Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore Myanmar

Description: ระบบบริหารราชการของเมียนมาร์

Search

Read the Text Version

วิถีชาวเมียนมาร์ ท่ีมา: dmc.tv ทางรัฐบาลก�ำหนดวันหยุดราชการตามวันประเพณีไว้เพียงบางวัน ได้แก่ วันสงกรานต์ในเดือนดะกูจัดราววันท่ี 13-17 เมษายนของทุกปี วันรดน�้ำต้นโพธิ์หรือวันพุทธะในวันเพ็ญของเดือนกะโส่งตรงกับวัน วิสาขบูชาของไทย วันธรรมจักรในวันเพ็ญของเดือนหว่าโส่ตรงกับวัน อาสาฬหบูชาของไทย วันอภิธรรมในวันเพ็ญของเดือนดะดีงจุ๊ตตรงกับ วันออกพรรษาของไทย และวันตามประทีปในวันเพ็ญของเดือนดะส่อง โมงตรงกบั วนั ลอยกระทงของไทย สง่ิ ทน่ี า่ สงั เกตอยา่ งหนง่ึ คอื ในอดตี นน้ั งานประเพณีสิบสองเดือนของเมียนมาร์จะรวมเอาการบูชานัตหรือ ผีหลวงไว้ด้วย โดยจัดกันในเดือนเก้า (เดือนนะด่อ) แต่ในระยะหลังได้ เปลย่ี นเปน็ งานเทดิ เกยี รตกิ วี อยา่ งไรกต็ ามชาวบา้ นกย็ งั คงรกั ษาพธิ บี ชู า ผีนัตไว้ และยงั จดั งานใหญก่ นั ในเดอื นหว่าขอ่ ง (เดือนห้า) 50

1.1.8 โครงสร้างพน้ื ฐานและระบบสาธารณปู โภค โครงสรา้ งพ้นื ฐานทส่ี �ำคญั ของประเทศเมยี นมาร์ ไดแ้ ก่ ระบบการการคมนาคม ประเทศเมียนมาร์ต่างให้ความส�ำคัญกับโครงสร้างพ้ืนฐานด้าน คมนาคม โดยมกี ารปรบั ปรงุ และสรา้ งทางหลวงและถนนภายในตวั เมอื ง และชานเมอื งเพอ่ื เชอื่ มตอ่ การคมนาคมภายในประเทศ ซง่ึ สามารถน�ำมา ประเมินศักยภาพดา้ นการคา้ และการลงทนุ ในประเทศน้ีได้ โดยเส้นทาง คมนาคมที่ส�ำคัญของเมยี นมาร์ มีดังน้ี การคมนาคมทางบก ประกอบไปด้วย การคมนาคมทางถนนและ การคมนาคมทางรถไฟ ซ่งึ มรี ายละเอียดดังนี้ การคมนาคมทางถนน หรือการเดินทางด้วยรถยนต์โดยอาศัยถนน ซง่ึ ถนนในประเทศเมยี นมารส์ ว่ นใหญข่ นานไปกบั ภเู ขาและแมน่ ำ้� ทอดไป ตามความยาวของประเทศเช่นเดียวกับ ทางรถไฟ ถนนสายต่างๆ ท่ีส�ำคัญมีดังน้ี ถนนสายเมียนมาร์เป็นถนนสายส�ำคัญท่ี เช่อื มต่อระหวา่ งยา่ งกุ้งกบั เมืองคนุ หมงิ ซงึ่ อยู่ทางตอนใต้ของจีนมีความยาวในเขต เมียนมาร์ถึงเมืองมูเซ ประมาณ 1,160 กโิ ลเมตร และมคี วามยาวในเขตจนี จากมเู ซ ถึงคุนหมิง ประมาณ 90 กิโลเมตร ถนนสายน้ีผ่านเมืองต่างๆ คือ พะโค-ตองอ-ู ปนิ มานา-เมกตลิ า-มณั ฑะเลย-์ เมเบยี งกอดเตก็ -สปี อ๊ -ลาโช- ระบบบรหิ ารราชการของสาธารณรัฐแหง่ สหภาพเมยี นมาร์ 51

แสนหวี-มูเซ รวมความยาวทั้งส้ินประมาณ 2,140 กิโลเมตร และในปี พ.ศ. 2551 มีการก่อสร้างถนน 29,187 กิโลเมตร และมอเตอร์เวย์ เพมิ่ ขนึ้ อกี 9,600 กิโลเมตร ท่มี า: http://www.oknation.net การคมนาคมทางรถไฟ ประเทศเมียนมาร์มีเส้นทางรถไฟความยาว รวมกวา่ 40,007 กโิ ลเมตร โดยมศี นู ยก์ ลางเสน้ ทางรถไฟอยทู่ กี่ รงุ ยา่ งกงุ้ เส้นทางสายหลัก คือ สายย่างกุ้ง-มัณฑะเลย์ ระยะทางรวมประมาณ 716 กิโลเมตร ซึ่งเป็นขบวนรถไฟท่ีได้มาตรฐานท่ีสุดในประเทศ[12] นอกจากน้ียังมีเส้นทางรถไฟตามโครงการความร่วมมือกลุ่มโครงการ พัฒนาความร่วมมือทางเศรษฐกิจในอนุภูมิภาคลุ่มแม่น้�ำโขง Greater Mekong Subregion (GMS) มดี ังนี้ 1) ทางรถไฟสายท่ี 5 เปน็ ความรว่ มมอื ระหวา่ งจนี กบั เมยี นมาร์ โดย จนี ใหง้ บประมาณท�ำโครงการศกึ ษาความเปน็ ไปได้ 4 ลา้ นหยวน ในการ สรา้ งทางรถไฟ 232 กโิ ลเมตร 2) ทางรถไฟสายที่ 8 โครงการระหว่างไทย–เมียนมาร์ ต่อเชื่อม เส้นทางท่ีทหารญี่ปุ่นได้สร้างไว้ในระหว่างสงครามโลกครั้งที่ 2 จาก Thanbynzayat–ด่านเจดยี ส์ ามองค์ มีความยาวรวม 110 กิโลเมตร ซ่งึ จะเป็นส่วนหนึ่งของเส้นทางที่เชี่อมโครงการทางรถไฟสิงคโปร์–คุนหมิง 52

โดยสาธารณรฐั เกาหลสี นบั สนนุ งบประมาณในการศกึ ษาความเปน็ ไปได้ 830,000 ดอลล่าร์สหรัฐ การคมนาคมทางน้ำ� การคมนาคมขนส่งทางน้�ำภายในประเทศ นับว่ามีความส�ำคัญต่อ เศรษฐกิจของประเทศเมียนมาร์เป็นอย่างมาก และยังเป็นเส้นทาง คมนาคมหลักมาตั้งแต่อดีต เน่ืองจากพ้ืนที่บริเวณปากแม่น้�ำอิระวดีมี ทางนำ้� อยมู่ ากมาย และเปน็ เขตทมี่ ปี ระชาชนพลเมอื งอาศยั อยหู่ นาแนน่ ท่สี ุด เมียนมารม์ ีแม่น้ำ� สายส�ำคัญ 4 สาย ดังน้ี 1) แม่น้�ำเอยาวดี (Ayeyarwaddy) เดิมช่ืออิระวดี เป็นแม่น�้ำท่ีมี ความส�ำคญั ทางเศรษฐกจิ สงู สดุ ของประเทศ มคี วามยาว 2,170 กโิ ลเมตร 2) แม่น�ำ้ ตาลวนิ (Thanlyin) เดมิ เรยี กสาละวิน มคี วามยาว 1,270 กิโลเมตร โดยไหลมาจากทิเบตผ่านมณฑลยูนนานและประเทศไทย มาออกทะเลอันดามนั ที่มณฑลเมาะล�ำไย ท่ีมา: http://daweidevelopment.com ระบบบริหารราชการของสาธารณรัฐแห่งสหภาพเมยี นมาร์ 53

3) แม่น�ำ้ ซทิ ตวง (Sittaung) ไทยเรียกวา่ แม่น้�ำสะโตง มคี วามยาว 400 กิโลเมตร อยู่ทางภาคกลางฝั่งตะวันออกของประเทศ ไหลมาทาง ทศิ ใตจ้ ากทร่ี าบสงู ฉานมาออกทะเลอนั ดามนั ทอ่ี า่ วมาตาบนั (Martaban) แม่น้ำ� ซทิ ตวงเป็นเส้นทางขนส่งไม้ซงุ โดยเฉพาะไมส้ ักเพอื่ การส่งออก 4) แม่น�้ำชินวิน (Chindwin) มีความยาว 960 กิโลเมตร ไหลจากทิศเหนือไปยังทิศใต้ของประเทศมาบรรจบกับแม่น้�ำเอยาวดีท่ี มัณฑะเลย์ [14] นอกจากน้ี เมียนมาร์ยังมีความยาวชายฝั่งทะเล 2,832 กิโลเมตร ท่าเรือส�ำคัญอยู่ท่ีย่างกุ้ง ซิทต่วย (Sittway) เจ้าฟิว (Kyau Kphyu) ตานต่วย (Thandwe) ในรฐั ยะไข่ ทา่ เรอื ปะเตง (Pathein) ในมณฑล เอยาวดี ท่าเรือเมาะล�ำไย (Mawlamyaing/มะละแหม่ง) ในรัฐมอญ ท่าเรอื ทแว (Dawei/ทวาย) ทา่ เรือเมก (Myeik) ทา่ เรอื ก้อตาว (Kaw- thaung/เกาะสอง) ในมณฑลตะนาวศรี ท่าเรือน�้ำลึก เมียนมาร์ได้ตระหนักถึงความต้องการท่าเรือน�้ำลึก ส�ำหรบั การคา้ ในอนาคต จงึ มโี ครงการพฒั นาทา่ เรอื นำ้� ลกึ หลายโครงการ ได้แก่ 1) โครงการท่าเรอื นำ�้ ลกึ Kyaupyu ท่รี ัฐยะไข่ 2) โครงการทา่ เรอื นำ้� ลกึ Kalegauk อยรู่ ะหวา่ งเมอื งเมาะล�ำไยและ เมืองเยในรฐั มอญ 3) โครงการท่าเรือน้�ำลึกทวาย อยู่ใกล้เมืองทะวายในมณฑล ตะนาวศรี 4) โครงการท่าเรือน้�ำลึก Bokyin อยู่ระหว่างเมือง Myeik กับ Kawthaung ในมณฑลตะนาวศรี [1] 54

การคมนาคมทางอากาศ เมียนมาร์มที ่าอากาศยานภายในประเทศมากถงึ 84 แหง่ โดยมีสาย การบินท่ีส�ำคัญ ไดแ้ ก่ • สนามบนิ นานาชาติ 2 แหง่ คอื ที่กรงุ ย่างกงุ้ และเขตมัณฑะเลย์ ปัจจุบันมีสายการบินหลายสายท่ีมีเท่ียวบินไปยังเมียนมาร์ อาทิ การบินไทย แอร์เอเซีย มีเท่ียวบินจากกรุงเทพฯ-กรุงย่างกุ้งทุกวัน บางกอกแอรเ์ วย์ อินเดียแอร์ไลน์ และมาเลเซียแอรไ์ ลน์ เปน็ ตน้ นอกจากน้ียังมีเที่ยวบินตรงจากกรุงย่างกุ้งไปยังเมืองและประเทศ ตา่ งๆ อาทิ กรุงเทพฯ จาการต์ า ฮ่องกง สงิ คโปร์ กัวลาลมั เปอร์ คุนหมงิ ลอนดอน โอซากา ฯลฯ ระบบบรหิ ารราชการของสาธารณรัฐแหง่ สหภาพเมยี นมาร์ 55

• สายการบนิ ประจ�ำชาตขิ องเมยี นมาร์ก่อต้งั ขนึ้ เมื่อปี พ.ศ. 2536 ไดแ้ ก่ เมียนมารแ์ อร์เวย์ อินเตอร์เนชั่นแนล Myanmar Airways Inter- national (MAI) ให้บรกิ ารเท่ยี วบินระหวา่ งประเทศ ส�ำหรับสายการบนิ ในประเทศ เช่น Air Mandala, Air Bagan และ Yangon Airways มี เทย่ี วบนิ สว่ นใหญ่ไปยงั เมืองต่างๆ ในเมยี นมาร์ เสน้ ทางคมนาคมขนสง่ ระหวา่ งประเทศของสหภาพเมยี นมาร์ [12] เส้นทางคมนาคม เส้นทางคมนาคม เสน้ ทางคมนาคม ทางบก ทางน้�ำ ทางอากาศ 1. เส้นทางแม่สอด-เมยี วดี 1. ทา่ เรอื ย่างกงุ้ 1. ย่างกุ้ง-มัณฑะเลย-์ ท่าเรอื ชายฝง่ั เมาะละแหม่ง 2. ท่าเรือเมาะละแหมง่ คุนหมิง-ฮานอย 2. เส้นทางจากยา่ งกงุ้ ตอ่ ไปยงั 3. ท่าเรอื แอมเฮิรสท์ 2. ย่างก้งุ -เวียงจนั ทร์- บังกลาเทศ อินเดีย และตอ่ ข้นึ หรือไจกะมี โฮจมิ นิ ห์ เหนือไปเขตมัณฑะเลย์- 4. ทา่ เรือจิอกพยิว 3. ย่างกงุ้ -กรุงเทพฯ- ลาเจียง-คุนหมงิ 5. ทา่ เรือทลี ะวา พนมเปญ 3. เสน้ ทางจากเชยี งราย-เชียงตงุ 6. ท่าเรอื ดงั ตแว 4. ย่างกงุ้ -บังคลาเทศ (สหภาพเมียนมาร์)-เชยี งรุ้ง 7. ท่าเรอื ชติ ตเว 5. ยา่ งกุ้ง-อนิ เดยี (จีนตอนใต้)-คนุ หมงิ 8. ทา่ เรือปะเตง ทวาย 4. เสน้ ทางเมยี วดี(สหภาพ เมยี นมาร)์ -แม่สอด-สุโขทยั - พษิ ณโุ ลก-ขอนแกน่ -มกุ ดาหาร- สะหวันนะเขต (ลาว)-ดองฮา- ดานงั (เวยี ดนาม) 56

ระบบสาธารณปโู ภคขนั้ พนื้ ฐาน ระบบสาธารณูปโภคขั้นพ้ืนฐานในประเทศเมียนมาร์ยังไม่ได้ มาตรฐานท้ังในเรือ่ งโครงสร้างการคมนาคมขนส่งขนั้ พืน้ ฐาน โดยเฉพาะ ถนนทไ่ี มไ่ ดม้ าตรฐาน แลว้ ยงั มปี ญั หาเรอื่ งของการใหบ้ รกิ ารกระแสไฟฟา้ ทไ่ี มเ่ พยี งพอแกค่ วามตอ้ งการของประชาชน การขาดแคลนไฟฟา้ เกดิ ขน้ึ เกอื บทกุ ท่ี อยา่ งกรงุ ยา่ งกงุ้ เมอื งหลวงเกา่ เปน็ เมอื งใหญท่ สี่ ดุ ของประเทศ และเปน็ เขตอตุ สาหกรรมแตม่ ไี ฟฟา้ ใชเ้ พยี ง 3-4 ชว่ั โมงในแตล่ ะวนั เทา่ นน้ั จึงท�ำให้บรรดาโรงงาน และธุรกิจในย่างกุ้งต้องพึ่งตนเองด้วยการหา เครอ่ื งปัน่ ไฟฟ้ามาใชเ้ อง ซึ่งท�ำใหเ้ กิดปญั หาอืน่ ตามมาอย่างราคาน้�ำมนั ท่ีสูงข้ึนกว่าสองเท่า จึงมีแนวโน้มท่ีธุรกิจในนิคมอุตสาหกรรมจะต้อง ปิดลง ในขณะท่ีเมืองเนปิดอว์ซ่ึงเป็นเมืองหลวงแห่งใหม่ของเมียนมาร์ มีไฟฟ้าใช้ตลอด 24 ชั่วโมง โดยตามถนนหนทาง ตลอดจนอาคาร ของกระทรวงและหน่วยงานต่างๆ ของรัฐมีไฟฟ้าประดับประดาอย่าง สว่างไสวตลอดทง้ั คนื ระบบบรหิ ารราชการของสาธารณรฐั แหง่ สหภาพเมียนมาร์ 57

จากการขยายตัวของระบบเศรษฐกิจเมียนมาร์แต่ขาดแคลนไฟฟ้า ท�ำใหเ้ ปน็ อปุ สรรคตอ่ การพฒั นา รฐั บาลเมยี นมารไ์ ดเ้ พม่ิ การผลติ กระแส ไฟฟ้าในประเทศมากข้ึน จากโรงไฟฟ้าพลังน้�ำกังหันก๊าซ กังหันไอน้�ำ และโรงไฟฟ้าที่ใช้น้�ำมันดีเซล และในระยะการพัฒนาโรงไฟฟ้าพลังน้�ำ แมจ้ ะมีต้นทุนการผลติ สงู และใช้ระยะเวลาในการก่อสร้างยาวนานกวา่ การก่อสร้างโรงไฟฟ้าแบบกังหันก๊าซและโรงไฟฟ้าแบบพลังความร้อน ร่วม แต่สามารถผลิตไฟฟ้าเพื่อตอบสนองต่อความต้องการใช้ภายใน ประเทศ และเพ่อื การส่งออกไปขายยังประเทศเพ่ือนบ้านไดด้ กี วา่ ระบบโทรคมนาคม หลังจากที่รัฐบาลเมียนมาร์มีนโยบายเปิดประเทศ ก็ได้พยายามเร่ิม ด�ำเนินการปฏิรูปประเทศในหลายด้าน รวมทั้งด้านโทรคมนาคมที่ถูก ควบคุมปิดกั้นอย่างเข้มงวดมาอย่างยาวนาน แม้จะมีการให้บริการ โทรศัพท์มือถือและอินเทอร์เน็ตในประเทศ แต่ก็มีข้อจ�ำกัดมากในเรื่อง ของมาตรฐานการให้บริการอนิ เทอรเ์ นต็ ความล่าชา้ ในการเชือ่ มตอ่ ของ ระบบอินเทอร์เน็ต ขาดจุดให้บริการระบบอินเทอร์เน็ตโดยเฉพาะใน เมืองใหญ่ และมีอัตราค่าบริการที่สูง จนกลายเป็นการกีดกันไม่ให้ ประชาชนทั่วไปใช้บริการได้ ผู้ให้บริการก็มีเพียงรายเดียว คือ บริษัท ไปรษณียแ์ ละโทรคมนาคมแหง่ ประเทศเมยี นมาร์ (MPT) อันเปน็ บรษิ ทั ทอี่ ยภู่ ายใตก้ ารดแู ลของรัฐบาลน่นั เอง สว่ นโทรศพั ทม์ อื ถอื พบวา่ ในปี พ.ศ. 2551 มปี ระชาชนใชเ้ พมิ่ ขน้ึ เปน็ 214,200 หมายเลข คดิ เปน็ รอ้ ยละ 0.4 ของประชากรทงั้ หมด ถอื วา่ เปน็ สดั สว่ นทต่ี ำ่� มากเมอ่ื เปรยี บเทยี บกบั ประเทศในกลมุ่ CLMV เชน่ กมั พชู า มีร้อยละ 18 และเวียดนาม มีร้อยละ 27 58

อินเทอร์เน็ตมสี องหน่วยงานหลัก ไดแ้ ก่ กระทรวงโทรคมนาคมและ ไปรษณยี ์ (MPT) และ Myanmar Teleport ทง้ั นเี้ ปน็ เพราะอนิ เทอรเ์ นต็ ในเมียนมาร์มีราคาแพงแต่มีความเร็วต�่ำ รวมทั้งมีการตรวจสอบผู้ต้อง สงสัยทางการเมืองจากรัฐบาลเมียนมาร์ และส่ังปิดกั้นการเข้าเว็บไซต์ ตา่ งชาตนิ อกเครอื ข่ายเมยี นมารด์ ว้ ย ซ่งึ ดว้ ยขอ้ จ�ำกัดเหลา่ น้ีท�ำใหม้ ีผใู้ ช้ อนิ เทอรเ์ น็ตคอ่ นขา้ งต�่ำ โดยพบว่าในปี พ.ศ. 2550 มผี ใู้ ช้อินเทอรเ์ นต็ เพยี ง 40,000 คน หรือคดิ เป็นอตั ราสว่ น 1:1,000 คน เทา่ นน้ั ในขณะที่ เวียดนามมีอัตราส่วนผู้ใช้มากท่ีสุดในกลุ่ม CLMV คือ 205:1,000 คน รองลงมาคอื ลาว มี 17:1,000 คน และประเทศกัมพูชา 5:1,000 คน ดังนั้นระบบโทรคมนาคมของเมียนมาร์จึงยังไม่พัฒนาเท่าท่ีควร แมเ้ มยี นมารจ์ ะมเี ครอื ขา่ ย 3G ในระบบ W-CDMA ใชต้ งั้ แตป่ ี พ.ศ. 2551 แต่ส่วนใหญ่ก็ใช้แค่ในกิจการทหาร และในกลุ่มเศรษฐีที่มีก�ำลังทรัพย์ มากพอ เน่อื งจากโทรศพั ทม์ ีราคาสงู มาก ระบบบรหิ ารราชการของสาธารณรัฐแห่งสหภาพเมียนมาร์ 59

นอกจากนรี้ าคา Sim Card ของโทรศัพทเ์ คลอ่ื นท่หี นง่ึ เลขหมายใน เดือนพฤษภาคม พ.ศ. 2554 อยู่ที่ราคาประมาณ 500 เหรียญสหรัฐ[12] และเลขหมายโทรศัพท์ยังถูกควบคุมโดยรัฐ ซึ่งความต้องการของ ประชาชนสะทอ้ นจากการบรกิ ารตดิ ตง้ั สายสง่ โทรคมนาคมจาก 447,097 สาย ในปี พ.ศ. 2548 เพม่ิ ข้ึนเปน็ 503,900 สายในปี พ.ศ. 2550 เมอื่ การสอื่ สารทไ่ี มพ่ ฒั นา รฐั บาลเมยี นมารเ์ หน็ วา่ เปน็ อปุ สรรคส�ำคญั ต่อการพัฒนาประเทศ จึงได้แก้ไขกฎหมายท่ีเอ้ือต่อการลงทุนจาก ตา่ งชาติ (Foreign Direct Investment Law) เพอ่ื เป็นการกระตนุ้ การ ลงทุนจากนักลงทุนต่างชาติ จึงก�ำหนดให้นักลงทุนต่างชาติถือหุ้นได้ถึง ร้อยละ 50 ในกิจการร่วมทุนกับหุ้นส่วนท้องถ่ิน โดยตัดเร่ืองเงินลงทุน ข้ันต่�ำท่ีร่างกฎหมายฉบับก่อนก�ำหนดส�ำหรับนักลงทุนต่างชาติไว้ท่ี 5 ลา้ นเหรยี ญสหรฐั การด�ำเนนิ การปฏริ ปู ระบบโทรคมนาคมในเมยี นมาร์ เป็นหนึ่งในกิจการที่รัฐบาลเมียนมาร์เร่งปฏิรูป และมีนโยบายเชิญชวน นกั ลงทนุ จากตา่ งประเทศใหเ้ ขา้ มารว่ มทนุ กบั หนุ้ สว่ นทอ้ งถน่ิ ทง้ั สอ่ื ของ ทางการเมียนมาร์ได้รายงานว่า บริษัทไปรษณีย์และโทรคมนาคมแห่ง ประเทศเมยี นมาร์ (MPT) ไดว้ างแผนทจ่ี ะแปรรปู กจิ การใหแ้ กผ่ ใู้ หบ้ รกิ าร เอกชน 4 ราย โดยในกระบวนการแปรรปู นนั้ MPT จะถูกยุบและจัดตง้ั เปน็ บริษทั ใหมช่ ่ือ เมยี นมารเ์ ทเลคอม ที่จะด�ำเนินการโดยไม่รบั ทุนจาก รฐั อกี ตอ่ ไป สว่ น 3 บรษิ ทั ทเี่ หลอื จะเปน็ นกั ลงทนุ ภาคเอกชนในประเทศ 1 ราย และนักลงทุนจากต่างประเทศอีก 2 ราย ซ่ึงรัฐจะจัดให้มีการ ประมูลข้ึน โดยผู้ชนะการประมูลนั้นจะต้องพร้อมเริ่มให้บริการทาง โทรคมนาคมภายในปี พ.ศ. 2556 ส�ำหรับเป้าหมายของการแปรรูป กิจการ และเปิดให้นักลงทุนต่างชาติท่ีมีความพร้อมเข้ามาร่วม 60

บริหารจัดการระบบโทรคมนาคมในประเทศก็คือ การเพิ่มปริมาณ ผู้ใช้งานโทรคมนาคม ให้มีผู้ใช้บริการโทรคมนาคมเป็นร้อยละ 80 ภายในปี พ.ศ. 2559 จากเดมิ มปี ระชาชนชาวเมยี นมารท์ ม่ี โี ทรศพั ทบ์ า้ น หรือโทรศพั ทม์ ือถือใชง้ านเพยี ง 3 ลา้ นคน หรือร้อยละ 5.6 จากจ�ำนวน ประชากรทง้ั หมด นอกจากกระบวนการแปรรูปบริษัทผู้ให้บริการโทรคมนาคมแล้ว รฐั บาลเมยี นมารย์ งั มแี ผนทจ่ี ะรา่ งกฎหมายโทรคมนาคมของประเทศขนึ้ ใหม่ เพื่อรองรับการเปล่ียนแปลงของระบบโทรคมนาคมในประเทศ การเข้ามาของนักลงทุนต่างชาติ รวมไปถึงการก้าวเข้าสู่การเป็น ประชาคมเศรษฐกจิ อาเชยี นทห่ี ลายประเทศพฒั นาโทรคมนาคมกา้ วหนา้ พอๆ กบั ประเทศอุตสาหกรรม 1.1.9 ระบบสาธารณสขุ เม่อื 50 ปที ผี่ ่านมาองค์การอนามยั โลก (World Health Organiza- tion: WHO) ได้จัดอันดับระบบสาธารณสุข ซ่ึงเมียนมาร์เป็นประเทศ สดุ ทา้ ยจาก 190 ประเทศ ซงึ่ องคก์ ารอนามยั โลกเรยี กวา่ “ประสทิ ธภิ าพ ของระบบสขุ ภาพโดยรวม” เมียนมาร์ใชง้ บประมาณในการดูแลสขุ ภาพ และความยากจนเพยี งรอ้ ยละ 2 ของ GDP ซงึ่ เป็นจ�ำนวนเงินท่ีนอ้ ยมาก ของรัฐบาลในการใช้จ่ายดูแลด้านการสาธารณสุขของสหภาพเมียนมาร์ และมาถึงปัจจุบันการดูแลสุขภาพในเมียนมาร์ก็ยังมีปัญหาในการให้ บรกิ ารแกป่ ระชาชน ซง่ึ ตามหลกั การของการปกครองประเทศสงั คมนยิ ม ตามแบบอุดมการณ์ของสหภาพเมียนมาร์ ประชาชนในประเทศทุกคน ระบบบรหิ ารราชการของสาธารณรฐั แหง่ สหภาพเมียนมาร์ 61

จะได้รับการรักษาพยาบาลแบบให้เปล่า แต่เมื่อน�ำมาเปรียบเทียบกับ งบประมาณที่กระทรวงสาธารณสุขได้รับและสิ่งอ�ำนวยความสะดวกใน การรักษาพยาบาลและอนามัย ซ่ึงสหภาพเมียนมาร์มีอยู่ไม่เพียงพอกับ ความตอ้ งการของประชาชน ทงั้ นีร้ ัฐบาลสหภาพเมียนมาร์ยังมีโครงการ ควบคุมและป้องกันโรคติดต่อ เช่น อหิวาตกโรค มาลาเรีย วัณโรค โรคทางเดนิ อาหาร โรคเรอ้ื น โรคเท้าชา้ ง โรคเอดส์ เปน็ ต้น แต่อยา่ งไร กต็ ามเน่อื งจากรฐั บาลมงี บประมาณอนั จ�ำกัด จึงมคี วามจ�ำเปน็ ท่ีจะต้อง ขอความช่วยเหลือจากต่างประเทศและองค์การอนามัยโลก แต่รัฐบาล สหภาพเมยี นมารก์ ย็ งั ไม่ค่อยจะยอมรับความชว่ ยเหลอื จากตา่ งประเทศ การบรกิ ารสาธารณปู โภคนบั ตงั้ แตก่ ารเปลย่ี นแปลงการปกครองออกมา สรู่ ะบบสงั คมนยิ ม รฐั บาลสหภาพเมยี นมารไ์ ดย้ ดึ กจิ การของชาวตา่ งชาติ มาเป็นของรัฐ และเข้าด�ำเนินการเองตามความต้องการของประชาชน ประชาชนท่ีว่างงานในเมืองต่างออกไปท�ำงานตามชนบทมากข้ึน สภาพภายในโรงพยาบาลเมียนมาร์ ทีม่ า: salweennews.org 62

นอกจากนี้รัฐบาลสหภาพเมียนมาร์ยังได้จัดสรรเงินเพ่ือพัฒนาด้าน สาธารณูปโภค และสุขาภิบาลในชนบทให้ทัดเทียมกับในเมือง เพื่อ ลดช่องว่างความแตกต่างกันระหว่างคนในเมืองกับคนในชนบท และ ยังต้องการให้ประชาชนทอ่ี ยู่ในชนบทไม่เขา้ มาหางานท�ำในตวั เมอื ง ในปี พ.ศ. 2556 การดูแลสุขภาพชาวเมียนมาร์ยงั ไมต่ า่ งกบั เมอื่ 50 ปีท่ีผ่านมา ท�ำให้รัฐบาลได้อนุมัติงบประมาณ ซึ่งได้มีการก�ำหนดไว้ถึง 450,000,000 ดอลล่าร์สหรัฐในการใช้จ่ายด้านการรักษาพยาบาล โดยส่วนใหญจ่ ะได้รับการจดั สรรให้กบั ยา ซง่ึ เปน็ ส่วนหน่ึงของแผนทจี่ ะ จัดให้มียาแห่งชาติขยายไปยังโรงพยาบาลของรัฐตามแผนท่ีได้ประกาศ จะเพ่ิมการใช้จ่ายเกี่ยวกับยาจาก 0.20 ดอลล่าร์สหรัฐต่อคนต่อปี เปน็ 2 ดอลลา่ ร์สหรัฐตอ่ คนต่อปี และอกี สองปีขา้ งหน้าส�ำหรบั บญั ชยี า จะมีงบประมาณถึง 125 ล้านดอลลาร์ ซึ่งหมายถึงร้อยละ 27.4 ของ งบประมาณดา้ นการรักษาพยาบาลในปี พ.ศ. 2555-2556 (ค.ศ.2012- 2013) และได้แบ่งส่วนหนึ่งของงบประมาณท่ีจะใช้ในการเพิ่มจ�ำนวน แพทยจ์ ากโรงเรียนแพทยใ์ นทอ้ งถน่ิ รวมถึงโครงการรเิ รมิ่ อ่ืนๆ ทนี่ �ำไปสู่ การปรับปรุงระบบการแพทย์ของประเทศ แม้ว่ารัฐบาลเมียนมาร์มีการ เพมิ่ การใชจ้ า่ ยในการดแู ลสขุ ภาพในปี พ.ศ. 2556 ดา้ นการรกั ษาพยาบาล ทรี่ อ้ ยละ 3.9 ของงบประมาณทงั้ หมดของประเทศ แนวโนม้ ของเงนิ รวม ท้ังหมดท่ีจัดสรรให้กับการดูแลสุขภาพเพิ่มขึ้น แต่ในขณะเดียวกัน เมียนมาร์ก็ยังคงเป็นหน่ึงในประเทศท่ีอยู่ในเกณฑ์ต่�ำสุดของโลกในแง่ ของการดูแลระบบสุขภาพ ซึ่งจากการเปรียบเทียบการใช้จ่ายของ ประเทศแล้ว งบประมาณทางทหารยังคงสูง ซึ่งคิดเป็นร้อยละ 20.1 ของงบประมาณทง้ั หมดของประเทศ ระบบบรหิ ารราชการของสาธารณรัฐแห่งสหภาพเมยี นมาร์ 63

จากรายงานของส�ำนักข่าวรอยเตอร์ต้ังข้อสังเกตว่า เมียนมาร์เป็น ประเทศเดยี วในเอเชยี ตะวนั ออกเฉยี งใตท้ ใี่ ชจ้ า่ ยในการพฒั นาทางทหาร ทส่ี งู กวา่ การใชจ้ า่ ยรวมในการดแู ลสขุ ภาพและการศกึ ษา แมว้ า่ ประชากร ส่วนใหญ่ของเมียนมาร์ที่อาศัยอยู่ในพ้ืนท่ีชนบทจะได้รับบริการสุขภาพ แต่ระบบการดูแลสุขภาพส่วนใหญ่ยังคงกระจุกตัวอยู่แต่ในเมืองใหญ่ และในเมือง จากรายงานประจ�ำปี พ.ศ. 2555 ท่ีเผยแพรโ่ ดยกระทรวง สาธารณสุขของเมียนมาร์ ศูนย์สุขภาพในชนบทได้เพ่ิมขึ้นเพียง 1,337-1,565 แห่ง ตง้ั แต่ พ.ศ. 2531-2555 (ค.ศ.1988 -2012) และ ศูนย์เหลา่ นีข้ าดอปุ กรณพ์ นื้ ฐาน เช่น ยา และอปุ กรณ์ ผ้ปู ่วยท่มี เี ง่อื นไข ทางการแพทยท์ ซี่ บั ซอ้ นตอ้ งเดนิ ทางบอ่ ยและไกล มโี รงพยาบาลไมก่ แ่ี หง่ ที่จะสามารถใหก้ ารรกั ษากรณีเกดิ การเจบ็ ป่วยทีซ่ ับซอ้ น แม้จะมีการลงทุนที่เพิ่มข้ึนในภาคการดูแลสุขภาพของเมียนมาร์ แตม่ ขี อ้ สงั เกตวา่ การไดร้ บั งบประมาณแลว้ มคี วามทา้ ทายหลายประการ ตั้งแต่ตอ้ งมกี ระบวนการตรวจสอบเงนิ ที่เกิดจากการทจุ รติ ทั้งการสร้าง ระบบการดูแลสุขภาพของเมียนมาร์ก็ขาดตัวช้ีวัดสุขภาพที่น่าเช่ือถือ มีข้อจ�ำกัดในการจัดกิจกรรมด้านสุขภาพในเมียนมาร์ และมีความยาก ในการเกบ็ รวบรวมขอ้ มลู อยา่ งถกู ตอ้ งเพอ่ื น�ำเสนอ จงึ กลายเปน็ ปญั หาที่ ท้าทายมากที่สุดของการดูแลสุขภาพในประเทศ เพราะขาดข้อมูลท่ี น่าเชอ่ื ถอื ในการส่งมอบการดแู ลสุขภาพและการลงทนุ ในการสรา้ งระบบการดแู ลสขุ ภาพของประชาชนเปน็ วธิ กี ารเชงิ กลยทุ ธ์ ทง้ั การเพ่มิ การใชจ้ า่ ยของรฐั บาลจะตอ้ งด�ำเนนิ การเพื่อตอบสนองความ ต้องการของคลินิกสุขภาพที่ขาดแคลนในชนบทและโรงพยาบาล การป้องกันการทุจริตก็เป็นส่ิงที่จ�ำเป็น เพื่อให้แน่ใจว่าการใช้จ่ายท่ี เพิ่มข้ึนในการดูแลสุขภาพน้ันถึงเป้าหมายท่ีอยู่ไว้ โดยไม่ต้องอาศัยการ 64

ตรวจสอบที่ดีข้ึน หรือการก�ำกับดูแลในระดับท้องถิ่นท่ีมีคนอยู่ไม่ก่ีคน ค้�ำประกันว่าเงินท่ีจัดสรรให้กับการดูแลสุขภาพจะถูกน�ำมาใช้ได้ตาม เป้าหมายโดยวิธีท่ีมีประสิทธิภาพมากท่ีสุดเท่าที่จะท�ำได้ สุดท้าย เป็นส่ิงจ�ำเป็นเพ่ือความเข้าใจท่ีดีขึ้น คือ การเก็บรวบรวมข้อมูลท่ีดีกวา่ และการรายงานก็เป็นส่ิงจ�ำเป็นเพ่ือผลของข้อมูลที่ถูกต้องของอัตรา การเกิดโรค ผลลัพธ์ของการดูแลสุขภาพในปัจจุบันและข้อจ�ำกัดของ คลินิกและโรงพยาบาลในทอ้ งถิ่น ซงึ่ จ�ำเปน็ ต้องน�ำผลไปก�ำหนดทศิ ทาง และนโยบายที่ถกู ต้อง 1.1.10 ระบบการศกึ ษา กระทรวงศกึ ษาธิการ (Ministry of Education) ของเมยี นมาร์ เปน็ ผรู้ ับผดิ ชอบการบริหารการศกึ ษาของประเทศ มี 6 หนว่ ยงานในสงั กัด คือ ส�ำนักงานอัตราก�ำลังคน (Office Staff) ส�ำนักงานอุดมศึกษา (Department of Higher Education) ส�ำนักงานการศึกษาพ้ืนฐาน (Department of Basic Education) ส�ำนักงานคณะกรรมการภาษา เมียนมาร์ (Department of Myanmar Language Commission) ส�ำนักงานคณะกรรมการการสอบของเมียนมาร์ (Department of Myanmar Board of Examinations) และส�ำนกั งานการวจิ ยั การศกึ ษา เมยี นมาร์ (Myanmar Education Research Bureau) ระบบการศึกษาขน้ั พ้ืนฐาน เปน็ ระบบ 5 : 4 : 2 ดังน้ี • ประถมศกึ ษา 5 ปี (อนุบาล 1 ปี และประถม 4 ป)ี ระบบบริหารราชการของสาธารณรฐั แหง่ สหภาพเมยี นมาร์ 65

• มัธยมศึกษาตอนต้น 4 ปี • มัธยมศกึ ษาตอนปลาย 2 ปี ส�ำนกั งานอดุ มศกึ ษา (Departments of Higher Education) ไดจ้ ดั ระบบงาน โดยแบ่งความรับผิดชอบย่อยออกเป็น 2 หน่วยงานตาม ภูมิประเทศ คือ ภาคเหนือของประเทศ (Upper Myanmar) ต้ังอยู่ท่ี มัณฑะเลย์ และภาคใต้ของประเทศ (Lower Myanmar) ตั้งอยทู่ ่ยี า่ งกงุ้ มสี ถาบนั การศกึ ษาในระดบั อดุ มศกึ ษา 174 แหง่ สว่ นใหญอ่ ยภู่ ายใตก้ าร ดแู ลของกระทรวงศกึ ษาธกิ าร โดยกระจกุ ตวั อยใู่ นรฐั 2 รฐั คอื มณั ฑะเลย์ (37 แหง่ ) และยา่ งกุ้ง (35 แห่ง) นอกจากนี้ ยังอยภู่ ายใตก้ ารก�ำกบั ดแู ล ของกระทรวงอ่นื ดว้ ย เช่น โรงเรียนแพทย์ (Medical Schools) จะอยู่ ภายใต้การดูแลของกระทรวงสาธารณสุข และมหาวิทยาลัยเทคโนโลยี (Technological Universities) ภายใต้กระทรวงวิทยาศาสตร์และ เทคโนโลยี เป็นตน้ ส�ำนกั งานการศกึ ษาพนื้ ฐานของเมยี นมารเ์ ปน็ หนว่ ยงานทรี่ บั ผดิ ชอบ เกี่ยวกับการวางนโยบายและบริหารการศึกษาระดับประถมศึกษา มัธยมศึกษา รวมทั้งการฝึกหัดครู แต่เดิมน้ันเป็นระบบบริหารซึ่งรวม อ�ำนาจไว้ท่ีศูนย์กลาง ต่อมาได้มีการกระจายอ�ำนาจการบริหารออกไป สู่ระดับรัฐและหัวเมืองต่างๆ โดยมีหัวหน้าส่วนการศึกษาน้ันๆ เป็น ผู้ควบคุมดูแลและประสานงาน รัฐเป็นผู้สนับสนุนด้านงบประมาณของ ทุกโรงเรียน โดยนักเรียนจะเสียค่าเล่าเรียนเฉพาะในระดับมัธยมศึกษา ตอนปลายเท่าน้นั 66

การจัดการศึกษาข้ันพื้นฐานของเมียนมาร์ พยายามที่จะจัดให้ ครอบคลมุ ทกุ พนื้ ทขี่ องประเทศ แตย่ งั มปี ญั หาทไ่ี มส่ ามารถจดั หาอาคาร สถานที่ วสั ดุ และอปุ กรณใ์ หแ้ กโ่ รงเรยี นในบางทอ้ งทไี่ ด้ รฐั บาลเมยี นมาร์ ไดต้ งั้ เปา้ หมายทจี่ ะใหม้ โี รงเรียนอย่างนอ้ ยหนึง่ แหง่ ในทกุ หมบู่ า้ น ส�ำนักการเทคโนโลยีเกษตรและอาชีวศึกษา เป็นหน่วยงานท่ีดูแล จัดการศึกษาด้านเกษตรกรรม พณิชยกรรม วิศวกรรมเคร่ืองกล การประมง คหกรรม และการฝกึ หดั ครูทางด้านช่างเทคนิค ส�ำนักงานอุดมศึกษาท�ำหน้าที่วางแผนนโยบายและด�ำเนินการด้าน อุดมศึกษาของประเทศ จัดการศึกษาในรูปแบบของมหาวิทยาลัยใน 3 เมืองส�ำคัญ คือ มหาวิทยาลัยย่างกุ้ง มัณฑะเลย์ และเมาะล�ำไย นอกจากน้ี ยังมีสถาบันเทคโนโลยีท่ีจัดการศึกษาวิชาชีพระดับสูง ใชเ้ วลาในการศึกษา 4-6 ปี ตามลกั ษณะวิชาอกี ดว้ ย การเรยี นการสอน มีท้ังเต็มเวลาและนอกเวลา ทั้งหลักสูตรระยะส้ันและระยะยาว เพ่ือ รองรับความต้องการของตลาดแรงงานในสภาพเศรษฐกิจและสังคม ของเมยี นมาร์ทกี่ �ำลงั เปลี่ยนแปลง ระบบบริหารราชการของสาธารณรฐั แห่งสหภาพเมยี นมาร์ 67

1.1.11 ระบบกฎหมาย เมยี นมารเ์ ปน็ ประเทศเกา่ แก่ มรี ะบบกฎหมายทีว่ วิ ฒั นาการมาจาก ขนบธรรมเนยี มจารตี ประเพณที เี่ รยี กวา่ “Dammathat” โดยเปน็ ระบบ กฎหมายท่ีผู้พิพากษาตัดสินอรรถคดีเป็นลายลักษณ์อักษร โดยใช้จารีต ประเพณที สี่ ง่ั สมมาชา้ นานพจิ ารณาคดี ซง่ึ จารตี ประเพณเี หลา่ นป้ี ระกอบ ดว้ ย หลักกฎหมายแพ่งและพาณิชย์ กฎหมายครอบครวั และมรดก ซึ่งผู้ พิพากษายดึ หลกั สทิ ธทิ เี่ ทา่ เทียมกนั (Egalitarian Rights) ในการตัดสิน คดี กฎหมายเมยี นมารม์ วี วิ ฒั นาการมาจากอกี หลกั ทเ่ี รยี กวา่ “Phyahton” ซงึ่ เปน็ ค�ำตดั สนิ ของศาลยตุ ธิ รรม และศาลแหง่ พระเจา้ แผน่ ดนิ ทรี่ วบรวม สบื เน่ืองกันมา ซงึ่ ในปัจจุบนั เปรียบไดก้ บั รายงานค�ำตัดสินของศาลฎกี า (Law Reports of Supreme Court) แตใ่ นขณะเดยี วกนั ระบบกฎหมาย ของเมียนมาร์ก็ได้รับอิทธิพลมาจากประเทศอังกฤษตั้งแต่สมัยเป็น อาณานิคม ซ่ึงระบบกฎหมายของอังกฤษเป็นระบบกฎหมายจารีต ประเพณี (Common Law) ทไ่ี มถ่ งึ กบั เนน้ ความแตกตา่ งระหวา่ งเอกชน กับฝ่ายเจ้าหน้าท่ีหรือหน่วยงานรัฐ โดยถือว่าทั้งสองฝ่ายอยู่ภายใต้ กฎเกณฑ์ทางกฎหมายเดียวกัน เมียนมาร์ได้น�ำกฎหมายอังกฤษมาใช้ เช่น กฎหมายบริษทั กฎหมายแรงงาน กฎหมายลิขสิทธ์ิ และกฎหมาย ประกันสังคม ฯลฯ จึงท�ำให้ดูเสมือนว่ามีกฎหมายที่เป็นสากลและ ทันสมัยกว่าประเทศอ่ืนๆ อย่างกฎหมายประกนั สงั คมมใี ชก้ ่อนประเทศ ไทย จากระบบกฎหมายท่มี เี อกลกั ษณ์ เนื่องจากเป็นการผสมผสานกนั ระหว่างจารีตแบบเมียนมาร์กับแบบอังกฤษ และกฎหมายใหม่ของ เมียนมาร์ตามแต่ละยุคท�ำให้มีวิวัฒนาการท่ีต้องปรับเปล่ียนตามสภาพ 68

การเมือง ซึ่งดูได้จากประเทศเมียนมาร์เม่ือได้รับเอกราชได้มีการจัดตั้ง ศาลฎกี า (Supreme Court) และศาลสงู (High Court) และศาลชน้ั อน่ื ๆ ข้ึนมาตามพระราชบัญญัติตุลาการแห่งสหภาพในปี 2491 (Union Judiciary Act of 1948) ต่อมาในปี 2505 สภาแห่งการปฏิวัติ (Revolutionary Council) ไดย้ ึดอ�ำนาจของประเทศ และเปลยี่ นแปลง การปกครอง รวมถึงระบบศาลและกระบวนการยตุ ธิ รรมไปเปน็ ระบอบ สังคมนิยม สภาแห่งการปฏิวัติได้ล้มล้างศาลฎีกาและศาลสูง และได้มี การจดั ตัง้ ศาลหวั หน้าคณะปฏวิ ัติ (Chief Court) ขึน้ มาแทน สว่ นระบบศาลของเมยี นมารใ์ นปจั จบุ นั กฎหมายวา่ ดว้ ยตลุ าการแหง่ สหภาพปี พ.ศ. 2553 ได้ออกมารับรองระบบศาลภายใต้รัฐธรรมนูญ การปกครองแหง่ สหภาพเมยี นมารป์ ี พ.ศ. 2551 โดยด�ำเนนิ งานภายใต้ หลกั การดงั ตอ่ ไปน้ี (มาตรา 3 ของกฎหมายวา่ ดว้ ยตลุ าการแหง่ สหภาพปี 2553) 1. ศาลฎกี า (Supreme Court of the Union) เป็นศาลสงู สดุ ท่ี มลี �ำดบั ความส�ำคญั และอ�ำนาจเหนอื กวา่ ศาลสงู ในเขตการปกครองหรอื ศาลสูงในรัฐต่างๆ ท่ปี ระกอบไปด้วยศาลตา่ งๆ ตามล�ำดับขนั้ ดงั ต่อไปนี้ 1) ศาลฎกี าแหง่ สหภาพเมียนมาร์ (The Supreme Court of the Union of Myanmar) 2) ศาลสงู แหง่ สหภาพเมยี นมาร์ หรอื ศาลสงู แหง่ รฐั (The High Court of the Region or the State) 3) ศาลในเขตปกครองตนเอง (Court of Self-Administered Division) ระบบบรหิ ารราชการของสาธารณรฐั แห่งสหภาพเมยี นมาร์ 69

4) ศาลในพื้นท่ปี กครองตนเอง (Court of Self-Administered Zone) 5) ศาลแขวง (District Courts) 6) ศาลจังหวัด (Township Courts) 7) ศาลอื่นๆ ทจี่ ดั ตง้ั ขน้ึ ตามกฎหมาย (Other Courts estab- lished by Law) เช่น ศาลคดีเด็กและเยาวชน (Juvenile Courts) ศาลคดที อ้ งถิ่น (Courts to try municipal of fences) และศาลคดจี ราจร (Courts to try traffic offences) 2. ศาลทหาร (Court Martial) ศาลทหารกอ่ ตงั้ โดยรฐั ธรรมนญู แหง่ สหภาพเมยี นมาร์ เพอื่ พจิ ารณาคดที เี่ กยี่ วขอ้ งกบั หนว่ ยกองก�ำลงั ปกปอ้ ง แผ่นดิน ซ่ึงศาลอ่ืนไม่สามารถมีเขตอ�ำนาจศาลเหนือคดีท่ีเก่ียวข้องกับ ทหารได้ 3. ศาลรัฐธรรมนูญ (Constitutional Tribunal of The Union) 1.1.12 ความสัมพันธ์ระหว่างไทยกบั สาธารณรัฐ แห่งสหภาพเมียนมาร์ การเมอื งและความมนั่ คงระหวา่ งไทยกบั เมยี นมารม์ คี วามสมั พนั ธใ์ น ระดับที่น่าพอใจทั้งในภาพรวม การเมือง ความม่ันคง เศรษฐกิจ และ ความร่วมมือ มีความใกล้ชิดและการติดต่อสัมพันธ์กันในทุกระดับ โดยเฉพาะในระดบั ประชาชน ไทยมีบทบาทท่ีแข็งขันและสร้างสรรค์ตอ่ พฒั นาการทางการเมอื งในเมยี นมาร์ และไดร้ บั การยอมรบั จากประชาคม ระหว่างประเทศ ซ่ึงจะเห็นได้ว่าประเทศส�ำคัญต่างๆ ได้หันมาด�ำเนิน 70

นโยบายการมีปฏิสัมพันธ์กับเมียนมาร์ ซ่ึงเป็นหลักการและแนวทาง ที่ไทยและอาเซียนเรียกร้องและด�ำเนินการมาโดยตลอด กลไก ก�ำกับดูแลความสัมพันธ์และความร่วมมือในระดับทวิภาคีท่ีส�ำคัญ คือ คณะกรรมาธิการร่วมไทย–เมียนมาร์ (Thailand–Myanmar Joint Commission on Bilateral Cooperation-JC) คณะกรรมการเขต แดนรว่ ม (Joint Boundary Committee-JBC) คณะกรรมการชายแดน สว่ นภูมภิ าค (Regional Border Committee-RBC) และการประชมุ ภายใตเ้ รอ่ื งเฉพาะ เชน่ เรอื่ งแรงงานตา่ งดา้ ว และเรอ่ื งยาเสพตดิ เปน็ ตน้ ด้านเศรษฐกิจ ไทยเป็นประเทศคู่คา้ อนั ดบั 1 ของเมยี นมาร์ ในขณะ ทเ่ี มียนมาร์เปน็ คคู่ ้าอันดับท่ี 23 ของไทย โดยในปี พ.ศ.2553 มมี ลู คา่ การค้าระหว่างประเทศรวม 4,886 ล้านเหรียญสหรัฐ โดยไทยขาด ดลุ การคา้ มลู คา่ 741 ลา้ นเหรยี ญสหรฐั อนั มปี จั จยั หลกั มาจากการทไี่ ทย รับซอ้ื ก๊าซธรรมชาตจิ ากเมยี นมาร์ นอกจากนดี้ า้ นสงั คมและวฒั นธรรมไดม้ กี ารสง่ เสรมิ ความสมั พนั ธก์ นั ทั้งภาครัฐ โดยกระทรวงการต่างประเทศได้อัญเชิญผ้าพระกฐิน พระราชทาน ไปทอดถวายยังวัดในเมียนมาร์เป็นประจ�ำทุกปี และ กระทรวงการต่างประเทศร่วมกับมหาวิทยาลัยนเรศวรจัดท�ำโครงการ ฝกึ อบรมลา่ มภาษาไทย-เมยี นมารใ์ หแ้ กเ่ จา้ หนา้ ทแ่ี ละบคุ ลากรไทย และ การสัมมนาทางวิชาการเร่ืองความสัมพันธ์ทวิภาคีระหว่างไทยกับ เมยี นมาร์ ในสว่ นของสมาคมไทย–เมยี นมารเ์ พอ่ื มติ รภาพไดน้ �ำนกั ศกึ ษา เมยี นมารม์ าเยือนไทยในเดอื นพฤศจกิ ายน พ.ศ.2553 ทั้งมีแผนงานจะ จดั โครงการน�ำแพทยเ์ มยี นมารม์ าฝกึ อบรมทปี่ ระเทศไทย และสนบั สนนุ การจัดการแข่งขนั กฬี าซีเกมสข์ องเมียนมาร์ในปี พ.ศ.2556 ทผี่ า่ นมา ระบบบรหิ ารราชการของสาธารณรัฐแหง่ สหภาพเมียนมาร์ 71

1.2 ประวตั แิ ละขอ้ มูลรฐั บาลโดยยอ่ ประเทศเมียนมาร์ผ่านการปกครองมาหลายรูปแบบตั้งแต่ระบบ สมบูรณาญาสิทธิราชย์ ระบบเมืองข้ึน ระบบเผด็จการเต็มรูปแบบอัน ยาวนาน และปัจจุบันมบี รรยากาศของการปกครองทีม่ ีส่วนรว่ มมากขน้ึ เปิดให้มีการเลือกต้ัง แต่ก็ยังคงถูกวิจารณ์จากสื่อตะวันตกท่ีมองว่า เป็นการจ�ำกัดสิทธิการแข่งขันทางการเมืองอย่างเสรี ดังท่ีปรากฏใน รัฐธรรมนูญการปกครองของสาธารณรัฐแห่งสหภาพเมียนมาร์ปี พ.ศ. 2551 (Constitution of the Republic of the Union of Myanmar 2008) ซึ่งดูได้ตั้งแต่หมวดท่ีสาม ว่าด้วยหัวหน้ารัฐ (Head of State) โดยบอกถึงความส�ำคัญของประธานาธิบดีและรองประธานาธิบดี ประธานาธิบดีถือว่าเป็นต�ำแหน่งท่ีมีล�ำดับอาวุโสสูงสุดในการบริหาร ประเทศ และในมาตรา 59 นี้เองที่เขียนถึงคุณสมบัติของผู้ที่จะสมัคร ประธานาธิบดีได้ คือ ต้องมีบิดามารดาเป็นชาวเมียนมาร์โดยก�ำเนิด เท่านั้น และต้องไม่มีคู่สมรสเป็นชาวต่างชาติ ซ่ึงประเด็นน้ียังด�ำรงอยู่ ออง ซาน ซูจี จึงถูกตัดสิทธ์ทันทีด้วยมีสามีเป็นชาวอังกฤษ และ เป็นทร่ี ับรูก้ นั ว่าออง ซาน ซูจี เป็นค่แู ขง่ ทีท่ หารกลวั ดว้ ยเหตุทีเ่ ธอเป็น ผู้น�ำพรรคที่ชนะการเลือกต้ังอย่างท่วมท้นในปี พ.ศ. 2531 แต่รัฐบาล ทหารในขณะน้ันไม่ยอมรับผลการเลือกต้ัง ท้งั ยังกกั บรเิ วณออง ซาน ซจู ี ซึ่งเป็นผลดีกับออง ซาน ซูจี ท่ีได้รับความเห็นใจจากคนทั่วโลก และ เปน็ ผลใหไ้ ดร้ ับรางวัลโนเบล (Nobel Prize) สาขาสนั ติภาพ การเมืองการปกครองเมียนมาร์ต่างถูกบัญญัติไว้ในกฎหมาย รัฐธรรมนญู ทีบ่ อกว่า เมยี นมาร์ได้แบ่งแยกอ�ำนาจการปกครองออกเป็น 72

3 ฝา่ ย คอื ฝ่ายนิติบัญญัติ ฝ่ายบริหาร และฝา่ ยตุลาการ ซึ่งปรากฏใน รฐั ธรรมนญู การปกครองโดยเรยี งล�ำดบั ดงั นี้ • หมวดทสี่ ่ี วา่ ดว้ ยฝา่ ยสภานติ บิ ญั ญตั ิ (Legislature) ทมี่ าจากการ เลือกตั้ง โดยรัฐธรรมนูญก�ำหนดให้รัฐสภาของเมียนมาร์ (Pyidaungsu Hluttaw) มี 2 สภา ท�ำหนา้ ท่ีเปน็ ผใู้ ช้อ�ำนาจนิติบญั ญัติ ประกอบด้วย (1) สภาผู้แทนราษฎร (Pyithu Hluttaw) หรอื (House of Represen- tatives) และ (2) วุฒิสภา (Amyotha Hluttaw) ซึ่งอาจจะเรียกว่า สภาประชาชาติ (House of Nationalities) (1) สภาผู้แทนราษฎร (Pyithu Hluttaw) ตามรัฐธรรมนูญมาตรา 109 วา่ มสี มาชกิ สภาผแู้ ทนไดไ้ มเ่ กนิ 440 คน ซง่ึ จากจ�ำนวนทง้ั หมด 440 คนนี้ แบง่ เปน็ สมาชกิ ทม่ี าจากการเลอื กตงั้ โดยตรง จ�ำนวน 330 คน และ สมาชิกท่ีเป็นบุคลากรในกองทัพท่ีมาจากการแต่งต้ังโดยผู้บัญชาการ ทหารสูงสุด จ�ำนวน 110 คน หรือ 1 ใน 4 ของสมาชกิ ทัง้ หมด มีวาระ การด�ำรงต�ำแหนง่ คราวละ 5 ปี (2) วุฒิสภา (Amyotha Hluttaw) หรือสภาประชาชาติ ตาม รฐั ธรรมนญู มไี ดไ้ มเ่ กนิ 224 คน เปน็ สมาชกิ ทม่ี าจากการเลอื กตงั้ โดยตรง จากแต่ละเขตการปกครอง (Region) หรอื รฐั (State) เขตการปกครอง หรือรัฐละ 12 คน ปัจจุบันเมียนมาร์แบ่งออกเป็น 7 เขตการปกครอง และ 7 รัฐ สมาชิกวุฒิสภาท่ีมาจากการเลือกต้ังโดยตรงจึงมีจ�ำนวนถึง 168 คน และสมาชิกท่ีเป็นบุคลากรในกองทัพที่มาจากการแต่งตั้ง โดยผ้บู ญั ชาการทหารสงู สดุ จ�ำนวน 56 คน หรือ 1 ใน 4 ของสมาชกิ ท้งั หมด ระบบบริหารราชการของสาธารณรัฐแห่งสหภาพเมยี นมาร์ 73

จากการมีสมาชิกทหาร 1 ใน 4 ของสมาชิกท้ัง 2 สภา จึงถูก ตัง้ ขอ้ สังเกตว่าเป็นประชาธปิ ไตยไม่เตม็ ใบ • หมวดทห่ี ้า วา่ ด้วยฝา่ ยบริหาร (Executive The Union Gov- ernment) หมายถงึ ประธานาธบิ ดมี อี �ำนาจสงู สดุ ในการปกครองประเทศ มอี �ำนาจในการแตง่ ตง้ั หรอื ถอดถอนรฐั มนตรี มอี �ำนาจใน การใหอ้ ภยั โทษ และการนิรโทษกรรม รวมท้ังมีอ�ำนาจการให้ความดคี วามชอบ ในปัจจุบันประเทศเมียนมาร์มีคณะรัฐมนตรี 68 คน ประกอบด้วย รัฐมนตรี 29 คนและรัฐมนตรีช่วย 39 คน โดยส่วนหนึ่งเป็นอดีต นายทหารที่ลาออกมาลงสมคั รเลือกตัง้ • หมวดทีห่ ก ว่าดว้ ยฝ่ายตลุ าการ (Judiciary) ซง่ึ มี 3 ศาล ดงั น้ี 1. ศาลฎีกา (Supreme Court of the Union) เปน็ ศาลสูงสดุ ทมี่ ี ล�ำดับความส�ำคัญและอ�ำนาจเหนือกว่าศาลสูงในเขตการปกครอง หรือศาลสูงในรฐั ต่างๆ ฯลฯ 2. ศาลทหาร (Courts-Martial) 3. ศาลรฐั ธรรมนูญ (Constitutional Tribunal of the Union) 4. ศาลท้ังสามระบบข้างต้น เป็นศาลที่ออกแบบเพื่อการบริหาร จดั การประเทศ และแม้วา่ จะมกี ารระบุในมาตรา 294 วา่ ศาลฎีกาเปน็ ศาลสูงสุดของสหภาพฯ แต่ก็เขียนว่าจะไม่ส่งผลกระทบต่ออ�ำนาจของ ศาลทหารและศาลรฐั ธรรมนญู ซงึ่ สะทอ้ นใหเ้ หน็ วา่ ระบบตลุ าการไมเ่ ปน็ อิสระจากฝ่ายบริหารภายใต้รัฐธรรมนญู นี้ 74

2 วสิ ยั ทัศน์ เปา้ หมาย และยทุ ธศาสตร์ ระบบบริหารราชการของสาธารณรัฐแหง่ สหภาพเมียนมาร์ 75

2.1 วสิ ัยทศั น์ มุ่งสร้างให้สาธารณรัฐแห่งสหภาพเมียนมาร์มีเสรีภาพและ ประชาธิปไตย เป็นประเทศท่ียึดมั่นในหลักการของสิทธิมนุษยชน ความเสมอภาค และความยุติธรรม เชื่อม่ันว่าความร่วมมือและการ มีส่วนร่วมเป็นองค์ประกอบส�ำคัญที่ท�ำให้เกิดการเปลี่ยนแปลงไปสู่ ประชาธปิ ไตยในเมยี นมาร์ ภารกจิ เป็นเครือข่ายขององค์กรในภูมิภาคเอเชีย-แปซิฟิกที่สนับสนุนและ รณรงค์ให้เกิดการเคลื่อนไหว เพ่ือประชาธิปไตยและสิทธิมนุษยชนใน เมียนมาร์ สร้างความเข้มแข็งขึ้นจากการร่วมมือขององค์กรพันธมิตรท่ี หลากหลาย ซึ่งมีทั้งผู้น�ำองค์กรทางการเมืองและภาคประชาสังคมจาก กลุ่มชาติพันธุ์ต่างๆ ทั้งในและและนอกประเทศเมียนมาร์ รวมถึงกลุ่ม องค์กรพนั ธมิตรจากทวั่ ทั้งภมู ิภาคเพื่อความเป็นอันหน่ึงอันเดียวกนั 2.2 เปา้ หมาย • ส่งเสริมความร่วมมือระหว่างกลุ่มเคล่ือนไหวเพ่ือประชาธิปไตย ในเมียนมาร์ และเพ่ือสิทธิของกลุ่มชาติพันธุ์ รวมท้ังเหล่าองค์กรต่างๆ ในภมู ภิ าคเอเชยี -แปซิฟกิ เพ่อื ความเป็นอันหนงึ่ อนั เดยี วกัน • ประสานความรว่ มมอื ระหวา่ งกลมุ่ ของชาวเมยี นมารแ์ ละองคก์ ร พันธมิตรต่างๆ เพ่ือรณรงค์ให้เกิดการเคล่ือนไหวอย่างมีส่วนร่วมและ มปี ระสิทธิภาพ 76

• สนับสนุนกลุ่มเคล่ือนไหวท่ีอยู่ตามแนวชายแดนในการเข้าถึง ข้อมูลข่าวสาร และการสนบั สนุนด้านตา่ งๆ ในการผลิต ส่ือสารขอ้ มลู ท่ี มเี นอื้ หาสาระครอบคลมุ ทนั กบั สถานการณ์ รวมทง้ั รวบรวมแหลง่ เนอื้ หา ต่างๆ สะท้อนจุดยืนและประเด็นส�ำคัญๆ ของการท�ำงานกลมุ่ 2.3 ยุทธศาสตร์ 2.3.1 แผนพัฒนาเศรษฐกจิ และสงั คมแหง่ ชาติของเมียนมาร์ เมียนมาร์ภายใต้แผนพัฒนาประเทศฉบับที่ 4 (2549/2550- 2553/2554) ซ่ึงต้ังเป้าการเติบโตทางเศรษฐกิจไว้ที่ร้อยละ 12 ต่อปี โดยมเี ป้าหมายหลักในการพฒั นา ดังน้ี คอื (1) เพ่ือขยายอตุ สาหกรรม ด้านการเกษตรและอุตสาหกรรมอื่นๆ ทั้งน้ีเพื่อให้บรรลุเป้าหมายของ การเป็นประเทศอุตสาหกรรม (2) พัฒนาพลังงานไฟฟ้าและพลังงาน ด้านอื่นๆ เพ่ือให้สอดรับกับการขยายตัวด้านอุตสาหกรรม (3) ให้การ สนับสนุนด้านการเกษตร ปศุสัตว์ และการประมง เพื่อตอบสนอง ความต้องการภายในประเทศให้เพียงพอ ตลอดจนเพื่อการส่งออก (4) เพ่ือเร่งรดั ผลผลติ ดา้ นเกษตรกรรมให้ตรงตามเปา้ ทีว่ างไว้ (5) ขยาย พ้ืนท่ีเพาะปลูกเพิ่มขึ้นเพ่ือประโยชน์ด้านการเกษตร (6) เพิ่มผลผลิต ดา้ นนา้ํ มนั เพอ่ื การบรโิ ภคและเครอ่ื งยนต์ (7) สนบั สนนุ การใชป้ ระโยชน์ ดา้ นพลงั งานทดแทนจากพชื พลงั งาน (8) สนบั สนนุ เพอื่ การเพมิ่ พน้ื ทข่ี อง ป่าไม้และพื้นท่ีสีเขียวเพ่ืออนุรักษ์ส่ิงแวดล้อมและธรรมชาติ (9) ขยาย การบรกิ ารดา้ นการศกึ ษาและสาธารณสขุ เพอ่ื การพฒั นาทรพั ยากรมนษุ ย์ ระบบบริหารราชการของสาธารณรัฐแหง่ สหภาพเมยี นมาร์ 77

(10) พฒั นาโครงสรา้ งพนื้ ฐานและเครอ่ื งอ�ำนวยความสะดวกในการตดิ ตอ่ เพ่ือการพัฒนาด้านการค้ากับนานาประเทศ (11) พัฒนาโครงสร้างพื้น ฐานอยา่ งตอ่ เนอ่ื ง (12) พฒั นาเขตพฒั นาพเิ ศษ (Special Development Zone) ให้บรรลุเป้าประสงค์ (13) พัฒนาพื้นที่บริเวณชายแดนอย่าง ต่อเนอื่ ง (14) พัฒนาพ้ืนทชี่ นบทอย่างต่อเนื่อง (15) ยกระดับประชาชน ให้พ้นจากความยากจน (16) พัฒนาพื้นฐานท่ีแข็งแกร่งของระบบ เศรษฐกิจและการเงิน โดยสรุปจะเห็นชัดเจนว่าทิศทางการพัฒนาของ เมียนมารน์ นั้ มุ่งเน้นดา้ นเศรษฐกจิ เปน็ ส�ำคญั โดยเฉพาะด้านการเกษตร ซงึ่ ถอื วา่ เปน็ หวั ใจของภาคเศรษฐกจิ เมยี นมาร์ อยา่ งไรกต็ าม เมยี นมารม์ ี แผนท่ีจะพัฒนาการเกษตรให้ก้าวหน้าด้วยการเพิ่มเน้ือที่การเพาะปลูก การปรบั ปรุงระบบชลประทาน การปรับปรุงพนั ธ์ุพชื ตลอดจนการดแู ล เร่ืองการใช้ปุ๋ยและสารเคมีต่างๆ การพัฒนาด้านการเกษตรนี้เพื่อ การเพิ่มพูนของผลผลิตให้เพียงพอต่อการบริโภคของประชาชนใน ประเทศและการส่งออก 2.3.2 แผนพัฒนาอตุ สาหกรรม นอกจากนี้ รัฐบาลเมียนมาร์มีแผนจะพัฒนาอุตสาหกรรมภายใน ประเทศ โดยได้ก�ำหนดแผนระยะ 30 ปี (พ.ศ. 2543/4 – 2573/4) เรียกแผนการพฒั นานีว้ า่ “30 Year Industrial Development Plan (2000/01 to 2030/31) เพ่ือเปลี่ยนแปลงการผลิตจากภาคเกษตรไป สู่ภาคอุตสาหกรรม ยุทธศาสตร์ที่จะรองรับแผน 30 ปี โดยการต้ัง เขตอุตสาหกรรมขึ้น 18 แห่งทั่วประเทศ เพ่ือดึงดูดการลงทุนในปี 78

พ.ศ. 2533 และพ.ศ. 2538 รัฐบาลได้ต้ังคณะกรรมการพัฒนา อุตสาหกรรรมเมยี นมาร์ (The Myanmar Industrial Development Committee ) ซ่ึงมีรัฐมนตรีกระทรวงอุตสาหกรรมเป็นประธาน โดยมี เป้าหมายในการพัฒนาอุตสาหกรรมดังตอ่ ไปน้ี 1. เพือ่ การพัฒนาอุตสาหกรรมการเกษตร 2. เพื่อยกระดับคณุ ภาพและปริมาณของผลผลิตภาคอตุ สาหกรรม 3. เพื่อผลิตชิน้ สว่ นเครอื่ งจักรใหมๆ่ 4. เพื่อผลิตเครื่องจักร ชิ้นส่วน และเครื่องมือส�ำหรับโรงงาน อตุ สาหกรรม และ 5. สร้างรากฐานที่มั่นคงเพ่ือเปลี่ยนประเทศไปสู่การเป็นประเทศ อุตสาหกรรม พร้อมกันน้ี เมียนมาร์ได้ก�ำหนดยุทธศาสตร์เพื่อรองรับ เปา้ หมายเหลา่ น้ี ซง่ึ ไดแ้ ก่ 5.1 เพ่ือพฒั นาอตุ สาหกรรมของรัฐ สหกรณ์ และเอกชน 5.2 เพอื่ กระตุน้ และสนับสนนุ การพัฒนาทรพั ยากรดา้ นการ เกษตร 5.3 เพ่ือสนับสนุนอุตสาหกรรมทดแทนการน�ำเขา้ และกระตนุ้ การผลติ เพื่อการส่งออก 5.4 เพอ่ื อ�ำนวยความสะดวกการลงทนุ จากต่างชาติ และให ้ บริการความช่วยเหลือที่จ�ำเปน็ แกผ่ ู้ลงทนุ ชาวเมียนมารใ์ น ภาคอุตสาหกรรม 5.5 เพอ่ื อ�ำนวยความสะดวกในการยกระดบั เทคโนโลยดี า้ นขอ้ มลู ให้เท่าเทียมกบั ต่างชาติ [5] ยุทธศาสตร์ที่ส�ำคัญในการพัฒนาอุตสาหกรรม คือ การสนับสนุน ระบบบริหารราชการของสาธารณรัฐแห่งสหภาพเมยี นมาร์ 79

ภาคเอกชนเข้ามาลงทนุ ในภาคนใี้ หม้ ากขนึ้ นอกจากนี้ รัฐบาลเมยี นมาร์ ยังสนับสนุนให้ชาวต่างชาติเข้ามาลงทุนในด้านอุตสาหกรรมเช่นกัน ผ่านการเข้าร่วมทุนกับนักลงทุนเมียนมาร์ในลักษณะของการลงทุนร่วม (Joint Venture) หรือการลงทนุ ทางตรง ท้ังนี้ เพอ่ื เปน็ การระดมทนุ ใน กิจการอุตสาหกรรมใหญ่ รวมท้ังเพ่ือเป็นการยกระดับความสามารถใน การผลติ ดว้ ยเทคโนโลยที นั สมยั หลงั จากการปดิ ประเทศไปเปน็ เวลา 26 ปี อันเน่อื งจากระบบสงั คมนยิ มวิถีเมยี นมาร์ (The Burmese Way to Socialism) ซ่ึงมีหลักการด�ำเนินการในการพ่ึงพาต่างชาติให้น้อยท่ีสุด และเน้นการพ่ึงพาตนเอง การปิดตัวเองจากการติดต่อกับต่างประเทศ ท�ำให้ขาดการเรียนรู้ในเทคโนโลยีท่ีทันสมัย ส่งผลให้การผลิตของภาค อตุ สาหกรรมเมยี นมารย์ ังล้าหลงั เม่ือเทยี บกับประเทศเพ่ือนบา้ น ดงั นั้น เมือ่ รัฐบาลมีนโยบายสนบั สนนุ การพฒั นาภาคอุตสาหกรรม จงึ ตอ้ งการ สนบั สนนุ ดา้ นเทคโนโลยจี ากตา่ งชาตใิ นการพฒั นาและถา่ ยทอดวชิ าการ ที่ทันสมัยให้กับนักลงทุนชาวเมียนมาร์ และเพื่อการด�ำเนินการเป็นไป ตามเปา้ ประสงค์ รัฐบาลไดก้ �ำหนดเขตนคิ มอุตสาหกรรม 18 แหง่ เพื่อ สนบั สนนุ ใหเ้ อกชนเขา้ ไปลงทนุ และสนบั สนนุ การถา่ ยโอนอตุ สาหกรรม และโรงงานที่เป็นรัฐวิสาหกิจให้เอกชนดําเนินงาน โดยในส่วนของเขต นิคมอุตสาหกรรมน้ัน รัฐบาลได้ก�ำหนดพื้นที่กระจายไปทั่วประเทศ หากแต่ส่วนใหญ่ ยังคงกระจุกตัวเฉพาะบริเวณตอนกลางของประเทศ เป็นส�ำคัญ โดยเฉพาะในเขตเมืองหลัก อาทิ ย่างกุ้ง พะโค มัณฑะเลย์ เปน็ ตน้ อยา่ งไรกต็ ามรฐั บาลไดเ้ พม่ิ พน้ื ทข่ี องเขตนคิ มอตุ สาหกรรมไปอยู่ บรเิ วณชายแดน ซง่ึ มอี าณาเขตตดิ ตอ่ กบั จนี และไทย อกี ทง้ั ยงั ไดก้ ําหนด พื้นทบี่ างแหง่ ใหเ้ ป็นเขตเศรษฐกจิ พเิ ศษ เชน่ เขตเศรษฐกิจพิเศษติละวา 80

โดยสรปุ อาจกลา่ ววา่ รฐั บาลเมยี นมารม์ ยี ทุ ธศาสตรใ์ นการสนบั สนนุ ภาค อุตสาหกรรม ประกอบด้วย 1. การสนับสนุนให้เอกชนเขา้ มาลงทนุ เพ่ิมข้ึน 2. การสนับสนุนการแปรรปู รฐั วสิ าหกิจ 3. การกําหนดพ้นื ท่นี ิคมอตุ สาหกรรม เพื่อสนับสนุนการลงทุนเป็น 3 ลกั ษณะ คอื 1) พนื้ ทีน่ ิคมอุตสาหกรรม 18 แห่ง 2) พ้นื ทเ่ี ขตเศรษฐกจิ พิเศษ 3) พืน้ ทน่ี คิ มอุตสาหกรรมในบรเิ วณชายแดน ระบบบรหิ ารราชการของสาธารณรัฐแห่งสหภาพเมยี นมาร์ 81

82

3 ประวตั ิความเป็นมาของระบบราชการ ระบบบริหารราชการของสาธารณรัฐแห่งสหภาพเมียนมาร์ 83

3.1 ความเปน็ มาของระบบราชการ ข้าราชการในยุคก่อนตกเป็นอาณานิคม หรือยุคท่ีกษัตริย์เมียนมาร์ ยงั ด�ำรงอยู่ เปน็ ทเี่ คารพยกย่องของผคู้ น ถึงแม้วา่ การคดั เลอื ก การแตง่ ตงั้ และเงอ่ื นไขการใหบ้ รกิ ารไมเ่ ขม้ งวด กษตั รยิ เ์ ปน็ ผแู้ ตง่ ตง้ั ผคู้ งแกเ่ รยี น ที่มีความรู้ความสามารถและผู้เช่ียวชาญการบริหารบ้านเมือง ดูได้จาก การตดั สนิ ของศาล ค�ำสัง่ และกจิ กรรมต่างๆ เปน็ เรือ่ งสามัญทว่ั ไป ไดม้ ี การจดบันทึกอย่างละเอียด ซ่ึงสะท้อนภาพให้เห็นว่าพ้ืนความรู้ของ เมียนมาร์อยู่ในระดับสูง แม้เป็นช่วงเวลาท่ีอังกฤษเข้ายึดครอง ก็ต้อง ยอมรับว่าความสามารถในการอ่านออกเขียนได้ของชาวเมียนมาร์อยู่ใน ระดบั สงู กวา่ คนในอาณานคิ มอน่ื ๆ ขององั กฤษ ความส�ำเรจ็ ในภาษาและ วรรณกรรมเปน็ เรือ่ งที่ผคู้ นต้องยกย่องและกลา่ วถงึ หลงั จากตกเป็นอาณานคิ ม ส�ำนกั งานของบรษิ ัท บริติส อสี อนิ เดยี ซ่ึงมีส�ำนักงานใหญ่อยู่ท่ีกัลกัตตาเป็นผู้บริหารเขตปกครองในปี พ.ศ. 2428 เมียนมาร์ทั้งหมดถูกผลักดันให้อยู่ใต้กฎระเบียบของอาณานิคม ระหว่างปี พ.ศ. 2429-2480 (ค.ศ. 1886-1937) เมยี นมาร์ถูกจัดการ ดแู ลใหเ้ ปน็ เพยี งหนง่ึ จงั หวดั ของอนิ เดยี และถกู ปกครองโดยอปุ ราชของ อังกฤษในอนิ เดีย จากรายงานของคณะกรรมการชุด Mac Aulay Jowelt ในปี พ.ศ. 2368 ว่าหน่ออ่อนของระบบการบริหารจัดการได้ถูกก�ำหนดให้ไปใช้ใน อินเดียและเมียนมาร์ โดยบุคลากรชาวอังกฤษกับชาวพื้นเมืองอีก บางส่วน ข้าราชการช้นั หวั หน้าในแต่ละระดับช้ันและขา้ ราชการอินเดยี ต่างมีความสุขกับอภิสิทธ์ิต่างๆ และค�ำนึงถึงการเป็นชนช้ันน�ำ ในปี 84

พ.ศ. 2480 เมียนมาร์ถูกแยกออกจากอินเดีย คณะกรรมการบริการ ภาครัฐที่แยกออกมาถูกจัดต้ังขึ้นในเมียนมาร์เพื่อสรรหาและบรรจุ ขา้ ราชการเมยี นมาร์ หลงั จากประสบความส�ำเร็จได้เอกราชในเดอื นมกราคม พ.ศ. 2491 เมยี นมารย์ งั คงใชโ้ ครงสรา้ งการบรหิ ารจดั การท่ีสง่ มอบโดยอังกฤษ และ อิสรภาพท่ีตามมา คือ มีข้าราชการเมียนมาร์เกือบทั้งหมดเป็น ชาวเมยี นมาร์ (ยกเว้นการบริการท่อี าศยั ผูเ้ ชยี่ วชาญมืออาชีพ) ในปี พ.ศ. 2496 มปี ระกาศใชก้ ฎหมายขา้ ราชการพลเรอื น และคณะ กรรมการสหภาพข้าราชการเป็นเรื่องที่มาก่อนของคณะกรรมการ การคัดเลือกและการฝึกอบรมข้าราชการพลเรอื น (The Civil Service Selection and Training Board - CSSTB) ถูกจัดตั้งในปี พ.ศ. 2520 มีการประกาศใช้กฎหมายคณะกรรมการการคัดเลือกและการฝึกอบรม ขา้ ราชการพลเรอื น และมกี ารแตง่ ตง้ั คณะกรรมการการคดั เลอื กและการ ฝกึ อบรมขา้ ราชการพลเรอื น สถาบนั การฝกึ อบรมขา้ ราชการ Phaung gyi กอ่ ตงั้ ขน้ึ ในปี พ.ศ. 2508 ภายใต้การก�ำกับของกระทรวงมหาดไทย และถูกย้ายไปอยู่ภายใต้ การบริหารของคณะกรรมการการคัดเลือกและฝึกอบรมข้าราชการ พลเรือน (CSSTB) ในปี พ.ศ. 2520 ซ่งึ ต้งั แตด่ �ำเนนิ งานมามีประธานมา แล้ว 7 คน ในนามของคณะกรรมการข้าราชการพลเรือนและคณะ กรรมการการคดั เลอื กและฝกึ อบรมขา้ ราชการพลเรอื น (CSSTB) อกี ทง้ั ส�ำนักงานใหญ่ของคณะกรรมการการคัดเลือกและฝึกอบรมข้าราชการ พลเรอื น (CSSTB) ทรี่ วมถงึ กรมการคดั เลอื กและการฝกึ อบรมขา้ ราชการ พลเรอื น (CSSTD) และกรมการขา้ ราชการพลเรอื น (CSAD) ไดเ้ ปดิ ท�ำการ ระบบบริหารราชการของสาธารณรฐั แห่งสหภาพเมยี นมาร์ 85

ใหม่ท่ีกรงุ เนปดิ อว์ ตงั้ แต่วันท่ี 21 กุมภาพนั ธ์ พ.ศ. 2549 เปน็ ต้นมา นอกจากนร้ี ฐั บาลเมยี นมารไ์ ดร้ บั การชว่ ยเหลอื ในการพฒั นาบคุ ลากร ภาครัฐโดยความช่วยเหลือจากต่างประเทศมาโดยตลอด อยา่ งโครงการ ความรว่ มมอื กบั มลู นธิ สิ นั ตภิ าพซาซากาวา่ (SPF) ของญปี่ นุ่ ไดจ้ ดั ประชมุ เชงิ ปฏบิ ตั กิ ารใหแ้ กบ่ คุ ลากรภาครฐั ปลี ะ 120 คน ในหวั ขอ้ “การฝกึ อบรม เชิงปฏิบตั ิการ การเพิม่ ประสิทธภิ าพของข้าราชการพลเรอื นเมียนมาร์” ในระหว่างปี พ.ศ. 2545-2547 ซ่งึ การฝกึ อบรมนป้ี ระสบความส�ำเร็จใน สว่ นทเี่ พมิ่ ประสทิ ธภิ าพขา้ ราชการพลเรอื นในการท�ำงานรว่ มกนั และใน ปี พ.ศ. 2545 ประเทศสงิ คโปรไ์ ดบ้ รจิ าคเงนิ ชว่ ยเหลอื จดั ตง้ั โรงเรยี นการ ฝกึ อบรมเมยี นมาร์สงิ คโปร์ (Singapore-Myanmar Training School) ในยา่ งกงุ้ ตามโปรแกรมเรมิ่ ตน้ เพอื่ การรวมกลมุ่ อาเชยี่ น (The Initiative for ASEAN Integration Programme-IAI) โดยมเี นอ้ื หาครอบคลมุ ความ หลากหลายในการพัฒนาทรัพยากรมนุษย์ ไม่ว่าด้านภาษาอังกฤษ เทคโนโลยีสารสนเทศ การบรหิ ารภาครัฐ การค้า และการทอ่ งเที่ยว โรงเรียนการฝึกอบรมเมียนมาร์สิงคโปร์นี้ ยังมีโปรมแกรมที่ได้ มาตรฐานยกระดับส�ำหรับครูผู้ฝึกอบรมด้านต่างๆ จึงมีการส่งครู ผู้ฝึกอบรมมาเรียนในหลายหลักสูตรท่ีโรงเรียนน้ี และยังมีการส่งครู ผ้ฝู ึกอบรมเดน่ ๆ ใหม้ โี อกาสไดเ้ ข้ารว่ มหลกั สูตรการฝึกอบรมตา่ งๆ และ เปน็ ตวั แทนไปดงู านในต่างประเทศ เช่น มาเลเซยี สิงคโปร์ ไทย ญี่ปนุ่ อนิ เดยี เกาหลี จนี และ ฯลฯ 86

4 ภาพรวมของระบบราชการ ระบบบรหิ ารราชการของสาธารณรัฐแหง่ สหภาพเมยี นมาร์ 87

4 .1 รกัฐาบรเาขลา้ สนูป่โยรบะชายาครฐัมบอาาลเซแยี นละนโยบาย 4.1.1 นโยบายรัฐบาล นโยบายต่างประเทศ โดยรวมนโยบายต่างประเทศของเมียนมาร์เป็นไปตามแนวทางท่ีได้ ประกาศไวต้ งั้ แตไ่ ดร้ บั เอกราชเมอื่ ปี พ.ศ. 2491 (ค.ศ. 1948) และปฏบิ ตั ิ สบื ต่อกนั มา โดยมีหลกั การส�ำคัญ ดังน้ี 1. รักษาหลัก 5 ประการของการอยู่ร่วมกนั อย่างสนั ติ • การเคารพเอกราชและอธปิ ไตย • การไมร่ ุกราน • การไม่แทรกแซงกิจการภายใน • การรักษาผลประโยชน์ร่วมกันและความเทา่ เทยี มกัน • การอยู่ร่วมกนั อย่างสนั ติ 2. รักษาความสัมพันธ์ท่ีเป็นมิตรกับทุกประเทศ โดยเฉพาะกับ ประเทศเพอื่ นบ้าน 3. สนบั สนุนสหประชาชาตแิ ละองค์กรของสหประชาชาติ 4. ด�ำเนินความสัมพันธ์และความร่วมมือทวิภาคีและพหุภาคีใน กรอบของนโยบายตา่ งประเทศทเ่ี ป็นอสิ ระ 5. ประสานงานและรว่ มมอื กบั กลมุ่ ประเทศในภมู ภิ าคดา้ นเศรษฐกจิ และสงั คม 6. ด�ำเนินการอย่างแข็งขันเพ่ือสันติภาพของโลกและความม่ันคง 88

ต่อต้านลัทธิจักรวรรดินิยม อาณานิคม และอาณานิคมในรูปแบบใหม่ โดยเฉพาะการแทรกแซงกิจการภายใน และการมีอ�ำนาจเหนือรัฐอ่ืน และเพอื่ ความเสมอภาคด้านเศรษฐกิจ 7. ยอมรบั ความชว่ ยเหลอื จากภายนอก เพอื่ การพฒั นาประเทศโดย ไม่มเี งือ่ นไขผูกมดั ในปัจจุบันเมียนมาร์ให้ความส�ำคัญอย่างย่ิงต่อหลักการไม่แทรกแซง กิจการภายใน รัฐบาลเมียนมาร์ยืนกรานที่จะด�ำเนินการทางการเมือง ตามแนวทางของตน ไม่ให้ฝ่ายใดเข้ามาก้าวก่ายกิจการภายใน ขณะ เดียวกันก็พยายามรักษาความสัมพันธ์ท่ีดีกับประเทศท่ีจะเอ้ือประโยชน์ ตอ่ เมยี นมาร์ โดยเฉพาะประเทศในภมู ภิ าคเพอ่ื เปน็ พนั ธมติ รในการรบั มอื กับแรงกดดนั จากประเทศตะวนั ตก นโยบายเศรษฐกจิ จากเศรษฐกจิ โลกยคุ ไรพ้ รหมแดน จงึ ท�ำใหเ้ ปน็ แรงผลกั ดนั ใหป้ ระเทศ เมียนมาร์ปรับการจัดการระบบเศรษฐกิจจากระบบวางแผนส่วนกลาง (Centrally-planned Economy) มาเป็นระบบตลาดเสรีและเปิด ประเทศรองรับการส่งเสริมการลงทุนจากภายนอก ส่งเสริมการส่งออก การท่องเที่ยว และขยายความร่วมมือทางเศรษฐกิจกับภูมิภาคที่ท�ำให้ เศรษฐกิจมีการเติบโตอย่างทั่วถึง ซึ่งดูได้จากรายงานเศรษฐกิจสหภาพ เมยี นมารข์ องธนาคารแหง่ ประเทศไทยพบวา่ เศรษฐกจิ เมยี นมารป์ ี พ.ศ. 2555 (ค.ศ. 2012) ขยายตัวมากข้ึน จากแรงขับเคลื่อนของการลงทุน ดา้ นพลังงานนำ้� มันและกา๊ ซเปน็ สําคัญ รวมทงั้ ความพยายามการปฏิรปู เศรษฐกิจและการเมือง จึงส่งผลให้ประเทศตะวันตกทั้งสหรัฐอเมริกา ระบบบริหารราชการของสาธารณรฐั แหง่ สหภาพเมียนมาร์ 89

สหภาพยุโรป และอีกหลายประเทศเร่ิมผ่อนคลายมาตรการคว�่ำบาตร รวมถึงการดําเนินนโยบายต่างประเทศในการมุ่งสร้างความสัมพันธ์ที่ ใกล้ชิดกับประเทศในภูมิภาคอาเซียนมากขึ้น ถือเป็นการสร้างความ เช่อื มนั่ ใหก้ บั นักลงทุนจากตา่ งประเทศ จากการประเมินล่าสุดของกองทุนการเงินระหว่างประเทศ (Inter- national Monetary Fund) หรือ IMF คาดว่าปีงบประมาณ พ.ศ. 2555/2556 เศรษฐกจิ จะขยายตัวรอ้ ยละ 6.3 และปีงบประมาณ พ.ศ. 2556/57 ขยายตัวร้อยละ 5.4 และยังขยายตัวต่อเนื่องในอีก 4 ปี งบประมาณเฉล่ยี รอ้ ยละ 6.7 ต่อปี แนวโนม้ ดา้ นการคา้ ระหว่างประเทศ และการลงทนุ ยงั คงเพมิ่ ขน้ึ อยา่ งตอ่ เนอื่ ง จากความเชอ่ื มน่ั สภาพแวดลอ้ ม ทางเศรษฐกิจที่มีการเปล่ียนแปลงในทิศทางท่ีดีข้ึน และมาตรการ คว่ำ� บาตรผ่อนคลายมากขนึ้ ในปี พ.ศ 2556 การประกาศกฎหมายการ ลงทนุ ฉบบั ใหม่ และกฎหมายเหมอื งแรท่ กี่ ําลงั ออกมา ภาคการเงนิ มกี าร ปฏิรูประบบสถาบนั การเงนิ เพ่อื รองรับดา้ นเศรษฐกิจ ธนาคารกลางเมีย นมารไ์ ดเ้ ปลย่ี นระบบอตั ราแลกเปลย่ี นหลายอตั รามาเปน็ ระบบเดยี ว คอื ระบบอตั ราแลกเปลย่ี นลอยตวั แบบจดั การ (Managed Float Exchange Rate) นบั เปน็ การปฏริ ปู ระบบการเงนิ ทสี่ ําคญั ของเมยี นมาร์ สง่ ผลทําให้ อัตราแลกเปลี่ยนทางการเดมิ อยูท่ ่ี 6 จั๊ด/ดอลลาร์ สรอ. มาอย่ทู ่ี 818 จั๊ด/ดอลลาร์ สรอ. เป็นการสร้างความเชอ่ื มน่ั ให้กบั พ่อคา้ และนกั ลงทุน เนื่องจากมีอัตราใกล้เคียงอัตราตลาดมืด อีกท้ังธนาคารกลางเมียนมาร์ ได้ผ่อนคลายให้ธนาคารพาณิชย์ในประเทศ 11 แห่ง สามารถรับแลก เปล่ียนเงินตราต่างประเทศ และอนุญาตให้ธุรกิจและบุคคลธรรมดา สามารถขออนุญาตเป็นบุคคลรับอนุญาต เพ่ือเพิ่มช่องทางแลกเปลี่ยน 90

เงินตราและเพ่ิมสภาพคล่องในการทําธุรกรรมเงินตราต่างประเทศใน ระบบมากข้นึ ต่อมากระทรวงการคลังและรายได้ประกาศอนุญาตให้ธนาคารต่าง ประเทศที่มีสํานักงานตัวแทนในเมียนมาร์สามารถเจรจาร่วมทุนกับ ธนาคารพาณชิ ยเ์ อกชนทงั้ 11 แหง่ ทไี่ ดร้ บั อนญุ าตใหบ้ รกิ ารธนาคารดา้ น ตา่ งประเทศ และในจํานวนนมี้ ี 4 ธนาคารทใี่ หบ้ รกิ ารเงนิ โอนแรงงานตา่ ง ประเทศ ซ่ึงในอนาคตมีแนวโน้มจะอนุญาตให้เปิดสาขาและบริการเต็ม รปู แบบ นอกจากน้ีรัฐบาลเมียนมาร์ท�ำข้อตกลงร่วมมือกับตลาดหุ้นโตเกียว และกลมุ่ หลกั ทรัพย์ไดวา (Tokyo Stock Exchange and Daiwa Se- curities Group) ท่จี ะให้ความช่วยเหลือจัดต้งั ตลาดหลกั ทรพั ย์ คาดว่า จะเรมิ่ เปดิ ตลาดหลกั ทรพั ยภ์ ายในปี พ.ศ. 2558 สว่ นดา้ นการคา้ ระหวา่ ง ประเทศคาดวา่ จะมีรายไดจ้ ากการสง่ ออกกา๊ ซธรรมชาติในแหล่งใหม่ท่ี เร่มิ ส่งออกไดต้ ง้ั แตป่ ี พ.ศ. 2556 และภาคการท่องเที่ยวทีย่ งั มีแนวโน้ม ขยายตวั ตอ่ เนอ่ื งจากนกั ทอ่ งเทย่ี วยโุ รปและสหรฐั อเมรกิ า ประกอบกบั มี นกั ลงทนุ จากตา่ งประเทศเดนิ ทางเขา้ ไปสํารวจพน้ื ทเ่ี พอ่ื มองหาลทู่ างการ ลงทนุ ในอนาคต นโยบายดา้ นสุขภาพ นโยบายสุขภาพแห่งชาติได้รับการพัฒนาในปี พ.ศ. 2536 ท่ีมีการ เรม่ิ ตน้ โดยค�ำแนะน�ำของคณะกรรมการสขุ ภาพแหง่ ชาติ นโยบายสขุ ภาพ แห่งชาติได้วางเป้าหมายสุขภาพท่ีส�ำคัญ คือ ใช้วิธีการดูแลสุขภาพ เบอื้ งตน้ และจะระบไุ วอ้ ยา่ งชดั เจนในการด�ำเนนิ กจิ กรรมสขุ ภาพในการ ระบบบรหิ ารราชการของสาธารณรฐั แหง่ สหภาพเมยี นมาร์ 91

ท�ำงานร่วมกันอย่างใกล้ชิด และท�ำงานร่วมกับกระทรวงที่เกี่ยวข้อง เมียนมารไ์ ดก้ �ำหนดและด�ำเนินการจัดท�ำแผนสขุ ภาพในระยะยาว และ ในปัจจุบันเป็นไปตามแผนสุขภาพแห่งชาติ พ.ศ. 2549-2554 ภายใน กรอบระยะเวลาหา้ ปี โดยปที ส่ี อง วสิ ัยทศั น์สุขภาพของเมยี นมาร์ พ.ศ. 2573 มีเป้าหมายท่ีจะเพิ่มอายุเฉล่ียโดยคาดหวังท่ีอายุ 75 ปี การให้ บรกิ ารการดแู ลสขุ ภาพผสู้ งู อายจุ ะไดร้ บั การรกั ษาพยาบาลฟรี ไดร้ บั การ ยกเว้นจากสว่ นแบง่ คา่ ใช้จา่ ย และไดร้ บั การดูแลเป็นพิเศษในครอบครัว และชุมชน เช่น บริการที่อยู่อาศัยส�ำหรับผู้สูงอายุท่ีก�ำลังเผชิญปัญหา สังคมและความยากล�ำบากในการท�ำกิจกรรมในชีวิตประจ�ำวันและไม่มี ครอบครัว โดยให้การสนับสนุนทางสังคมโดยไม่ค�ำนึงถึงเชื้อชาติ บ้าน ผู้สูงอายุทุกคนมีคณะกรรมการก�ำกับดูแล รวมทั้งข้าราชการพลเรือนที่ เกษยี ณอายรุ าชการ นอกจากนกี้ รมสวสั ดกิ ารสงั คมยงั ใหค้ วามชว่ ยเหลอื ด้านการเงินและเทคนิค สร้างขีดความสามารถรวมถึงวิธีการที่จะเข้าใจ และตรวจสอบพ้ืนฐานสาเหตุของการเจ็บป่วย และมีอิทธิพลต่อปัจจัย ทางสงั คม สขุ ภาพจติ ใจ และปญั หาทค่ี นก�ำลงั เผชญิ จงึ จะสามารถเขา้ ใจ และมคี วามเห็นอกเห็นใจตอ่ ผู้ป่วยสูงอายุ มกี ารอบรมกจิ กรรมการออก ก�ำลังกายที่งา่ ยและใช้งานได้ นโยบายการลงทนุ จากตางชาตขิ องเมยี นมาร ภายหลังการปฏริ ูปประเทศ นับต้ังแตเมียนมารไดริเริ่มการปฏิรูประเทศ ในป พ.ศ. 2553 โดย รัฐบาลชุดใหมท่ีมิใชรัฐบาลทหาร มีการเปล่ียนแปลงเกิดข้ึนอยางมาก โดยเฉพาะในดานการเปดเสรกี ารคาและการลงทนุ ซ่งึ ถือเปน การปูทาง 92

ใหเมียนมารสามารถรวมตัวเขากับเศรษฐกิจโลกไดอีกคร้ังหลังจากท่ี ไดปด ประเทศมายาวนานกวา 5 ทศวรรษ ทงั้ ยงั เสรมิ สรางภาพลักษณ ดานบวกของเมียนมารในสายตาชาวโลก โดยเฉพาะอยางยิ่งในการ เสรมิ สรางความเชอื่ มนั่ ของนักลงทุนตางชาติ การปฏริ ปู นโยบายเศรษฐกจิ มหภาคทสี่ ําคญั คอื การทบทวนปรบั ปรงุ กฎหมายการลงทุนฉบับเดิมใหมีความทันสมัยและสอดรับกับ สภาพแวดลอมในปจ จุบัน ท้งั ยงั สอดคลอ งกับแผนงานภายใตกรอบการ ปฏิรปู ทางเศรษฐกจิ และสังคม (Framework for Economic and So- cial Reform: FESR) ซ่ึงเปน็ แผนงานในชว ง 3 ป (พ.ศ. 2556-2558) โดยการปฏิรูปประเทศเมียนมารดานการลงทุน เม่ือป พ.ศ. 2555 เมียนมารไดมีการออกกฎหมายการลงทุนฉบับใหม (Foreign Invest- ment Law: FIL) มาใชแทนกฎหมายฉบับเดิม มีวัตถุประสงคเพ่ือ สง เสรมิ การลงทนุ จากตางชาตใิ นเมยี นมาร ซงึ่ ถอื เปน็ ปจ จยั สําคญั ในการ ขับเคล่ือนเศรษฐกิจของประเทศ รวมถึงการพัฒนาโครงสรางพื้นฐาน การพัฒนาทรัพยากรมนุษย การถ่ายทอดเทคโนโลยี การสรางการ จางงานภายในประเทศ อนั นําไปสกู ารลดความยากจน และการพัฒนา ประเทศอยางย่ังยืน มีหนวย งานหลักที่รับผิดชอบการพิจารณาอนุมัติ โครงการลงทนุ ของตางชาติ คอื คณะกรรมาธกิ ารการลงทนุ แหง เมยี นมาร (Myanmar Investment Commission: MIC) ตามกฎหมายการลงทุนฉบับใหม การลงทุนจากตางชาติในเมียน- มารจ ะสามารถทําไดในขอบเขตท่ีกวางขวางมากขนึ้ อนุญาตใหตางชาติ เขามาลงทุนไดเกือบทุกสาขา ยกเวนในสาขาที่ระบุไวในรายการที่หาม มิใหตางชาติเขามาลงทุน (Negative List) ซ่ึงครอบคลุมธุรกิจที่มีผล ระบบบรหิ ารราชการของสาธารณรฐั แหง่ สหภาพเมยี นมาร์ 93

กระทบตอวัฒนธรรมและขนบธรรมเนียมประเพณี สาธารณสุข ระบบนเิ วศน์ และสง่ิ แวดลอ ม เปน็ ตน้ สําหรบั สทิ ธิประโยชนพ ิเศษดานการลงทนุ เม่ือเปรียบเทียบระหวาง กฎหมายการลงทนุ ฉบบั เดมิ กบั ฉบบั ใหมพ บวา นกั ลงทนุ ตางชาตจิ ะไดร บั จากสิทธิประโยชนดานตางๆ มากข้ึนกวาเดิม ท่ีเห็นไดชัดคือสิทธิ ประโยชนใ นการยกเวน ภาษีเงินไดใ นระยะเวลา 5 ป (เม่ือเทียบกบั 3 ป ตามกฎหมายเดิม) และยังสามารถตอ อายุได หากรฐั บาลเมียนมารเ ห็น วา่ เปน็ การลงทุนท่ีเป็นประโยชนตอรฐั นอกจากน้ี ยงั ใหการยกเวน ภาษี นําเขา เคร่อื งจกั ร อปุ กรณ และวัสดทุ ี่ใชใ นการกอ สรางกิจการ รวมถงึ ภาษนี ําเขาวตั ถุดบิ ทใ่ี ชในการผลิตในชว ง 3 ปแ รกของกิจการ สวนสทิ ธิ ประโยชนในการเชาซื้อท่ีดิน นักลงทุนต่างชาติสามารถเชาซ้ือท่ีดินใน ระยะเวลานานถงึ 50 ป (เมื่อเทยี บกบั 30 ป ตามกฎหมายเดิม) และ สามารถตออายุได 2 ครงั้ คร้งั ละไมเกนิ 10 ป รวม 70 ป (เมอ่ื เทียบกับ 15 ป ตามกฎหมายเดมิ รวม 45 ป) ท้ังน้ี หากเปน การลงทุนในพ้ืนที่ ท่ียังไมพัฒนาและหางไกลการติดตอคณะกรรมาธิการการลงทุนแห่ง เมยี นมาร์ (MIC) อาจพจิ ารณาขยายการตอ อายกุ ารเชาซอ้ื ทดี่ นิ อกี 10 ป อยางไรก็ดี ประเด็นท่ีมีลักษณะพิเศษของกฎหมายฉบับน้ี และนัก ลงทุน ตางชาติจําเปนตองใหความสําคัญ คือ เร่ืองการจางแรงงาน ทอ งถนิ่ ชาวเมยี นมารใ นสดั สว นทเ่ี พมิ่ ขนึ้ ตลอดชว งเวลาการลงทนุ กลาว คอื อยางนอ้ ยรอยละ 25 ในชวง 2 ปแรก เพ่มิ ข้ึนเปน รอยละ 50 ในปท ่ี 3-4 และรอยละ 75 ในป 5-6 นอกจากนี้ การลงทุนจากตางชาติใน เมยี นมารย งั ถกู กํากบั ดแู ลตามกฎหมายเขตเศรษฐกจิ พเิ ศษ ป พ.ศ. 2554 และกฎหมายเขตเศรษฐกิจพิเศษทวายป พ.ศ. 2554 ซ่ึงปจจุบัน 94

เมยี นมารอ ยรู ะหวางพฒั นาเขตเศรษฐกจิ พเิ ศษ 3 แหง คอื ทวาย Kyauk Phue และ Thilawa ซ่ึงจะใหสิทธิประโยชนสวนใหญคลายคลึงกับที่ ไดร บั ตามกฎหมายการลงทนุ ฉบบั ใหม และเนน้ การสง่ เสรมิ การลงทนุ ใน ภาคการผลติ เพือ่ การสงออก นโยบายการเข้าสปู่ ระชาคมอาเซียน กระบวนการปฏริ ปู ในเมยี นมารเ์ ปน็ ไปตามขนั้ ตอนดงั น้ี ระยะที่ 1 คอื การปฏริ ูปทางการเมือง การปรองดอง การให้อสิ ระกับส่ือมวลชน ระยะ ท่ี 2 คอื การแสดงบทบาทร่วมในสงั คมอาเซียน และมเี ป้าหมายในการ กา้ วเขา้ สรู่ ะยะท่ี 3 คอื ยคุ ธรรมาภบิ าล (Good Governance) ซง่ึ รฐั บาล เมยี นมารไ์ ดผ้ ลกั ดนั อยา่ งเตม็ ท่ี ตงั้ แตก่ ารเปน็ เจา้ ภาพจดั การแขง่ ขนั กฬี า ซเี กมส์ (South-East Asian Games: SEA Games) ในปีท่ีผ่านมา เปน็ เจา้ ภาพในการจดั การประชมุ รฐั มนตรตี า่ งประเทศอาเซยี น ณ เมอื งพกุ าม ซึ่งเป็นการประชุมท่ีมีรัฐมนตรีต่างประเทศจากประเทศสมาชิกอาเซียน ทั้ง 10 ประเทศมาหารือ เพ่ือวางแนวทางการด�ำเนินงานของกิจกรรม อาเซียนตลอดทั้งปี ต่อมาก็เป็นการจัดอาเซียนพาราเกมส์ พ.ศ. 2557 (ASEAN Para Games) กจิ กรรมท้งั หมดเหลา่ นี้ ไดพ้ สิ ูจนแ์ ล้ววา่ เมยี นมาร์มีความพรอ้ มมาก ด้านประสิทธิภาพและความต้ังใจ ฉะนั้นในเร่ืองความพร้อมด้าน AEC ส�ำหรบั เมยี นมาร์มกี ารเตรียมตัวตา่ งๆ มากมาย ทสี่ �ำคญั ทส่ี ดุ คอื การ เปน็ ประธานอาเซยี นของเมยี นมารใ์ นปี พ.ศ. 2557 น้ี เนอื่ งจากในปี พ.ศ. 2558 สมาชิกท้ัง 10 ประเทศในอาเซียนจะเคลื่อนตัวเข้าสู่ความเป็น ประชาคมอาเซียน ฉะน้ัน ผู้ที่ได้เป็นประธานอาเซียนในปีน้ีจะมีความ ระบบบรหิ ารราชการของสาธารณรัฐแห่งสหภาพเมยี นมาร์ 95

ส�ำคัญมาก เพราะต้องเป็นผู้วางกลไกทุกอย่างเพื่อรองรับการเข้าสู่ ประชาคมในปีถัดไป อย่างไรก็ตามการได้มาเป็นประธานอาเซียนของ เมยี นมารน์ นั้ ถอื เปน็ ความทา้ ทายอยา่ งมาก ดว้ ยการเปน็ ประธานอาเซยี น คร้ังแรกของประเทศเมียนมาร์ ฉะน้ันความส�ำเร็จของการเป็นประธาน อาเซียนในคร้ังนี้ จะน�ำพาเมียนมาร์ไปสู่แถวหน้าของสังคมท่ีมีอาเซียน เปน็ เสาหลกั อกี ทง้ั ไดร้ บั ผลประโยชนท์ างการเมอื งทมี่ นี ยั ส�ำคญั อยา่ งมาก ส�ำหรบั เมยี นมาร์ในอนาคต เพ่ือพัฒนาการทางการเมือง เศรษฐกิจ และ สังคมในอนาคต ด้านสังคมของเมียนมาร์ในปัจจุบันเปิดมากขึ้น ชาวเมียนมาร์ใน ปัจจุบันเล่น Social Media ไม่ว่าจะเป็น facebook, twitter, line ท�ำให้โลกและชาวเมียนมาร์ต่างรับรู้ความเป็นไปของกันและกันผ่าน สื่อออนไลน์ท่ีไร้พรหมแดนด้วยพัฒนาการรับรู้ทั้งหลายเหล่านี้ ท�ำให้ เมยี นมารพ์ ลกิ บทบาทจากทเ่ี คยถกู นานาประเทศควำ�่ บาตรหรอื มองขา้ ม กลายเปน็ บเุ รงนองยุคไฮเทคกย็ อ่ มได้   96

4.2 จ�ำนวน และรายช่ือกระทรวงพร้อมทีต่ ิดต่อ 4.2.1 โครงสร้างรัฐบาล UปรTะhธeาiนnาธSบิeiดnี รอUงปNรyะaธnานTาuธnิบดี UรSอaงlปMระaธuาkนาKธhบิ aดmี อัยการสงู สดุ แหง่ สหภาพ 36 รฐั มนตรีวา่ การ กระทรวงสหภาพ ระบบบรหิ ารราชการของสาธารณรัฐแหง่ สหภาพเมยี นมาร์ 97

4.2.2 หนว ยงานราชการของเมยี นมาร์ หนว ยงานราชการของเมยี นมาร์ มีทง้ั หมด 30 กระทรวง ดังน้ี กระทรวง ขอ้ มูลตดิ ต่อ (M1in. กisรtะryทรoวfงDกลefาeโหnมce) เว็บไซต ์ http://www.modins.net myanmarinfo/ministry/defence.htm 2. กระทรวงเกษตร เวบ็ ไซต ์ http://www.moai.gov.mm/ และชลประทาน (Miniasntrdy IorrfigAagtrioicnu)lture 3. กระทรวงอตุ สาหกรรม เวบ็ ไซต์ http://www.industry1myanmar.com/ (Minister of Industry) http://www.industry2.gov.mm/ เวบ็ ไซต ์ http://www.mofa.gov.mm 4. กระทรวงการตา่ งประเทศ (Ministry of Foreign Affairs) 98

กระทรวง ข้อมูลติดตอ่ ทอ่ี ย ู่ Building No 1 , Nay Pyi Taw, Myanmar โเวท็บรไศซพั ตท ์ ์ +ht9t5ps6:/7/4w0w70w1.3mnped.gov.mm/ 5.พกัฒระนทารเศวรงษกาฐรกวจิ าแงหแง่ผชนาแตลิ ะ (aMnidniEstceornoofmNicatDioenvaelloPplamnennintg) 6. กระทรวงคมนาคม ทโท่ีอรยศ ู่ ัพ ท ์ 0O9ff5ic-6e7B4u1i1ld0i3n9g No. (5), Nay Pyi Taw ( Ministry of Transport ) อเวเี ็บมไลซ ต ์ hmtitnpo:/t/[email protected] 7. กระทรวงแรงงาน ท่อี ย ู่ Building No.5, Ministry of Labour (Ministry of Labour) โทรศพั ท ์ 067-430092 , 067-430079 เว็บไซต ์ http://www.modins.net/ myanmarinfo/ministry/labour.htm อีเมล [email protected] เวบ็ ไซต ์ http://www.myanmareducation.edu.mm อีเมล [email protected] 8. กระทรวงศึกษาธิการ (Ministry of Education) ระบบบรหิ ารราชการของสาธารณรฐั แหง่ สหภาพเมียนมาร์ 99