Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore หน้าที่ของสถาบันทางสังคม

หน้าที่ของสถาบันทางสังคม

Published by punnida, 2018-11-04 22:44:58

Description: หน้าที่ของสถาบันทางสังคม

Search

Read the Text Version

หนงั สอื อา่ นเพมิ่ เตมิกล่มุ สาระการเรียนรูส้ งั คมศึกษา ศาสนา และวฒั นธรรม สาหรับนกั เรยี นช้ันมธั ยมศึกษาปที ่ี 2 • อนุธดิ า • รงรอง

กหนังสืออา่ นเพิม่ เติมกลุม่ สาระการเรียนรู้สังคมศึกษา ศาสนา และวัฒนธรรมสาหรบั นกั เรยี นช้ันมัธยมศึกษาปีท่ี 2เร่ือง หน้าทีข่ องสถาบันทางสงั คมเขียนบทโดย : นางสาวรงรอง ปรญิ ญานติ ิ รหัสนกั ศกึ ษา 58031030167ภาพประกอบโดย : นางสาวอนธุ ิดา เทพพา รหัสนกั ศึกษา 58031030144จัดพิมพ์โดย : อนธุ ิดา และรงรองผู้ตรวจภาษา : นางสาวนชุ จรา โพสมผู้อานวยการผลติ : รหัสนักศึกษา 58031030162 นายอนุกูล กลน่ิ ดี รหัสนกั ศึกษา 58031030173 อาจารยพ์ ณั นดิ า อุปหนองผ้ปู ระเมินหนงั สอื อ่านเพิ่มเติม1. อาจารยศ์ ักดดิ์ า หอมหวน2. นายฤทธเิ จน ตนั รตั นกุล3. นางสาวนชิ ธาวลั ย์ ปิงยศ

ข หนังสืออ่านเพ่ิมเติมกลุ่มสาระการเรียนรู้ สังคมศึกษา ศาสนา และวัฒนธรรมเร่ือง หน้าท่ีของสถาบันทางสังคม สาหรับนักเรียนช้ันมัธยมศึกษาปีท่ี 2 มีสาระการเรียนรู้ตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาข้ันพ้ืนฐาน พุทธศักราช 2551 ตัวช้ีวัดที่ ส.2.1 ม.2/1 วิเคราะห์บทบาท ความสาคัญและความสมั พันธ์ของสถาบันทางสังคม โดยใช้ประกอบการจัดการเรียนรู้ให้นักเรียนได้ศึกษาสถาบันทางสังคม ท้ัง 7 สถาบัน ซ่ึงประกอบด้วย สถาบันครอบครัวสถาบันการศึกษา สถาบันศาสนา สถาบันเศรษฐกิจ สถาบันการเมืองการปกครอง สถาบันส่ือมวลชน และสถาบันนันทนาการ ในการจัดทาหนังสืออ่านเพ่ิมเติมในคร้ังน้ี ได้นาเสนอเนื้อหาสาระในรูปแบบของหนังสือการ์ตูน ซึ่งเป็นรูปแบบในการสนทนาของตัวการ์ตูนในการดาเนินเรือ่ ง ผูจ้ ดั ทาขอขอบพระคุณอาจารย์พณั นิดา อุปหนอง ผู้สอนรายวิชาการวิเคราะห์และสรา้ งแบบเรยี นสังคมศึกษา นางสาวนุชจรา โพสม และนายอนุกูล กลิ่นดี รวมท้ังผู้ท่ีมีส่วนเก่ียวข้องทุกท่านที่ให้คาแนะนาและให้กาลังใจในการทาหนังสืออ่านเพิ่มเติมเล่มนี้ประสบความสาเรจ็ สุดท้ายหวังเป็นอย่างยิ่งว่า หนังสืออ่านเพ่ิมเติมน้ีจะเป็นประโยชน์ต่อนักเรียนครูและสถานศึกษาในการจัดกิจกรรมการเรียนรู้กลุ่มสาระการเรียนรู้สังคมศึกษา ศาสนา และวฒั นธรรมช่วยส่งเสริมให้นักเรียนได้รู้ว่าสถาบันทางสังคมเป็นองค์ประกอบหน่ึงของโครงสร้างสังคมและแต่ละสถาบันจะไม่แยกตัวออกจากกันอย่างโดดเด่ียว แต่จะเก่ียวโยงผูกพันกันกับสถาบันอื่นๆ ดังนั้น การศึกษาสถาบันทางสังคมจึงต้องศึกษาแบบองค์รวมหรือศึกษาท้ังสังคมโดยไม่แยกศึกษาสังคมออกเป็นส่วนๆ หรือเป็นสถาบันๆ โดยมองว่าทุกสถาบันมีความโยงใยตอ่ กนั อนุธดิ า รงรอง

ค หนังสืออ่านเพ่ิมเติมกลุ่มสาระการเรียนรู้ สังคมศึกษา ศาสนา และวัฒนธรรมเร่ือง หน้าท่ีของสถาบันทางสังคม สาหรับนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 2 นี้ใช้อ่านเพื่อให้มีความรู้ ความเข้าใจเกี่ยวกับสถาบันทางสังคมท้ัง 7 สถาบันอันได้แก่ สถาบันครอบครัวสถาบันการศึกษา สถาบันเศรษฐกิจ สถาบันศาสนา สถาบันการเมืองการปกครอง สถาบันนันทนาการ และสถาบันสอ่ื มวลชนให้ดยี ง่ิ ขึ้น หลังจากนักเรียนได้ศึกษาหนังสืออ่านเพ่ิมเติมนี้แล้วให้นักเรียนทากิจกรรมส่งเสริม การเรียนรู้และตรวจกิจกรรมส่งเสริมการเรียนรู้ภายในเล่ม เพื่อประเมินความรู้ ความเข้าใจ ในเนอื้ หาถ้านักเรียนยังมีข้อสงสัยในเน้ือหาหรือกิจกรรมส่งเสริมการเรียนรู้ให้ปรึกษาครูเพื่อขอคาแนะนา เพ่อื ชว่ ยเหลือ







1 พอ่ สมหมาย แม่สมศรี มาวนิ มาลีคณุ ตา คณุ ยาย ครูแอน

2 ในการดาเนนิ ชีวติ ประจาวันของเรา ย่อมต้องมีความเกี่ยวข้องสัมพันธ์กันกับสถาบันทางสังคมอย่างหลีกเล่ียงไม่ได้ต้ังแต่เกิดจนตายการที่มนุษย์สร้างสถาบันทางสังคมต่างๆ ขึ้นมาน้ัน เกิดจากปัจจัยสาคัญซงึ่ สามารถสรปุ เป็นประเดน็ ได้ ดังน้ี 1. มนษุ ย์มีความต้องการในดา้ นตา่ ง ๆ มนษุ ย์มีความ ต้องการมากมายท้ังด้านร่างกาย เช่น ต้องการอาหาร เสื้อผ้า ท่ีอยู่อาศัยยารักษาโรค รวมถึงความต้องการทางจิตใจ เช่น ต้องการความรักความอบอุ่น ความเพลิดเพลินใจ ดังนั้น มนุษย์จึงต้องมีการ รวมตัวกันเป็นสถาบันทางสังคม เพ่ือตอบสนองความต้องการ ของมนุษย์ในด้านตา่ งๆ ได้อย่างเหมาะสม 2. มนุษย์มีสติปัญญาเป็นเลิศ มนุษย์สามารถคิดไตร่ตรองพิจารณา ถึงการตอบสนองความต้องการของตนเองอย่างลึกซ้ึง และมีขั้นตอน ทาให้เกิดการสร้างสถาบันทางสังคมท่ีมีแบบ แผนในการปฏิบัติอยา่ งเป็นระบบ และการดาเนนิ การไดอ้ ยา่ งมีประสิทธิภาพ

3 3. มนุษย์มีแบบแผนในการดาเนินชีวิต มนุษย์ มีแบบแผนของพฤตกิ รรมอันเป็นวัฒนธรรมที่สืบทอดกันมาจากรุ่นสู่รุ่น จนเป็นท่ียอมรับมนุษย์จึงสร้างสถาบันทางสังคมท่ีมี แบบแผนในการปฏิบัติของสมาชิกด้านตา่ งๆ 4. มนุษย์จาเป็นต้องมีบรรทัดฐานในการอยู่ร่วมกัน การท่ีมนุษย์อาศัยอยู่ร่วมกัน จาเป็นจะต้องมีบรรทัดฐานเพื่อการ อยู่ร่วมกันอย่างสงบ สถาบันทางสังคมมีส่วนสาคัญในการ จัดระเบียบทางสังคมช่วยให้มนุษย์อยรู่ ว่ มกนั ไดอ้ ย่างมีความสขุ 5. สังคมมนุษย์มีการขยายตัวและพัฒนาอยู่เสมอ เมื่อสังคมมนุษย์มีการพัฒนาอย่างต่อเนื่อง ความต้องการของมนุษย์ย่อมเปลี่ยนไปมนุษย์จึงต้องสร้างสถาบันทางสังคมเพื่อให้สามารถ สถาบันทางสังคมช่วยกาหนดแบบแผนตอบสนองไดท้ ันกบั ความตอ้ งการของมนษุ ย์

4

5 มคี รอบครวั ใหญ่ครอบครัวหนึง่ ซึง่ ประกอบดว้ ยคณุ ตา คุณยาย พอ่ แม่ มาวนิ และมาลีในเชา้ วันเปดิ เทอม กินไวๆ ลูก พอ่ ครับ อย่ามวั ทาไมพอ่ ครบั ร้อง ถงึ รักแม่ แม่ เพลง !!!!! ก็แม่เข้าใจพอ่ ไงพอ่ อย่ามว่ั ชวนลูกคยุ ถงึ รกั และถึงมีลูก ๆ เดย๋ี วลูกไปโรงเรียน ทงั้ สองคน สาย จ้า แม่

6รบี ๆ ครบั พอ่ เรว็ ๆ ลูกกนิ ลูกแม่บ่น คะ่ พ่อ คะ่ /ครับ แม่แลว้ จา้ และเมอ่ื เวลาผ่านไป เด็กๆ ก็กินข้าวเสรจ็ สวสั ดีค่ะ ตง้ั ใจ และเดินไปสวสั ดีคณุ ตา คุณยาย คุณตาเรียนนะ คณุ ยายเด็ก ๆ สวัสดีครบั คุณตา ขน้ึ มาเลย คุณยาย เดก็ ๆไปกันมาลี ดูแลนอ้ งด้วยเดย๋ี วพอ่ รอ นะมาวนิ ไปกัน ครบั พีม่ าวนิ แม่คะ่ /ครบั พ่อ

7 พ่อครบัเปดิ เพลงให้หน่อยครับ ได้เลยลูกจากนั้นมาวินก็ร้องเพลงตามเพลงที่พ่อเปดิ ไปเรื่อย ๆถึงโรงเรยี น สวสั ดคี รบัแลว้ เดก็ ๆ สวสั ดีค่ะ

8 สถาบนั ครอบครัว จดั เป็นแบบแผน พฤติกรรมของคนท่ีติดต่อเก่ียวข้องกันในเร่ือง เก่ียวกับครอบครัวและเครือญาติ สมาชิกใน ครอบครัวมีความสัมพันธ์กันทางสายโลหิต เช่น พ่อแม่ พี่น้อง หรือโดยการสมรส เช่น สามี ภรรยา เขย สะใภ้ หรือการรบั ไวเ้ ปน็ ญาติ เชน่ บตุ รบญุ ธรรม เปน็ ต้น ความสัมพนั ธ์ของสมาชกิ ในครอบครวั จะแน่นแฟ้นม่นั คง มีความรักและเจริญเติบโตอยา่ งมคี ณุ ภาพ ปรารถนาดีต่อกนั ขนาดของครอบครวั อาจแตกต่างกันออกไป แบง่ เปน็ 2 ลักษณะ 1. ลักษณะครอบครัวเดียว (nuclear family) คือ ครอบครัวที่ประกอบด้วยบดิ า มารดา บุตร หรอื สามภี รรยา 2. ลักษณะครอบครัวขยาย (extended family) มีสมาชิกหลายลาดับชนั้ เช่น พ่อ แม่ ปู่ ยา่ ตา ยาย ในอดีตครอบครัวของสังคมไทยจะมี ลักษณะเป็นครอบครัวขยาย คนในครอบครัวมีความใกล้ชิดผูกพันกันของบุคคลหลายรุ่น ซ่ึงปัจจุบัน เราจะพบครอบครัวใหญใ่ นชนบทมากกว่าในสังคมเมือง สถาบันครอบครัวเป็นสถาบันพ้ืนฐานแรกสุดที่มีความสาคัญอย่างย่ิงเพราะเป็นจดุ เร่มิ ตน้ ของสถาบันอ่ืนๆ ในสังคม และทาหน้าท่ีอบรมขัดเกลาให้สมาชิกในครอบครวั เป็นคนดขี องสังคมครบครัวเด่ียว ครอบครัวขยาย

9 สถาบันครอบครัวมีบทบาทท่ีสาคัญ คือ การให้กาเนิดสมาชิกใหม่แก่สังคมและเลี้ยงดูสมาชิก ของครอบครัวให้เจริญเติบโตอย่างมีคุณภาพเพราะครอบครัวเป็นสถาบันพ้ืนฐานแรกสุดท่ีทาหน้าท่ี ในการอบรมขัดเกลาสมาชิกให้เป็นคนดีทั้งกายวาจา และใจ เพอ่ื ใหอ้ ยใู่ นสงั คมไดอ้ ย่างมคี วามสุข รวมทัง้ ทาหน้าทีถ่ ่ายทอดวฒั นธรรมใหแ้ กส่ มาชกิ ใหม่ท่ีกาเนิดข้ึนมาในสังคม กาหนดแนวปฏิบัติ เกี่ยวกับความสัมพันธ์ของสมาชิกในครอบครวั เช่น การเลือกคู่ การหมน้ั การแต่งงาน เป็นต้น กาหนดสถานภาพทางสังคมและบทบาทที่สอดคลอ้ งกนั ให้แก่สมาชกิ ในสงั คม เช่น การกาหนด สถานภาพเป็นบุตรต้องมีบทบาทหน้าที่เชื่อฟังคาส่ังสอนของบิดามารดา เป็นลูกท่ีดี ช่วยเหลือกิจกรรมในบา้ น เป็นต้น

