ม. 3/4) 15. อธิบายประวตั วิ ันสำคญั ทางศาสนาตามที่กำหนดและปฏิบัตติ นไดถ้ กู ตอ้ ง (ส 1.2 ม. 3/5) 16. แสดงตนเป็นพุทธมามกะหรอื แสดงตนเปน็ ศาสนิกชนของศาสนาที่ตนนับถือ (ส 1.2 ม. 3/6) 17. นำเสนอแนวทางในการธำรงรักษาศาสนาท่ตี นนบั ถอื (ส 1.2 ม. 3/7) 1.3 สาระสำคัญ/ความคิดรวบยอด การจัดการเรียนรู้รายวิชาพื้นฐาน พระพุทธศาสนา ม. 3 เป็นไปตามนโยบายของสำนักงาน คณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน (สพฐ.) ที่ได้ใหส้ ถานศึกษาจัดการเรียนรู้อีกรายวิชาหนึ่งในกลุ่มสาระการ เรียนรู้สังคมศึกษา ศาสนา และวัฒนธรรม โดยได้กำหนดสาระและมาตรฐานการเรียนรู้ของรายวิชาพื้นฐาน พระพุทธศาสนา ม. 3 เป็น 2 มาตรฐาน และยังได้กำหนดตัวชี้วัดชั้นปีและสารการเรียนรู้ที่สอดคล้องกับ มาตรฐานการเรียนรู้ รวมทั้งยังได้จัดทำคำอธิบายรายวิชา เพื่อให้สถานศึกษานำไปกำหนดเป็นหลักสูตร สถานศกึ ษาของตนให้เปน็ ไปในทศิ ทางเดยี วกัน 1.4 สาระการเรียนรู้ 1. เทคนิคและวธิ ีการจดั การเรียนรู้ รายวชิ าพ้ืนฐาน พระพทุ ธศาสนา 2. แนวทางการวดั และประเมนิ ผลการเรยี นร้รู ายวิชาพื้นฐาน พระพุทธศาสนา 3. ตารางวิเคราะห์ มาตรฐานการเรียนรู้และตัวช้วี ัดช้ันปีกบั สาระในหนว่ ยการเรียนรู้

4. คำอธิบายรายวิชาพน้ื ฐาน พระพทุ ธศาสนา ม. 3 5. โครงสรา้ งรายวิชาพ้ืนฐาน พระพุทธศาสนา ม. 3 6. โครงสร้างเวลาเรยี น รายวชิ าพืน้ ฐาน พระพทุ ธศาสนา ม. 3 1.5 สมรรถนะสำคัญของผเู้ รยี น 1. ความสามารถในการส่ือสาร 2. ความสามารถในการคดิ 3. ความสามารถในการแก้ปญั หา 4. ความสามารถในการใช้ทกั ษะชีวิต 5. ความสามารถในการใช้เทคโนโลยี 1.6 คุณลกั ษณะอันพงึ ประสงค์ 1. รกั ชาติ ศาสน์ กษัตริย์ 2. ซอ่ื สัตยส์ จุ ริต 3. มีวนิ ัย 4. ใฝ่เรยี นรู้ 5. อยอู่ ยา่ งพอเพียง 6. ม่งุ ม่ันในการทำงาน 7. รกั ความเปน็ ไทย 8. มีจิตสาธารณะ 2. หลกั ฐานการเรยี นรู้ 2.1 ชิ้นงาน/ภาระงาน – การตอบคำถามเกย่ี วกบั การจัดการเรียนรู้รายวชิ าพน้ื ฐาน พระพุทธศาสนา – การอภิปรายแสดงความคิดเหน็ เก่ียวกบั การจัดการเรยี นรูร้ ายวชิ าพ้ืนฐาน พระพุทธศาสนา 2.2 การวัดและประเมินผลระหว่างการจดั กิจกรรมการเรยี นรู้ ดา้ นความรู้ (K) ด้านคุณธรรม จริยธรรม ด้านทักษะ/กระบวนการ (P) และคา่ นิยม (A) 1. ซักถามความรเู้ ร่อื ง  ประเมนิ พฤติกรรมในการ  ประเมนิ พฤตกิ รรมในการ ปฐมนเิ ทศและขอ้ ตกลงในการ ทำงานเปน็ รายบุคคลใน ทำงานเป็นรายบคุ คลหรอื

เรยี นรายวชิ าพืน้ ฐา ด้านความซอ่ื สตั ย์สุจรติ เปน็ กลุม่ ในด้านการสื่อสาร พระพุทธศาสนา ม.3 ความมีวินัย ความใฝเ่ รียนรู้ การคิด การแกป้ ัญหา ฯลฯ 2. ตรวจผลงาน/กิจกรรม ความมีเหตุผล ฯลฯ เปน็ รายบคุ คลและเปน็ กลมุ่ 2.3 การวัดและประเมนิ ผลเมือ่ สน้ิ สดุ กจิ กรรมการเรียนรู้ - แบบทดสอบหลงั เรียน 3. กจิ กรรมการเรียนรู้ (1ชั่วโมง) ขั้นที่ 1 นำเขา้ สู่บทเรียน ชัว่ โมงที่ 1 1. ครูสรา้ งบรรยากาศและสิง่ แวดล้อมในการเรียนร้ทู เ่ี หมาะสมเพ่ือกระตุ้นใหน้ ักเรียนอยากเรยี นรู้ เชน่ จดั นัง่ เรียนแบบรูปตวั U น่ังเรยี นเป็นกลมุ่ นำนกั เรียนไปเรียนท่ีห้องเรียน เชน่ หอ้ งประชมุ หอ้ งโสตทศั นศึกษา สนามหญา้ ใต้ร่มไม้ ท่ีวดั ก่อนเรียนใหน้ กั เรียนสวดมนตไ์ หว้พระ นงั่ สมาธิ และแผเ่ มตตา 2. ครูแนะนำตนเอง แล้วให้นักเรียนแนะนำตนเองตามลำดับตัวอักษร หรือตามลำดับหมายเลข ประจำตัว หรือตามแถวท่ีน่ัง ตามความเหมาะสม 3. ครูให้ความรู้ทั่ว ๆ ไปเกี่ยวกับการจัดการเรียนรู้ รายวิชาพื้นฐาน พระพุทธศาสนา พร้อมซักถาม นกั เรียนในประเดน็ ตา่ ง ๆ เช่น 1) ทำไมเราจงึ ตอ้ งเรยี นสังคมศกึ ษา ศาสนา และวฒั นธรรม 2) รายวิชาพืน้ ฐาน ภมู ศิ าสตร์มคี วามสำคัญและจำเป็นต่อเราหรอื ไม่ เพราะอะไร 4. ครสู รปุ ความรแู้ ล้วเชื่อมโยงไปสเู่ นือ้ หาทจ่ี ะเรียน ขั้นท่ี 2 กจิ กรรมการเรียนรู้ 5. ครูระบสุ ิง่ ท่ีต้องเรยี นในรายวิชาพนื้ ฐาน พระพทุ ธศาสนา ม. 3 โดยใชข้ อ้ มูลจากหน้าสารบัญในหนังสือ เรียน รายวิชาพื้นฐาน พระพุทธศาสนา ม. 3 ของบริษัท สำนักพิมพ์วัฒนาพานิช จำกัด จากนั้นอธิบายเพื่อทำ ความเขา้ ใจกับนกั เรียนในเร่อื งตอ่ ไปน้ี (โดยใช้ขอ้ มลู จากตอนที่ 1) 1) คำอธบิ ายรายวชิ าพืน้ ฐาน พระพทุ ธศาสนา ม. 3 2) โครงสร้างรายวิชาพ้ืนฐาน พระพุทธศาสนา ม. 3 3) โครงสร้างเวลาเรยี นรายชั่วโมง รายวิชาพ้นื ฐาน พระพุทธศาสนา ม. 3 6. ครูบอกเทคนิคและวธิ กี ารจัดการเรยี นรรู้ ายวชิ าพ้ืนฐาน พระพทุ ธศาสนา ม. 3 โดยสรุปวา่ มีเทคนคิ และ วธิ กี ารเรยี นรอู้ ะไรบา้ ง (โดยใช้ข้อมูลจากตอนที่ 1)

7. ครสู นทนาและซกั ถามนกั เรยี นเพื่อทำความเข้าใจถงึ แนวทางการวัดและประเมินผลการเรียนรู้รายวิชา พื้นฐาน พระพุทธศาสนา ม. 3 (โดยใช้ข้อมูลจากตอนที่ 1) รวมทั้งเกณฑ์ตัดสินผลการเรียนรู้ ในประเด็นต่าง ๆ เช่น 1) รายวชิ าพนื้ ฐาน พระพทุ ธศาสนา ม. 3 มเี วลาเรียนเทา่ ไร 2) รายวชิ านีจ้ ะสอบและเกบ็ คะแนนอยา่ งไร และเท่าไร 3) รายวิชาน้จี ะตัดสนิ ผลการเรียนอย่างไร 8. ครูแนะนำสื่อการเรียนรู้และแหล่งการเรียนรู้ที่จะใช้ประกอบการเรียนรู้รายวิชาพื้นฐาน พระพทุ ธศาสนา ม. 3 โดยใชข้ อ้ มูลจากหน้าบรรณานุกรมในหนังสือเรียน รายวิชาพื้นฐาน พระพทุ ธศาสนา ม. 3 ของบริษัท สำนกั พิมพว์ ัฒนาพานชิ จำกัด นอกจากนค้ี รคู วรแนะนำแหลง่ สบื ค้นความรขู้ อ้ มูลเพิม่ เติมเกี่ยวกับเรื่อง ต่าง ๆ ที่ได้ระบุไว้ในแต่ละหนว่ ยการเรียนรูใ้ นหนังสือเรียน รายวิชาพื้นฐาน พระพุทธศาสนา ม. 3 ของบริษัท สำนกั พิมพ์วัฒนาพานิช จำกัด เพอื่ ทำความเขา้ ใจถึงแหลง่ สบื คน้ ความรแู้ ต่ละอยา่ ง 9. ครูสนทนากับนักเรียนและร่วมกันทำข้อตกลงในการเรียน รายวิชาพื้นฐาน พระพุทธศาสนา ม. 3 ใน ประเดน็ ตา่ ง ๆ ดังนี้ 1) เวลาเรียน ต้องเข้าเรียนไม่น้อยกว่าร้อยละ 80 ของเวลาเรียนในรายวิชานี้ หรือไม่ขาดเรียนเกิน 3 ครัง้ กรณีปว่ ยต้องสง่ ใบลาโดยผูป้ กครองลงชือ่ รบั รองการลา 2) ควรเขา้ ห้องเรยี นตรงเวลาและรกั ษามารยาทในการเรยี น 3) เม่อื เร่มิ เรยี นแต่ละหนว่ ยการเรียนรู้จะมกี ารทดสอบกอ่ นเรียน และหลงั จากเรียนจบแต่ละหน่วยการ เรยี นรู้แลว้ จะมกี ารทดสอบหลงั เรยี น 4) ในช่ัวโมงทีม่ กี ารฝึกปฏบิ ัติงาน ควรเตรียมวสั ดุ อุปกรณ์ และเครื่องมอื ให้พรอ้ ม โดยจัดหาไวล้ ่วงหนา้ 5) รับผิดชอบการเรยี น การสรา้ งชิน้ งาน และการสง่ งานตามเวลาทกี่ ำหนด 6) รกั ษาความสะอาดบรเิ วณที่ปฏบิ ัติกจิ กรรม วสั ดุ อุปกรณ์ และเคร่อื งมือที่ใชท้ ำงานทกุ ครั้ง ขน้ั ท่ี 3 ฝกึ ฝนผเู้ รียน 10. ครใู หน้ ักเรยี นรว่ มกนั อภปิ รายแสดงความคิดเห็นเกี่ยวกับแหลง่ การเรยี นรู้และแหลง่ สืบค้นความรู้ อื่น ๆ ท่จี ะนำมาใช้ในการจดั การเรยี นรู้รายวิชาพน้ื ฐาน พระพทุ ธศาสนา ม. 3 จากน้ันครูและนักเรียนร่วมกัน สรปุ และบนั ทกึ ผล ขั้นที่ 4 นำไปใช้ 11. ครูให้นักเรียนพิจารณาว่า จากหัวข้อที่เรียนมาและการปฏิบัติกิจกรรมมีเรื่องอะไรบ้างที่ยังไม่ เข้าใจหรอื มขี ้อสงสยั ถ้ามีครูช่วยอธบิ ายเพิม่ เตมิ ให้นกั เรียนเข้าใจ 12. นกั เรยี นร่วมกนั ประเมินการปฏิบัติกิจกรรมว่ามีปัญหาหรอื อุปสรรคใด และไดม้ ีการแก้ไขอย่างไร บา้ ง 13. ครูให้นักเรียนร่วมกันแสดงความคิดเห็นเกี่ยวกับประโยชน์ที่ได้รับจากการเรียนหัวขอ้ นี้และการ ปฏิบตั กิ ิจกรรม 14. ครทู ดสอบความเข้าใจของนกั เรยี นโดยการใหต้ อบคำถาม เช่น

1) รายวิชานม้ี เี กณฑต์ ัดสินผลการเรยี นร้อู ยา่ งไร 2) ข้อตกลงในการเรยี นมอี ะไรบา้ ง 15. ครใู ห้นักเรยี นนำประโยชน์จากการเรียนรูเ้ ร่อื ง ปฐมนิเทศและขอ้ ตกลงในการเรยี นรายวิชาพ้ืนฐาน พระพุทธศาสนา ม. 3 ไปประพฤตปิ ฏบิ ตั ใิ ห้ถูกตอ้ งเหมาะสมและสอดคล้องกับการจดั การเรยี นรู้ ขนั้ ท่ี 5 สรปุ 16. ครูและนักเรียนร่วมกันสรุปความรู้เรื่อง ปฐมนิเทศและข้อตกลงในการเรียนรายวิชาพื้นฐาน พระพุทธศาสนา ม. 3 โดยใหน้ กั เรียนบันทกึ ข้อสรุปลงในแบบบนั ทึกความรู้ หรือสรุปเปน็ แผนทค่ี วามคิดหรือผัง มโนทศั น์ลงในสมุด พร้อมทั้งตกแต่งใหส้ วยงาม 17. ครูให้นกั เรียนอ่านเนอื้ หาเรื่อง การสงั คายนา เปน็ การบา้ นเพื่อเตรยี มจดั การเรียนรใู้ นครั้งต่อไป 10. ส่ือการเรียนร้แู ละแหล่งการเรยี นรู้ 1. หนังสือเรียน รายวิชาพน้ื ฐาน พระพุทธศาสนา ม. 3 บรษิ ัท สำนักพมิ พ์วัฒนาพานิช จำกัด 2. คู่มอื การสอน พระพุทธศาสนา ม. 3 บริษทั สำนักพิมพว์ ฒั นาพานชิ จำกดั 3. สื่อการเรียนรู PowerPoint รายวชิ าพนื้ ฐาน พระพทุ ธศาสนา ม. 3 บริษัท สำนักพิมพว์ ฒั นาพานิช จำกดั


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook