Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore หนังสือสาครบุรี

Description: หนังสือสาครบุรี

Search

Read the Text Version

สาครบรุ ี จากวถิ ชี าวบ้าน การเปลย่ี นผา่ นวถิ ชี ีวติ ท้องถ่นิ ในลมุ่ น้�ำท่าจีน จังหวัดสมทุ รสาคร ดร.นฤพนธ์ ด้วงวิเศษ (บรรณาธิการ) 3/20/2561 BE 15:04 คณะผู้เขียน รศ.ดร.ปรดี ี พิศภมู วิ ิถี, ดร.นฤพนธ์ ด้วงวเิ ศษ ดร.ตรงใจ หุตางกูร, ดร.สมรกั ษ์ ชยั สงิ หก์ านานนท์ จักรี โพธิมณี, นัทกฤษ ยอดราช, ธานินทร ลิมปิศิริ 1 สาครบุรี จากวิถีชาวบ้าน การเปลี่ยนผ่านวิถีชีวิตท้องถ่ินในลุ่มน�้ำท่าจีน จังหวัดสมุทรสาคร Sakorn-Buri_Book_Final 0320.indd 1

สาครบรุ ี จากวถิ ีชาวบ้าน 3/20/2561 BE 15:04 การเปลี่ยนผา่ นวถิ ีชวี ิตท้องถน่ิ ในล่มุ นำ้� ทา่ จีน จงั หวดั สมทุ รสาคร บรรณาธิการ ดร.นฤพนธ์ ดว้ งวิเศษ คณะผู้เขยี น รศ.ปรดี ี พิศภมู วิ ิถ,ี ดร.นฤพนธ์ ดว้ งวเิ ศษ, ดร.ตรงใจ หตุ างกูร, ดร.สมรักษ์ ชยั สิงหก์ านานนท์ จักรี โพธมิ ณี, นทั กฤษ ยอดราช, ธานนิ ทร ลมิ ปศิ ิริ พมิ พ์ครั้งท่ี 1 เดือนมนี าคม 2561 จำ� นวนพิมพ์ 1,000 เลม่ ออกแบบปกและรูปเลม่ สกลชนก เผือ่ นพงษ์ พสิ จู น์อักษร ธานินทร ลิมปศิ ิริ ประสานงานการผลติ ธนติ ตา ธนสิริกุลวงศ์ รูปภาพประกอบหนงั สอื พัชรวี รรณ์ เบ้าด,ี นฤพนธ์ ดว้ งวิเศษ, ตรงใจ หตุ างกูร, สมรกั ษ์ ชยั สิงห์กานานนท,์ จกั รี โพธมิ ณี, นทั กฤษ ยอดราช, ธานนิ ทร ลมิ ปิศริ ิ, นพพล เมฆมาก, ปัณวตั น์ ผ่องจิต (2) สาครบุรี จากวิถีชาวบ้าน การเปลี่ยนผ่านวิถีชีวิตท้องถิ่นในลุ่มน้�ำท่าจีน จังหวัดสมุทรสาคร Sakorn-Buri_Book_Final 0320.indd 2

งานบริหารสนิ ทรัพย์และบริการกลาง พ.ศ. 2561 จดั พิมพ์โดย ศูนยม์ านุษยวิทยาสิรินธร (องคก์ ารมหาชน) 20 ถนนบรมราชชนนี ตลิง่ ชนั กรงุ เทพมหานคร 10170 โทรศัพท์ 028809429 โทรสาร 028809332 www.sac.or.th พิมพ์ท่ี บจก. ซปุ เปอรพ์ ิกเซล ข้อมลู ทางบรรณานกุ รมหนังสือ ศนู ย์มานษุ ยวิทยาสริ นิ ธร (องคก์ ารมหาชน) ศูนยม์ านษุ ยวิทยาสริ นิ ธร (องค์การมหาชน) สาครบุรี จากวิถีชาวบ้าน : การเปล่ียนแปลงผ่านวิถีชีวิตท้องถ่ินในลุ่มน�้ำท่าจีน จังหวัดสมุทรสาคร / นฤพนธ์ ดว้ งวเิ ศษ : บรรณาธิการ. กรงุ เทพฯ: ศนู ยม์ านษุ ยวทิ ยาสิรินธร (องค์การมหาชน), 2561. 400 หนา้ (เอกสารวชิ าการลำ� ดับท่ี 124) ISBN : 978-616-7154-68-8 1. สมุทรสาคร -- ประวตั ิศาสตร์ -- กรงุ ศรอี ยุธยา, 1893-2310. 2. สมุทรสาคร - ประวัติศาสตร์ 3. สมุทรสาคร - ความเป็นอยู่และประเพณี - วิจัย 4. กลุ่มชาติพันธุ์ - สมทุ รสาคร - วจิ ยั . 5. การบชู า - สมทุ รสาคร – วจิ ยั I. นฤพนธ์ ดว้ งวเิ ศษ. II. ปรดี ี พศิ ภมู วิ ถิ .ี III. ตรงใจ หตุ างกรู . IV. นทั กฤษ ยอดราช. V.ธานนิ ทร ลมิ ปศิ ริ .ิ VI.สมรกั ษ์ ชยั สงิ หก์ านานนท.์ VII.จกั รี โพธมิ ณ.ี VIII. ชอ่ื รอื่ ง. DS589.ส47 (3) สาครบุรี จากวิถีชาวบ้าน การเปลี่ยนผ่านวิถีชีวิตท้องถ่ินในลุ่มน้�ำท่าจีน จังหวัดสมุทรสาคร Sakorn-Buri_Book_Final 0320.indd 3 3/20/2561 BE 15:04

โครงการเอกสารทางวิชาการ ศูนย์มานษุ ยวิทยาสิรนิ ธร (องคก์ ารมหาชน) ศูนย์มานุษยวิทยาสิรินธร (องค์การมหาชน) เป็นหน่วยงานของรัฐในก�ำกับ ของรฐั มนตรวี า่ การกระทรวงวฒั นธรรม ศนู ยฯ์ เรมิ่ ดำ� เนนิ การในฐานะองคก์ ารมหาชน มาต้ังแต่ปี พ.ศ. 2544 โดยมีภารกิจหลักในการเป็นศูนย์รวบรวมข้อมูลเพื่อการวิจัย ด้านมานุษยวิทยา มนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ ในอันที่จะสร้างความเข้มแข็ง ให้วงวิชาการเพ่ือน�ำไปสู่การสร้างและสะสมความรู้และเป็นมรดกทางสติปัญญา สำ� หรบั สงั คมไทยและเพอ่ื นรว่ มโลก นอกจากนนั้ ศนู ยฯ์ ยงั มกี ารดำ� เนนิ งานเพอื่ เผยแพร่ ความร้ใู ห้แกว่ งวชิ าการและสาธารณชนในรปู แบบตา่ ง ๆ โครงการจัดพิมพ์เอกสารวิชาการ เกิดข้ึนด้วยความตระหนักว่าหนังสือดี มคี ณุ ภาพเปน็ สง่ิ ทจ่ี ำ� เปน็ ยงิ่ ตอ่ วงการวชิ าการ หากเราตอ้ งการนกั วชิ าการทม่ี สี ตปิ ญั ญา เฉียบแหลม มจี รยิ ธรรมทมี่ น่ั คง และมีความรับผิดชอบตอ่ สงั คม สามารถรงั สรรค์งาน ท่ีมีคุณค่าต่อเพ่ือนมนุษย์ สังคมไทยจ�ำเป็นต้องมีการสร้างและเผยแพร่ผลงานที่มี คณุ ภาพในสาขาความรู้ตา่ ง ๆ อกี เป็นจ�ำนวนมาก เพือ่ เป็นตัวอย่างของงานที่กระตุ้น ท้าทายความคิด และเป็นแรงบันดาลใจให้มีการสร้างนักวิชาการรุ่นใหม่ๆ ข้ึนมา อย่างต่อเนื่อง และหากสังคมไทยปรารถนาท่ีจะเป็นสังคมอุดมปัญญา เราก็จ�ำเป็น ต้องมคี ลงั ความรทู้ ่ีมีปริมณฑลที่กว้างขวาง มีความลึกและหนกั แน่น เพอ่ื เปน็ พน้ื ฐาน ในการตดั สนิ ใจเมอื่ สงั คมเผชญิ ปญั หาและภาวะวกิ ฤตตา่ ง ๆ การบรรลเุ ปา้ หมายขา้ งตน้ ยังเป็นหนทางทีย่ าวไกล (4) สาครบุรี จากวิถีชาวบ้าน การเปลี่ยนผ่านวิถีชีวิตท้องถิ่นในลุ่มน�้ำท่าจีน จังหวัดสมุทรสาคร Sakorn-Buri_Book_Final 0320.indd 4 3/20/2561 BE 15:04

หนงั สอื ทจี่ ดั พมิ พใ์ นโครงการมที มี่ าทห่ี ลากหลาย มขี อบเขตเนอื้ หากวา้ งขวาง ส่วนหนึ่งเป็นการรวบรวมจากบทความที่น�ำเสนอในงานประชุมวิชาการทาง มานุษยวิทยา เพ่ือสนับสนุนให้มีเวทีส�ำหรับแลกเปลี่ยนความรู้ ความคิดเห็นระหว่าง นักวิชาการ และเปิดโอกาสให้นักวิชาการหน้าใหม่ได้เสนอผลงาน เอกสารวิชาการ บางส่วนเป็นผลงานวิจัย งานวิทยานิพนธ์ท่ีมีคุณภาพดี หรืองานเขียนที่ให้ข้อมูลหรือ ขอ้ คดิ ทม่ี คี ณุ คา่ นอกจากนน้ั ศนู ยฯ์ ยงั สนบั สนนุ ใหม้ กี ารพมิ พง์ านแปลในชดุ โครงการ นักคิดและความคิดเพ่ือให้มีหนังสือภาษาไทยที่อธิบายแนวคิดและทฤษฎีทางสังคม ของนกั คดิ คนสำ� คญั ของโลก รวมทงั้ สนบั สนนุ การพมิ พผ์ ลงานในเชงิ ตำ� รามานษุ ยวทิ ยา ส�ำหรับนักศึกษาใช้เป็นพื้นฐานในการท�ำความเข้าใจเบ้ืองต้น รวมทั้งผู้อ่านท่ัวไป ทตี่ ้องการหนังสือแนะน�ำความคิดในเบือ้ งต้นด้วย ศนู ยม์ านษุ ยวทิ ยาสริ นิ ธร (องคก์ ารมหาชน) มคี วามหวงั วา่ ผลงานทเี่ ราจดั พมิ พ์ ในโครงการน้ี จะเป็นวิถีทางไปสู่การสร้างความเข้าใจต่อความแตกต่างหลากหลาย ของผู้คนในวัฒนธรรมต่างๆ เพื่อให้เกิดความเห็นอกเห็นใจ เคารพศักดิ์ศรีของ เพ่ือนมนุษย์ ลบล้างอคติทางเชื้อชาติ ศาสนา และอยู่ร่วมกันอย่างสันติสุข รวมท้ัง สนองตอบความสนใจใคร่รู้ของผู้อ่านและเติมเต็มความปรารถนาท่ีจะค้นหา ความหมายของความเป็นมนษุ ย์ (5) สาครบุรี จากวิถีชาวบ้าน การเปลี่ยนผ่านวิถีชีวิตท้องถ่ินในลุ่มน้�ำท่าจีน จังหวัดสมุทรสาคร Sakorn-Buri_Book_Final 0320.indd 5 3/20/2561 BE 15:04

ค�ำน�ำ หนังสือเร่ืองนี้มาจาก ชุดโครงการวิจัยสังคมวัฒนธรรมในพ้ืนท่ีชุมชนชายฝั่ง ทะเลอา่ วไทยบรเิ วณลมุ่ แมน่ ำ้� เจา้ พระยาถงึ ลมุ่ แมน่ ำ�้ ทา่ จนี กรณศี กึ ษาพนื้ ทส่ี มทุ รสาคร โดยกลุม่ งานวิจัยและพัฒนา ศูนยม์ านษุ ยวทิ ยาสิรนิ ธร (องค์การมหาชน) มีเปา้ หมาย เพอ่ื ศึกษาการเปลยี่ นแปลงชุมชนทอ้ งถิน่ ใน 3 ประเด็นคอื ประวตั ศิ าสตรภ์ ูมนิ ามและ ภูมิสังคม เครือข่ายสังคมของกลุ่มชาติพันธุ์ และพิธีกรรมความเชื่อสิ่งศักดิ์สิทธิ์ โดยใช้เวลาศึกษา 2 ปี ต้ังแต่เดือนตุลาคม 2558 ถึง กันยายน 2560 โดยมีนักวิจัย ของศูนย์มานุษยวิทยาสริ นิ ธร ได้แก่ ดร.นฤพนธ์ ด้วงวิเศษ, ดร.ตรงใจ หุตางกูร, และ ดร.สมรกั ษ์ ชยั สงิ หก์ านานนท์ ทำ� การเกบ็ ขอ้ มลู ในพนื้ ทรี่ ว่ มกบั ผชู้ ว่ ยวจิ ยั ประกอบดว้ ย จกั รี โพธมิ ณ,ี นทั กฤษ ยอดราช, ธานนิ ทร ลมิ ปศิ ริ ,ิ ปณั วตั น์ ผอ่ งจติ และภมู ชิ าย คชมติ ร นอกจากน้ันได้รับความร่วมมือจาก รศ.ดร.ปรีดี พิศภูมิวิถี จากคณะศิลปศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหิดล ร่วมศึกษาในประเด็นประวัติศาสตร์พันท้ายนรสิงห์และเส้นทาง คมนาคมทางน�้ำในสมัยโบราณ สมุทรสาครเป็นเมืองเล็กๆ ท่ีมิใช่จุดหมายปลายทางของนักท่องเท่ียว หากแต่มีความส�ำคัญมาต้ังแต่อดีต ซ่ึงเป็นชุมชนท้องถิ่นในลุ่มแม่น�้ำท่าจีนบริเวณ ชายฝั่งทะเล ท่ีมีผู้คนหลากหลายทางชาติพันธุ์อพยพเข้ามาตั้งถ่ินฐาน และสร้าง ความสัมพันธ์แลกเปลี่ยนทางสังคม วัฒนธรรม ประเพณีและความเชื่อ ปัจจุบัน จงั หวดั สมุทรสาครเปน็ พนื้ ท่ีทางเศรษฐกิจส�ำคญั โดยเฉพาะในช่วง 20-30 ปีท่ีผา่ นมา แรงงามข้ามชาติกลุ่มต่างๆ เช่น มอญ พม่า และกลุ่มชาติพันธุ์อื่นๆ อพยพเข้ามา เป็นลูกจ้างแรงงานในอุตสาหกรรมประมง สวนผักผลไม้ และโรงงานอุตสาหกรรม การเข้ามาของกลุ่มคนเหล่าน้ีส่งผลต่อการเปลี่ยนแปลงวิถีชีวิตท้องถ่ิน ท�ำให้ชุมชน เกษตรกรรมแบบดั้งเดิมด�ำรงอยู่ร่วมกับชุมชนเมืองแบบอุตสาหกรรม ซึ่งเป็นความ ซับซอ้ นของสายสัมพันธท์ างสังคมและวถิ ีชวี ติ ระหว่างกลุ่มคนท่ีหลากหลาย (6) สาครบุรี จากวิถีชาวบ้าน การเปล่ียนผ่านวิถีชีวิตท้องถิ่นในลุ่มน้�ำท่าจีน จังหวัดสมุทรสาคร Sakorn-Buri_Book_Final 0320.indd 6 3/20/2561 BE 15:04

ชุดโครงการวิจัยนี้ ต้องการศึกษาเพ่ือท�ำความเข้าใจวิถีชีวิตท้องถ่ินในมิติ “การเปล่ียนแปลง” (transformation) “ลักษณะพหุลักษณ์” (Plurality) การผสมรวม ระหวา่ ง “ความเป็นสมยั ใหม่กบั จารีตประเพณี” (Hybridity of Modern and Tradition) และการปรบั ตวั ของคนกลมุ่ ตา่ งๆ ทอ่ี าศยั อยใู่ นพนื้ ทล่ี มุ่ นำ้� ทา่ จนี ในจงั หวดั สมทุ รสาคร เพื่อน�ำไปสู่การเรียนรู้ประสบการณ์ของการเปลี่ยนผ่าน การสูญเสีย การเกิดใหม่ ทางสังคมและวัฒนธรรม และมองเห็นศักยภาพของคนกลุ่มต่าง ๆ ซึ่งก�ำลังสร้าง พัฒนา ปรับเปล่ียนแก้ไข ต่อรอง สืบทอด ฟื้นฟู และอนุรักษ์วัฒนธรรมของตัวเอง ให้มคี วามเขม้ แขง็ และพร้อมรับมอื กบั การทา้ ทายใหมๆ่ ท่ีก�ำลงั เกดิ ขึ้นในปจั จุบนั และ อนาคต (7) สาครบุรี จากวิถีชาวบ้าน การเปล่ียนผ่านวิถีชีวิตท้องถิ่นในลุ่มน�้ำท่าจีน จังหวัดสมุทรสาคร Sakorn-Buri_Book_Final 0320.indd 7 3/20/2561 BE 15:04

สารบัญ โครงการเอกสารทางวิชาการ ศนู ยม์ านษุ ยวทิ ยาสิรนิ ธร (องคก์ ารมหาชน) (4) ค�ำน�ำ (6) ภาคที่ 1 1 จากบ้านท่าจีนถึงสาครบุรี ร่องรอยอดีตของชมุ ชนชาวนาชาวสวน รศ.ดร.ปรีดี พศิ ภูมวิ ิถี และ ดร.นฤพนธ์ ดว้ งวิเศษ ภาคที่ 2 67 ชอ่ื บา้ นนามถ่นิ สมทุ รสาคร ภาพสะท้อนภมู ทิ ศั นส์ ังคมวฒั นธรรมและวิถีชวี ิต ดร.ตรงใจ หตุ างกูร นัทกฤษ ยอดราช และ ธานินทร ลมิ ปิศิริ ภาคท่ี 3 197 ผคู้ น การเคลือ่ นย้าย และสายสัมพนั ธ์ หลากหลายชาตพิ ันธุ์ในสมุทรสาคร ดร.สมรกั ษ์ ชยั สงิ ห์กานานนท์ และ จักรี โพธมิ ณี ภาคที่ 4 276 การบูชาสิ่งศกั ดิส์ ิทธิ์ การอยู่ร่วมกันของพทุ ธ ผี วญิ ญาณ และเจ้าพ่อเจา้ แม ่ ดร.นฤพนธ์ ดว้ งวเิ ศษ ภาคผนวก 376 (8) 3/20/2561 BE 15:04 สาครบุรี จากวิถีชาวบ้าน การเปล่ียนผ่านวิถีชีวิตท้องถิ่นในลุ่มน�้ำท่าจีน จังหวัดสมุทรสาคร Sakorn-Buri_Book_Final 0320.indd 8

ภาคท่ี 1 จากบ้านท่าจีนถึงสาครบุรี ร่องรอยอดีตของชุมชนชาวนาชาวสวน รศ.ดร.ปรดี ี พศิ ภมู ิวิถี ดร.นฤพนธ์ ด้วงวเิ ศษ 1 สาครบุรี จากวิถีชาวบ้าน การเปลี่ยนผ่านวิถีชีวิตท้องถ่ินในลุ่มน้�ำท่าจีน จังหวัดสมุทรสาคร Sakorn-Buri_Book_Final 0320.indd 1 3/20/2561 BE 15:04

2 3/20/2561 BE 15:04 สาครบุรี จากวิถีชาวบ้าน การเปลี่ยนผ่านวิถีชีวิตท้องถ่ินในลุ่มน�้ำท่าจีน จังหวัดสมุทรสาคร Sakorn-Buri_Book_Final 0320.indd 2

การเกดิ ข้นึ ของบ้านท่าจีน ชาวบา้ นในเขตท่าฉลอม การศึกษาของ G. William Skinner (1957) สมทุ รสาคร ซ่ึงเปน็ ชมุ ชนจนี ให้ข้อมูลเก่ียวกับการตั้งถิ่นฐานของชาวจีนรอบ ที่เขา้ มาอาศยั ตั้งแต่สมัยอยธุ ยา อ่าวไทยในช่วงสมัยอยุธยาราวคริสต์ศตวรรษท่ี 17 ดา้ นซา้ ยของภาพจะเหน็ ว่าเดินทางเข้าเพ่ือค้าขายกับอยุธยาโดยทางทะเล โต๊ะวางเครือ่ งบชู าแบบจีน ซึ่งเป็นช่วงเวลาท่ีจีนปกครองโดยราชวงศ์หมิง ตง้ั อยู่หน้าบา้ น คราวรับเสดจ็ ช่วงเวลานี้จีนมีความก้าวหน้าในการส�ำรวจทะเล ประพาส ในรชั กาลท่ี 5 และการส่งกองเรือไปยังดินแดนต่างๆ ชาวจีนท่ี ท่มี าภาพ: สำ� นกั หอจดหมายเหตุ อาศัยบริเวณชายฝั่งทะเลตะวันออกเฉียงใต้ได้แล่น แห่งชาติ เรอื อพยพไปอยแู่ ถบเอเชยี อาคเนย์ ชาวจนี ทอ่ี พยพ ไปอยู่ต่างประเทศในช่วงน้ีจะถูกเรียกว่า “หลิวหยี” (ต้วน ลี่ เซิง และบุญย่ิง ไร่สุขศิริ, 2543: 10-11) ชุมชนรอบอ่าวสยามถือเป็นชุมชนจีนที่หนาแน่น ที่สุด โดยเฉพาะชุมชนบ้านท่าจีน (บริเวณวัดใหญ่ จอมปราสาท) เป็นพื้นท่ีท่าเรือส�ำเภาที่ชาวจีน แล่นมาจอดเพื่อน�ำสินค้ามาค้าขายกับชาวสยาม (อยุธยา) ชาวจีนโพ้นทะเล หรือ “จีนนอก” ที่ต้ัง ถ่ินฐานในบริเวณนี้เป็นพวกแต้จิ๋ว เข้ามาตั้งเป็น ชุมชนขนาดใหญ่ ซึ่งสมัยสมเด็จพระมหาจักรพรรดิ ได้จัดตั้งให้บ้านท่าจีนเป็นหัวเมืองในปี พ.ศ. 2091 โดยเรียกชื่อใหม่ว่า “สาครบุรี” เจ้าเมืองท่าจีน มบี รรดาศกั ดเ์ิ ปน็ พระสมทุ รสาคร ดแู ลหวั เมอื งฝา่ ยใต้ หัวเมืองท่าน้ีกลายเป็นที่ระดมพลส�ำหรับสู้รบกับ พม่า เป็นเมืองหน้าด่านป้องกันศัตรู นับแต่นั้นมา สาครบุรีก็เป็นหัวเมือใหญ่ที่มีความส�ำคัญทาง การเมืองและเศรษฐกิจ 3 สาครบุรี จากวิถีชาวบ้าน การเปลี่ยนผ่านวิถีชีวิตท้องถิ่นในลุ่มน้�ำท่าจีน จังหวัดสมุทรสาคร Sakorn-Buri_Book_Final 0320.indd 3 3/20/2561 BE 15:04

ภาพถ่ายสมยั รัชกาลท่ี 5 แสดงวถิ ชี ีวิตของชาวบา้ นทอ่ี าศัยอย่รู มิ แม่นำ�้ ท่าจนี 3/20/2561 BE 15:04 ซึ่งผ้ชู ายท่ีมีเช้อื สายจีนจะเป็นแรงงานในเรือประมง ทม่ี าภาพ: หอจดหมายเหตุแหง่ ชาติ 4 สาครบุรี จากวิถีชาวบ้าน การเปล่ียนผ่านวิถีชีวิตท้องถิ่นในลุ่มน้�ำท่าจีน จังหวัดสมุทรสาคร Sakorn-Buri_Book_Final 0320.indd 4

เมืองท่าจีนในสมัยอยุธยา เป็นชุมชนค้าขาย ส่วนใหญ่เป็นผู้ชายจีน ที่ใช้ชีวิตอิสระไม่ต้องเกณฑ์แรงงานรับใช้เจ้านายสยามเหมือนกับไพร่ชาวไทยและ ชาวมอญ (ธวชั ชยั องคว์ ุฒเิ วทย์ และวิไลรตั น์ ยังรอต, 2556) ชาวจนี เหล่านแ้ี ต่งงาน และใชช้ วี ิตอยู่กบั ผู้หญงิ สยามในชุมชนทอ้ งถ่ิน เงื่อนไขนี้ทำ� ใหช้ าวจีนสามารถทำ� งาน ค้าขายสินค้าที่ผลิตในบ้านท่าจีน ได้แก่ เกลือ กะปิ ปลาแห้ง ปลาเค็ม รวมถึงเป็น นายอากรเก็บภาษี เป็นลูกเรือและนายส�ำเภาในการส่งสินค้าไปขายยังประเทศจีน และน�ำสินค้าจีนมาขายในสยาม ผู้ปกครองอยุธยาให้ชาวจีนดูแลปกครองกันเอง โดยแบ่งหน้าท่ีตามต�ำแหน่งสูงต่�ำเหมือนระบบศักดินา ได้แก่ จุ่นจู๊ (นายส�ำเภา) ศักดินา 400, ต้นหน (ผู้ดูทาง) ศักดินา 200, ล้าต้า (ผู้ดูแลบัญชีใหญ่) ศักดินา 100, ไต้กง (นายท้าย) ศักดินา 80, อาปั๋น (กระโดงกลาง) ศักดินา 50, เอียวก๋ง (บูชาพระ) ศักดินา 30, และเท่าเต้ง (ว่าสมอ) ศักดินา 30 แรงงานชาวจีนนี้จะอยู่ภายใต้ การควบคุมของเจ้ากรมท่าซ้าย สังกัดกรมพระคลัง ซึ่งมีต�ำแหน่งเป็นโชฎึกราชเศรษฐี (ประมุขพ่อค้าท่ีรุ่งเรือง) ถือศักดินา 1,400 ผู้ด�ำรงต�ำแหน่งนี้จะท�ำหน้าที่ดูแลกิจการ ของชาวต่างประเทศท่ีอยู่ฝั่งซ้ายของอ่าวไทย (จีนและญวน) อาจกล่าวได้ว่าภายใต้ ระบบศักดินา แรงงานจีนมีความส�ำคัญทางเศรษฐกิจและการค้าต่างประเทศ เปน็ อย่างมาก รวมถึงการเปน็ แรงงานขุดคคู ลองตา่ งๆ ภาพถ่ายสมัยรชั กาลที่ 5 เป็นภาพบา้ นเรอื นรมิ แม่นำ�้ ทา่ จีน หลังคามงุ จาก ยกใต้ถนุ สูง มเี รือจอดอยูร่ ิมชายฝ่ัง เมอื่ นำ�้ ลงจะเห็นตล่งิ และเสาเรอื นอย่างชดั เจน ภาพนส้ี ะทอ้ นวิถีชีวติ ของชาวบ้านท่ียงั ชีพดว้ ยการทำ� ประมง ทีม่ าภาพ: ส�ำนักหอจดหมายเหตุแห่งชาติ 5 สาครบุรี จากวิถีชาวบ้าน การเปล่ียนผ่านวิถีชีวิตท้องถิ่นในลุ่มน้�ำท่าจีน จังหวัดสมุทรสาคร Sakorn-Buri_Book_Final 0320.indd 5 3/20/2561 BE 15:04

แม่น้�ำท่าจีนปจั จุบนั บริเวณหนา้ วัดโกรกกราก อำ� เภอเมือง จังหวัดสมทุ รสาคร 6 3/20/2561 BE 15:04 สาครบุรี จากวิถีชาวบ้าน การเปลี่ยนผ่านวิถีชีวิตท้องถิ่นในลุ่มน�้ำท่าจีน จังหวัดสมุทรสาคร Sakorn-Buri_Book_Final 0320.indd 6

คลองสนามชยั คลองสุนขั หอน : เส้นทางตดิ ตอ่ ระหว่าง อยุธยากับหวั เมอื งชายทะเลฝงั่ ตะวนั ตก การคา้ เปน็ ปจั จยั หนงึ่ ทก่ี อ่ ใหเ้ กดิ รายไดอ้ ยา่ งมหาศาลมาแตค่ รง้ั กรงุ ศรอี ยธุ ยา เพราะปจั จยั ทตี่ ง้ั ของพระนครศรอี ยธุ ยาและความอดุ มสมบรู ณข์ องทรพั ยากรธรรมชาติ เป็นสิ่งดึงดูดให้บรรดาลูกค้าต่างเมืองเดินทางเข้ามาค้าขายกับอยุธยา แม้ว่าจะต้อง ใช้ระยะเวลาในการเดินทางนานก็ตาม ต�ำแหน่งขุนนางส�ำคัญที่ก�ำกับดูแลการค้า คือโกษาธิบดี ซ่ึงมักจะต้องว่าการต่างประเทศไปพร้อมกันด้วย เพราะบรรดาลูกค้า ท่ีเข้ามาติดต่อกับอยุธยานั้นส่วนใหญ่เป็นชาวต่างชาติ การค้าขายเกิดข้ึนทั้งท่ีบริเวณ รอบเกาะพระนครศรีอยุธยาที่เป็นเมืองหลวง และบริเวณหัวเมืองรายรอบ และ ในบางครั้งสินค้าต่างๆ ก็จะส่งผ่านจากพ่อค้าในหัวเมืองเข้าสู่ตลาดใหญ่ท่ีอยุธยา โดยตรงดว้ ย การค้าระหว่างอยุธยากับดินแดนอ่ืนจ�ำแนกได้อย่างกว้างๆ เป็นการค้ากับ ดินแดนฝั่งตะวันตกของราชอาณาจักรและการค้ากับดินแดนฝั่งตะวันออกของ อาณาจักร การค้าประเภทแรกน้ันคือการค้ากับอินเดียเป็นหลัก และขยายไปถึง ตลาดมสุ ลิมและยุโรปในท่สี ดุ มีเสนาบดีในตำ� แหนง่ ออกพระจฬุ าราชมนตรเี ป็นผูด้ ูแล การค้า การค้าในฝั่งน้ีครอบคลุมพื้นท่ีตะวันตกของชายแดนราชอาณาจักรสยาม คือ มะริด ทวาย ตะนาวศรี เพชรบุรี และดินแดนอ่ืนๆ ส่วนการค้ากับกลุ่มเมือง ทางตะวันออก เช่น จีน ญ่ีปุ่น อันนัม มาเก๊า ฯลฯ น้ันเป็นหน้าท่ีของออกญา โชฎึกราชเศรษฐคี อยกำ� กบั ดูแล 7 สาครบุรี จากวิถีชาวบ้าน การเปล่ียนผ่านวิถีชีวิตท้องถิ่นในลุ่มน�้ำท่าจีน จังหวัดสมุทรสาคร Sakorn-Buri_Book_Final 0320.indd 7 3/20/2561 BE 15:04

เฉพาะดินแดนทางตะวันตกนั้นการค้าดูจะเฟื่องฟูมาก ทั้งน้ีเพราะสินค้าและ ลูกค้าจรที่เดินทางไปมามีจ�ำนวนมาก จึงต้องมีเส้นทางขนถ่ายล�ำเลียงสินค้าจาก ฝั่งตะวันตกของราชอาณาจักร เข้ามายังอยุธยาโดยใช้เส้นทางภายในอาณาจักรคือ แม่น�้ำสายหลักและคลองสาขาต่างๆ ท่ีส�ำคัญคือแม่น�้ำแม่กลอง แม่น�้ำท่าจีน และ แม่น�้ำเจ้าพระยา แม่น้�ำท้ังสามสายนี้เช่ือมประสานเข้าด้วยกันโดยระบบคลองภายใน ภูมิภาค ซ่ึงเป็นเส้นทางเดินทางมากแต่อดีต น่ันคือคลองด่าน คลองสนามชัย คลองโคกขาม ดงั เชน่ หลกั ฐานคำ� ใหก้ ารขนุ หลวงวดั ประดทู่ รงธรรม ระบวุ า่ ยา่ นการคา้ ในอยุธยารบั สนิ ค้ามาจากเมืองเพชรบรุ ี ยส่ี านเป็นจำ� นวนมาก ดงั ว่า “อนึ่งเรือปากใต้ปากกว้าง 6 ศอก 7 ศอก ชาวบ้านย่ีสาร บ้านแหลม เมืองเพชรบุรี แลบ้านตะบูน บ้านบางทะลุ บันทุกกะปิ น้�ำปลา ปเู คม ปลากเุ รา ปลากะพง ปลาทู ปลากะเบนยา่ ง มาจอดเรอื ฃายแถววัดเจ้าพระนางเชงิ ” เส้นทางคลองด่าน ซ่ึงเป็นจุดบริเวณแยกของคลองบางกอกใหญ่ ยาวต่อมา ถงึ บรเิ วณบางขนุ เทยี น ตอ่ กบั คลองสนามชยั คลองโคกขาม และมาออกแมน่ ำ้� ทา่ จนี นน้ั เป็นเส้นทางส�ำคัญเส้นหน่ึงของประวัติศาสตร์ไทย โดยเฉพาะเมื่อการเดินทางยังคง ต้องพ่ึงพิงระบบคลอง และแม่น้�ำ ในสมัยรัตนโกสินทร์ เส้นทางคลองด่าน คลอง สนามชัย คลองโคกขาม ยังคงเป็นท้ังเส้นทางการค้า มีตลาดน�้ำขนาดใหญ่กระจาย ริมหน้าวัด และมีด่านเก็บภาษีเป็นระยะ นอกจากน้ียังเป็นเส้นทางเดินทัพที่ส�ำคัญ อกี ด้วย 8 3/20/2561 BE 15:04 สาครบุรี จากวิถีชาวบ้าน การเปล่ียนผ่านวิถีชีวิตท้องถิ่นในลุ่มน้�ำท่าจีน จังหวัดสมุทรสาคร Sakorn-Buri_Book_Final 0320.indd 8

แผนทแ่ี สดงคลองสนามชัย (คลองมหาชยั ) ทเ่ี ช่ือมต่อระหวา่ งแมน่ �้ำเจา้ พระยากบั แม่น้ำ� ท่าจีน เป็นเส้นทางคมนาคมทางนำ�้ ส�ำคัญในอดีต ที่คนจากเมืองหลวง (อยธุ ยา) ใชเ้ ดินทางไปยงั หวั เมอื งทิศตะวันตก ทมี่ าภาพ: สำ� นกั หอจดหมายเหตุแหง่ ชาติ 9 สาครบุรี จากวิถีชาวบ้าน การเปลี่ยนผ่านวิถีชีวิตท้องถ่ินในลุ่มน้�ำท่าจีน จังหวัดสมุทรสาคร Sakorn-Buri_Book_Final 0320.indd 9 3/20/2561 BE 15:04

เพลงยาวรบพม่าที่ท่าดินแดง พระบาทสมเด็จพระพุทธยอดฟ้าฯ ทรง พระราชนิพนธ์ขึ้นเม่ือ พ.ศ. 2329 คราวเสด็จกรีฑาทัพไปตีพม่าที่ท่าดินแดง บริเวณ ไทรโยค จังหวัดกาญจนบุรี ได้เสด็จพระราชด�ำเนินผ่านคลองด่าน คลองสนามชัย ทรงประกอบพระราชพิธีเบิกโขลนทวาร บทพรรณนาพ้ืนที่บริเวณตั้งแต่วัดนางนอง จนถึงเมืองสมทุ รสาคร มคี วามวา่ ครัน้ ถึงโขลนทวารย่ิงลานแล ใหห้ วาดแหวอารมณ์ดงั จะล้มไข้ จนลลุ อ่ งคลองชลามหาชยั ยา่ นไกลสดุ สายนัยนต์ าแล เหมอื นอกเราทน่ี ิรามาทุเรศ เหลือสังเกตมุ่งหามาห่างแห ระกำ� เดยี วเปลยี่ วด้ินฤดแี ด จนล่วงกระแสสาครบุรีไป ลุสถานบา้ นบอ่ นาขวาง ใหอ้ างขนางร้อนรนกระมลไหม้ ถงึ ย่านซอ่ื เหมือนพ่ีซอ่ื สังวรใจ มิได้มีล�ำเอยี งเท่ยี งธรรม์ เม่อื ถึงสามสบิ สามคดแลว้ แคลว้ แคล้วเหมือนจะกลับมารบั ขวัญ คลา้ ยคลา้ ยอัสดงพระสรุ ยิ นั กบ็ รรลถุ งึ คลองสนุ ขั ใน คลองมหาชยั วดั ใหญบ่ า้ นบ่อ 10 3/20/2561 BE 15:04 สาครบุรี จากวิถีชาวบ้าน การเปล่ียนผ่านวิถีชีวิตท้องถิ่นในลุ่มน้�ำท่าจีน จังหวัดสมุทรสาคร Sakorn-Buri_Book_Final 0320.indd 10

คลองสนามชัย หรือคลองมหาชัย ซง่ึ ไหลมาบรรจบกบั แมน่ ำ้� ท่าจนี ท่มี าภาพ: ส�ำนกั หอจดหมายเหตแุ ห่งชาติ 11 สาครบุรี จากวิถีชาวบ้าน การเปลี่ยนผ่านวิถีชีวิตท้องถ่ินในลุ่มน�้ำท่าจีน จังหวัดสมุทรสาคร Sakorn-Buri_Book_Final 0320.indd 11 3/20/2561 BE 15:04

ภาพแผนท่ีคลองมหาชัย นริ าศนรนิ ทร์ (อนิ ) ผูแ้ ตง่ คอื นายนรนิ ทรธิเบศร์ (อิน) แต่งเมอ่ื คราวตามเสด็จ สมเด็จพระบวรราชเจ้า กรมพระราชวังบวรมหาเสนานุรักษ์ยกกองทัพหลวงไป ปราบพม่า ซ่ึงยกลงมาตีเมืองถลางและชุมพร ในช่วงต้นรัชกาลท่ี 2 เมื่อปีมะเส็ง (พ.ศ. 2352) มีการพดู ถงึ คลองโคกขามตอนหนงึ่ วา่ โคกขามดอนโคกคล้าย สัณฐาน ขามรนุ่ ริมธารสนาน สนกุ นี้ พูนเพียงโคกฟา้ ลาน แลโลก ลวิ่ แม่ ถนัดหนึ่งโคกขามชี้ เล่หใ์ หเ้ รยี มเหน็ 12 สาครบุรี จากวิถีชาวบ้าน การเปล่ียนผ่านวิถีชีวิตท้องถิ่นในลุ่มน้�ำท่าจีน จังหวัดสมุทรสาคร Sakorn-Buri_Book_Final 0320.indd 12 3/20/2561 BE 15:04

ภาพคลองโคกขาม บรเิ วณทบี่ รรจบกับคลองมหาชยั ดา้ นซา้ ยมือคือศาลพันทา้ ยนรสิงห์ นริ าศเณรกลน่ั หรอื นริ าศพระแทน่ ดงรงั (ราวปี พ.ศ. 2376 หรอื ชว่ งรชั กาลท่ี 3) สันนิษฐานว่าสามเณรกล่ันซ่ึงอาจเป็นบุตรบุญธรรมของสุนทรภู่เป็นผู้แต่งขึ้น หรือ อาจเป็นผลงานของสุนทรภู่เองก็ได้ เพียงแต่ใช้ชื่อสามเณรกลั่นเป็นผู้แต่ง นิราศนี้ เขียนข้ึนคราวเดินทางไปนมัสการพระแท่นดงรัง ที่จังหวัดกาญจนบุรี มีการพูดถึง สถานท่ีต่างๆ ในสาครบุรี ได้แก่ คลองมหาชัย คลองโคกขาม บ้านบ่อ กาหลง คลองสุนัขหอน พูดถึงสภาพแวดล้อมทางธรรมชาติ รวมท้ังกลุ่มคนต่างๆ ได้แก่ ไทย ลาว มอญ จีน ทอี่ าศยั อยู่ริมคลอง 13 สาครบุรี จากวิถีชาวบ้าน การเปลี่ยนผ่านวิถีชีวิตท้องถ่ินในลุ่มน้�ำท่าจีน จังหวัดสมุทรสาคร Sakorn-Buri_Book_Final 0320.indd 13 3/20/2561 BE 15:04

แสมด�ำต�ำบลทคี่ นอย ู่ สังเกตดูฟนื ตองเขากองหลาม ดรู งุ รงั ฝัง่ น�้ำลว้ นร�ำราม ถึงโคกขามบ้านขอมลว้ นลอมฟนื พอฟา้ ขาวดาวเดอื นจะเลอ่ื นลับ แสงทองจบั แจม่ ฟา้ ค่อยฝ่าฝืน เสียงลงิ คา่ งวางเวกครึกเครงคร้ืน ปักษาต่ืนต่างเรียกกันเพรยี กไพร สรุ ยิ งทรงรถขึน้ หมดแสง กระจ่างแจ้งแจม่ ฟ้าพฤกษาไสว ถงึ ชะวากปากชลามหาชัย เหน็ ป้อมใหญ่อยู่ข้างขวาสงา่ งาม มปี กี ป้องช่องปืนท่ียืนรบ ที่หลกี หลบแลน่ ลากลงขวากหนาม ดเู ผ่นผาดอาจองในสงคราม ดูแล้วขา้ มตรงมาในสาคร ลำ� ภรู ายชายตล่งิ ล้วนลิงคา่ ง บา้ งเกาคางข่ตู ะคอกบา้ งหลอกหลอน บ้างโลดไล่ไขว่คว้าตามวานร ทล่ี กู ออ่ นอุ้มแอบแนบอุรา โอ้พอ่ แม่แตช่ นั้ ลงิ ไมท่ ิ้งลกู ดพู นั ผูกความรกั นั้นหนักหนา เราเปน็ คนผลกรรมได้ท�ำมา ญาติกากม็ ไิ ดอ้ าลยั แล ถงึ ท่าจีนถิน่ ฐานโรงรา้ นมาก ที่เขาตากไวล้ ว้ นแต่อวนแห ไมน่ ่าดูส้เู บือนท�ำเชือนแช ชมแสมไมป้ ะโลงเหลา้ โกงกาง ตะบนู ต้นผลลูกดงั ผกู ห้อย ระย้าย้อยหยบิ สนดั ไมข่ ดั ขวาง หนตู าบน้อยคอยรับร�ำดบั วาง ไว้เลน่ ตา่ งตุก๊ กระตาประสาสบาย เห็นตะบนู ฉนุ เศรา้ ใหเ้ ปล่าจติ แม้นมมี ิตรเหมอื นดั่งท่านท้งั หลาย จะเก็บไวไ้ ปฝากใหม้ ากมาย จะไดเ้ ลน่ เช่นกระทายสบายใจ น่ไี ม่มพี ีน่ ้องพวกพอ้ งหญงิ เลน่ แล้วท้งิ เสยี ในล�ำแมน่ ้�ำไหล ลูกโกงกางข้างชลาระยา้ ไป ทัง้ ปรงไขข่ ึ้นสล้างริมทางจร 14 3/20/2561 BE 15:04 สาครบุรี จากวิถีชาวบ้าน การเปล่ียนผ่านวิถีชีวิตท้องถิ่นในลุ่มน้�ำท่าจีน จังหวัดสมุทรสาคร Sakorn-Buri_Book_Final 0320.indd 14

ถึงบ้านบอ่ กอจากสองฟากฝัง่ ยอดสะพรง่ั เพรยี วแซมแหลมแหลมสลอน มีดอกงอกออกกบั กออรชร ทัง้ ลกู ออ่ นแซกเคยี งขนึ้ เรยี งราย พอเห็นเขาเจา้ ของร้องบณิ ฑ์บาต เขาอนญุ าตยกให้เหมือนใจหมาย พีเ่ ณรพัดตัดได้ลกู หลายทะลาย ผ่าถวายพระนนั้ เตม็ ขันโต ทา่ นไมฉ่ นั ครั้นเรากนิ ชนิ้ ลกู จาก อร่อยมากมีรสร่�ำหมดโถ ทา่ นบิดรนอนบน่ วา่ คนโซ สะอ้นื โออ้ ายใจกระไรเลย เคยกล้�ำกลืนชืน่ จติ ชิดแชอ่ ่ิม มาเชยชมิ ลกู จากแล้วปากเอ๋ย เพราะสิน้ สดุ อดุ หนุนที่ค้นุ เคย กระไรเลยแลเหลียวใหเ้ ปลยี่ วทรวง ถงึ นาขวางข้างซา้ ยนายภาษ ี ตง้ั อยูท่ ป่ี ากคลองเกบ็ ของหลวง เรียกภาษีที่เรอื เกลอื ทัง้ ปวง บา้ งทักทว้ งเถียงกันสน่ันดงั แต่จีนเถา้ เจ้าภาษีมีเมยี สาว ไวเ้ ลบ็ ยาวเหมอื นอยา่ งครฑุ นงั่ จดุ หลงั เหมือนจะรู้อยวู่ ่าเขาเป็นชาววงั รู้จกั คร้ังเข้าไปอยเู่ มือ่ ปูต่ าย แต่แกลง้ เมินเพลนิ ดูฝูงปูเปย้ี ว บา้ งแดงเขยี วขาวผาดประหลาดหลาย บ้างเลื่อมเหลอื งเรอื งรองกระดองลาย กา้ มตะกายกนิ เลนนา่ เอน็ ดู แตห่ ากว่านา่ กลวั ตัวหนิดหนีด ก้ามมนั ดดี ดงั เปาะเสนาะหู ลา้ นปรงปรกรกเรี้ยวรอยเป้ยี วปู กับเหี้ยอยู่ทโ่ี พรงรากโกงกาง เหน็ ปลาตีนกนิ โคลนตาโปนโป่ง ครีบกระโดงพล้ิวพลกิ กระดกิ หาง บา้ งกัดกันผันผยองท�ำพองคาง ทงั้ ลิงค่างคอยเท่ยี วลว้ งเป่ียวปู ถึงย่านซอื่ ช่อื ว่ายา่ นกาหลง เหน็ กาลงเลยี บฝั่งอยู่ท้ังคู่ แลว้ บอกข่าวอ่าวอ้อแกก้ ๋อกู จะบอกผ้ใู ดเล่าไมเ่ ข้าใจ 15 สาครบุรี จากวิถีชาวบ้าน การเปลี่ยนผ่านวิถีชีวิตท้องถิ่นในลุ่มน�้ำท่าจีน จังหวัดสมุทรสาคร Sakorn-Buri_Book_Final 0320.indd 15 3/20/2561 BE 15:04

เราไมม่ ีพ่ีน้องพวกพอ้ งดอก กาจะบอกข่าวดฉี ันทีไ่ หน โอเ้ ปลยี่ วกายอายกาก้มหนา้ ไป จนเข้าในแนวคลองสามสิบสองคด กับตาบน้อยคอยนบั หนึ่งสองสาม คณุ พอ่ ถามกลบั เลื่อนเปือ้ นไปหมด มนั โอบอ้อมคอ้ มเคี้ยวดเู ลยี้ วลด เหน็ คุ้งคดคดิ ไปเหมอื นใจโกง แต่ปากค�ำท�ำซ่อื ท�ำถือศลิ ใจมนั กินเลือดเลห่ ์ตะเขต้ ะโขง สองฟากฝา่ ยซ้ายขวาป่าปะโลง มเี รือนโรงรอนฟืนแตพ่ ื้นมอญ ลำ� ภรู ายซา้ ยขวาระย้าย้อย มดี อกหอ้ ยบานแยม้ แซมเกสร บ้างออกลูกสกุ งอมหอมขจร เกสรรอ่ นรว่ งลงตรงนาวา มีนกบินกนิ ปูไดด้ เู ล่น นกกระเตน็ ขวานแขวกเทย่ี วแถกถา นกกามกวมต๋วมลงในคงคา คาบไดป้ ลาปรบปีกบินหลกี ไป ถงึ เขตแขวงแหล่งหลักสนุ ขั หอน เรอื สลอนลอยรอถือถ่อไสว ท้งั พ่วงแพแซซ่ อ้ นเจก๊ มอญไทย บ้างมาไปปะกนั เสยี งครน่ั ครน้ื 16 3/20/2561 BE 15:04 สาครบุรี จากวิถีชาวบ้าน การเปล่ียนผ่านวิถีชีวิตท้องถิ่นในลุ่มน�้ำท่าจีน จังหวัดสมุทรสาคร Sakorn-Buri_Book_Final 0320.indd 16

ภาพแผนที่คลองสุนขั หอน (คลองหมาหอน) ทีเ่ ชือ่ มต่อระหวา่ งแมน่ �ำ้ ทา่ จนี กับแม่น้ำ� แม่กลอง เปน็ เสน้ ทางคมนาคมท่คี นในสมยั อยธุ ยาและรัตนโกสนิ ทรต์ อนตน้ ใชเ้ ปน็ เสน้ ทางสัญจรและเดินทัพไปยงั เมืองทศิ ตะวันตก ท่มี าภาพ: สำ� นกั หอจดหมายเหตแุ ห่งชาติ 17 สาครบุรี จากวิถีชาวบ้าน การเปล่ียนผ่านวิถีชีวิตท้องถิ่นในลุ่มน้�ำท่าจีน จังหวัดสมุทรสาคร Sakorn-Buri_Book_Final 0320.indd 17 3/20/2561 BE 15:04

ภาพคลองสนุ ัขหอนในปจั จบุ ัน นริ าศเมอื งเพชร เปน็ ผลงานนริ าศของสนุ ทรภู่ ไมป่ รากฏวา่ แตง่ เรอ่ื งนขี้ นึ้ เมอ่ื ใด สมเด็จฯ กรมพระยาด�ำรงราชานุภาพทรงสันนิษฐานว่าน่าจะแต่งข้ึนเม่ือครั้งกลับเข้า รับราชการอยู่ในพระอุปถัมภ์ของสมเด็จเจ้าฟ้าจุฑามณี กรมขุนอิศเรศรังสรรค์ และ นา่ จะเดนิ ทางไปในราชการอยา่ งใดอยา่ งหนงึ่ ประมาณปี พ.ศ. 2388 (ชว่ งรชั กาลที่ 3) ในนริ าศเมืองเพชรมบี ทพรรณนาเก่ียวกับคลองโคกขามและคลองมหาชยั ว่า ถงึ โคกขามคร้ามใจไดไ้ ตถ่ าม โคกมะขามดอกมิใชอ่ ะไรอ่ืน ไม่เหน็ แจ้งแคลงทางเปน็ กลางคนื ย่ิงหนาวช้นื ช้�ำใจมาในเรือ ถึงยา่ นซ่อื สมชอื่ ด้วยซือ่ สุด ใจมนษุ ยเ์ หมอื นกระนีแ้ ลว้ ดเี หลอื เป็นป่าปรงพงพุ่มดูครมุ เครอื เหมือนซ้มุ เสอื ซอ่ นรา้ ยไวภ้ ายใน ถงึ บา้ นขอมลอมฟนื ดูดื่นดาษ มีอาวาสวดั วาท่อี าศัย ออกชะวากปากชลามหาชยั อโณทยั แยม้ เยยี่ มเหลย่ี มพระเมรุ ๚ 18 สาครบุรี จากวิถีชาวบ้าน การเปล่ียนผ่านวิถีชีวิตท้องถ่ินในลุ่มน�้ำท่าจีน จังหวัดสมุทรสาคร Sakorn-Buri_Book_Final 0320.indd 18 3/20/2561 BE 15:04

แผนท่คี ลองโคกขาม และคลองสาขา สมยั ปัจจบุ ัน 3/20/2561 BE 15:04 19 สาครบุรี จากวิถีชาวบ้าน การเปล่ียนผ่านวิถีชีวิตท้องถิ่นในลุ่มน้�ำท่าจีน จังหวัดสมุทรสาคร Sakorn-Buri_Book_Final 0320.indd 19

สาครบุรี กบั การเปลย่ี นแปลงสังคมสยาม ในช่วงต้นรตั นโกสนิ ทร์ ความเปล่ียนแปลงของเมืองเป็นท่ีสิ่งแสดงให้เห็นพัฒนาการและความเจริญ หรือความเส่ือมของเมืองได้ไปพร้อมกัน ในยุคที่สังคมไทยยังเป็นสังคมเกษตรกรรม และพงึ่ พงิ ธรรมชาตอิ ยมู่ ากกวา่ เมอื งในแบบตะวนั ตกนน้ั ความเปลย่ี นแปลงของเมอื ง ท่ีส�ำคัญคือการขยายพ้ืนที่ทางการเกษตรเพื่อรองรับผลของสนธิสัญญาที่สยาม ลงนามกับตะวันตก โดยเฉพาะอย่างย่ิง ในรัชกาลพระบาทสมเด็จพระจอมเกล้า เจ้าอยู่หัว รัชกาลท่ี 4 ซ่ึงเป็นยุคที่สยามก�ำลังอยู่ในภาวะของการเปล่ียนแปลงสังคม วัฒนธรรมประเพณีขนานใหญ่ พระราชด�ำริในการพัฒนาประเทศประการหนึ่งคือ การสรา้ งถนน ขดุ คลอง โดยมวี ตั ถปุ ระสงคใ์ นการสรา้ งทตี่ า่ งไปจากเดมิ ทเ่ี คยเปน็ เพยี ง เส้นทางคมนาคม เปลี่ยนไปสู่เส้นทางขนส่งสินค้าทางการเกษตรของชาวนาชาวสวน ซึ่งหมายถึงการเปลี่ยนเส้นทางน�้ำที่เป็นทางสัญจรของผู้คน ให้เป็นเส้นทางเศรษฐกิจ ที่พ่อค้าแม่ค้าชาวบ้านจนถึงเจ้าขุนมูลนายใช้ล�ำเลียงผลผลิตทางการเกษตรไปขาย ในชมุ ชนตลาดตลอดสองฝง่ั แม่น้�ำล�ำคลอง ตวั อยา่ งรอ่ งลอยของชมุ ชนชาวนา เหน็ ไดจ้ ากพน้ื ทข่ี องอำ� เภอบา้ นแพว้ ในอดตี เจา้ อาวาสวดั วงั ชยั ทรพั ยว์ มิ ลอธบิ ายเกย่ี วกบั ภมู ปิ ระเทศ สภาพธรรมชาติ และการทำ� นา ของชาวบา้ นแพว้ วา่ “สมยั กอ่ นยงั ไมม่ เี ขอ่ื นทเี่ มอื งกาญฯ นำ�้ กม็ านห่ี มด ถา้ เราอยตู่ รงน้ี เราจะรูไ้ ดไ้ งวา่ น้�ำมา เราก็ต้องมองไปข้างบน กจ็ ะเหน็ นกแรง้ มนั บนิ ว่อน ชาวบ้านกจ็ ะรบี เก็บของกนั สมยั กอ่ นทนี่ ี่เขาทำ� นาขา้ ว ไม่มคี นั นา ก็ปลกู ข้าวลอย ท่ีนี่จระเข้มันก็มาตามน�้ำ ปลามันก็มาตามน�้ำ ท่ีไหนมีน้�ำท่วม จระเขม้ นั ก็จะมา ตรงนเ้ี ปน็ ทอ้ งกระทะ เรียกวังจระเข้ เวลาจระเข้มันมา ก็จะผ่านวัดโรงเข้ก่อน ชาวบ้านก็เอาวัวข้ึนร้าน จระเข้มันก็ว่ายล้อมจะ กนิ ววั เขาถงึ เรยี กโรงเข้ แล้วพอน้�ำลง จระเขม้ นั กไ็ ปตายทีว่ ัดหวั เข้ ทต่ี าย ก็ตายไป ที่ไมต่ ายกไ็ ปท่อี นื่ กจ็ ะมีวดั โรงเข้ วดั วังเข้ วัดหัวเข้” (สมั ภาษณ์ 26 ตลุ าคม 2559) 20 สาครบุรี จากวิถีชาวบ้าน การเปล่ียนผ่านวิถีชีวิตท้องถิ่นในลุ่มน�้ำท่าจีน จังหวัดสมุทรสาคร Sakorn-Buri_Book_Final 0320.indd 20 3/20/2561 BE 15:04

รปู ป้นั จระเขใ้ นสระนำ้� ของวดั วังชยั ทรัพยว์ ิมล (วัดวงั จระเข)้ อ�ำเภอบา้ นแพ้ว สะท้อนสภาพแวดลอ้ มในอดตี ท่เี คยมีจระเข้อาศยั อยู่ในบริเวณน้ี การศึกษาของฉัตรทพิ ย์ นาถสุภา และสุธี ประศาสนเ์ ศรษฐ (2527) พบว่าใน ช่วง พ.ศ. 2403-2413 หรือช่วงปลายสมัยรัชกาลที่ 4 ชาวบ้านในท้องถิ่นภาคกลาง เนน้ การปลกู ขา้ วเปน็ หลกั เพราะขา้ วเปน็ สนิ คา้ ทชี่ าวตะวนั ตกตอ้ งการ แตก่ อ่ นทส่ี ยาม จะทำ� สนธสิ ญั ญาบาวร์ งิ่ ชาวนาจะขายขา้ วเฉพาะผลผลติ สว่ นเกนิ เทา่ นน้ั นอกจากนน้ั การขายข้าวยังอยู่ในการด�ำเนินงานของคนจีน เพราะชาวจีนท่ีเข้ามาอาศัยในสยาม มีอิสระในการประกอบอาชีพและไม่ต้องเกณฑ์แรงงาน (ฉัตรทิพย์ นาถสุภา และ สธุ ี ประศาสนเ์ ศรษฐ, 2527: 175) 21 สาครบุรี จากวิถีชาวบ้าน การเปล่ียนผ่านวิถีชีวิตท้องถ่ินในลุ่มน�้ำท่าจีน จังหวัดสมุทรสาคร Sakorn-Buri_Book_Final 0320.indd 21 3/20/2561 BE 15:04

แผนทีแ่ สดงภมิประเทศของเมอื งสาครบุรใี นชว่ งรชั กาลท่ี 6 3/20/2561 BE 15:04 บริเวณพ้นื ท่ีสีเหลืองคอื นาข้าวท่คี รอบคลมุ สองฝง่ั แมน่ ำ้� ท่าจีน ซ่งึ เปน็ ชว่ งท่มี ีการขยายตวั ของพนื้ ทป่ี ลูกขา้ วเพ่ือขายใหก้ บั โรงสี ที่มาภาพ: สำ� นกั หอจดหมายเหตแุ ห่งชาติ 22 สาครบุรี จากวิถีชาวบ้าน การเปลี่ยนผ่านวิถีชีวิตท้องถิ่นในลุ่มน้�ำท่าจีน จังหวัดสมุทรสาคร Sakorn-Buri_Book_Final 0320.indd 22

ทุ่งนาท่ียังคงเหลืออย่ใู นปจั จบุ นั เขตอ�ำเภอกระทมุ่ แบน จังหวัดสมุทรสาคร 23 สาครบุรี จากวิถีชาวบ้าน การเปล่ียนผ่านวิถีชีวิตท้องถ่ินในลุ่มน้�ำท่าจีน จังหวัดสมุทรสาคร Sakorn-Buri_Book_Final 0320.indd 23 3/20/2561 BE 15:04

การเตบิ โตของชุมชนจนี ตระกูลจีนท่ีมีจ�ำนวนมากท่ีสุดในท่าฉลอม คือตระกูลแซ่ตั้ง ซ่ึงเร่ิมมีการ รวมตัวชัดเจนก่อนสงครามโลกคร้ังท่ีสอง ผู้ริเร่ิมก่อต้ังสมาคมแซ่ต้ังคือนายซุ่นจ้อ แซ่ต้ังหรือ เถ้าแก่เทียมเน้ย ทุกๆ ปีสมาชิกแซ่ต้ังจะมาพบปะสังสรรค์กัน และมีการ ลงคะแนนเสียงเลือกประธานสมาคม ผู้ที่ได้รับเลือกให้เป็นประธานคนแรกจากการ ลงคะแนนคอื นายเกาเปา แซต่ ้งั (ประธานคนท่ี 4) หลังจากนน้ั ราว พ.ศ. 2524 ได้มี การระดมทุนจ�ำนวน 480,000 บาท เพื่อซ้ือที่ดินบริเวณถนนเอกชัยจ�ำนวน 1 ไร่ 12 ตารางวา จนถงึ ปี พ.ศ. 2528 ไดเ้ รม่ิ สรา้ งอาคารสมาคมตามแบบสถาปตั ยกรรมจนี ใชง้ บประมาณกอ่ สรา้ งจำ� นวน 4,315,000 บาท และทำ� พธิ เี ปดิ สมาคมในปี พ.ศ. 2530 อาคารแห่งนี้จะใช้เป็นท่ีชุมนุมพบปะสังสรรค์ของสมาชิก และถือเป็นสัญลักษณ์ ทางสงั คมของชาวจนี สมทุ รสาครทบ่ี ง่ ชว้ี า่ ลกู หลานแซต่ ง้ั เปน็ คนกลมุ่ ใหญ่ มคี วามสามคั คี และฐานะมั่นคงทางเศรษฐกิจ กรรมการและสมาชิกสมาคมล้วนเป็นเจ้าของธุรกิจ ขนาดใหญ่ เชน่ รา้ นทอง ปม๊ั นำ้� มนั บรษิ ทั คา้ วสั ดกุ อ่ สรา้ ง รบั เหมากอ่ สรา้ ง เรอื ประมง โรงงานอุตสาหกรรม โรงน�้ำแข็ง ห้องเย็น มินิมาร์ท สวนอาหาร ร้านขายยา รา้ นเสรมิ สวย โรงพิมพ์ เป็นต้น 24 3/20/2561 BE 15:04 สาครบุรี จากวิถีชาวบ้าน การเปล่ียนผ่านวิถีชีวิตท้องถิ่นในลุ่มน้�ำท่าจีน จังหวัดสมุทรสาคร Sakorn-Buri_Book_Final 0320.indd 24

อาคารของสมาคมแซต่ งั้ หรือตง้ั ตระกลู สมุทรสาคร ตั้งอยูใ่ นบรเิ วณถนนเอกชัย ซอย 1 ต�ำบลมหาชัย อำ� เภอเมอื ง จงั หวดั สมทุ รสาคร นอกจากตระกูลตั้งแล้ว ชาวจีนตระกูลล้ิมถือเป็นตระกูลใหญ่อีกตระกูลหนึ่ง บรรพบุรษุ ตระกลู ลิม้ ประกอบอาชพี ประมงและเลยี้ งเปด็ ซึ่งจะมกี ารรวมตวั พบปะกัน ที่บ้านนายง้วนฮ้ัว ต่อมามีการรวมกลุ่มและเพิ่มจ�ำนวนสมาชิก สถานที่พบปะกัน ได้ย้ายไปท่ีศาลเจ้าพ่อกวนอูในเขตท่าฉลอม เพราะเห็นว่าศาลเจ้าพ่อกวนอูมีรูปปั้น เจ้าแม่เทียงโหวประดิษฐานอยู่ ชาวจีนตระกูลลิ้มเคารพบูชาและขอพรให้เจ้าแม่ เทียงโหวช่วยคุ้มครองป้องกันอันตราย ขอให้ชีวิตมีความสุขความเจริญ และจะ จัดงานฉลองวันเกิดให้เจ้าแม่ทุกปี เม่ือชาวจีนตระกูลล้ิมรวมตัวกันมากขึ้นจึงริเร่ิม ซื้อที่ดิน 300 ตารางวาบริเวณวัดตึกเพื่อสร้างเป็นอนุสรณ์สถาน จนถึงปี พ.ศ. 2524 ไดย้ า้ ยไปซือ่ ทดี่ นิ ใหม่จำ� นวน 3 ไรเ่ ศษเพื่อสรา้ งเปน็ อาคารแบบจนี ภายใต้คำ� แนะนำ� ของประธานบรหิ ารตระกลู ลมิ้ แหง่ ประเทศไทย ทง้ั นมี้ ผี รู้ ว่ มบรจิ าคเงนิ เพอื่ สรา้ งอาคาร โดยใช้งบประมาณก่อสร้าง 7 ล้านบาท โดยเปิดอาคารอนุสรณ์สถานเม่ือวันท่ี 9 ตุลาคม พ.ศ. 2527 ซ่ึงถือเป็นวันส�ำคัญที่ชาวตระกูลลิ้มสมุทรสาครจะมารวมตัว เพื่อจัดงานเล้ียงฉลองประจ�ำปี รวมท้ังจัดงานฉลองวันเกิดเจ้าแม่เทียงโหวใน วันขนึ้ 23 ค�่ำ เดอื น 3 โดยจะมกี ารแสดงงว้ิ ถวายเจ้าแม่ 25 สาครบุรี จากวิถีชาวบ้าน การเปล่ียนผ่านวิถีชีวิตท้องถ่ินในลุ่มน�้ำท่าจีน จังหวัดสมุทรสาคร Sakorn-Buri_Book_Final 0320.indd 25 3/20/2561 BE 15:04

อาคารสมาคมตระกลู ล้ิม จังหวดั สมุทรสาคร ตัง้ อยทู่ ่ีถนนนรราชอทุ ิศ ต�ำบลมหาชัย อำ� เภอเมือง จังหวัดสมทุ รสาคร การเติบโตของชุมชนจีน ยังสัมพันธ์กับการพัฒนาเส้นทางรถไฟระหว่าง มหาชัยถึงปากคลองสาน ซ่ึงบริษัทต่างประเทศชื่อบริษัทรถไฟท่าจีนทุนจ�ำกัด ของพระยาพพิ ฒั นโ์ กษา (เซเลสตโิ น เอม็ ซาเวยี ร์ ชาวอติ าล)ี ถอื หนุ้ รว่ มกบั ชาวตา่ งชาติ ได้เข้ามาด�ำเนินการก่อสร้างในปี พ.ศ. 2444 และเปิดใช้ในปี พ.ศ. 2447 และต่อมา ในปี พ.ศ. 2448 บริษัทรถไฟแม่กลองทุนจ�ำกัดได้สัมปทานก่อสร้างเส้นทางรถไฟ จากสถานบี า้ นแหลม (ทา่ ฉลอม) ถึงสถานีแมก่ ลอง และเปิดใช้ในปี พ.ศ. 2448 ท�ำให้ ชุมชนจีนท่าฉลอมและมหาชัยเจริญเติบโต เพราะมีเส้นทางรถไฟท่ีสะดวกรวดเร็ว ท�ำให้พ่อค้าแม่ค้าน�ำผลผลิตทางการเกษตรและการประมงไปขายที่แม่กลอง และ ปากคลองสานได้งา่ ยขนึ้ ชุมชนจนี ในท่าฉลอมและมหาชยั จงึ มีเศรษฐกจิ ที่เติบโต 26 3/20/2561 BE 15:04 สาครบุรี จากวิถีชาวบ้าน การเปลี่ยนผ่านวิถีชีวิตท้องถ่ินในลุ่มน�้ำท่าจีน จังหวัดสมุทรสาคร Sakorn-Buri_Book_Final 0320.indd 26

กุลีชาวจนี ในเขตทา่ ฉลอมกำ� ลังเตรยี มยกกระบงุ ใสป่ ลาข้นึ รถไฟ ทม่ี าภาพ: สำ� นกั หอจดหมายเหตแุ หง่ ชาติ 27 สาครบุรี จากวิถีชาวบ้าน การเปล่ียนผ่านวิถีชีวิตท้องถ่ินในลุ่มน้�ำท่าจีน จังหวัดสมุทรสาคร Sakorn-Buri_Book_Final 0320.indd 27 3/20/2561 BE 15:04

ชาวจนี ในเขตอำ� เภอบา้ นแพว้ สว่ นใหญเ่ ปน็ ชาวจนี แตจ้ วิ๋ ทอ่ี พยพมาทางทะเล เขา้ มาหากนิ ในดนิ แดนสยามในชว่ งรชั กาลท่ี 3-4 โดยเฉพาะในชว่ งหลงั ทำ� สนธสิ ญั ญา เบาวร์ งิ่ (สภุ างค์ จนั ทวานชิ และคณะ, 2539: 128) ชมุ ชนจนี จะตงั้ เรยี งรายอยรู่ มิ คลอง ด�ำเนินสะดวกซึ่งขุดข้ึนในปี พ.ศ. 2409 สมัยรัชกาลที่ 4 เป็นคลองที่เชื่อมระหว่าง แม่น�้ำท่าจีนกับแม่น�้ำแม่กลอง โดยรัชกาลที่ 4 ทรงพระกรุณาโปรดเกล้าฯ ให้ สมเด็จเจ้าพระยาบรมมหาศรีสุริยวงศ์ (ช่วง บุนนาค) เป็นผู้อ�ำนวยการขุดคลอง โดยเรม่ิ ขดุ จากแมน่ ำ�้ ทา่ จนี บรเิ วณปากคลองบางยาง ตำ� บลบางยาง อำ� เภอกระทมุ่ แบน จังหวัดสมุทรสาคร ไปจนถึงแม่น้�ำแม่กลอง ต�ำบลบางนกแขวก อ�ำเภอบางคนที จังหวัดสมุทรสงคราม มีความยาวประมาณ 35.8 กิโลเมตร กว้าง 6 วา ลึก 6 ศอก ในล�ำคลองจะมีหลักปักไว้ทุกๆ 4 กิโลเมตร รวมท้ังสิ้น 8 หลัก ขุดคลองเสร็จในปี พ.ศ. 2411 ซงึ่ รชั กาลที่ 4 พระราชทานชอื่ คลองนว้ี า่ คลองดำ� เนนิ สะดวก เพราะเหน็ วา่ เป็นเส้นตรงและสะดวกในการสัญจรทางน�้ำ หลังจากน้ันคลองด�ำเนินสะดวก ก็กลายเป็นเส้นทางคมนาคมที่ส�ำคัญ ซึ่งเรือสินค้าได้น�ำผลผลิตทางการเกษตรของ ชาวบ้านเดินทางไปขายที่กรุงเทพฯได้รวดเร็ว ด้วยเหตุน้ีจึงมีชาวบ้านอพยพเข้ามา ต้ังรกรากและบุกเบิกพ้ืนท่ีท�ำกิน พร้อมกับมีการขุดคลองสาขาแยกออกไปมากมาย จนทำ� ให้เขตบา้ นแพ้วเป็นชมุ ชนเกษตรกรรมของชาวนาชาวสวน 28 3/20/2561 BE 15:04 สาครบุรี จากวิถีชาวบ้าน การเปลี่ยนผ่านวิถีชีวิตท้องถ่ินในลุ่มน�้ำท่าจีน จังหวัดสมุทรสาคร Sakorn-Buri_Book_Final 0320.indd 28

ตลาดน้ำ� หลกั ห้า อำ� เภอบา้ นแพว้ เป็นที่ตง้ั ชุมชนชาวจนี ทเ่ี ขา้ มาอาศยั รมิ คลองดำ� เนินสะดวก เพอ่ื ประกอบอาชพี คา้ ขายและทำ� สวน 29 สาครบุรี จากวิถีชาวบ้าน การเปลี่ยนผ่านวิถีชีวิตท้องถิ่นในลุ่มน้�ำท่าจีน จังหวัดสมุทรสาคร Sakorn-Buri_Book_Final 0320.indd 29 3/20/2561 BE 15:04

ในเขตอ�ำเภอกระทุ่มแบน เป็นที่ตั้งของชุมชนจีนท่ีอพยพเข้ามาอยู่ในสยาม ในช่วงต้นรัตนโกสินทร์ เห็นได้จากการสร้างศาลเจ้าจีนหลายแห่ง โดยเฉพาะในเขต ตลาดกระทุ่มแบนท่ีอยู่ระหว่างคลองอ่อนใจและคลองกระทุ่มแบน บริเวณนี้จะเป็น ชุมชนจีนหนาแน่นท่ียึดอาชีพค้าขาย โดยใช้คลองภาษีเจริญเป็นเส้นทางค้าขาย ตระกูลชาวจีนท่ีส�ำคัญในกระทุ่มแบนคือตระกูลสีบุญเรือง ซึ่งนายเซียวซองอ๊วน สีบุญเรือง คือคหบดีที่มีฐานะทางเศรษฐกิจ เป็นผู้มีบทบาทส�ำคัญในการพัฒนา และอุปถัมภ์โรงเรียนประสานราษฎร์ ในสมัยรัชกาลท่ี 6 ซ่ึงต่อมาในปี พ.ศ. 2475 ได้เปล่ยี นช่ือเป็นโรงเรยี นศรบี ณุ ยานสุ สรณ์ ในอดีตชาวจีนที่เข้ามาต้ังรกรากในกระทุ่มแบนจะเป็นแรงงานในไร่อ้อย โรงหบี ออ้ ย โรงสี รวมทง้ั ทำ� นาทำ� สวน เลย้ี งหมู คา้ ขาย จนกระทง่ั มฐี านะทางเศรษฐกจิ ดขี นึ้ จงึ ขยบั ขยายไปอยใู่ นทอ่ี นื่ และแบง่ มรดกทด่ี นิ ใหก้ บั ลกู หลาน ชมุ ชนจนี ทสี่ ำ� คญั ไดแ้ ก่ บ้านท้องคุง้ บา้ นดอนไกด่ ี และบา้ นโต้ลง้ กรรมการโรงเจฮะนำ่� ตว๊ั อธบิ ายถงึ การทำ� มาหากนิ ของคนจนี ทเ่ี ขา้ มาอาศยั อยู่ ในเขตบา้ นโตล้ ง้ ต.สวนหลวง อ.กระทุ่มแบน วา่ 30 3/20/2561 BE 15:04 สาครบุรี จากวิถีชาวบ้าน การเปลี่ยนผ่านวิถีชีวิตท้องถ่ินในลุ่มน้�ำท่าจีน จังหวัดสมุทรสาคร Sakorn-Buri_Book_Final 0320.indd 30

กรรมการโรงเจฮะน�่ำต๊ัว “ชุมชนโต้ล้ง ในอดีตเป็นชุมชนของ ชาวจนี ทอ่ี พยพเขา้ มาตง้ั ถนิ่ ฐานในประเทศไทย เมอื่ ประมาณ 100 กวา่ ปที แ่ี ลว้ คนจนี ฮกเกยี้ น จากภาคใตข้ องจนี ไดน้ ำ� เทพเจา้ และรปู เคารพ มาหลายองคแ์ ละสรา้ งเปน็ ศาลเจา้ และโรงเจขน้ึ ช่ือ ฮะน�่ำตั๊ว เพ่ือใช้เป็นสถานท่ีประกอบ พิธีกรรม ถือศีลกินเจ และเป็นโรงเรียนสอน ภาษาจีน โต้ล้งหมายถึงที่พักขนาดใหญ่ท่ีมี ชาวจนี อาศยั อยหู่ ลายครอบครวั เมอื่ เขา้ มาอยู่ ในบริเวณนี้ ก็จับจองที่ดินท�ำสวน และเป็น แรงงานรับจ้างในโรงหีบอ้อย และโรงงาน ผลิตน้�ำตาล ซ่ึงอยู่ในต�ำบลท่าไม้ โรงงานน้ี เป็นของชาวโปรตุเกสท่ีเข้ามาในช่วงรัชกาล ที่ 3 เจ้าของโรงงานจะมาจ้างแรงงานจีน ในชุมชนโต้ล้งไปท�ำงานในไร่อ้อยและใน โรงหีบออ้ ย” (สมั ภาษณ์ วนั ท่ี 17 พฤศจิกายน 2559) “ตอนนนั้ ทมี่ าอยู่ มนั จะมคี รอบครวั ใหญ่ มพี ีน่ ้องที่มาจากเมอื งจนี เขาจะมา สร้างล้งอยู่ คือจริงๆ คือสร้างบ้าน แต่บ้านเขาใหญ่ เป็นจาก เขาก็อยู่ 5 ครอบครัว ออกลูกออกหลาน มันก็ย่ิงเยอะ คือทางแม่น้�ำท่าจีน ตรงโรงหีบอ้อยที่ปล่องเหลี่ยม เขาท�ำสวน ท�ำอ้อย เวลาจะหาคนงานเขาก็มาท่ีท่ีโต้ล้ง เพราะว่าท่ีน่ีมันใหญ่มาก มี 30 กวา่ คน เขากจ็ ะมาเอาคนทน่ี ไี่ ป ทำ� วนั เดยี วเสรจ็ จา้ งไปตดั ออ้ ย ขดุ ดนิ พรวนดนิ กเ็ ลยเรยี กทนี่ ว่ี า่ โตล้ ง้ มาตลอด แตโ่ ตล้ ง้ เนยี่ มนั มสี องอยา่ ง คอื อกี อยา่ งคอื โรงหบี ออ้ ย เล็กๆ แต่มันอยู่ข้างใน แต่มันไม่ใหญ่เท่าน้ัน เขาก็เลยเรียกว่าโต้ล้ง แต่สมัยน้ัน เขาถือว่านิดเดียวก็ใหญ่แล้ว ประวัติโต้ล้งจริงๆ ก็คือหลังคามุงจากท่ีขนาดใหญ่ คือล้งคนงานอะไรแบบน้ัน เดิมทีเขามีบ้านเจ้าพระยาอยู่แถวน้ี เขาไม่มีลูก เขาก็ได้ ศกั ดินามาเป็นทีด่ ิน 200 – 300 ไร่ แล้วใน 16 คน เนีย่ เขากม็ ลี กู สาว แตก่ ง๋ เขาไมใ่ ห้ เพราะเขาจะกลับเมืองจีนแล้วไม่รู้จะให้ท�ำไม ถ้าให้ไปป่านนี้ก็เป็นเจ้านายไปแล้ว แต่พอตายไปท่ีดินก็กลับมาเป็นของพระมหากษัตริย์ตามเดิม” (สัมภาษณ์ วันที่ 17 พฤศจิกายน 2559) 31 สาครบุรี จากวิถีชาวบ้าน การเปล่ียนผ่านวิถีชีวิตท้องถ่ินในลุ่มน�้ำท่าจีน จังหวัดสมุทรสาคร Sakorn-Buri_Book_Final 0320.indd 31 3/20/2561 BE 15:04

โรงเจฮะนำ่� ตั๊ว ในชมุ ชนบา้ นโตล้ ง้ ชุมชนจีนเกา่ แก่ที่เคยเปน็ แรงงานในไร่อ้อยและโรงหีบออ้ ย ในต�ำบลสวนหลวง อ�ำเภอกระทมุ่ แบน จงั หวัดสมทุ รสาคร 32 3/20/2561 BE 15:04 สาครบุรี จากวิถีชาวบ้าน การเปล่ียนผ่านวิถีชีวิตท้องถ่ินในลุ่มน�้ำท่าจีน จังหวัดสมุทรสาคร Sakorn-Buri_Book_Final 0320.indd 32

คลองภาษีเจริญและคลองดำ� เนินสะดวก การสร้างความอารยะและระบบทุนนิยมในท้องถน่ิ พระราชพงศาวดารกรุงรัตนโกสินทร์รัชกาลที่ 4 ของเจ้าพระยาทิพากรวงศ์ มหาโกษาธิบดี (ข�ำ บุนนาค) ระบุว่าในช่วงรัชกาลพระบาทสมเด็จพระจอมเกล้า เจ้าอยู่หัว (พ.ศ. 2394-2411) ได้ทรงพระกรุณาโปรดเกล้าฯ ให้ขุดคลองต่างๆ ท้ังในพระนครและหัวเมือง ได้แก่ คลองผดุงกรุงเกษม คลองถนนตรง คลองสีลม คลองเจดยี บ์ ชู า คลองมหาสวสั ด์ิ คลองภาษเี จรญิ และคลองดำ� เนนิ สะดวก จะเหน็ ไดว้ า่ พระราชด�ำริในพระบาทสมเด็จพระจอมเกล้าเจ้าอยู่หัวในเร่ืองการขุดคลอง หลัง พ.ศ. 2398 ซ่ึงเป็นปีท่ีลงนามในสนธิสัญญาเบาว์ร่ิงกับอังกฤษ ก็คือการใช้ เส้นทางคลองเป็นทางเชื่อมระหว่างแม่น้�ำส�ำคัญ เพื่อขนส่งสินค้าต่างๆ ให้เข้ามายัง พระนครได้ง่ายขึ้น และใช้ประโยชน์จากท่ีดินริมฝั่งคลองให้เป็นประโยชน์ในการ ปลูกพืชไร่สวนและข้าว ท่ีจะเป็นสินค้าส่งออกของประเทศ มากกว่าการที่จะขุดคลอง เพอ่ื เปน็ เสน้ ทางเดนิ ทพั หรอื การปอ้ งกนั ขา้ ศกึ ดงั เชน่ ทเี่ คยขดุ คลองตา่ งๆ มากอ่ นในชว่ ง รัตนโกสินทร์ตอนต้น ในเขตสาครบุรี ความเจริญได้เกิดขึ้นตามล�ำคลอง คลอง ภาษีเจริญ และคลองด�ำเนินสะดวก คลองท้ังสองนี้เป็นคลองหลักท่ีเชื่อมฝั่งตะวันตก ของพระนครกับแม่น�้ำท่าจีนและแม่น�้ำแม่กลอง เดิมบริเวณนี้มีคลองมหาชัยหรือ คลองด่านที่เชื่อมคลองบางกอกใหญ่ ผ่านคลองสนามชัย คลองโคกขาม ไปออก แมน่ ำ�้ ทา่ จนี ทม่ี หาชยั ซงึ่ มที งั้ คลองดง้ั เดมิ และคลองทขี่ ดุ ใหมใ่ นสมยั อยธุ ยาตอนปลาย การศกึ ษาของชเิ กฮารุ ทานาเบ (2527) อธบิ ายวา่ การขดุ คลองในพนื้ ทรี่ าบลมุ่ ทางทิศใต้ของอยุธยา เป็นพ้ืนที่ที่ไม่ค่อยมีผู้คนอาศัยอยู่มากนัก ต่อมาในช่วง ต้นรัตนโกสนิ ทร์ การขุดคลองมีวัตถุประสงคเ์ พื่อการคมนาคม ใชเ้ ป็นเสน้ ทางเดินเรอื ค้าขาย เป็นเส้นทางขนส่งกองทหาร คลองจึงมิได้ขุดเพ่ือประโยชน์ทางการเกษตร การขุดคลองในชว่ งก่อนรชั กาลท่ี 3 จะประกอบด้วยคลองลัด คลองข้ามระหว่างแมน่ ำ�้ และคลองภายในเมือง (ชิเกฮารุ ทานาเบ, 2527: 218) แต่หลังจากที่สยามเร่ิมท�ำ สนธิสัญญาทางการค้ากับตะวันตก ท�ำให้มีการขยายพ้ืนที่เพาะปลูก และคลองก็เร่ิม ใช้ประโยชน์ทางการเกษตรมากขึ้น ชุมชนชาวนาจึงขยายตัวไปตามล�ำคลองท่ีขุดใหม่ เพราะใช้เป็นเส้นทางขนส่งพืชผลทางการเกษตรและใช้ส�ำหรับเพาะปลูก (ชิเกฮารุ ทานาเบ, 2527: 217) ในเขตบ้านแพ้วคือคลองด�ำเนินสะดวกท่ีเช่ือมระหว่าง 33 สาครบุรี จากวิถีชาวบ้าน การเปล่ียนผ่านวิถีชีวิตท้องถ่ินในลุ่มน้�ำท่าจีน จังหวัดสมุทรสาคร Sakorn-Buri_Book_Final 0321.indd 33 3/21/2561 BE 10:05

แม่น�้ำท่าจีนถึงแม่น�้ำแม่กลอง สองฝากคลองด�ำเนินสะดวกจะมีชุมชนชาวนา และชาวสวนเกิดข้ึนจ�ำนวนมาก พืชเศรษฐกิจท่ีส�ำคัญคือ ข้าว อ้อย และพริกไทย อยา่ งไรกต็ าม หลงั ปี พ.ศ. 2410 เปน็ ตน้ มา การปลกู ออ้ ยเพอื่ ทำ� นำ�้ ตาลเรม่ิ ลดนอ้ ยลง เพราะชวาผลิตน้�ำตาลราคาถูก ชาวบ้านก็หันมาปลูกข้าวมากขึ้น (ชิเกฮารุ ทานาเบ, 2527: 220-221) หลังปี พ.ศ. 2410 เป็นต้นมา พืน้ ทบ่ี า้ นแพว้ เปน็ พื้นทีป่ ลูกขา้ ว จะเหน็ ได้จาก มีการขุดคลองสาขาแยกไปจากคลองด�ำเนนิ สะดวกจำ� นวนมากเพ่อื ใช้เป็นคลองส่งน้�ำ สำ� หรบั การปลกู ขา้ ว แตก่ ารสง่ นำ�้ เขา้ นาจะตอ้ งอาศยั แมน่ ำ้� หนนุ ตอ่ มาในปี พ.ศ. 2420 รัชกาลที่ 5 ได้ออกพระราชบัญญัติช่ือประกาศขุดคลอง จ.ศ. 1239 เพ่ือแก้ปัญหา การจับจองท่ีดินของเจ้าขุนมูลนาย ซ่ึงมักจะถือครองท่ีดินจ�ำนวนมากแต่ไม่ได้ ใช้ประโยชน์ ท�ำให้กลายเป็นที่รกร้างว่างเปล่า รัชกาลที่ 5 จึงทรงแก้ไขให้มีโฉนดจอง แก่ราษฎรท่ีจะใช้พื้นที่เพาะปลูกข้าว (ชิเกฮารุ ทานาเบ, 2527: 223-224) โดยชาวนา ท่ีต้องการใช้พ้ืนที่ปลูกข้าวจะต้องออกเงินช่วยค่าขุดคลอง หรือถ้ายากจนจะต้องช่วย ออกแรงขุดคลอง หากราษฎรปลอ่ ยพืน้ ทีท่ จี่ ับจองให้ว่างเกิน 5 ปี รัฐจะเรยี กคนื ที่ดนิ รวมทงั้ รฐั จะงดเวน้ การเก็บค่านาและคา่ สมพัดสรเปน็ เวลา 3 ปี เพื่อให้ชาวนาขยายท่ี เพาะปลกู มากข้นึ (กิตติ ตันไชย, 2527: 235) ตอ่ มาในชว่ งปี พ.ศ. 2430 ทดี่ นิ ริมคลอง มีราคาแพงมากข้ึน รัชกาลที่ 5 จึงทรงให้เอกชนเข้ามาด�ำเนินการขุดคลอง ส่งผลให้ ทดี่ นิ ตกไปอยใู่ นมอื ของเอกชนมากขน้ึ ซงึ่ ประกอบดว้ ยเจา้ ขนุ มลู นาย ขา้ ราชการชนั้ สงู และคนจนี ทร่ี �่ำรวย (ชเิ กฮารุ ทานาเบ, 2527: 224) ความทรงจำ� เกยี่ วกบั ชวี ติ ชาวนาชาวสวนเมอื่ ประมาณ 70 ปที แี่ ลว้ ชาวลาวโซง่ ในอำ� เภอบา้ นแพว้ เล่าวา่ 34 3/21/2561 BE 10:05 สาครบุรี จากวิถีชาวบ้าน การเปล่ียนผ่านวิถีชีวิตท้องถิ่นในลุ่มน�้ำท่าจีน จังหวัดสมุทรสาคร Sakorn-Buri_Book_Final 0321.indd 34

“แถวนเ้ี ปน็ นาหมด มองไปเหน็ ราชบรุ เี ลย สมัยก่อนข้าวราคาถูก พันธุ์เหลืองปะทิว เขามา รบั ซอ้ื ทบ่ี า้ น โรงสขี า้ วอยปู่ ากคลองหลกั สี่ พออายุ 20 ก็เลิกท�ำนา แบ่งที่นาให้ลูกไป มีลูก 9 คน ตอนน้ีเหลือ 3 คน ผู้ชาย 4 คน ผู้หญิง 5 คน ลูกสาวคนโตยังได้ทันท�ำนาสองปี ทีแรกก็ใช้วัวคู่ ตอนหลังก็เร่ิมมีรถไถ ก็ขายวัวไปแล้วซื้อรถไถ จะไดไ้ มต่ อ้ งเกยี่ วหญา้ แถวนค้ี วายไมม่ ี แถวนใี้ ชว้ วั ชาวลาวโซ่งในอำ� เภอบ้านแพว้ ถ้าควายก็จะต้องแถวคลองตาปล่ัง แถวเจ็ดริ้ว มอญเขาจะใช้ควาย ถ้าไทด�ำก็จะวัว เกี่ยวข้าวเสร็จก็ตากแดดก่อน แล้วก็มัด แล้วก็ใช้ วัวนวด ให้เม็ดมันร่วง แล้วใช้ตะขอกระตุกเขย่า แล้วใช้วัวเหยียบอีกที เหยียบจน ข้าวมันร่วงหมด แล้วก็เอาฟางออก แล้วก็มีอีกหลายขั้นตอน ก็จะมีลูกจ้าง จ้างมา สองคน ท�ำนาร้อยกว่าไร่ หาบข้าวจากน่ีแล้วก็ไปบ้านคร่ึงกิโล หาบข้าวข้างละส่ีฟ่อน ใช้ไม้คานเสียบหัวท้าย ข้ามตั้งก่ีทุ่งล่ะกว่าจะถึงบ้าน หลังๆ มาก็ใช้เกวียน เม่ือก่อน กก็ องออกไวก้ อ่ นในทงุ่ นา ของใครของมนั แลว้ กเ็ อาเกวยี นไปเอามา เมอื่ กอ่ นลำ� บาก ท�ำนาได้ประมาณ 2 ปี ก็เลยเลิก หันมาท�ำสวน เพราะมันรวยเร็ว ตอนนั้นพริกข้ีหนู โลละร้อย ท่ีของเราอยู่ไกล ก็เช่าท่ีแถวบ้านเบิกสวน ก็แล้วแต่ว่าใครจะปลูกอะไร กม็ พี รกิ พทุ รา สมยั กอ่ นพรกิ ทง้ั นน้ั พรกิ มนั เมด็ ใหญ่ แลว้ กใ็ หล้ กู ไปขายปากคลองตลาด มีรถไป ไปขายกันเยอะ สมัยก่อนมีเรือใหญ่ มันไม่มีถนนแบบน้ี สมัยก่อนมันเป็น ทุ่งนาหมด เดือน 4-5 ก็จะไม่มีในคลองน�้ำสักหยด แห้งหมดเลย ก็ต้องเดินเอา มาโรงเรียนสองห้องนี่ก็ต้องเดิน ทั้งขาไปขามา เดินกันให้ขาวไปหมดเลย เดินลัดทุ่ง กนั ไป แตล่ ะบา้ นปลกู มะมว่ งเอาไว้ 5-6 ตน้ เอาไวก้ นิ แลว้ กข็ ดุ บอ่ ใหญ่ ใชก้ ระปอ๋ งหาบ ถ้าบอ่ คนนนั้ ตน้ื กต็ ้องไปขอบ่อคนอน่ื ต้องใชโ้ อ่งใหญ่ ๆ รองนำ�้ ฝนไว้กิน” (สัมภาษณ์ 23 ธันวาคม 2559) 35 สาครบุรี จากวิถีชาวบ้าน การเปล่ียนผ่านวิถีชีวิตท้องถ่ินในลุ่มน�้ำท่าจีน จังหวัดสมุทรสาคร Sakorn-Buri_Book_Final 0320.indd 35 3/20/2561 BE 15:04

คลองดำ� เนนิ สะดวกในปจั จบุ นั พื้นทีส่ องฝงั่ คลองยังเป็นสวนผักผลไม้ 36 3/20/2561 BE 15:04 สาครบุรี จากวิถีชาวบ้าน การเปล่ียนผ่านวิถีชีวิตท้องถ่ินในลุ่มน้�ำท่าจีน จังหวัดสมุทรสาคร Sakorn-Buri_Book_Final 0320.indd 36

คลองภาษีเจริญ พระภาษีสมบัติบริบูรณ์ (ยิ้ม) เจ้าภาษีฝิ่น ได้กราบบังคมทูลขอพระราชทาน พระบรมราชานญุ าต ใชเ้ งนิ จากภาษฝี น่ิ ขดุ คลองนี้ โดยเรม่ิ ดำ� เนนิ การขดุ เมอื่ พ.ศ. 2410 แล้วเสร็จเม่ือ พ.ศ. 2415 มีวัตถุประสงค์ในการขุดคือ เพื่อประโยชน์ในการค้าขาย และการสัญจรทางน้�ำระหว่างกรุงเทพฯ กับเมืองสมุทรสาคร เพ่ือผลประโยชน์ของ พระภาษีสมบัติบริบูรณ์เอง เพราะมีโรงหีบอ้อยอยู่ท่ีบ้านดอนไก่ดี (ดอนกะฎี) ท�ำให้ สามารถขนส่งอ้อย และน�้ำตาลทราย ได้สะดวกและรวดเร็วย่ิงข้ึน คลองนี้เริ่มต้นจาก คลองบางกอกใหญ่ และคลองบางขุนศรี มารวมกันที่วัดประดู่ ในเขตภาษีเจริญ กรุงเทพฯ ปลายคลองออกแมน่ ้�ำท่าจีน ทตี่ �ำบลดอนไกด่ ี อ�ำเภอกระทุม่ แบน จังหวัด สมทุ รสาคร มีความยาว 620 เสน้ (24.8 กิโลเมตร) ในช่วงสมัยรัชกาลท่ี 3 ถึง รัชกาลท่ี 4 พ้ืนที่เขตกระทุ่มแบนมีการปลูกอ้อย จ�ำนวนมาก เห็นได้จากการตั้งโรงงานผลิตน�้ำตาลหรือโรงงานหีบอ้อยบริเวณบ้าน ปล่องเหล่ียมริมแม่น้�ำท่าจีน รัชกาลที่ 3 ทรงสนับสนุนให้มีการปลูกอ้อยและผลิต น�้ำตาลทราย พื้นท่ีปลูกอ้อยจึงขยายตัวในเขตภาคกลาง โดยเฉพาะลุ่มน้�ำท่าจีน ซึ่งมีคนจีนเป็นแรงงานในไร่อ้อย พันธุ์อ้อยที่ปลูก ได้แก่ อ้อยแดงไทย อ้อยขาว เกาะหมาก อ้อยแดงชวา อ้อยจีน และอ้อยญวน ในสมัยรัชกาลท่ี 4 ได้สนับสนุน เงินกู้ให้กับนายทุนชาวจีนหรือหลงจู๊ในเขตนครไชยศรี สมุทรสาคร และฉะเชิงเทรา เพอ่ื น�ำเงินไปสรา้ งโรงงานนำ�้ ตาลและปลูกออ้ ย (อ้างจาก http://oldweb.ocsb.go.th/ udon/All%20text/1.Article/01-Article%20P1.2.htm. สืบค้นวนั ที่ 19 ธันวาคม 2559) เพราะรฐั บาลหวังผลก�ำไรจากภาษีอากรที่จะเรยี กเก็บจากนายทนุ ชาวจนี ทั้งหลาย เมื่อพระบาทสมเด็จพระจอมเกล้าเจ้าอยู่หัวมีพระราชด�ำริขุดคลองภาษีเจริญ ข้ึนในปี พ.ศ. 2409 โดยน�ำเอาเงินภาษีฝิ่นมาเป็นค่าจ้างขุดคลอง ซึ่งเจ้าสัวย้ิมหรือ พระภาษสี มบตั บิ รบิ รู ณเ์ ปน็ แมก่ องงาน พระราชพงศาวดารกรงุ รตั นโกสนิ ทรร์ ชั กาลที่ 4 บนั ทกึ วา่ 37 สาครบุรี จากวิถีชาวบ้าน การเปล่ียนผ่านวิถีชีวิตท้องถ่ินในลุ่มน�้ำท่าจีน จังหวัดสมุทรสาคร Sakorn-Buri_Book_Final 0320.indd 37 3/20/2561 BE 15:04

“ในปีขาล (2409) น้ัน โปรดเกล้าโปรดกระหม่อมให้พระภาษี สมบัติบูรณ ซึ่งเป็นเจ้าภาษีฝิ่น จ�ำหน่ายเงินภาษีฝิ่นเป็นค่าจ้างขุดคลอง ตงั้ แตป่ ลายคลองบางกอกใหญร่ มิ วดั ปากนำ้� ไปตกแมน่ ำ�้ เมอื งนครไชยศรี ยาว 620 เสน้ กวา้ ง 7 วา ลกึ 5 ศอก เปน็ ราคาคา่ จา้ งขดุ คลองแลคา่ ตอไม้ รวมเป็นเงิน 1,400 ชัง่ ชอ่ื วา่ คลองภาษเี จรญิ ” (พงศาวดารกรงุ รตั นโกสนิ ทร์ รชั กาลที่ 4 หนา้ 234) คลองภาษีเจรญิ ปีท่ีเริม่ ขดุ พ.ศ. 2410 ปที เี่ ปิดใช้ พ.ศ. 2415 ความยาว 28 กโิ ลเมตร จุดเริม่ ตน้ คลองบางกอกใหญ่ จดุ สิน้ สุด แม่นำ�้ ทา่ จีน กระทุ่มแบน 38 3/20/2561 BE 15:04 สาครบุรี จากวิถีชาวบ้าน การเปลี่ยนผ่านวิถีชีวิตท้องถิ่นในลุ่มน�้ำท่าจีน จังหวัดสมุทรสาคร Sakorn-Buri_Book_Final 0320.indd 38

การขุดคลองภาษีเจริญเป็นงานใหญ่ของพระนคร เพราะจะเป็นคลองแรก ท่ีขุดเช่ือมต่อกับแม่น้�ำท่ีไกลออกไป แม้ว่าก่อนหน้าน้ีจะขุดคลองเจดีย์บูชา และ คลองมหาสวัสดี แต่ก็ยังไม่ได้มีวัตถุประสงค์ทางการค้าพาณิชย์ ท้ังพ้ืนที่สองฝั่ง คลองภาษีเจริญ ยังมีประโยชน์และอุดมสมบูรณ์มาก ในหนังสือบางกอกรีคอเดอร์ (Bangkok Recorder) ของหมอบรัดเลย์ ใบท่ี 11 ฉบับเดือน 9 ข้ึน 15 ค�่ำ จุลศักราช 1227 (พ.ศ. 2408) เร่ิมแจง้ ข่าวแก่คนทัว่ ไปเรอ่ื งดำ� รขิ ุดคลองว่า “การที่จะขุดคลองใหม่ ข้าพเจ้าผู้เจ้าของหนังสือนี้มีความยินดี เพราะพระบาทสมเด็จพระจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว ได้โปรดให้พระภาษี สมบตั บิ รบิ รู ณ์ ขุดคลองตั้งแตบ่ ้านดอนกะดแี ขวงเมืองท่าจีนมาออก คลองบางกอกใหญ่ ริมวัดปากน�้ำแขวงกรุงเทพฯ น้ัน เพราะข้าพเจ้า พเิ คราะหด์ เู หน็ วา่ จะเปน็ ประโยชนแ์ กก่ รงุ เทพฯ แลบา้ นเมอื งสยามมาก ข้อที่เคาวเมนต์กรุงสยามโปรดให้ไพร่พลเมืองท�ำการใหญ่ด้วยเงิน ของเขาเอง ไมใ่ ชเ่ งนิ ในหลวงเชน่ นนั้ กเ็ ปน็ อยา่ งธรรมเนยี มในประเทศยรู ป แลประเทศอเมริกาโดยมาก นั่นและเป็นส�ำคัญเป็นพยานว่าใน สยามประเทศจะมธี รรมเนยี มดีข้นึ ต่าง ๆ...” แต่หมอบรัดเลย์อาจทราบมาว่าเมื่อจะมีการขุดคลองขึ้นแล้ว ก็จะให้ต้ัง โรงหวยขึ้นเพื่อเก็บเงินใช้ขุดคลองซึ่งจะก่อให้เกิดผลเสียแก่ประเทศมากกว่าอย่างอ่ืน เพราะการเลน่ หวยนน้ั กจ็ ะทำ� ใหร้ าษฎรหมดเนอื้ หมดตวั หมอบรดั เลยส์ รปุ ความเหน็ วา่ “ข้าพเจ้าพิเคราะห์ดูเห็นว่า การท่ีเก็บเอาเงินตามพิกัด ต้ังแต่ เรือเดินตามล�ำคลองได้ 10 ปี กับท่ีไร่น่าท่ีสวนยื่นขวางล�ำคลอง ข้ึนไป ข้างละ 15 เส้นนั้น ก็เห็นพอควรดีอยู่เป็นตามอย่างตามธรรมเนียม ในประเทศยูรป และประเทศอเมริกาโดยมากนัก ขอให้เก็บเงินส�ำหรับ ทำ� คลองนน้ั ตามอยา่ งดีน้ันเทอญ” 39 สาครบุรี จากวิถีชาวบ้าน การเปล่ียนผ่านวิถีชีวิตท้องถ่ินในลุ่มน้�ำท่าจีน จังหวัดสมุทรสาคร Sakorn-Buri_Book_Final 0320.indd 39 3/20/2561 BE 15:04

คลองภาษเี จรญิ บริเวณหน้าวดั ดอนไก่ดี อ�ำเภอกระทุม่ แบน จังหวัดสมุทรสาคร ถา่ ยในช่วงปี พ.ศ. 2491 ทีม่ าภาพ: The American Geographical Society Library, University of Wisconsin - Milwaukee Libraries 40 3/21/2561 BE 10:05 สาครบุรี จากวิถีชาวบ้าน การเปลี่ยนผ่านวิถีชีวิตท้องถ่ินในลุ่มน�้ำท่าจีน จังหวัดสมุทรสาคร Sakorn-Buri_Book_Final 0321.indd 40

ในบางกอกรีคอเดอร์แผ่นเดียวกันนี้เอง มีการพิมพ์ประกาศของพระภาษี สมบตั บิ รบิ รู ณ์เรือ่ งเกีย่ วกบั การขุดคลอง ดงั นี้ หนังสือพ่อยิ้ม ขา้ พเจ้าพระภาษสี มบตั บิ ริบรู ณ์ ขอประกาศมาแก่ทา่ นทง้ั หลาย ทั้งปวง ด้วยข้าพเจ้ากับท่านผู้อื่นเป็นอันมาก คิดกันจะขุดคลอง ตั้งแต่ บ้านดอนกะดี แขวงเมืองท่าจีน มาออกปากคลองบางกอกใหญ่ รมิ วดั ปากนำ้� แขวงกรงุ เทพฯ กวา้ งเจ็ดวาลกึ ห้าศอกก่อน แลว้ จะขดุ ด้วย จักรกลไฟลึกอีกศอกหน่ึง ฤาสองศอกตามสมควร เป็นหนทางยาว ห้าร้อยเส้นเศษ ได้กราบเรียนท่านเสนาบดี ให้กราบทูลพระกรุณาให้ ทราบฝ่าละอองธุลีพระบาทแล้ว ทรงพระราชด�ำริพร้อมกับความคิด ท่านเสนาบดี ว่าการที่ข้าพเจ้าแลพวกข้าพเจ้าคิดนั้นชอบอยู่ แต่เพราะ ปนี จี้ ะตอ้ งเลกิ อากรสวนใหญแ่ ลเขา้ ทเ่ี ปน็ สนิ คา้ กต็ อ้ งปดิ ไวเ้ พราะฝนแลง้ ภาษเี ขา้ กเ็ กบ็ ไมไ่ ด้ ภาษอี นื่ กต็ กไปดว้ ยเปน็ อนั มาก พระราชทรพั ยห์ ลวง จะจ่ายมาเป็นทุนขุดคลองอย่างเม่ือขุดคลองอ่ืนๆ ยังไม่พอ จะช้าไป ขา้ พเจ้าจึงได้ใหก้ ราบทูลรบั อาสาว่าเมืองอ่นื ใหญๆ่ เขาขดุ คลองทำ� ทาง เขาก็ไม่ได้เอาเงินแผ่นดินไปใช้ เป็นแต่เขาเรี่ยไรกันในราษฎร โดยเงิน เรย่ี ไรไม่พอ เขาก็ขออำ� นาจแผน่ ดินเก็บเอาตามเรือรถเกวยี น ซึ่งขึ้นลอ่ ง ไปมาทางน้นั ทลี ะเลก็ ละนอ้ ย กวา่ การจะสำ� เร็จลงได้ จึงโปรดเกลา้ ฯ ให้ ขา้ พเจา้ คดิ ให้สมควร เพราะการจะเปน็ คณุ แกร่ าษฎรทวั่ กัน 41 สาครบุรี จากวิถีชาวบ้าน การเปลี่ยนผ่านวิถีชีวิตท้องถ่ินในลุ่มน�้ำท่าจีน จังหวัดสมุทรสาคร Sakorn-Buri_Book_Final 0320.indd 41 3/20/2561 BE 15:04