10

11 ตง้ั ใจ บา๊ ยบายคะ่เรยี นนะ บา๊ ยบายครบัเดก็ ๆ ป่ะๆ เข้าแถวกันเมือ่ เดก็ ๆ เขา้ แถวเสร็จแล้วกแ็ ยก ทาไมเราตอ้ งเรียน ยา้ ยกันไปเรียน หนงั สอื ด้วยหรอครับ สวัสดีจ้า เดก็ ๆ ครแู อน นักเรียนทาความ เคารพ สวัสดคี รับ/คะ่

12 จา้เมอ่ื เราโตข้นึ ก็ อ่อ…เข้าใจแลว้ ครับจะได้มคี วามรู้ ผมจะต้ังใจเรียน ผมจะไป ไปใชใ้ น เปน็ นักร้องไปรอ้ งอนาคตไงลกู ต่างประเทศไปพกั ทานขา้ ว ได้จา้ จ้า นกั เรียนทาความ เคารพ ขอบคุณครบั /คะ่

13จากน้ัน เด็กๆ ก็มากินขา้ วทีก่ ัน และซือ้ ขนมกนิ กนั อย่างอรอ่ ย อร่อยจังเลยเม่อื กนิ ขนมเสร็จเป็นทีเ่ รยี บร้อยแลว้ ท้ังสองคนกพ็ ากนั ข้ึนเรยี นตามปกติ ขน้ึ เรยี นกนั มาลี จา้ เม่อื ถงึ เวลา 16.00 น. เปน็ เวลาเลิกเรียน พอ่ สมหมายกม็ ารับ เดก็ ๆกลบั บา้ นขัน้ มาเลย เด็ก ๆ เยๆ้ กลบั บา้ นกัน เย้ๆๆ พอ่ มาแล้ว

14 สถาบันการศึกษา เป็นแบบแผนการคิดการกระทาท่ีเกี่ยวข้องกับการให้การศึกษา ในสังคม สถาบันการศึกษาเป็นสถาบันที่ครอบคลุมในเร่ืองที่เก่ียวกับการเรียนการสอน การฝึกอบรมในด้านต่างๆประกอบด้วยองค์กรต่างๆ แบบเป็นทางการ เช่น โรงเรียน วิทยาลัยเปน็ ต้น และไม่เปน็ ทางการ เชน่ พอ่ แม่สอนหนังสอื และอบรมสัง่ สอนลกูท่ีบ้าน พระเทศนาธรรมให้พุทธศาสนิกชนฟัง การเรียนรู้และฝึกฝนการจักสานจากช่างในหมู่บ้าน เป็นต้น ซ่ึงการ ไม่เป็นทางการนี้ถือว่ามีความสาคญั อย่างมาก สถาบันการศึกษามีบทบาทท่ีสาคัญ ๆ ส่งเสริมให้สมาชิกในสังคมเกิดความ งอกงามในด้านต่างๆ เช่น ด้านวิทยาศาสตร์ ด้านการวิจัย ด้านวัฒนธรรม เป็นต้น และนา ความรู้ที่ได้รับจากสถาบันการศึกษานั้นไป ประกอบอาชีพและพัฒนาอาชีพ เพื่อสนองความต้องการของสังคมต่อไปได้ ส่งเสริมให้บุคคลเป็นคนดี มีศีลธรรมมีค่านิยมที่ดีงาม สถาบันการศึกษาเป็นสถาบันที่ครอบคลุมในเรื่องท่ีเกยี่ วกับ รจู้ ักระเบียบแบบแผนของสังคม ประพฤติและ การเรียนการสอนฝึกอบรมในด้านต่าง ๆ ปฏิบัติตนเหมาะสม รู้จักสิทธิหน้าท่ีท่ีตนจึงปฏิบัติต่อสังคมและประเทศชาติ รวมท้ังส่งเสริมให้เกิดความเจรญิ กา้ วหน้าดา้ นตา่ งๆ แก่สังคม

15

16 พ่อ ไปสง่ เด็กๆ ที่ โรงเรยี นได้แล้ว เช้าวนั รุ่งขน้ึ จา้ แม่จากนั้น พอ่ ก็ไปส่งเดก็ ๆ ท่โี รงเรียน และพ่อก็เลยไปทางานท่ีบรษิ ัทสวสั ดี วนั นี้ มปี ระชุมครับ อ่าว สวสั ดีคะ่ ใช่ไหมครับ พี่สมหมาย ใชแ่ ลว้

ง้นั พี่ไปประชุม 17 สนิ ค้าเราตอ้ งมี ก่อนนะครบั คุณภาพนะครับ โอเค คะ่ กลับแลว้ หรอค่ะ ใชค่ รบั หวั หน้า กลบั ก่อนนะ ครบั ผมไปรับ ลกู ดว้ ยมาแล้ว เด็ก ๆ เย้ๆ กลับบ้านครับกลับบา้ นกัน หวิ ข้าวแลว้ ครบั พอ่

18 สถาบันเศรษฐกิจ เป็นแบบแผนการคิด การกระทาท่ีเกี่ยวกับเร่ืองของการผลิตสินค้าและ บริการ การแลกเปล่ียน จาหน่ายแจกจ่ายสินค้า และการให้บริการต่างๆ การแลกเปลี่ยนสินค้า และบริการ รวมทั้งการบรโิ ภคของสมาชกิ ท่ีอาศัยอยูร่ ว่ มกันในสงั คม สถาบันทางเศรษฐกิจยังรวมถึงกฎเกณฑ์ ข้อบังคับท่ีลูกจ้างนายจ้าง เจ้าของโรงงาน ธนาคาร และผู้ผลิตสินค้าและบริการจะต้องปฏิบัติตาม แม้แต่ผู้ประกอบการอิสระ และเกษตรกรก็จะต้องปฏิบัติตามกฎเกณฑ์ของการประกอบอาชีพที่ดี ตลอดจนสถาบันทางเศรษฐกิจถือเป็นองคป์ ระกอบทส่ี าคัญในการสรา้ งรากฐาน ทางการเมืองใหม้ ีความแขง็ แกรง่ อีกด้วย

19 สถาบันเศรษฐกิจมีบทบาทท่ีสาคัญ คือ สร้างแบบแผนท่ีเก่ียวกับการดาเนินกิจกรรมทาง เศรษฐกิจในด้านต่างๆ ไม่ว่าจะเป็นการใช้ทรัพยากรอย่างเหมาะสมเพียงพอต่อการดาเนินชีวิต การนาทรัพยากรมาผลิตสินค้าและบริการอย่างคุ้มค่า การบริหารจัดการปัจจัยการผลิตอย่างสมดุล เช่น ในการทานา ควรคานึงถึงปริมาณน้าในแต่ละปี หากปีใดมีปริมาณน้าน้อยก็ไม่ควรทานาปรัง และอาจหันไปปลูกพืชชนิดอื่นบ้าง สถาบันทางเศรษฐกิจยังสร้างแบบแผนและกฎเกณฑ์ในการผลิตสินค้าให้ได้มาตรฐาน กาหนดกลไกราคาท่ีเหมาะสม กระจายสินค้าและบริการแก่สังคม ผลิตเคร่ือง อุปโภคบริโภคและเทคโนโลยี เพ่ือนาไปแลกเปลี่ยนกับของชนิดอื่นๆ ท่ีไม่ได้ผลิตข้ึนมาเอง ซึ่งกระบวนการแลกเปลี่ยนเป็นหวั ใจสาคญั ของความสมั พนั ธข์ องคนในสังคม ด้วยการใช้สินค้า และบริการเป็นส่ือกลางของความสัมพันธ์ระหว่างกัน โดยเฉพาะในสังคมปัจจุบัน กลไกของการ แลกเปล่ียนมีความสะดวกและรวดเร็วโดยใชส้ อ่ื กลาง คือ “เงินตรา” ในการแลกเปล่ยี น นอกจากนี้ สถาบันทางเศรษฐกิจยังเป็นตัวบ่งช้ีฐานะทางเศรษฐกิจของสมาชกิ ในสงั คม ถา้ สมาชกิ ในสงั คมมีฐานะทางเศรษฐกิจดีก็จะมีความเป็นอยู่ที่ดี สามารถพัฒนาสังคมได้อย่างรวดเร็วกว่าสังคมท่ีสมาชิกมีฐานะทางเศรษฐกิจไม่ดี ดังน้ัน จึงถือได้ว่าสถาบันเศรษฐกิจมีความสาคญั ต่อสงั คมมนษุ ยแ์ ละเป็นสถาบันทมี่ นุษยจ์ ะขาดเสยี มิได้

20

21 เด็ก ๆ จะ นา่ จะ ตืน่ ยงั นะ ตนื่ แลว้ นา้เชา้ วนั รุง่ ขึน้ วันนี้เป็นวนั หยดุ ซ่งึ ตรงกบั วนั พระ มาแลว้ แตง่ ตวั หล่อครับ/คะ่ สวย เชียวนะไปวดั กนั แม่ ไปกนั เลยตา กับ ยาย รอแลว้

22 เข้าไปข้างในกนัทกุ คนก็พากนั ทาบุญด้วยความ ทาไมเราตอ้ งมา ต้งั ใจ วดั ด้วยล่ะครับ มาทาบญุ อ่อ ครับให้เจ้ากรรม กลับบา้ นกนั ครบันายเวรไงลกู

23 และทุกคนกพ็ ากนั กลบั บา้ นระหวา่ งทางกลบั บ้าน มาวนิ ก็รอ้ งเพลงเหมอื นเชน่ เคย เม่ือถึงบา้ น ตา และยายก็มาน่งั ดทู วี ี ตา เปดิ ทีวี ดูข่าวกัน

24 สถาบันศาสนา เป็นแบบแผนการคิดการกระทาที่กาหนดแนวทางการปฏิบัติของสมาชิก ในสังคม สถาบันศาสนามีรูปแบบที่สาคัญได้แก่ หลกั คาสอน พิธกี รรม สญั ลักษณ์แห่งศาสนา ส่งิ สักการบชู าหลักความเช่ือหรือหลักธรรม นักบวช และศาสนิกชน ตัวอย่าง เช่นพระพุทธศาสนา มีหลักธรรมความเช่ือหลายหลักธรรม แต่หลักธรรมที่เป็นโอวาทสูงสุดของพระพุทธศาสนา คือ การทาความดี การละเว้นความชัว่ และการทาจติ ใจใหผ้ ่องใส สญั ลกั ษณ์ของพระพุทธศาสนาก็คือเคร่ืองหมายธรรมจักรและกวางหมอบ สิงสักการบูชา ได้แก่ พระพุทธรูป ซ่ึงเป็นตัวแทนของพระพุทธเจ้า ศาสนสถาน เช่น วัด โบสถ์ พิธีกรรม (พิธีทาบุญ พิธีเวียนเทียนในวนั สาคญั ทางพระพุทธศาสนา พิธอี ปุ สมบท เปน็ ตน้ ) การนับถือศาสนาจะเก่ียวพันกับการดาเนินชีวิตของคนในสังคมอย่างใกล้ชิด โดยเฉพาะในโอกาสสาคัญต่างๆ ของชีวิต เช่น การเกดิ การเข้าสูว่ ยั รนุ่ การแตง่ งาน เปน็ ตน้

25 สถาบนั ศาสนามีบทบาทที่สาํ คญั คอื เป็นศนู ย์รวมความศรัทธา กําหนดมาตรฐานความประพฤติของสมาชิกในสงั คมนอกเหนือจากการควบคมุ โดยกฎหมาย ควบคมุ ด้วยหลกั ธรรมคําสอนเป็นแนวทางชว่ ยให้สมาชิกมีความสงบสขุ ในจิตใจ ไมค่ ดิ ฟ้งุ ซา่ น มีความมน่ั คงทางอารมณ์ สามารถแก้ปัญหาและตดั สินใจได้อยา่ งถกู ต้อง ฝึกให้สมาชิกทกุคนมีระเบียบวนิ ยั สามารถจดั ระเบยี บชีวิตของตนได้ ตลอดจนช่วยปลกู ฝังคา่ นิยมท่ีดงี ามแก่สมาชิกในสงั คม

26

27 ดขู า่ ว จ้า ไหนวันนีม้ ี ข่าวอะไรดู บ้างดูอะไรกันครับคุณตา คณุ ยาย ผมขอหาอะไร กนิ กอ่ นนะครบัการเลอื กตง้ั ปี 2561

ดขู า่ วเลือกต้งั 28กันอยหู่ รอค่ะ ใช่แลว้ จา้มะ่ ๆ เด๋ยี วแม่ทาอะไรใหก้ ิน อร่อยจังเลยคะ่เรยี กน้องกบัพอ่ มาดว้ ยนะ ลูก ไดค้ รบั

29 สถานบันส่ือสารมวลชน เป็นแบบแผนการคิดการกระทาในเร่ืองของการติดต่อ หรือส่งข่าวสาร ข้อมูล ประสบการณ์ บทบาทของสงั คมในดา้ นต่างๆ ไปสู่ประชาชน รวมทง้ั ใหค้ วามรแู้ ละ ความเพลิดเพลินแกบ่ ุคคลในสังคม คาว่า “สื่อสารมวลชน” หมายถึง กระบวนการส่งข่าวสารความรู้สึกนึกคิดไปยังคนจานวนมาก ตรงกับคาในภาษาอังกฤษว่า“Mass Communication” บทบาทที่สาคัญของสถาบันส่ือสารมวลชน คือ การส่งข่าวสาร ส่ือสารความคิดเห็น ความต้องการของประชาชนออกไปสู่สาธารณชน เพื่อให้รับรู้ข่าวสารทันกับความเปลี่ยน ของสังคม ถ่ายทอดวัฒนธรรม ให้ความบันเทิง ช่วยพัฒนาคุณภาพชีวิตแก่ผู้รับสาร ตลอดความรู้แก่ประชาชนในรูปแบบต่างๆ เช่น หนังสือพิมพ์ วิทยุ ภาพยนตร์สอ่ื อเิ ล็กทรอนิกส์ เปน็ ต้น

30

31 จะไปไหนกนั หรอครับเชา้ วนั รุ่งข้นึ คุณตา คณุ ยาย พ่อสมชายและแม่ สมศรพี ากนั ไปเลือกตงั้ไปเลือกตั้งกนั จ้า ทาไมเราต้อง ไปเลอื กตั้ง ผมใหม่แม่ ดว้ ยล่ะครบั สวยไหมลกู ครับแม่เดินทาง สวยครบั ปลอดภัยนะครับเพื่อเลอื กคนดีมาบริหารประเทศ ไงลกู เมอื่ มาวนิ โตข้ึน มาวนิ ก็ต้องไปเลอื กต้ังเหมือนกัน

32 พร้อมแลว้ ไปกนั เลยนะครับและทกุ คนก็เดนิ ทางไปเลอื กต้ัง เมอื่ ทกุ คนไปเลอื กตัง้ เสรจ็ แล้วก็ กลับบา้ นกัน เด็ก ๆ พรุ่งนเ้ี ดีย๋ วเราไป จรงิ หรอคะ่ /ครบั ดคู อนเสริ ์ต พบี่ กี้ นั นะจ๊ะ

33 สถาบันการเมืองการปกครอง เป็นแบบแผนการคิดการกระทาทกี่ าหนดระบบอานาจในการ จัดระเบียบภายในสังคม และอานาจในการป้องกันความม่ันคงจากสังคมหรือศัตรูภายนอก ดังน้ันสถาบันการเมืองการปกครองจึงเป็นสถาบันที่ทาหน้าที่ควบคุมสังคมให้สมาชิกในสังคมสามารถอยู่ รว่ มกนั ไดอ้ ย่างสันติสุข สถาบันการเมืองการปกครองในแต่ละสังคมจะแตกต่างกันไปขึ้นอยู่กับปรัชญาความเชื่อ พ้ืนฐานของสมาชิกในสังคมว่าต้องการจะให้สังคมของตนมีการปกครองตามระบอบประชาธิปไตย หรือระบอบเผด็จการ เม่ือได้เลือกระบอบการปกครองแล้ว ก็ต้องจัดการบริหารการปกครองให้เป็น ไปตามปรัชญาการเมืองแบบนั้นๆ หรืออาจมีการปรับเปลี่ยนใหม่ ซึ่งถ้าหากใช้แล้วเกิดปัญหาหรือ มีการพัฒนาล่าช้าไม่เปน็ ไปตามท่ีสังคมต้งั เปา้ หมายไว้

34 สถาบันการเมืองการปกครองมีบทบาทที่สาคัญ คือ การสร้างความม่ันคงให้แก่สังคม รักษา ความปลอดภัยทั้งภายในและภายนอกประเทศ ระงับข้อขัดแย้งระหว่างตัวบุคคลและบุคคลในสังคมออกกฎหมายบังคับใช้ในรูปแบบต่างๆ ควบคุมให้มีการปฏิบัติตามกฎหมายนั้นๆ ให้ความคุ้มครองแก่สมาชิกให้ปลอดภัยในชีวิต วางแผนและจัดทาโครงการต่างๆ เพื่อสนองความต้องการของสังคม และให้บริการสาธารณะต่างๆ กลุ่มบุคคลสาคัญของสถาบันนี้ ได้แก่ กลุ่มบุคคลที่ทาหน้าที่ฝ่ายบริหาร ฝ่าย นิติบัญญัติ และฝ่ายตุลาการ ตัวอย่าง เช่น ในระบอบการปกครองแบบประชาธิปไตยของประเทศไทย หัวหน้าของฝ่ายบริหาร ซ่ึงได้แก่ นายกรัฐมนตรี จะมีบทบาทในการกากับดูแลคณะรฐั มนตรใี ห้ บริหารราชการแผน่ ดนิ ให้เป็นไปด้วยความเรียบร้อยตรงตามนโยบายทีร่ ฐั บาลประกาศไว้

35 หวั หนา้ ของฝ่ายนติ ิบัญญัติ คือ ประธาน รัฐสภา มีหน้าท่ีเป็นประธานในการประชุมรัฐสภา และพิจารณากฎหมายตามขั้นตอน เพ่ือออกมา บังคับใช้แกป่ ระชาชนทกุ คน หัวหน้าของฝ่ายตุลาการ คือ ประธานศาลฎีกา มีหน้าท่ีบริหารจดั การคดคี วามไปอยา่ งรวดเร็วและบริสทุ ธยิ์ ตุ ิธรรม เปน็ ต้น

36

37 วันนี้ตื่นเชา้ จงั เลยล่ะครบั เชา้ วันรุง่ ขนึ้ วันน้ี เด็ก ๆ ตน่ื เตน้ กับ การทีจ่ ะไดไ้ ปดูคอนเสริ ต์ คร้งั แรก มาวนิผมตื่นเตน้ นิ ครัง้ แรกเลย เตรียมชุดหลอ่ ๆ ไว้ ครบั ครบั แม่ เลยนะลกูเมื่อถงึ ตอนเย็น มาวิน กบั มาลี มาลีกแ็ ตง่ ตวั พีห่ ล่อไหม หลอ่ จังเลย ค่ะพม่ี าวิน

38 พร้อมยังจ้า เดก็ ๆ พร้อมแลว้ ครบั /ค่ะตา กบั ยาย จากนัน้ ทกุ คนกอ็ อกเดนิ ทางเพอื่ ทีจ่ ะก็พร้อมแล้วนะ ไปดคู อนเสริ ต์ เดก็ ๆจากน้นั ทกุ คนในครอบครัวก็ดคู อนเสิรต์ ด้วยกนั อยา่ งมีความสุข

39 สถาบันนันทนาการ เป็นแบบแผนการคิดการกระทาท่ีเกี่ยวข้องกับการพักผ่อนหย่อนใจของ สมาชิกในสังคม สถาบันนันทนาการทาให้เกิดการสร้างสรรค์ผลงานการแสดง กีฬา การละเล่นดนตรี เชน่ การเลน่ ตะกร้อ ราวง ลาตดั เพลงโคราช เปน็ ตน้ คาว่า “นันทนาการ” หมายถึง กิจกรรมท่ีบุคคลสมัครใจเข้าร่วมกระทา เพื่อใช้เวลาว่างให้ เป็นประโยชน์ และเม่ือกระทาแล้วเกิดความสขุ กาย สบายใจ สนกุ สนาน มคี วามสุขและความสามคั คี สถาบันนันทนาการมีบทบาทที่สาคัญ คือ การทาให้คนในสังคมใช้เวลาว่างใหเ้ ป็นประโยชน์ ในทางสร้างสรรค์ ผ่อนคลายความตึงเครียด เพ่ิมพูนสุขภาพที่ดี ตลอดจนสนองตอบความต้องการ ทางสังคมในรปู แบบความบนั เทงิ ตา่ งๆ เช่น ศลิ ปะ การละเล่น กีฬา เป็นต้น โดยผลที่ตามมา นอกจากความผ่อนคลาย ความเพลิดเพลินใจแก่คนในสังคมแล้วยังทาให้เกิดการแสดงในรูปแบบ ต่างๆ ตามมาด้วย เช่น ละครภาพยนตร์ โขน การแสดงดนตรี ฟ้อนรา มหรสพต่างๆ เป็นต้น ซ่ึงการแสดงต่างๆ เหล่านี้มีความสาคัญต่อสังคมปัจจุบันท่ีมีแต่ความตึงเครียดเปน็ อย่างมาก

40 สถาบันทางสังคมเป็นองค์ประกอบหนึ่งของโครงสร้างทางสังคมท่ี เกี่ยวกับการกาหนดกฎ ระเบียบ มาตรฐาน และแนวทางความประพฤติของคนในสังคมให้ปฏิบัติ ตาม โดยมีค่านิยม ความเชื่อ ศาสนาและภูมิปัญญา ซ่ึงเป็นหัวใจในการกาหนดกรอบ บรรทัดฐานท่ีสมาชิกจะต้องใช้ปฏิบัติหรือใช้กระทาตอบโต้กัน ดังน้ัน การศึกษาเก่ียวกับบทบาท ความสาคัญ และความสัมพันธ์ของสถาบันทางสังคม จะทาให้เข้าใจโครงสรา้ งสงั คมได้อย่าง ชดั เจนมากย่ิงข้นึ

41

42 “คนเราอยู่คนเดียวไม่ได้ จะต้องอยู่เป็นหมู่คณะ และถ้าหมู่คณะน้ันมีความสามัคคี คือเห็นอกเห็นใจซ่ึงกันและกัน ช่วยเหลือในทุกเมื่อ ช่วยกันคิดว่าส่งิ ใดควร สง่ิ ใดไมส่ มควร สง่ิ ใดทจ่ี ะทาให้นามาสู่ความเจริญ ความมั่นคง ความสุขก็ทา ส่ิงใดที่นามาซ่ึงหายนะหรือเสียหายก็เวน้ และชว่ ยกนั ปฏบิ ตั ิทั้งหน้าที่ทางกายทัง้ หน้าท่ีทางใจ” พระราชดารัสของพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว ในพิธีพระราชทานธงประจารุ่นลกู เสอื ชาวบ้าน จังหวดั สระบุรี๑๖ เมษายน ๒๕๑๙

43 “ความรู้ในวิชาการ เป็นสิ่งหน่ึงที่จะทาให้สามารถฟันฝ่าอุปสรรคได้ และทาให้เป็นคนที่มีเกียรติ เป็นคนท่ีสามารถ เป็นคนท่ีมีความพอใจได้ในตัวว่าทาประโยชน์แก่ตนเองและแก่ส่วนรวม นอกจากวิชาความรู้ ก็จะต้องฝึกฝนในสิ่งท่ีตัวต้องปฏิบัติให้สอดคล้องกับสังคมสอดคล้องกับสมัยและสอดคล้องกับศีลธรรมที่ดีงาม ถ้าได้ท้ังวิชาการ ทั้งความรู้รอบตัว และความรู้ในชีวิต ก็จะทาให้เป็นคนที่ครบคน ท่ีจะภูมิใจได”้ พ ร ะ บ ร ม ร า โ ช ว า ท ข อ ง พ ร ะ บ า ท ส ม เ ด็ จ พ ร ะ เ จ้ า อ ยู่ หั วพระราชทานเน่ืองในโอกาสวันปิดภาคเรียนของโรงเรียนจิตรลดา ๒๕มีนาคม ๒๕๑๕


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook