Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore แรงและพลังงาน-ปรับใหม่-64

แรงและพลังงาน-ปรับใหม่-64

Published by Radsakda Nuanjan, 2021-03-06 15:47:46

Description: แรงและพลังงาน-ปรับใหม่-64

Search

Read the Text Version

แรง 5และพลังงาน สื่อเสมือนจริง Augmented Reality ช้ันประถมศึกษาปีที่ นางประภาพร เอียดดำ ครู วทิ ยฐานะ ครชู ำนาญการพเิ ศษ โรงเรยี นเทศบาลบ้านคูหาสวรรค์ สงั กัดกองการศกึ ษา เทศบาลเมอื งพทั ลุง

ก สารบัญ ข คำนำ คำนำ หนา้ สารบญั Augmented Reality หรือ AR เป็นเทคโนโลยีที่ผสมโลกของความจริง (real world) ขั้นตอนการใช้สอ่ื ก เขา้ กบั โลกเสมือน (virtual world) โดยใช้วธิ ีซอ้ นภาพสามมิตทิ อ่ี ยใู่ นโลกเสมอื น.ไปอยบู่ นภาพ แรงและพลงั งาน ช้ันประถมศกึ ษาปที ี่ 5 ข ท่เี หน็ จรงิ ๆ ในโลกของความเปน็ จรงิ ผา่ นกลอ้ งดิจติ อลของแทบ็ เล็ต สมาร์ทโฟน หรอื อปุ กรณอ์ นื่ ๆ แรงและพลงั งาน ค และให้ผลการแสดงภาพ ณ เวลาจริง (real time) ซึ่งในอนาคตอันใกล้ AR กำลังจะเข้ามามี แรง (Force) ง บทบาทมากขึ้นในชีวิตประจำวันของสังคมที่จะเต็มไปด้วย สมาร์ทโฟน แท็บเล็ต และนวัตกรรม แรงลพั ธ์ 1 ทางเทคโนโลยีสารสนเทศ เช่น Google Glass เป็นต้น 2 ประโยชน์ของแรงลพั ธ์ 3 ผู้จดั ทำเล็งเห็นความสำคัญในการพัฒนาส่อื การเรยี นการสอนและการจัดการศึกษาโดย แรงเสียดทาน 7 นำเทคโนโลยี AR มาประยกุ ต์ใชใ้ นกิจกรรมการเรียนการสอน เรื่อง แรงและพลังงาน สำหรับนักเรยี น 8 ช้ันประถมศกึ ษาปีที่ 5 ซง่ึ ประกอบด้วยเนอื้ หาเร่อื ง ความหมายของแรง แรงลพั ธ์ แรงเสียดทาน ปจั จยั ท่มี ผี ลต่อแรงเสยี ดทาน 10 เพือ่ ให้นักเรยี นไดเ้ หน็ ตวั อยา่ งท่ีเหน็ เดน่ ชัด ชว่ ยให้การเรียนรเู้ ปน็ ไปอยา่ งมปี ระสทิ ธิภาพ นอกจาก ประโยชน์ของแรงเสียดทาน 13 จะสามารถสร้างความน่าสนใจในการเรียนรู้ใหก้ บั ผ้เู รียนแลว้ สือ่ เสรมิ การเรยี นรู้ AR ยงั จะสามารถ บรรณานุกรม 16 สร้างแรงบันดาลใจและจุดประกายให้กับผู้เรียน โดยเฉพาะอย่างยิ่ง ผู้เรียนที่สนใจด้านวิทยาการ ประวัตผิ ้จู ัดทำ 17 คอมพิวเตอร์ เมื่อได้สมั ผัสกับเทคโนโลยี AR ผู้เรียนอาจเกดิ จินตนาการ นำไปคิดตอ่ ยอด พัฒนา และสรา้ งสรรค์เทคโนโลยี AR สำหรบั การใชง้ านในดา้ นอน่ื ๆ ต่อไปได้ ดงั นั้น การทผ่ี ู้เรยี นไดเ้ รียนรู้ สัมผัส และทดลองใช้สื่อเสรมิ การเรยี นรู้ AR ในชัน้ เรยี น จะทำให้พวกเขาคนุ้ เคยกับเทคโนโลยี และมีความพร้อมที่เพิ่มพูนทักษะเกี่ยวกับเทคโนโลยีประเภทนี้ เมื่อต้องเรียนในระดับสูงหรอื ทำงานตอ่ ไปในอนาคต ประภาพร เอยี ดดำ

ค ง ขั้นตอนการใชส้ ื่อ แรงและพลงั งาน ช้ันประถมศึกษาปที ี่ 5 1. นกั เรียนสามารถเขาถงึ ส่อื AR ที่สร้างขึ้นได้โดย สแกนควิ อาร์โค้ด ท่ีหน้าปกเอกสาร สาระสำคญั เรื่องแรงและพลังงาน ชั้นประถมศึกษาปีที่ 5 เพ่ือติดตั้งแอพพลเิ คชน่ั (app AR) เมื่อมีแรงหลายแรงมากระทำต่อวตั ถุหนึง่ ๆ ผลรวมของแรงเหลา่ นั้น คือ แรงลัพธ์ที่กระทำต่อวตั ถุ 2. ระบบจะทำการดาวนโ์ หลดแอพพลเิ คช่ัน 3. เม่อื ตดิ ตง้ั แอพพลเิ คชัน่ (app AR) การหาแรงลัพธต์ อ้ งพิจารณาทั้งขนาดและทิศทางของแรงท้ังหมดท่ีกระทำตอ่ วัตถุนั้น ถ้าแรงลัพธ์ท่ีกระทำ ต่อวัตถทุ ีอ่ ย่นู ง่ิ มคี ่าเปน็ ศูนย์ วัตถุก็จะอยู่นิ่งต่อไป ถา้ มีแรงมากระทำต่อวัตถุเพื่อให้วัตถุเคล่ือนท่ี โดย (app AR) กดเลอื กติดตั้ง เพ่ือดำเนินการ เรยี บรอ้ ยให้กดเปดิ ระบบจะติดตงั้ เสรจ็ สมบูรณ์ วตั ถนุ ้ันสัมผัสกบั ผิวสมั ผัสของวตั ถอุ ่ืน จะเกิดแรงเสียดทานต้านการเคล่อื นทข่ี องวตั ถุในบริเวณผิวสัมผัสของ วัตถนุ ัน้ และสำหรับวัตถทุ กี่ ำลังเคลื่อนท่ี ก็จะมแี รงเสยี ดทานต้านการเคลื่อนท่ีของวัตถุเช่นกัน 4. สแกนภาพท่ีมีสัญลักษณ์ ในสื่อเรอื่ งแรงและพลังงาน ชน้ั ประถมศึกษาปีท่ี 5 มาตรฐานการเรียนรแู้ ละตัวชี้วดั จะแสดงผลบนหน้าจอโทรศพั ท์มอื ถือ ที่สามารถเข้าถึงไฟล์ขอ้ มูลที่สร้างได้ทนั ที อย่างสะดวกและรวดเร็ว มาตรฐาน ว 2.2 เขา้ ใจธรรมชาติของแรงในชวี ิตประจำวัน ผลของแรงทก่ี ระทำต่อวตั ถุ ลักษณะ 5. กรณไี ม่สามารถสแกนควิ อาร์โค้ดผา่ นแอพพลเิ คชัน่ Line ได้ ให้ติดต้งั app ScanAR โดยสามารถ การเคลื่อนทีแ่ บบตา่ งๆ ของวัตถุ รวมท้งั นำความรู้ไปใชป้ ระโยชน์ ว 2.2 ป.5/1 อธบิ ายการหาแรงลพั ธ์ของแรงหลายแรงในแนวเดียวกนั ท่ีกระทำต่อวัตถุ โหลดได้จาก กรณใี ช้ iPhone หรอื กรณีใช้ android หลังจากติดตั้งเสร็จสมบูรณ์ สามารถสแกนควิ ในกรณที ี่วัตถุอย่นู ่งิ จากหลกั ฐานเชิงประจกั ษ์ อารโ์ ค้ดเพอ่ื อ่านเรอื่ งแรงและพลังงาน ชั้นประถมศกึ ษาปที ี่ 5 ไดท้ ันที ว 2.2 ป.5/2 เขยี นแผนภาพแสดงแรงท่กี ระทำต่อวัตถุท่ีอยูใ่ นแนวเดยี วกันและแรงลพั ธ์ ท่ีกระทำตอ่ วตั ถุ ว 2.2 ป.5/3 ใชเ้ คร่อื งช่ังสปรงิ ในการวัดแรงทก่ี ระทำต่อวตั ถุ ว 2.2 ป.5/4 ระบผุ ลของแรงเสียดทานทม่ี ตี อ่ การเปลี่ยนแปลงการเคล่ือนที่ของวตั ถุ จากหลักฐานเชงิ ประจกั ษ์ ว 2.2 ป.5/5 เขียนแผนภาพแสดงแรงเสียดทานและแรงทีอ่ ยูใ่ นแนวเดยี วกันที่กระทำต่อวัตถุ จดุ ประสงคก์ ารเรียนรู้ 1. ทดลองและอธบิ ายการหาแรงลพั ธข์ องแรงหลายแรงในแนวเดยี วกันทีก่ ระทำต่อวัตถุ ในกรณที ีว่ ตั ถอุ ยนู่ ่งิ 2. อธบิ ายและเขยี นแผนภาพแสดงขนาดและทิศทางของแรงท่กี ระทำตอ่ วตั ถใุ นแนวเดยี วกนั 3. วดั ขนาดของแรงท่ีกระทำตอ่ วัตถโุ ดยใชเ้ ครื่องช่ังสปริง 4. ทดลองและอธิบายแรงเสยี ดทานทมี่ ีผลต่อการเปลี่ยนแปลงการเคล่ือนทขี่ องวตั ถุ

1 2 แรงและพลังงาน แรง (Force) ความหมายของแรง แรงคือ สิ่งที่กระทำต่อ เสาหรือกำแพงย่อมไม่เคลื่อนที่ แรงลพั ธ์ วัตถุในรูปของการพยายามดึง เพราะแรงจากส่วนอื่นกระทำ ประโยชน์ของแรงลพั ธ์ หรือดันที่จะทำให้วัตถุนั้นเคลื่อนท่ี ต่อวัตถุด้วย สำหรับวัตถุที่ไม่ได้ และเมื่อมีแรงมากระทำต่อวัตถุ ยึดไว้หรือมีแรงเสียดทานน้อย แรงเสียดทาน วัตถุจะเคลื่อนที่หรือไมก่ ็ได้ ทั้งนี้ เชน่ รถจักรยาน แรงจะทำใหร้ ถ ปัจจัยทีม่ ผี ลตอ่ แรงเสยี ดทาน อาจเพราะมแี รงอน่ื กระทำต่อวตั ถุด้วย เคลื่อนที่ได้ และเคลื่อนที่ด้วย ประโยชนข์ องแรงเสียดทาน เช่นถ้าวัตถุวางบนพื้น แรงเสียดทาน ความเร็วที่เปลี่ยนไปตามทิศท่ี ระหว่างพื้นกับวัตถุก็จะกระทำ แรงกระทำซึ่งอาจจะสังเกตได้จาก ต่อวัตถุด้วย หากแรงที่กระทำ ประสบการณ์ในชีวิตประจำวัน เช่น ต่อวัตถุไม่มากพอที่จะเอาชนะ การเตะลูกฟุตบอล จะมีแรงกระทำต่อ แรงเสยี ดทาน วัตถกุ จ็ ะไม่เคล่ือนที่ ลูกฟุตบอลและลูกเทนนิส ในช่วง หรือกรณีการออกแรงกระทำ เวลาสั้นๆ ที่ทำให้ลูกฟุตบอล ต่อวัตถุที่ยึดไว้อย่างแข็งแรง เคลื่อนที่หรือเปลี่ยนความเร็วไป เช่น เสา หรอื กำแพง ตามแรงกระทำ ทมี ไหนชนะกนั เอย่ มาหาคำตอบกนั เลยเดก็ ๆ

3 4 แรงลพั ธ์ แรงลัพธ์คอื อะไร เมื่อวตั ถถุ กู แรงกระทำ พรอ้ มๆ กัน มากกวา่ หนึง่ แรงข้ึนไป แรงกระทำตอ่ วตั ถใุ นทศิ ทางเดยี วกนั ผลของแรงกระทำทง้ั หมดจะสง่ ผลเสมอื น เมื่อมีหลายแรงมากระทำต่อวัตถุในทิศทางเดียวกัน เช่น การที่คนหลายๆ คนช่วยกัน เกิดจากแรงแรงเดียว ซึง่ เป็นผลจาก การรวมกนั ของแรงทกุ แรง เราเรียกแรงที่ ออกแรงผลกั รถท่เี สีย จนทำใหร้ ถสามารถเคลือ่ นท่ีไปข้างหน้าได้ ดังรปู ซึ่งแรงท้ังหมดที่กระทำ เกดิ จากการรวมแรงหลายๆ แรงนว้ี า่ ต่อรถจนเกิดการเปลี่ยนแปลงการเคลื่อนที่ได้จาก ผลรวมขนาดของแรงลัพธ์ของทุกคนที่ช่วยกนั แรงลัพธ์ ผลกั รถนัน่ เอง หรอื สามารถสรุปได้ดังน้ี หากมี 2 แรงผลกั วตั ถุไปตามพ้นื ราบในทศิ ทางเดยี วกัน แรงทั้งสองแรงจะ ขนาดแรงลพั ธ์ = ผลรวมขนาดของแรงท้ังหมด รวมเข้าดว้ ยกนั เปน็ แรงลพั ธ์ทท่ี ำให้วัตถุเคลื่อนท่ี (วตั ถเุ คลอื่ นท่ีไปในทศิ ทางเดยี วกบั แรงท่ีมากระทำ)

5 6 แรงกระทำต่อวัตถุในทิศทางตรงกันข้ามกนั สามารถแบ่งไดเ้ ปน็ 2 กรณี คือ หากมแี รง 2 แรงผลักวัตถไุ ปตามพื้นราบในทิศทางตรงกันข้าม และแรงทั้งสองแรง กรณีที่ 1 แรงทีก่ ระทำมีขนาดไมเ่ ทา่ กัน เช่น ในการเลน่ ชักเยอ่ ผูเ้ ล่นแตล่ ะฝั่ง มขี นาดเท่ากนั วัตถจุ ะไมเ่ คลอ่ื นที่ ออกแรงดงึ เชือกไม่เทา่ กัน ฝงั่ ใดออกแรงดงึ เชอื กมากกว่า กจ็ ะถกู ดึงไปทางฝง่ั นัน้ ซ่งึ ขนาด แรงลพั ธจ์ ะหาไดจ้ ากผลการหกั ลา้ งกันของแรงทีม่ ากระทำทงั้ หมด ขนาดแรงลพั ธ์ = ผลหกั ลา้ งของขนาดแรงทัง้ หมด (วตั ถุเคลื่อนที่ไปในทิศทางเดยี วกบั แรงท่ีมีคา่ มากกวา่ ) หากแรง 2 แรง ผลกั วตั ถุไปตามพ้นื ราบในทศิ ทางตรงข้ามกนั หากแรงดา้ นใด มมี ากกว่า วตั ถจุ ะเคลอื่ นทไี่ ปตามทิศทางของแรงนัน้ ขนาดแรงลพั ธ์ = 0 (วัตถไุ ม่เคล่อื นท่ี) ถา้ แรงลพั ธท์ ก่ี ระทำตอ่ วตั ถุ ทำให้วัตถเุ ปลย่ี นแปลงสภาพการเคลื่อนท่ี แรงลพั ธ์ ที่เกดิ ข้นึ นั้นไม่เป็นศนู ย์ แตถ่ า้ แรงทก่ี ระทำต่อวัตถุน้นั ไม่ทำใหว้ ัตถเุ ปลีย่ นแปลงสภาพ การเคลื่อนที่ แรงลพั ธท์ เ่ี กดิ ขึ้นจะมีคา่ เป็นศูนย์

7 8 ประโยชน์ของแรงลพั ธ์ แรงเสียดทาน การใชส้ ุนขั ลากเลอ่ื นหลายๆ ตัว ทำให้เคลอื่ นทไ่ี ด้ แรงเสียดทาน หมายถงึ และรวดเรว็ ข้นึ อีกทงั้ สนุ ขั แตล่ ะตวั ออกแรงนอ้ ยลง แรงทเี่ กดิ ขึน้ ระหวา่ งผิวสัมผสั ของวัตถุ 2 ช้นิ ท่ีสมั ผัสกนั ซึ่งแรงนี้ นักวิทยาศาสตร์ใชห้ ลกั การของแรงลพั ธ์ในการคำนวณ เปน็ แรงที่ผวิ วัตถุผิวหนง่ึ ตา้ นทาน เชื้อเพลงิ ทีต่ ้องใชใ้ นการปลอ่ ยกระสวยอวกาศ การเคล่อื นทข่ี องผิววตั ถุอกี ผิวหนง่ึ ส่งผลทำให้วตั ถเุ คลื่อนที่ชา้ ลงเรือ่ ยๆ ทำใหเ้ กิดความสมดลุ เพ่ือแขวนกระถางตน้ ไมไ้ ด้ จนกระทัง่ หยดุ น่งิ ในทสี่ ดุ โดยไม่เอียงไปด้านใดด้านหน่ึง แรงเสยี ดทานจะกระทำในทิศตรงข้ามกบั \"เด็กๆ ชว่ ยกันประดษิ ฐ์ การเคลือ่ นทีข่ องวตั ถุ ถา้ ไมม่ แี รงเสยี ดทาน วตั ถจุ ะเคลื่อนท่ี กระถางแขวนตน้ ไมส้ วยๆ กันเลยค่ะ\" ด้วยอตั ราคงตัวตลอดการเคลอื่ นที่ แตเ่ มอื่ มแี รงเสยี ดทาน วัตถุจะเคลื่อนที่ช้าลงเร่ือยๆ จนหยดุ นงิ่ ในที่สุด

9 10 กิจกรรมลกู บอลช่องไหนกลง้ิ ไดไ้ กลสุดกันนะ ปัจจัยที่มีผลตอ่ แรงเสียดทาน “เพือ่ นๆ ชว่ ยกนั หาคำตอบเลยคะ่ ” ลักษณะพืน้ ผวิ สมั ผสั ระหว่างวตั ถุ พืน้ ผิวสมั ผัส แรงเสียดทาน การเคลือ่ นท่ี ตวั อย่าง ระหว่างวัตถุ น้อย ของวัตถุ พื้นผิวสมั ผสั เคล่อื นทีเ่ ร็ว เรียบ กระจก แผน่ โลหะเรยี บ ไมเ้ รยี บ เคล่ือนท่ีชา้ ขดั มนั พ้นื หนิ อ่อน ขรขุ ระ มาก ผวิ ยาง หนิ กรวด หญา้ กระดาษ ทราย - ถ้าพ้ืนผิวเรยี บ เช่น กระเบือ้ ง กระจก พลาสติก เปน็ ตน้ จะเกดิ แรง เสียดทานน้อย เนอ่ื งจากพน้ื ผวิ เรยี บ มีการเสียดสรี ะหวา่ งกนั น้อย - ถ้าพนื้ ผิวขรุขระ เชน่ พ้นื ทราย พน้ื หญ้า พ้นื หินกรวด เปน็ ตน้ จะเกิดแรง เสยี ดทานมาก เนอ่ื งจากพ้ืนผิวขรขุ ระ มกี ารเสยี ดสรี ะหวา่ งกันมาก จึงมีแรงเสยี ดทาน ที่ต้านการเคลื่อนท่ขี องวัตถุเกดิ ขน้ึ

11 12 มวลของวัตถุทมี่ ผี ลตอ่ แรงเสียดทาน กิจกรรม มาเขียนแผนภาพแรงเสียดทานกันเถอะ มวลของวัตถุ แรงเสยี ดทาน การเคลื่อนท่ขี องวตั ถุ เพื่อนๆ ชว่ ยกนั เขยี นแผนภาพ เรียบ นอ้ ย เคลอื่ นที่เรว็ การเกดิ แรงเสยี ดทาน กนั เลยคะ่ ขรขุ ระ มาก เคล่ือนท่ชี ้า แรงเสียดทาน สามารถจำแนกตามลกั ษณะการเคล่ือนที่ของวตั ถุไดอ้ กี ดว้ ย โดยแบ่งได้ 2 ประเภท คือ 1. แรงเสียดทานสถิต (Static friction) หมายถงึ แรงเสยี ดทานท่เี กิดขน้ึ ระหวา่ งพื้น ผวิ สัมผัสของวัตถขุ ณะยังไม่เคล่อื นที่ (อยู่นิ่ง) จนกระทั่งวัตถุเร่มิ เคลอ่ื นท่ี เชน่ ออกแรงผลกั รถ แลว้ รถยงั อยนู่ ิง่ เราจงึ ต้องออกแรงเพม่ิ ข้ึน จนกระท่งั เท่ากบั หรอื มากกวา่ แรงเสียดทานสถิต รถจงึ จะเรมิ่ เคลือ่ นทไี่ ด้ 2. แรงเสยี ดทานจลน์ (Kinetic friction) หมายถงึ แรงเสยี ดทานท่ีเกิดขึ้นระหว่าง ผวิ สมั ผัสของวตั ถกุ ำลงั เคลือ่ นที่ เชน่ การกล้ิงของวตั ถุ การลน่ื ไถลของวัตถุ

13 14 ประโยชนข์ องแรงเสยี ดทาน 2. ประโยชน์ของการเพ่มิ แรงเสียดทาน ถึงแม้ว่าแรงเสียดทานจะมีผลทำให้การเคลื่อนที่ช้าลงและเป็นการสิ้นเปลืองพลังงาน 1. ประโยชน์ของการลดแรงเสียดทาน แรงเสียดทานมักจะมีผลทำให้วัตถุเคลื่อนทีไ่ ด้ช้าลง ส่งผลให้สิ้นเปลืองพลังงาน ถ้าเราสามารถ แต่ในบางครั้งเราก็ต้องการแรงเสียดทานเพื่อชะลอการเคลื่อนที่ของวัตถุ เพื่อความปลอดภยั ในชวี ติ ประจำวัน ดังตวั อยา่ งนี้ ลดแรงเสียดทานได้ จะช่วยให้วัตถุเคลื่อนทไ่ี ด้งา่ ยและเร็วขึ้น อีกทั้งยังเปน็ การลดการส้ินเปลือง พลังงานอกี ดว้ ย ตัวอย่างการลดแรงเสยี ดทานสามารถทำไดห้ ลายรูปแบบ ดังตัวอยา่ งน้ี แรงเสียดทานระหวา่ งผวิ วัตถุกบั มอื ของเรา ทำให้เรา สามารถทจ่ี ะหยบิ จบั วตั ถุตา่ งๆ ไดโ้ ดยไมร่ ว่ งหลน่ หรอื รถยนต์ไดร้ บั การออกแบบใหม้ ีลักษณะเพรยี วลม หลดุ จากมือ เพื่อลดแรงเสียดทาน ทำให้สามารถเคลือ่ นท่ไี ดเ้ รว็ ข้นึ และไม่สน้ิ เปลืองพลังงานจนเกินไป รองเทา้ ทุกชนดิ ไดร้ บั การออกแบบใหม้ พี ื้นรองเท้าท่ี สามารถยึดเกาะกับพ้ืน ทำให้เราสามารถเคลือ่ นทไ่ี ด้ การใช้ระบบลกู ปืน เชน่ ตลับลูกปนื ภายในจะมลี ูกเหล็ก โดยไม่ลน่ื หกล้ม ทรงกลมขนาดเล็ก ซ่งึ โลหะเล็กๆ นี้จะลืน่ ทำให้หมนุ ได้ สะดวก ชว่ ยลดการเสยี ดทานของเพลาต่างๆ การออกแบบดอกยางและลวดลายที่ล้อรถยนต์ เพื่อ เพมิ่ ความขรุขระระหวา่ งผวิ สัมผสั หรือล้อรถยนตก์ ับ การใชร้ ถเข็นแทนการลากวตั ถุ ชว่ ยให้สามารถนำวตั ถุ พน้ื ถนน ทำใหเ้ กดิ แรงเสยี ดทานมากขึ้น และไม่เกิด ไปสูจ่ ดุ หมายปลายทางได้อย่างงา่ ยดาย และรวดเร็ว อุบตั เิ หตไุ ด้ง่าย โดยไมท่ ำให้เรารสู้ กึ เหนือ่ ยเกินไป การออกแบบกระเบ้อื งปพู นื้ ห้องนำ้ ให้มพี ้ืนผวิ ขรขุ ระ การใชน้ ้ำมันหลอ่ ลืน่ หรอื สารหลอ่ ล่นื เชน่ นำ้ มันเคร่อื ง เพอื่ เพิ่มแรงเสยี ดทานให้มากข้ึนเพื่อป้องกนั การลื่นล้ม จาระบีช่วยลดการเสยี ดสีของอปุ กรณต์ า่ งๆ ทำให้ ช้นิ สว่ นอปุ กรณส์ ามารถทำงานไดร้ าบรนื่ เป็นปกติ นับเป็นการชะลอการชำรดุ เสยี หายอกี ด้วย

15 16 นกั เรียนทราบหรือไมว่ า่ บรรณานุกรม ทำไมฝนตกจงึ เบรกรถไมค่ อ่ ยอยู่ ? ชนิกานต์ นมุ่ มีชยั และคณะ.(2562). หนังสอื เรยี นรายวิชาพื้นฐาน วิทยาศาสตร์ ป.5. สาเหตุเกิดจากแรงเสยี ดทานระหวา่ งล้อรถกับพืน้ ถนนน้อยกวา่ ตอนถนนแหง้ กรุงเทพฯ : โรงพมิ พว์ ฒั นาพานชิ จำกดั . เพราะมีนำ้ เป็นตัวกลางการสัมผสั ระหวา่ งพ้นื ถนนกบั ล้อรถ ทำใหร้ ะยะหยุดรถมากข้นึ จึงทำใหเ้ บรกไม่อยู่ ณฏฐวีย์ ทววี ิเสสานนท์. (2560). หนังสอื เสริมกล่มุ สาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ ป.5 เลม่ 1. กรุงเทพฯ : บรษิ ทั สำนกั พมิ พ์ดอกหญ้าวิชาการ จำกดั . เพญ็ พกั ตร์ ภศู่ ิลป์และพลอยทราย โอฮาม่า. (2562). สอื่ การเรยี นรรู้ ายวชิ าพน้ื ฐาน ชดุ แม่บทมาตรฐาน วิทยาศาสตร์ ป.5. กรงุ เทพฯ : บริษัท อักษรเจรญิ ทัศน์ อจท. จำกัด. . (2562). หนงั สือเรยี น รายวชิ าพ้ืนฐาน วทิ ยาศาสตร์ ป.5 เลม่ 1 กรงุ เทพฯ : บริษัท อกั ษรเจรญิ ทศั น์ อจท. จำกัด. วจิ ติ รา คำยงั และคณะ´(2562). หนังสอื เรยี นรายวิชาพ้นื ฐาน วทิ ยาศาสตร์ ชัน้ ประถมศกึ ษาปที ่ี 5. กรงุ เทพฯ : บริษทั พฒั นาวชิ าการ (2535) จำกดั . สถาบันสง่ เสริมการสอนวิทยาศาสตรแ์ ละเทคโนโลยี (สสวท). (2562). หนงั สือเรียนรายวชิ าพืน้ ฐาน วิทยาศาสตร์ ชน้ั ประถมศึกษาปที ี่ 5 เล่ม 1. กรุงเทพฯ : สถาบนั ส่งเสรมิ การสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี (สสวท). . (2562). คูม่ ือครู รายวชิ าพ้ืนฐาน วทิ ยาศาสตร์ ชัน้ ประถมศกึ ษาปที ่ี 5 เลม่ 1 กรงุ เทพฯ : สถาบันสง่ เสรมิ การสอนวทิ ยาศาสตร์และเทคโนโลยี (สสวท). เอกรนิ ทร์ สม่ี หาศาล. (2555). หนังสอื เรียนแม่บทมาตรฐาน หลักสตู ร แกนกลางฯ วทิ ยาศาสตร์ ป.5. กรุงเทพฯ : อักษรเจรญิ ทัศน์.

17 18 ประวตั ิผูจ้ ัดทำ ชื่อ-สกลุ นางประภาพร เอยี ดดำ วนั เดือน ปีเกิด 23 มกราคม 2520 สถานทเี่ กิด ตำบลพนมวงั ก์ อำเภอควนขนุน จังหวดั พัทลงุ วฒุ กิ ารศึกษา ศษ.ม. (การบรหิ ารการศกึ ษา) มหาวิทยาลยั รามคำแหง ค.บ. (วิทยาศาสตรท์ วั่ ไป) สถาบนั ราชภัฏสรุ าษฎร์ธานี ตำแหน่ง ครู วทิ ยฐานะครชู ำนาญการพเิ ศษ สถานท่ที ำงาน โรงเรยี นเทศบาลบ้านคหู าสวรรค์ สงั กดั เทศบาลเมอื งพัทลงุ จังหวัดพัทลงุ ผลงานดเี ดน่ ▪ ครทู ่ปี รึกษาโครงงาน รางวัลเหรียญทอง โครงงานวทิ ยาศาสตร์ ระดับประถมศึกษา ประจำปี 2557 งานมหกรรมการจดั การศกึ ษาทอ้ งถน่ิ กรมสง่ เสริมการปกครองทอ้ งถิ่น ▪ รางวัลครูดมี ที กุ วนั ประเภทครูดีที่หนูรัก ระดบั ภาค ของคุรสุ ภา ประจำปี 2558 ▪ ครูทป่ี รึกษาโครงงาน รางวัลเหรียญทอง โครงการประกวดโครงงานวิทยาศาสตร์ และเทคโนโลยี ระดบั ประถมศกึ ษา ระดับชาติ ประจำปี 2558 จากสมาคมวทิ ยาศาสตรแ์ ละเทคโนโลยีศกึ ษาไทย รว่ มกับกลมุ่ บรษิ ทั ทรู ▪ รางวัลครูดีเด่น สงั กดั กรมส่งเสรมิ การปกครองท้องถนิ่ ประจำปี 2558 ▪ รางวัลผู้สนบั สนุนด้านการศกึ ษาดีเดน่ ประเภทบคุ คล จงั หวดั พัทลุง ประจำปี 2559 ▪ ครูผสู้ อนดีเด่นสะเต็มศกึ ษา ระดบั อำเภอ ประจำปี 2559 ▪ ครผู ้สู อนดีเดน่ วชิ าวิทยาศาสตร์ ระดับจงั หวัดพัทลุง ประจำปี 2561 ▪ รางวลั รองชนะเลิศอนั ดบั 1 ระดับภาคใต้ และรางวลั ชมเชย ระดับประเทศ กรมสง่ เสรมิ การปกครองทอ้ งถนิ่ ประจำปี 2561 การประกวดส่ือและนวตั กรรมทางการศึกษา กลุ่มสาระการเรียนรูว้ ทิ ยาศาสตร์ ▪ รางวลั ชนะเลศิ ระดับภาคใต้ และรางวัลเหรยี ญทองอันดับ 10 ระดับประเทศ การประกวดสอื่ และนวตั กรรมทางการศกึ ษา กลุ่มสาระการเรียนร้วู ทิ ยาศาสตร์ ของกรมสง่ เสรมิ การปกครอง ท้องถนิ่ ประจำปี 2562 ▪ รางวลั ครุ สุ ภา ระดับจงั หวัดพทั ลุง ประจำปี 2563


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook