Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore คู่มือการจัดการความเสี่ยงโรงพยาบาลกงหราฉบับกระเป๋า

คู่มือการจัดการความเสี่ยงโรงพยาบาลกงหราฉบับกระเป๋า

Published by Radsakda Nuanjan, 2021-03-16 05:42:55

Description: คู่มือการจัดการความเสี่ยงโรงพยาบาลกงหราฉบับกระเป๋า

Search

Read the Text Version

คูม่ อื การจัดการความเสย่ี งโรงพยาบาลกงหราฉบบั กระเป๋า Risk Management For Kongrha Hospital Personal

1 ความหมายและคาสาคัญในระบบบรหิ ารความเสี่ยง 1.ความเสี่ยง( Risk ) หมายถึงโอกาสท่ีจะเกิดความผิดพลาดหรือเหตุการณ์ที่ไม่พึงประสงค์ที่เกิดขึ้น นอกเหนือจากความคาดหมายจากการทางานปกตเิ ช่นความเสยี หายท่ีเกดิ ขน้ึ กบั ผู้ป่วยและผู้ใช้บริการการเส่ือมเสีย ชอื่ เสียงการสญู เสยี รายไดก้ ารสญู เสียทรัพยส์ นิ การบาดเจ็บหรืออันตรายต่อเจ้าหนา้ ท่ีโรงพยาบาลเปน็ ต้น 2.ทะเบียนความเส่ียง(Risk register)คือเอกสารท่ีช่วยในการบริหารจัดการความเส่ียงได้ครอบคลุมทุก ข้นั ตอนพร้อมท้ังมีการวางแผนในการป้องกัน การจัดการและการประเมินผลเพื่อให้การจัดการความเสี่ยงมีชีวิตมี พลวัตร เห็นการปรับปรงุ เปล่ียนแปลงท่เี ปน็ ระบบ 3.บัญชีรายการความเสี่ยง( Risk Profile ) หมายถึงรายการความเสี่ยงของหน่วยงานที่อาจเกิดขึ้นหรือ เคยเกิดข้ึนซึ่งหน่วยงานรับผิดชอบรวบรวมจัดทาข้ึนโดยอาศัยการเรียนรู้จากประสบการณ์, ข้อมูลในอดีต, การ ทบทวนกระบวนการทางานของหนว่ ยงาน, จากหน่วยงานอน่ื ๆและทบทวนเหตุการณ์ต่างๆเพ่ือเป็นแนวทางปฏิบัติ พร้อมวางมาตรการในการปอ้ งกันความเสยี่ งโดยมีทัง้ ระดับโรงพยาบาลหน่วยงาน 4.อุบัติการณ์ไม่พึงประสงค์ (Adverse Event) หมายถึงการบาดเจ็บอันตรายหรือภาวะแทรกซ้อนที่ เปน็ ผลจากการดูแลรักษามิใช่กระบวนการตามธรรมชาติของโรคส่งผลให้ผู้ป่วยเสียชีวิต/นอนโรงพยาบาลนานข้ึน หรอื อวยั วะสูญเสยี การทาหนา้ ท่ี / เป็นเหตุการณ์/อุบัติการณ์ซึ่งนาไปสู่อันตราย 5.เหตุการณ์เกือบพลาด(Near Miss )หมายถึงเหตุการณ์หรือสถานการณ์ท่ีเกือบเกิดเหตุการณ์ไม่พึง ประสงคห์ รือไม่เกิดขึน้ เพราะแก้ไขสถานการณไ์ ดท้ นั หรือดว้ ยความบงั เอิญป้องกันได้ทันก่อนเกิดเหตุการณ์ (ยังไม่ ถงึ ผรู้ บั บรกิ ารหรอื เจ้าหนา้ ที่) 6.เหตพุ ลาด(Miss) เกดิ ความคลาดเคลอื่ นและผลส่งถึงผู้รบั บรกิ ารหรอื เจา้ หน้าท่ี 7.เหตุการณ์ที่ต้องเฝ้ามอง/พึงสังวรณ์( Sentinel Event ) หมายถึงเหตุการณ์ท่ีเกิดขึ้นโดยไม่ คาดการณ์มาก่อนและอาจจะมีผลทาให้เกิดความเสียหายจนถึงแก่ชีวิตหรือส่งผลร้ายแรงทางด้านจิตใจโดยไม่มี ความสมั พนั ธ์กบั พยาธิสภาพของโรคที่ผู้ป่วยเป็นหรือเหตุการณ์ที่เกิดขึ้นแล้วไม่สามารถระงับได้ในรพ. และอาจทา ใหเ้ ส่อื มเสยี ชอ่ื เสยี งของรพ. ต้องรายงานทันทแี ละบันทกึ รายงานอบุ ัตกิ ารณ์ภายใน 24 ชม.ได้แก่ -บคุ ลากร/ผรู้ ับบรกิ ารเสยี ชีวิตโดยไมค่ าดคดิ (unexpected death) ขณะรบั การรักษาใน โรงพยาบาล -อัคคภี ัย -อุบตั เิ หตหุ มู่ -ขอ้ ร้องเรียนท่ีสง่ ผลกระทบต่อชอ่ื เสยี งโรงพยาบาล(ระดบั 4 ) -ความคลาดเคลื่อนทางยา / สารนา้ / เลือด(ระดบั G – I ) -ผ้ปู ่วย/เจา้ หน้าท่ีพยายามฆ่าตัวตายหรอื ทาร้ายตนเองหรือผอู้ ื่น -การระบาดของโรค -การโจรกรรมทรัพย์สนิ ของทางราชการ/เจา้ หน้าที่/ผู้รับบริการ -เกิดความเสียหายต่อทรัพย์สนิ ทางราชการ/เจ้าหน้าที่/ผู้รับบรกิ าร -อุบตั กิ ารณ์ท่ีคาดวา่ อาจมผี ลกระทบร้ายแรงกับโรงพยาบาลหรอื ผปู้ ่วยเชน่ ไฟไหม้, ไฟฟ้าช็อต ,ก่อเหตุการณ์ความไมส่ งบภายในบรเิ วณโรงพยาบาล

2 8. ความผดิ พลาดในการดแู ลรกั ษา(Medical Error) หมายถึงการปฏิบตั งิ านท่ไี มร่ ักษามาตรฐานหรอื ตัดสนิ ใจใชก้ ารรักษาท่ไี ม่ถกู ต้องอนั อาจเป็นเหตุให้เกิดผลลพั ธท์ เี่ ปน็ อันตรายความเสยี หายตอ่ ผูป้ ่วย (หรอื อาจไม่ เกดิ อันตรายกไ็ ด้) 9.อบุ ัตกิ ารณ์(incident) คือ เหตุการณ์หรอื สถานการณ์ที่อาจก่อให้เกิดหรือกอ่ ใหเ้ กิด อนั ตรายตอ่ บคุ คล และ/หรือ คาร้องเรยี น การสญู เสีย ความเสียหาย กระบวนการบรหิ ารความเสย่ี ง 2.การประเมนิ และวิเคราะห์ ความเสี่ยง 1. การคน้ หาความเสี่ยง 3.การจดั การความเส่ียง 4. การประเมินผล ขน้ั ท่ี 1 การค้นหาความเสย่ี ง 1.1 การค้นหาจากอดีตเชน่ ความสญู เสยี ของหน่วยงานที่ผา่ นมา,ระบบบนั ทึกขอ้ มูลท่มี ีอยู่แล้ว,การทบทวน เวชระเบียน (การใช้ตัวส่งสัญญาณ Trigger Tool ), ข้อร้องเรียน, ปรับปรุง Risk Profile,ประสบการณ์ของ เจ้าหนา้ ทใ่ี นหนว่ ยงาน, ทบทวน 12 กิจกรรมเป็นต้น 1.2 การสารวจสภาพปัญหาในปัจจุบันเช่นจากกระบวนการทางาน, C3-THER , PRE–POST Conference, สัมภาษณ์ผู้ป่วย,ญาติ, สังเกตขณะปฏิบัติงาน,ตรวจเย่ียมผู้ป่วย,เยี่ยมสิ่งแวดล้อม, รับส่งเวร, ตรวจ เย่ยี ม Chart เปน็ ตน้ ขั้นท่ี 2 การประเมินและวิเคราะห์ความเสี่ยง การประเมินและวิเคราะห์ความเสี่ยงจะครอบคลุมถึงการจาแนกประเภทความเสี่ยง, การประเมินระดับ ความรุนแรง, การประมวลผลข้อมลู ความเส่ียง 2.1 การจาแนกประเภทความเสีย่ งแบ่งเป็น 2 ประเภทดงั น้ี 2.1.1 ความเส่ยี งทางคลนิ ิก( Clinical Risk )หมายถึงความเส่ยี งที่เก่ียวกบั การดูแลรกั ษาซง่ึ

3 ส่งผลตอ่ สภาพรา่ งกายของผูป้ ่วยแบ่งเป็น 2.1.1.1 ความเสยี่ งทางคลินิกทวั่ ไป( common clinical risk ) : เหตกุ ารณไ์ ม่พงึ ประสงค์อันเนอ่ื งจากการรกั ษาพยาบาลผูป้ ่วยไม่ถกู ตอ้ งหรือไมม่ ปี ระสิทธภิ าพสามารถเกดิ ไดใ้ นผู้ป่วยไม่จาเพาะโรค ใดโรคหนึ่งเป็นเหตุให้เกิดอันตรายต่อผู้รับบริการผู้ให้บริการได้แก่ความปลอดภัยจากการใช้ยา /สารน้าและเลือด, การป้องกันและควบคมุ การตดิ เชื้อ 2.1.1.2 ความเสยี่ งทางคลินกิ เฉพาะโรค( specific clinical risk ) : เหตุการณไ์ มพ่ งึ ประสงค์อันเนอ่ื งจากการรักษาผปู้ ่วยไม่ถูกต้องหรอื ไม่มปี ระสิทธิภาพสามารถเกิดได้ในผู้ป่วยโรคใดโรคหนึ่งเป็นเหตุ ให้เกดิ อันตรายตอ่ ผรู้ บั บริการผู้ใหบ้ ริการเช่นตกเลือดหลังคลอดในกลุ่มหลังคลอด, ไส้ติ่งแตกในผู้ป่วยไส้ติ่งอักเสบ, Hypoglycemia ในผูป้ ่วยเบาหวานเป็นต้น 2.1.2 ความเสีย่ งทว่ั ไป (Common risk) หมายถึงความเส่ยี งทีไ่ ม่ไดม้ สี าเหตจุ ากการ รกั ษาพยาบาลแตเ่ กิดจากปัจจัยอน่ื ๆทมี่ ผี ลต่อความเสยี หายได้แก่ - ดา้ นสิง่ แวดลอ้ ม, อาชีวอนามยั และความปลอดภยั หมายถึงอุบัติการณท์ เ่ี กย่ี วกับ อาคารสถานทสี่ ่ิงอานวยความสะดวก, อบุ ตั กิ ารณ์เก่ยี วกบั การปฏบิ ัตงิ านที่มีผลต่อสุขภาพบุคลากร, ความปลอดภยั ด้านทรัพย์สิน - ดา้ นเคร่อื งมือและอปุ กรณ์หมายถึงอบุ ัตกิ ารณท์ เี่ กดิ ข้ึนเกย่ี วกับเคร่ืองมือทาง การแพทย์, เคร่ืองมืออปุ กรณ์ทว่ั ไปรวมทงั้ รถยนตร์ าชการ : ไมม่ ี, ไมเ่ พียงพอ. ไม่พร้อมใช้งาน , ระบบขดั ข้อง -ดา้ นขอ้ รอ้ งเรียน,สิทธิผู้ปว่ ยหมายถึงอบุ ตั ิการณ์เกีย่ วกับการพิทักษส์ ทิ ธผิ์ ้ปู ่วย เชน่ การใหข้ ้อมลู ก่อนการลงนามยินยอมรับการรักษา, การเปดิ เผยข้อมูลผู้ป่วย, การตัดสินใจรับหรอื ไม่รบั การ รักษา -ดา้ นสารสนเทศและเทคโนโลยีหมายถึงอุบตั ิการณ์เกย่ี วกับคอมพิวเตอร์, ความ ไมพ่ ร้อมใช้,โปรแกรมการสอื่ สารบนั ทึก, การจดั เก็บข้อมูล ,ระบบอินเตอร์เน็ต -ด้านการเงนิ หมายถงึ อบุ ัติการณเ์ ก่ียวกับค่ารักษาการสูญเสียรายไดอ้ นั เปน็ ทรพั ยส์ ินทางราชการ -ดา้ นระบบบรกิ าร,ขน้ั ตอนบรกิ ารหมายถึงอุบตั ิการณ์การดแู ลช่วยเหลอื การให้ ข้อมลู การชว่ ยเหลืออานวยความสะดวกพฤติกรรมบรกิ ารข้ันตอนบริการ -ด้านเวชระเบยี นหมายถึงอบุ ัตกิ ารณ์เก่ียวกับเอกสารประวัตผิ ู้ปว่ ยเชน่ การบนั ทกึ การคน้ หาการระบุตัวผ้ปู ว่ ยการบนั ทึกสิทธิ์การรักษาการบันทกึ ค่ารักษาพยาบาลการบันทึกท่ีแสดงถงึ คุณภาพการ รักษาพยาบาลการป้องกันโรคการฟนื้ ฟูสภาพการสอื่ สารของ ทีมสหสาขาวชิ าชพี -ด้านกลยุทธ์ (Strategic Risk) เป็นความเสย่ี งท่เี ก่ียวข้องกบั การกาหนดแผนกลยทุ ธ์ ทงั้ ความเปน็ ไป ไมไ่ ด้ของแผนกลยทุ ธ์หรอื การไม่สามารถบรรลตุ ามแผนกลยทุ ธ์ที่กาหนดไดซ้ ่งึ ลว้ นเป็นทมี่ าของ ความเสย่ี งดา้ นกลยุทธ์

4 ข้ันตอนที่ 3 การจดั การความเสี่ยง การจดั การกอ่ นเกิดอบุ ตั ิการณ์ : แนวทางการปอ้ งกันหรือลดความเส่ียง 1. การหลีกเลี่ยงความเส่ยี ง ใช้ในกรณี ไมม่ คี วามเช่ียวชาญในงานท่ีจาเป็นต้องอาศัยความชานาญเฉพาะด้าน ไม่ ควรลงมอื ปฏบิ ัติเอง เชน่ การสง่ ตอ่ ผูป้ ่วยกรณีท่ีมีความซบั ซอ้ น หัตถการความเส่ยี งสูงเปน็ ต้น 2. การผ่องถ่ายความเส่ียง คือ การให้ผู้มีความชานาญกว่ามากากับดูแลหรือลงมือปฏิบัติแทน เช่น การจ้าง บริษทั ซ่อมบารงุ มาให้บริการกรณีเคร่ืองมือขัดข้องเปน็ ต้น 3. การป้องกันความเส่ียง คือ การออกแบบระบบหรือวิธีการปฏบิ ตั งิ านเพ่ือลดโอกาสเกิดความคลาดเคลื่อน เช่น การใส่อุปกรณ์ป้องกันขณะปฏิบัติงาน การวางแผนซ่อมบารุงตรวจสภาพอุปกรณ์ตามระยะเวลาที่กาหนด การซอ้ มแผนอัคคีภัยเป็นต้น 4. การแบ่งแยกความเส่ียง คือ การกระจายความเส่ียงเพื่อรองรับเสียหายที่อาจเกิดข้ึน เช่น การแบ่งแยกหรือ จดั ให้มรี ะบบสารองไฟฟ้า ข้อมูลประวัตกิ ารรกั ษาผปู้ ่วยในระบบคอมพวิ เตอร์เป็นตน้ การจัดการหลังเกดิ อุบัติการณ์ ผู้พบอุบัติการณ์และผู้ร่วมพบเห็นเหตุการณ์ การแก้ไขปัญหาเบ้ืองต้นหรือในกรณีท่ีเกิดความสามารถให้ แจ้ง ตอ่ หวั หน้าหนว่ ยหรือผ้รู ับผิดชอบระดบั เหนอื กว่าเพอื่ ทาการแก้ไขปัญหาตามข้นั ตอน หลังจากแก้ไขเบื้องต้นจนเสร็จส้ินแล้ว ให้ลงบันทึกรายงานอุบัติการณ์ความเสี่ยงและหากเป็นความเส่ียง ระดับสูง(ตามเกณฑ์กาหนดการรายงาน) ให้บันทึกลงเอกสารเพื่อหัวหน้าหน่วยงานเซ็นรับทราบ(กรณีนอกเวลา ราชการให้รายงานต่อหัวหน้าเวรและให้หัวหน้าหน่วยเซ็นรับทราบ ตามวันเวลาที่กาหนด)พร้อมส่งให้ทีมบริหาร ความเสี่ยงผา่ นเลขานกุ ารและผู้ปว่ ยเลขานกุ าร เพื่อเป็นการเกบ็ ขอ้ มลู และนาไปแก้ไขปัญหาในเชิงระบบต่อไป หน่วยงานหรือทีมที่เกี่ยวข้องร่วมทาการทบทวนอุบัติการณ์ที่เกิดขึ้น ตามระยะเวลาที่กาหนดตามระดับ ความ รุนแรงของอุบัติการณ์นั้นๆ และส่งผลการทบทวนให้ทีมบริหารความเสี่ยง 1ชุด เพ่ือติดตามประเมินผลการ แก้ไข และเพ่อื ลงทะเบียน Risk register ป้องกันความเสีย่ งไม่ให้เกดิ ซ้า ขัน้ ตอนท่ี 4 การประเมนิ ผล หมายถึงการนาเหตุการณ์และความสญู เสยี ที่เกิดข้ึนตรวจสอบความเพียงพอกบั วิธกี ารหรือมาตรการท่ีใช้ ปอ้ งกนั ความเส่ยี งซง่ึ ต้องประเมนิ และตดิ ตามดงั น้ี 4.1 การตดิ ตามประเมินผลตามตัวชว้ี ัดทกุ เดือน 4.2 ประเมิน ทะเบียนความเสย่ี ง(Risk register) 4.3 ประเมนิ ผลระบบบริหารความเสยี่ งทง้ั ระบบ 4.4 การเกิดอบุ ตั ิการณ์ซา้ :ทง้ั ๆที่มมี าตรการป้องกนั แล้ว. อบุ ัติการณ์ท่ีเกดิ ข้ึนเป็นเหตุการณ์เดี่ยวหรือ เกยี่ วขอ้ งกับระบบอื่นๆ , มโี อกาสที่จะเกิดขึ้นได้อกี หรือไม่ ,ตรวจสอบเหตุการณ์ทเี่ กิดข้นึ ซา้ เพื่อวางมาตรการ เพม่ิ เติมหรือคน้ หากลยุทธใ์ หมเ่ พิม่ ข้ึน 4.5 ทบทวนความถ่ีและความรนุ แรงของความเส่ยี งท่ีเกดิ ข้ึน 4.6 มีการสื่อสารการตอบสนองของคณะกรรมการบรหิ ารความเส่ยี งโรงพยาบาลใหผ้ เู้ ก่ียวขอ้ งทราบและ ใหค้ วามสาคญั ต่อความปลอดภยั ของผู้ป่วยญาติเจ้าหนา้ ที่และทรพั ยส์ นิ ของโรงพยาบาล

5 49 รายละเอยี ดรายโปรแกรม โปรแกรมท่ี 1ความเส่ียงทว่ั ไป / ระบบบรกิ าร โปรแกรมท่ี 2ความเสีย่ งทางคลินกิ และความเสีย่ งเฉพาะโรค ข้อมูลในเวชระเบียนไมค่ รบถ้วน บตั รนดั ไมค่ รบถ้วน อาการทรุดลง/เปลี่ยนแปลงขณะรอตรวจ ไม่สามารถตรวจLab ได้ รายงานผล Lab: ผิดคน/ ช้า/ ไม่ตรงกับใบ Lab / ไมร่ ายงาน / ลงขอ้ มูลไม่สมบรู ณ์ ส่งชื่อผู้ป่วยผิด ผลLab Error ฟลิ ์มเอกซเรยซ์ า้ : ไมช่ ัด, ผิดท่า ไมร่ ะบสุ ทิ ธิ์ / ลงสทิ ธิ์ไม่ถูกตอ้ ง หา OPD Card ไม่เจอ/ สูญหาย การงดและเลอ่ื นผา่ ตดั การเตรยี มผูป้ ว่ ยผา่ ตัดไม่ถกู ตอ้ ง หาเวชระเบียนไม่เจอ/สูญหาย ปฏิบตั ไิ ม่ถกู ตอ้ งตาม Order ท้าหตั ถการโดยไม่มใี บยนิ ยอม ตดิ ต่อสอ่ื สารไม่ได้ / ไม่ตดิ ต่อสือ่ สาร ส่ือสารขอ้ มลู ผิดพลาด การ admit ซ้าโดยโรคเดมิ ภายใน 28 วนั มาตรวจซา้ ภายใน 48 ชม. ความลา่ ช้าในการวนิ ิจฉัย ซ้า / ช่ือ – สกุล/อาย/ุ เพศผดิ / บัตรไม่ การวินจิ ฉยั โรคไม่ถกู ตอ้ ง . 14)ระบุตวั ผูป้ ว่ ย (Identify) ผดิ พลาด ตรงกนั ) ภาวะ stoke ) Head injury ไมร่ ะบสุ งิ่ สง่ ตรวจ / ระบผุ ิดคน 7) มภี าวะแทรกซ้อนจากการทา้ หัตถการ/การดูแลรกั ษา 8) มารดาตกเลือดหลงั คลอด 9) มารดาคลอดบนเตียงรอคลอด อา่ นลายมอื ไมอ่ อก/ไม่ชัดเจน เตรียมเอกสารไม่ถกู ตอ้ นๆ ) ภาวะ 21) ภาวะ 22) ภาวะ BA .โ.ป...ร..แ..ก...ร..ม..ท...่ี..3..ค..ว...า..ม..ป...ล...อ..ด...ภ..ัย...ด..้า..น...ย..า../..ส..า...ร..น..า้../ ) ภาวะ PIH ) ภาวะ PPH )คัดกรองไม่เหมาะสม เลอื ด ) ภาวะอณุ หภูมิกายต้่าในทารก 5) ภาวะหัวใจขาดเลอื ด การสั่งยาผดิ พลาด (prescribing error) การคัดลอกค้าส่งั ใชย้ าผิดพลาด ) ผู้ป่วยเสยี ชวี ติ ในรพ. ) ผปู้ ่วยเสยี ชีวติ หลงั refer 24-48 ชม. (transcribling error) 8) เปน็ ลม / ชัก / ชอ๊ ค 9) ภาวะ hypoglycemia 30) ภาวะ hyperglycemia การจา่ ยยาผิดพลาด( dispensing error ) การให้ยาผดิ พลาด (Administration error ) อืน่ ๆ....................................................................... เกดิ อาการข้างเคียงหรือปฏิกริ ิยาจากยา / สารนา้ / เลอื ดและสว่ นประกอบของเลือด โปรแกรมท่ี 5ความเส่ยี งด้านส่งิ แวดลอ้ ม โปรแกรมที่ 6อาชีวอนามยั และความ แพ้ยา แพย้ าซ้า ปลอดภัยของเจา้ หน้าท่ี อบุ ตั ิการณท์ ่เี กิดจากการใช้ยาท่มี ีความเสยี่ ง และความปลอดภยั สูง( High Alert Drug ) ไฟไหม้ ไฟฟา้ ตก / ดับ บาดเจบ็ จากการทา้ งาน: ไฟดูด, มดี อน่ื ๆ........................................ บาดมือ, ตกจากที่สูง 2) ถูกโจรกรรม ระบบประปารวั่ / แตก/ ไมไ่ หล โปรแกรมท่ี 4การปอ้ งกันและควบคุมการตดิ เชอื ลื่น, หกลม้ 3) ถูกข่มขู่ ,คุกคาม,ท้ารา้ ยรา่ งกาย 2) ติดเชือสะดือเด็ก ตกเกา้ อ/ี เตยี ง /ตกเปลนอน / น่ัง ไม่ลา้ งมอื ก่อนและหลงั ปฏบิ ตั งิ าน/ 3) ติดเชือตาเดก็ ตดิ เชือแผลฝเี ย็บ ระบบโครงสรา้ งอาคาร: ร่วั , พงั , หกั , ผุ ลา้ งมือไม่ถกู ต้อง ตดิ เชอื เยื่อบโุ พรงมดลูกอักเสบ ความสะอาดของพืนผนังเพดาน ไมใ่ ช้อุปกรณ์ปอ้ งกนั ขณะปฏบิ ัตงิ าน ตดิ เชอื จากการคาสายสวนปัสสาวะ ป้ายอา้ นวยความสะดวก: ช้ารุด, ไม่ ตดิ เชอื ในกระแสโลหิต ชดั เจน, ไฟดบั ถกู เขม็ / ของมคี มท่มิ ต้า ผิวหนงั อักเสบบวมแดงจากการฉดี ยา / วัคซีน สมั ผัสสารคดั หลั่งจากผู้ป่วย ตดิ เชอื จากการถอนฟนั ห้องสว้ ม/ ห้องนา้ : ทอ่ ตนั , เต็ม, พงั ไม่สวมหมวกกนั น็อค/ ไม่คาดเขม็ ขดั เหตุรา้ คาญจากกลนิ่ แสงเสียงควนั นริ ภัย 10) อ่ืนๆ.............................................. การควบคุมสตั วแ์ ละพาหะน้าโรค โปรแกอร่นืมๆท.ี่..8..ด...า้ ..น..เ..ค..ร..ือ่...ง.ม...อื...อ..ุป...ก..ร..ณ....์ .......... การจัดการขยะ: คัดแยกไมถ่ กู ตอ้ ง, ลน้ เคร่อื งมือไม่เพยี งพอ / ไมม่ ใี ช้ โปรแกรมที่ 7สิทธิผปู้ ว่ ยและขอ้ ร้องเรยี น เครื่องมอื ไมพ่ รอ้ มใชง้ าน เปดิ เผยรา่ งกายผปู้ ่วย ถัง, ไมเ่ ก็บขยะ, ถงั ขยะช้ารดุ ไม่รักษาความลบั ของผูป้ ่วย ระบบการจดั การน้าเสยี เครอื่ งมอื ท้างานผิดปกติ การบริการลา่ ช้ารอนาน การจดั การน้าอุปโภค / บรโิ ภค เคร่อื งมอื ช้ารดุ เครื่องมอื สญู หาย ไมส่ มคั รใจอยู่ / หนีกลับ / ขอไปรักษาทอี่ นื่ / ไม่ระบุวนั เปดิ / วันหมดอายุอปุ กรณ์ ระบบออกซิเจน / แกส๊ ขอบัตรคืน ระบบ HI / INTERNET / ระบบโทรศัพท์ เครอื่ งมอื ไมผ่ ่าน พฤติกรรมบรกิ ารไมส่ ภุ าพ / ไมเ่ หมาะสม ระบบจราจรในโรงพยาบาล ไม่คดั แยกอปุ กรณ์หลงั ใชง้ าน:ผา้ เป้ือน ข้อรอ้ งเรยี น :โดนฟอ้ งร้อง, เรียกค่าเสียหาย ไมย่ กไมก้ ันเตียง ไม่แยก เครือ่ งมอื หมดอายุ ทรัพยส์ ินสูญหาย :ส่งิ ของ เครื่องมอื อุปกรณต์ ิดไปกับผ้า สงิ่ แวดลอ้ มรอบอาคาร/ รอบรพ. เครื่องมืออุปกรณ์ใน Set ไมค่ รบ สกปรก,หญา้ รก,ต้นไม้หัก ,ขยะ อุบตั กิ ารณร์ ถยนต์ราชการ :ดบั , ยาง ผปู้ ่วยถกู ขม่ ข,ู่ คุกคาม, ท้าร้าย แตก, สตารท์ ไมต่ ดิ มสี ัตว์เลียงใน รพ. อนื่ ๆ............................................... เครอ่ื งใช้ไฟฟา้ ชา้ รดุ เช่น แอร,์ พดั ลม, กระตกิ นา้ รอ้ น

6 50 ระยะเวลาการรายงานและการทบทวนตามระดบั ความรุนแรงและผลกระทบ ความเสย่ี งทางคลนิ กิ และคลนิ ิกเฉพาะโรค ระดับ ผลกระทบ ระยะเวลา ระยะเวลา การรายงาน การทบทวน A ไม่มีอุบตั ิการณเ์ กิดขนึ้ แต่มีโอกาสทาใหเ้ กิดอบุ ัตกิ ารณ์ข้นึ ได้ B เกดิ ความคลาดเคลอ่ื นขนึ้ แตย่ ังไมถ่ งึ ผปู้ ว่ ย 1 เดือน 1 เดือน C เกดิ ความคลาดเคลื่อนกับผ้ปู ่วยแต่ไม่ทาใหผ้ ู้ปว่ ยเกดิ อนั ตราย 1 เดอื น 1 เดอื น D เกิดความคลาดเคลื่อนกับผูป้ ่วยสง่ ผลให้มีการเฝา้ ระวังเพ่ือให้ 3วัน 1 สปั ดาห์ มน่ั ใจว่าไม่เกดิ อันตรายกบั ผปู้ ่วย E เกิดความคลาดเคลอ่ื นกบั ผปู้ ่วยมีผลทาให้ต้องรับการรกั ษาเพิม่ ขึน้ 24ชม. 3วัน F เกิดความคลาดเคลื่อนกบั ผู้ป่วยมผี ลทาให้ต้องนอนรกั ษาตวั ใน 24ชม. 3วัน 24ชม. 24ชม. โรงพยาบาลหรอื นอนโรงพยาบาลนานขนึ้ หรอื สง่ ต่อโรงพยาบาล ทุติยภูมแิ ละตติยภมู ิ G เกดิ ความคลาดเคลอ่ื นกบั ผู้ป่วยมผี ลทาใหเ้ กดิ ความพกิ ารอย่าง ถาวร H เกิดความคลาดเคลื่อนกบั ผู้ป่วยมีผลทาใหต้ ้องปฏิบัตกิ ารชว่ ยฟืน้ คืนชพี I เกดิ ความคลาดเคล่ือนกบั ผู้ป่วยมผี ลทาให้เสยี ชวี ติ

7 51 ความเสี่ยงท่ัวไป ระดบั ผลกระทบ ระยะเวลา ระยะเวลา การรายงาน การทบทวน 0 -มกี ารสูญเสียทรัพยส์ นิ เลก็ นอ้ ย ไม่มกี ารบาดเจ็บรนุ แรง -แทบไม่มีผลกระทบต่อเป้าหมายและชื่อเสียงขององคก์ รเลย 1 เดือน 1 เดอื น -เกดิ เหตทุ ี่ไมม่ คี วามสาคญั -สร้างความไมส่ ะดวกต่อการปฏบิ ัตงิ านนานๆคร้งั 1 เดือน 1 เดือน -ไมม่ กี ารชะงกั งนั ของกระบวนการและการดาเนนิ งาน หรือคิดเปน็ มลู ค่าไมเ่ กนิ 5,000 บาท 3วนั 1 สปั ดาห์ 1 -มีการสญู เสียทรัพย์สินพอสมควร มีการบาดเจบ็ รุนแรง 24ชม. 3วัน -มีผลกระทบตอ่ ช่อื เสยี งขององค์กรนอ้ ย -เกดิ เหตทุ ่ีแกไ้ ขได้ 24ชม. 24ชม. -สร้างความไม่สะดวกตอ่ การปฏบิ ัติงานบอ่ ยครง้ั -มผี ลกระทบเลก็ นอ้ ยตอ่ กระบวนการและการดาเนินงาน หรือคดิ เป็นมูลค่ามากวา่ 5,000 – 50,000 บาท 2 -มีการสูญเสียทรพั ยส์ นิ มาก มกี ารบาดเจบ็ สาหสั ถึงข้ันหยุดงาน -มีผลกระทบตอ่ เปา้ หมายบางอย่างและชอ่ื เสยี งขององคก์ รบ้าง -ระบบมีปัญหาและมคี วามสูญเสียไม่มาก -ถูกทาทัณฑบ์ น ความรนุ แรงส่งผลตอ่ คณุ ภาพชีวิตของผอู้ น่ื และสรา้ งบรรยากาศการปฏิบัติงานท่ไี มเ่ หมาะสม -มกี ารชะงักงนั อย่างนัยสาคัญของกระบานการและการดาเนนิ งาน หรอื คดิ เป็นมลู คา่ มากกว่า 50,000 – 200,000 บาท 3 -มกี ารสญู เสยี ทรัพย์สินมาก มกี ารบาดเจ็บสาหัสถึงขั้นพกั งาน -มีผลกระทบต่อเปา้ หมายและชอ่ื เสยี งในระดบั สูง -เกิดปัญหากับระบบ IT ทีส่ าคัญ และระบบความปลอดภัยซ่ึงสง่ ผลตอ่ ความ ถูกตอ้ งของขอ้ มูลบางส่วน -ถูกลงโทษทางวนิ ัย ตดั เงนิ เดอื น ไม่ได้ข้ึนเงนิ เดือน -มีผลกระทบตอ่ กระบวนการและการดาเนนิ งานรนุ แรง เชน่ หยดุ ดาเนินงาน 1 เดือน หรอื คิดเป็นมลู คา่ มากกว่า 200,000 บาท – 1 ล้านบาท 4 -มกี ารสูญเสียอย่างมหันต์ มีการบาดเจบ็ ถงึ ชีวิต -มผี ลกระทบตอ่ เป้าหมายและชอ่ื เสยี งขององคก์ รในระดับสงู มาก -เกดิ ความสูญเสียตอ่ ระบบ IT ทีส่ าคญั ท้งั หมด และเกิดความเสียหายอย่างมากตอ่ ความปลอดภัยของข้อมูลต่างๆ -ถูกเลกิ จ้างหรือออกจากงานเนือ่ งจากเปน็ อนั ตรายตอ่ ร่างกายและชวี ติ ผอู้ นื่ โดยตรง -มีผลกระทบต่อกระบวนการและการดาเนนิ งานรนุ แรงมาก เชน่ หยุดดาเนินงานมากกวา่ 1 เดอื น หรือคดิ เป็นมลู คา่ มากกว่า 1 ล้านบาท

8

9

10 48 Flow Chart : Set ระบบ RRT แกไ้ ขปญั หาเร่ืองร้องเรียนโรงพยาบาลกงหรา รบั ปญั หา...ฟอรม์ ขอ้ รอ้ งเรียน /วาจา / ตู้รับฟังความคดิ เหน็ /โทรศพั ท์ /Website รพ. สสจ. เรอ่ื งสอบถาม เรอ่ื งรอ้ งเรยี น/ร้องทกุ ข/์ บริการ มาตรา 41 ให้ขอ้ มลู ตอบขอ้ ซักถาม/ใหค้ าปรกึ ษา ตรวจสอบขอ้ เทจ็ จริง หาขอ้ มูลเพม่ิ เตมิ จาก สง่ คณะกรรมการมาตรา 41 ผู้ทเี่ กีย่ วข้อง หรอื จากหนว่ ยงานอืน่ ระดับ จงั หวัดพิจารณา บันทึกขอ้ มูลลง พิจารณาวนิ ิจฉัย(เรื่องท่ีสามารถดาเนินการแก้ไขปญั หาไดท้ นั ที) แบบฟอรม์ / web รายงานคณะกรรมการเร่ืองรอ้ งเรยี น/เวร บนั ทกึ ขอ้ มลู ลงแบบฟอรม์ / ชี้แจงกลบั ภายใน 7 วนั หรือไมเ่ กิน 7 วนั ประเมนิ คปวารมะจรุนาวแนัรง/ตาทมมี โปRรMแกรมความเสีย่ ง web ยตุ ิเรอ่ื ง ยตุ ิเรื่อง A,B,C และ D (Near miss/Low risk) E และ F (Moderate risk): Harm 1 วนั No Harm (ภายใน 30 วัน) G,H,I (high risk):Sentinel ทันที ผอู้ ำนวยกำร/ หวั หน้ำฝำ่ ยกำรพยำบำล ผอู้ ำนวยกำร/ หัวหน้ำฝำ่ ยกำรพยำบำล เขียนใบอบุ ัตกิ ำรณ์ตอบ  RRT ระดับ รพ. คณะกรรมกำรไกล่เกล่ียระดับ รพ. คณะกรรมกำรบริหำรควำมเสีย่ ง ตรวจสอบสทิ ธ์ิ ม.41/ปกส  นักสันติวิธี( นกั เจรจำไกลเ่ กลี่ย) รพ. สำเรจ็  RC4A74 นำเสนอคณะกรรมกำรบรหิ ำร นพ. สสจ เพ่อื แก้ไข/ ปรับปรงุ ไม่สำเรจ็ รำยงำนรองผวู้ ำ่ รำชกำรจงั หวดั  RRT ระดับ จงั หวดั  คณะกรรมกำรไกล่เกลีย่ ระดับ จงั หวดั . สำเรจ็  นักสันติวิธ(ี นักเจรจำไกลเ่ กลีย่ ) จังหวัด  RRT ระดับ เขต ไม่สำเรจ็ รำยงำนผตู้ รวจรำชกำร สำเรจ็  คณะกรรมกำรไกลเ่ กล่ยี ระดบั เขต. ไม่สำเรจ็ รำยงำนปลดั กระทรวง ศูนย์นกั สันติวิธีสำธำรณสุข หมำยเหตุ ......time line  คณะกรรมกำรไกล่เกลย่ี ระดับทรวง  นกั สันติวิธ(ี นักเจรจำไกล่เกล่ยี )กระทรวง  ระดบั โรงพยำบำล 1-3 วัน สำเรจ็  ศูนย์นกั สันติวิธีสำธำรณสุขประสำนทมี ADHOO  ระดับจังหวัด 3-7 วัน  ระดบั เขต 7- 14 วนั กลุ่มกฎหมำย  ระดับกระทรวง ภำยใน 1 เดือน