Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore พจนานุกรมภาษาโคราช

Description: พจนานุกรมภาษาโคราช

Search

Read the Text Version

พภจนาานษกุ ราม โคราช ดร. เมตต์ เมตต์การุณ์จิต ชมรมอนุรักษ์ภาษาและวัฒนธรรมพ้ืนบ้านโคราช จิตอาสาราชประชาสมาสัย “การจัดท�ำพจนานุกรมภาษาไ3ท5ย5ถ่ิน ๓ ภาค ฉบับจรัดาทช�ำบตัณาฑมิตแยนสวทภาาง”

ภพาจษนาาโนคกุ รรามช ดร. เมตต์ เมตต์การุณจ์ ิต ชมรมอนุรักษ์ภาษาและ จวติัฒอนาธสรารรามชพปื้นรบะ้ชานาสโคมารสายัช จัดทำ�ตามแนวทาง “การจัดทำ�พจนานุกรม ภาษาไทยถิน่ ๓ ภาค ฉบับราชบณั ฑิตยสภา”

พจนานกุ รมภาษาโคราช ดร. เมตต์ เมตต์การณุ จ์ ติ พิมพ์คร้งั ที่ ๑ พ.ศ. ๒๕๓๒ พิมพ์ปรบั ปรุงแกไ้ ขครั้งท่ี ๒ พ.ศ. ๒๕๓๗ พมิ พ์ปรบั ปรงุ แก้ไขครง้ั ท่ี ๓ พ.ศ. ๒๕๔๒ พมิ พ์ปรับปรงุ แก้ไขครง้ั ท่ี ๔ พ.ศ. ๒๕๔๖ พิมพป์ รบั ปรงุ แกไ้ ขครงั้ ท่ี ๕ พ.ศ. ๒๕๕๐ พิมพปรบั ปรงุ แกไ้ ข์คร้งั ที่ ๖ พ.ศ. ๒๕๕๒ พิมพป์ รบั ปรงุ แกไ้ ขครงั้ ท่ี ๗ พ.ศ. ๒๕๖๐ ขอ้ มลู ทางบรรณานกุ รมของส�ำ นกั หอสมดุ แห่งชาติ ดร. เมตต์ เมตตก์ ารุณ์จิต : ผู้รวบรวมเรียบเรยี ง พจนานกุ รมภาษาโคราช : ชอื่ เร่ือง จ�ำ นวน ๔๐๐ หนา้ ISBN ๙๗๑-๘๖๘๘๑-๗-๕ สงวนลิขสิทธิ์ตามพระราชบัญญัติลขิ สิทธิ์ พ.ศ. ๒๕๓๗ ท่ีปรกึ ษา : พล.ท. วิชัย แชจอหอ แมท่ ัพภาคท่ี ๒ พล.ท. ชยันต์ หวยสงู เนิน อดีตทป่ี รกึ ษา กองทพั บก นายวิเชียร จันทรโณทยั ผวู้ า่ ราชการจังหวดั นครราชสมี า ศ.(พเิ ศษ) ดร. นพ. สำ�เรงิ แหยงกระโทก ภาพวาด : นายวิชิต คงประกายวุฒิ นายศิริวัฒน์ สาระเขต นายทวียศ วิทโยปกรณ์ นายกรงุ กลุ ชาต พสิ ูจนอ์ ักษร : นายจรัล คะเชนทรช์ าติ นางสพุ รรณ ธวชั ชัยพันธุ์ นางจรุ ะสนั ต์ ศรสขุ นางชษุ ณา เมตต์การณุ จ์ ิต นางวฒั นา ก้อนเชอ้ื รตั น์ นางจนั ทร์เพ็ญ กรวทิ ยาศิลป ประสานงบประมาณ : นางชษุ ณา เมตตก์ ารณุ จ์ ติ นางภาษติ า ทพิ ยป์ ระภา นายเทอด แนน่ หนา นางสพุ รรณ ธวชั ชยั พนั ธ์ุ นายเดชาธร กลน่ิ จนั ทรแ์ ดง นายกนก ทรพั ยแ์ สนยากร นายจริ วฒั น์ ววิ ฒั นาพนั ธ์ุ นายรงุ่ โรจน์ วฒั นศกั ด์ิ นายสทุ ธพิ งศ์ ศรไี ชยรตั น์ นายสพุ นั ธ์ กอ้ นเชอ้ื รตั น์ ตดิ ตอ่ : ชมรมอนรุ กั ษภ์ าษาและวัฒนธรรมพื้นบ้านโคราช จติ อาสาราชประชาสมาสัย เลขที่ ๓๑๐/๑ ซอยมหาดไทย๑ ถนนมหาดไทย อ.เมืองนครราชสีมา จ.นครราชสมี า ๓๐๐๐๐ โทร.มือถอื ๐๘๘ ๓๔๙๔๒๒๓ พิมพท์ ่ี บรษิ ัท ยนื หยดั ชัดเจน จ�ำ กัด ๕๐-๖๔ ซ.จติ ประชา ถ.จอมสรุ างคย์ าตร์ ต.ในเมือง อ.เมือง จ.นครราชสมี า ๓๐๐๐๐ e-mail : [email protected] ๐๔๔-๒๕๖๕๖๖, ๐๘๖-๔๖๑๖๗๘๙

“...เรามโี ชคดที ่ีมภี าษาของตนเองแตโ่ บราณกาล จึงสมควรอย่างย่งิ ทีจ่ ะรกั ษาไว้...” พระราชด�ำรสั พระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภมู ิพลอดุลยเดช รัชกาลที่ ๙ ในการประชุมทางวิชาการของชมุ นุมภาษาไทย คณะอกั ษรศาสตร์ จุฬาลงกรณม์ หาวทิ ยาลยั เมื่อวนั ที่ ๒๙ กรกฎาคม พ.ศ. ๒๕๐๕

ค�ำ นิยม เม่ือพูดถึงจังหวัดนครราชสีมาหรือเมืองโคราช ซ่ึงเป็น จังหวดั ซ่งึ มพี ื้นที่ท่ใี หญท่ ส่ี ุดในประเทศไทย และไดร้ บั ขนานนามวา่ เป็น “ประตูสู่อีสาน” สิ่งแรกท่ที ุกคนจะนึกถึงก็คือ อนสุ าวรยี ท์ ่านทา้ วสรุ นารี หรอื “ย่าโม” วรี สตรี ผกู้ ล้าในประวตั ศิ าสตร์ อนั เป็นส่ิงศักดิ์สิทธ์ทิ ่ี เคารพสกั การะค่บู า้ นคูเ่ มืองของชาวโคราช “เมืองโคราช” มีความหลากหลายทางชาติพันธุ์ “คนโคราช” หรือที่ส่วนใหญ่ มักถูกเรียกว่า “คนไทยเบ้ิง” หรือ “ไทยเดิ้ง” มีการพูด“ภาษาโคราช” อันเป็นเอกลักษณ์ ที่โดดเด่น บ่งบอกถึงอัตลักษณ์ของท้องถิ่นตัวเอง  ซ่ึงเป็นภาษาผสมผสาน ก่ึงภาษากลาง และภาษาอีสาน มีศัพท์ ส�ำนวน และส�ำเนียง ท่ีมีลักษณะเฉพาะตัวเป็นของตนเองแตกต่าง จากภาษาอ่ืน ๆ และด้วยการทเ่ี ป็นจงั หวดั มเี นือ้ ท่มี าก มปี ระชากรอาศัยอยู่มาก ท�ำให้เมืองโคราช ของเรามศี ักยภาพในการเจริญเตบิ โตสงู มาก และต้องรบั กระแสการหลงั่ ไหลเข้ามาของการ ลงทนุ จ�ำนวนมาก ทง้ั หา้ งสรรพสินคา้ และเส้นทางคมนาคมขนาดใหญต่ ่าง ๆ อกี มากมาย ซ่งึ ส่ง ผลให้การใช้ภาษาโคราชในปัจจุบนั ก�ำลังจะเปลีย่ นแปลงไป เชน่ ส�ำเนียงการพูด ค�ำบางค�ำได้ สาบสญู จนเยาวชนคนโคราชรนุ่ ใหมจ่ ะไมม่ ใี ครรจู้ กั เพราะความเจรญิ เตบิ โตทางดา้ นวฒั นธรรม และเทคโนโลยตี า่ ง ๆ คนโคราชรนุ่ ใหมน่ ยิ มใชภ้ าษากลางกนั มากขน้ึ ตอ่ ไปอาจท�ำใหภ้ าษาโคราช รวมถงึ ภาษาถนิ่ อน่ื ๆ อาจจะหายไปจากสงั คมไทยกเ็ ปน็ ได้   ผมขอขอบคณุ ชมรมอนรุ กั ษภ์ าษาและวฒั นธรรมพนื้ บา้ นโคราช จติ อาสาราชประชา สมาสยั ทไี่ ดต้ ระหนงั ถงึ ความส�ำคญั และรว่ มกนั หาทางชว่ ยกนั อนรุ กั ษ์ ฟน้ื ฟภู าษา ภมู ปิ ญั ญา และวฒั นธรรมทอ้ งถนิ่ รวมทง้ั ไดจ้ ดั ท�ำพจนานกุ รมภาษาโคราชในครง้ั นี้ ซงึ่ นบั เปน็ โครงการทจ่ี ะมี ประโยชน์และมคี ณุ ค่าตอ่ การอนรุ ักษ์ภาษาโคราชใหค้ งไวอ้ ย่คู ู่กับสงั คมและคนไทย โดยเฉพาะ คนโคราชได้น�ำไปศึกษาและสามารถน�ำถอ้ ยค�ำภาษาตา่ ง ๆ ไปใชส้ อ่ื สารได้อยา่ งถกู ตอ้ ง เพ่ือ สืบสาน รักษา และตอ่ ยอดคงไว้ซึง่ เอกลักษณข์ องคนโคราช ซึง่ เปน็ มรดกอันล้ำ� ค่าของทอ้ งถ่นิ และบรรพชนให้ยัง่ ยนื สืบไป. พลโท ( วิชยั แชจอหอ ) แม่ทัพภาคที่ ๒ ๓๑ กรกฎาคม ๒๕๖๐ (4)

ค�ำ นยิ ม ภาษาโคราชเป็นภาษาถิ่นที่แสดงถึงความรุ่งเรืองใน มรดกทางวัฒนธรรมของชาติไทยมีเอกลักษณ์เฉพาะตัวท่ีอนุชน รุ่นหลังจะได้รับรู้ และเกดิ ความภาคภมู ใิ จทีบ่ รรพบรุ ุษไดส้ ร้างสม มรดกอันล�้ำค่าทางวัฒนธรรมพื้นบ้านที่ควรค่าแก่การอนุรักษ์ พจนานกุ รมภาษาโคราช (ฉบับปรับปรงุ แก้ไข) จะเปน็ เอกสารท่ีมคี ุณปู การตอ่ การอนรุ กั ษ์ ภาษาโคราช และการเรยี นรู้ การสบื คน้ การใชภ้ าษาโคราชตง้ั แตอ่ ดตี สบื ทอดมาจนถงึ ปจั จบุ นั ขอขอบคุณ คณะผ้จู ัดท�ำพจนานุกรมภาษาโคราช (ฉบับปรบั ปรุงแก้ไข) และ ผู้เก่ียวข้องทุกฝ่ายที่ได้ร่วมกันรักษามรดกทางวัฒนธรรมอันล้�ำค่านี้ไว้เป็นสมบัติแก่ อนุชนรุน่ หลังตราบนานเท่านาน ( นายวเิ ชียร จนั ทรโณทัย ) ผูว้ า่ ราชการจังหวัดนครราชสีมา (5)

ค�ำ นยิ ม ภาษาโคราช เปน็ ภาษาทอ้ งถน่ิ ทส่ี ะทอ้ นถงึ วถิ ชี วี ติ ความเจรญิ ดา้ นศลิ ปวฒั นธรรมและภมู ปิ ญั ญาของทอ้ งถน่ิ ทใี่ ชเ้ ปน็ เคร่ืองมือใน การส่ือสาร จึงทรงคุณค่าและควรให้ความส�ำคัญในการอนุรักษ์ ส่งเสริม และเผยแพร่ “ภาษาโคราช” ให้อนชุ นรุ่นใหม่ได้สืบทอด เม่ือครั้งท่ีกระผมด�ำรงต�ำแหน่งนายกองค์การบริหารส่วนจังหวัดนครราชสีมา ไดเ้ คย จัดพิมพ์พจนานกุ รมภาษาโคราช (โดยไดร้ บั อนุญาตจาก ดร.เมตต์ เมตตก์ ารณุ ์จิต) และ มกี ารรณรงคใ์ ห้มกี ารพดู ภาษาโคราช ใหม้ ีการถา่ ยทอดแนวทางไปยังเด็ก เยาวชน ใหร้ ู้ ภาษาโคราชและหันมาพดู ภาษาโคราชในชีวติ ประจ�ำวนั รณรงคใ์ หส้ ถานศกึ ษามกี ารสอน และเผยแพร่ภาษาโคราชทกุ ระดับ รวมทัง้ การแต่งกายชุดโคราช โดยเฉพาะผ้าหาง กระรอกที่เป็นผา้ ทอพื้นบา้ นของคนโคราชซึง่ คนตา่ งบ้านต่างเมืองรูจ้ กั กันเปน็ อยา่ งดี สิง่ เหลา่ น้ลี ้วนแต่ควรจะย้อนยุคถงึ ความร่งุ เรืองในอดีต เพือ่ ให้โคราชเปน็ เมอื งท่แี สดงถึง เอกลักษณ์ใหผ้ ูท้ ่ีมาเยอื นประทบั ใจและอยากกลบั มาเยอื นอกี ขอเป็นก�ำลังใจและสนับสนุนส่งเสริมการจัดพิมพ์พจนานุกรมภาษาโคราชใน ครง้ั น้ี เพ่ือให้ลกู หลานชาวโคราชไดศ้ ึกษาและภาคภูมิภูมิใจในภาษาของตนเอง ศ.(พิเศษ) ดร. นพ. (ส�ำเรงิ แหยงกระโทก) ประธานชมรมจิตอาสาราชประชาสมาสัย จงั หวัดนครราชสมี า (6)

คำ�น�ำ ในการจัดพมิ พป์ รับปรงุ แกไ้ ข ครั้งที่ ๗ ในการจัดพิมพ์ “พจนานุกรมภาษาโคราช” คร้ังนี้ ได้เดินตามรอยโครงการ “ท�ำความดีเพื่อพ่อ” เพ่ือถวายแด่พระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดช รชั กาลที่ ๙ ซงึ่ เปน็ การสงั คายนาครัง้ ใหญ่ เพือ่ ให้การรวบรวมค�ำในภาษาโคราชมคี วาม สมบูรณ์ท่ีสุดและเป็นไปตามแนวทางการจัดท�ำพจนานุกรมภาษาไทยถิ่น ๓ ภาค ของ ส�ำนักงานราชบัณฑิตยสภา ซ่ึงจะเป็นเอกสารหลักฐานเพื่อให้ผู้สนใจโดยเฉพาะคนรุ่น หลัง ไดท้ ราบว่าค�ำศัพทภ์ าษาโคราชเขียนอย่างไรและออกเสียงอย่างไร เพ่อื มใิ หเ้ ปน็ ข้อ ถกเถียงกัน หนังสือพจนานุกรมภาษาโคราชเล่มนี้ ส�ำเร็จได้ด้วยความกรุณายิ่งจาก พล.ท.วิชัย แชจอหอ แม่ทพั ภาคท่ี ๒ พล.ท. ชยันต์ หวยสูงเนนิ นายวเิ ชียร จนั ทรโณทัย ผู้ว่าราชการจังหวัดนครราชสีมา ท่ีได้ประสานจัดหางบประมาณด้วยมีปณิธานท่ีอยาก จะให้การจัดพิมพ์ส�ำเร็จ เพื่อให้ลูกหลานได้สืบสานภาษาและความเป็นโคราช และมี วตั ถปุ ระสงคเ์ พอ่ื มอบใหห้ อ้ งสมดุ สถานศกึ ษา หอ้ งสมดุ ประชาชนอ�ำเภอ สว่ นราชการ วดั ทส่ี �ำคญั ๆ สือ่ มวลชน สถานวี ิทยุกระจายเสียง ทกุ แห่ง และผสู้ นใจภาษาโคราช ขอขอบพระคุณ สมาชิกชมรมอนรุ กั ษภ์ าษาและวัฒนธรรมพ้นื บา้ น จิตอาสา ราชประชาสมาสัย และท่านอื่น ๆ ซงึ่ มิอาจกลา่ วนามไดท้ ัง้ หมด ทมี่ ีส่วนในการด�ำเนินงาน ครั้งน้ี โดยเฉพาะ ศาสตราจารย์ ดร. วทิ ย์ เที่ยงบรู ณธรรม ทก่ี รณุ าอนญุ าตให้น�ำภาพ พรรณไมจ้ ากหนังสือ “พจนานุกรมสมนุ ไพรไทย” มาแสดงประกอบค�ำศัพท์ นายศภุ รัตน์ ภู่เจริญ ส�ำนักศิลปะและวัฒนธรรม มหาวิทยาลัยราชภัฏนครราชสีมา ท่ีจัดหาเอกสาร อา้ งอิง อาจารย์ปยิ ะพงษ์ โพธ์เิ ยน็ นกั วรรณศลิ ป์ช�ำนาญการ ส�ำนักงานราชบัณฑิตย สภา ท่ีได้กรุณาแนะน�ำการจัดท�ำเพื่อให้เป็นไปตามแนวทางการจัดท�ำพจนานุกรมภาษา ไทยถ่ิน ๓ ภาค ของราชบัณฑติ ยสภา ในทา้ ยนี้ ขอนอ้ มรบั ขอ้ ผดิ พลาดหากจะมเี กดิ ขนึ้ ไวแ้ กไ้ ขในครง้ั ตอ่ ไป อนงึ่ อยาก จะเรียนวา่ “บรรพบุรษุ ของเราได้สรา้ งใหม้ ีภาษาของตนเอง เราลกู หลานควรอย่างย่ิงท่ี จะภาคภูมใิ จ หวงแหน และรักษาให้อย่คู บู่ า้ นเมืองโคราชสืบไป” หวังว่าพจนานุกรมภาษา โคราชนี้ จะยงั ประโยชน์แก่ชาวโคราชและผ้สู นใจภาษาโคราช. ดร. เมตต์ เมตต์การณุ จ์ ิต ประธานชมรมอนุรกั ษ์ภาษาและวัฒนธรรมพนื้ บ้านโคราช จติ อาสาราชประชาสมาสัย (7)

ค�ำ นำ� ในการจดั พิมพ์ ครัง้ ท่ี ๑ ภาษาเป็นเครื่องมอื ส่ือความเขา้ ใจของมนษุ ย์ในสังคม ไมว่ ่าจะเป็นภาษา พดู หรอื ภาษาเขยี นกต็ าม ภาษาโคราช เป็นส่วนหนึ่งของภาษาไทยที่พูดกันเฉพาะท่ีจังหวัด นครราชสีมาเท่านน้ั อย่างไรก็ตาม บางทอ้ งทีท่ ีต่ ิดตอ่ กบั จังหวดั นครราชสมี า เช่น อ�ำ เภอล�ำ ปลายมาศ อำ�เภอนางรอง จงั หวดั บรุ ีรมั ย์ อ�ำ เภอจัตรุ ัส จงั หวัดชยั ภมู ิ ก็ พดู ภาษาโคราช ด้วยเหตนุ ี้เองภาษาโคราชจงึ เป็นภาษาของชนกลมุ่ นอ้ ยซง่ึ ไมเ่ ป็นที่ รจู้ กั แพรห่ ลายเหมอื นภาษาถนิ่ อนื่ ๆ ทพ่ี ดู กนั ทงั้ ภาค และแมว้ า่ นครราชสมี าจะตงั้ อยู่ ในเขตภาคอีสานกต็ าม แตโ่ ดยเนื้อแทแ้ ลว้ คนโคราชกม็ ิได้พดู ภาษาอีสาน (เวา่ ลาว) แต่อย่างใด หรือแม้แต่การแสดงพ้ืนบ้านก็ไม่ใช่เป็นการแสดงหมอลำ� หรือหมอลำ� เพลิน ทัง้ นเ้ี พราะโคราชมีวฒั นธรรมการกิน ภาษา เพลงโคราช และวัฒนธรรมอกี หลายอย่างทม่ี ลี ักษณะเฉพาะเป็นของตนเอง แมน้ ภาษาโคราชจะเปน็ ภาษาของชนกลมุ่ นอ้ ยกต็ าม แตก่ เ็ ปน็ สง่ิ ทสี่ ะทอ้ น ใหเ้ หน็ ความเจรญิ ทางวฒั นธรรมในอดตี ซง่ึ บรรพบรุ ษุ ไดส้ รา้ งภาษาใหม้ คี วามไพเราะ ส�ำ นวนต่าง ๆ แฝงด้วยคตสิ อนใจ เชน่ ผัวหาบเมยี คอน (ชว่ ยกนั ท�ำ มาหากนิ ), ได้ ใหม่ลืมเก่าได้เต่าลืมหมา (ได้ดีแล้วลืมคนที่มีบุญคุณ) คำ�บางคำ�บ่งบอกให้เห็นถึง อากปั กริ ยิ าอย่างชดั เจน เชน่ เดนิ หลำ�ละหล�ำ หลา่ ย ยนื หลเี หลอ โหงย่ เป็นต้น สง่ิ เหล่าน้ลี ว้ นแต่มคี ณุ ค่าแก่การวเิ คราะหศ์ ึกษาเป็นอยา่ งยงิ่ อยา่ งไรกต็ าม ปจั จบุ นั ภาษาโคราชก�ำ ลงั จะเปลย่ี นแปลงไป เชน่ การกลาย เสียง คำ�บางคำ�ได้สาบสญู จนคนโคราชรุ่นใหม่ไมม่ ีใครร้จู กั ทงั้ นี้เพราะบ้านเมืองเรา เจรญิ ขน้ึ ทงั้ การคมนาคม การตดิ ตอ่ สอื่ สาร และการเคลอื่ นยา้ ยของประชากรทหี่ ลง่ั ไหลมาจากจงั หวัดอนื่ เข้ามาตั้งถน่ิ ฐานท่เี มอื งโคราชนน้ั มไิ ด้มาแต่ตวั เปลา่ แต่ยังน�ำ เอาภาษาและวัฒนธรรมของตนมาด้วย จนท�ำ ใหเ้ กิดการผสมผสานทางวฒั นธรรม (Cultural Assimilation) หรือแม้แตก่ ารที่คนโคราชย้ายถ่ินไปอยู่ทอ่ี น่ื กด็ ี คนรุ่นเกา่ ได้ล้มหายตายจากไปก็ดี สิ่งเหลา่ นี้ล้วนแตเ่ ปน็ สาเหตุใหผ้ ทู้ จี่ ะสืบทอดทางภาษาลด (8)

ลงไป นอกจากนี้ความเจริญทางเทคโนโลยียังมอี ทิ ธพิ ลตอ่ ภาษาโคราช ท�ำ ใหค้ นรนุ่ ใหมเ่ ปลี่ยนค่านยิ มหนั ไปพดู ภาษากรงุ เทพฯ กนั มากข้นึ อีกประการภาษาโคราชมี สำ�เนียงและคำ�บางคำ�แตกต่างไปจากภาษากรุงเทพ ฯ บางคนอายไม่กล้าพูดหรือ กลวั จะถกู ลอ้ เลียนเป็นเรื่องขบขัน หรือว่าเปน็ ลาวโคราช ปัจจยั เหลา่ นล้ี ้วนแต่เปน็ อุปสรรคตอ่ การอนุรกั ษ์ภาษา ภาษาโคราชเป็นส่ิงที่คู่กับคนโคราชท่ีมีประวัติศาสตร์อันยาวนานมาโดย ตลอด แต่ถึงวันนี้ภาษาโคราชกำ�ลังจะเปล่ียนไป จึงสมควรเป็นอย่างย่ิงที่จะต้อง ชว่ ยกนั รกั ษาไว้ใหอ้ นุชนร่นุ ใหม่ไดศ้ กึ ษาและเกดิ ความภาคภูมิใจ อย่างไรก็ดี เกี่ยวกับเรื่องน้ี ท่านอาจารย์ถาวร สุบงกช อดีตรอง อธิการบดีวิทยาลัยครูนครราชสีมา ได้ทำ�การวิเคราะห์เร่ืองเสียงและความหมาย ภาษาถิ่นโคราช และได้จดั พมิ พ์เป็นเอกสารเม่ือปี พ.ศ. ๒๕๒๗ นับวา่ เปน็ ผลงานที่ มคี วามส�ำ คญั ยงิ่ ที่ปูพน้ื ฐานของการศกึ ษาภาษาถ่นิ โคราช เมอ่ื ภาษาโคราชเปน็ ของดีอยา่ งหนง่ึ ของเมืองโคราช ข้าพเจ้าได้เกดิ แนว ความคดิ วา่ นา่ จะเผยแพรใ่ หก้ วา้ งขวาง และใหเ้ หน็ ถงึ ความส�ำ คญั ของวฒั นธรรมใน ทอ้ งถน่ิ ทเ่ี รามกั จะมองขา้ ม ในปี พ.ศ. ๒๕๒๘ ขา้ พเจา้ ไดป้ รกึ ษาคณุ สนุ ทร จนั ทรร์ งั สี บรรณาธกิ าร น.ส.พ.โคราชรายวัน จดั คอลัมน์ “ภาษาโคราชฉบับละคำ�” โดยนำ� ภาษาโคราชมาอธบิ ายถงึ ความหมาย และทม่ี าของค�ำ พรอ้ มทง้ั ยกตวั อยา่ งประกอบ ใหผ้ อู้ า่ นไดเ้ กดิ ความเขา้ ใจยง่ิ ขนึ้ ซง่ึ ปรากฏวา่ ไดร้ บั ความสนใจจากผอู้ า่ นพอสมควร ต่อมา คุณบัณฑติ ตงั้ ประเสริฐ ประชาสมั พนั ธ์จังหวัดนครราชสมี า ผู้จดั รายการ “บา้ นเรา” ทางสถานวี ทิ ยกุ ระจายเสยี งแหง่ ประเทศไทย จงั หวดั นครราชสมี า (สวท. นม.) ระหวา่ งเวลา ๐๖.๓๐-๐๗.๐๐ น. ทุกวนั อาทติ ย์ ไดช้ ักชวนใหข้ ้าพเจา้ น�ำ ภาษา โคราชออกเผยแพร่ในรายการนี้ จึงได้เกิดรายการ “ภาษาโคราชสัปดาห์ละคำ�” ขึ้นอีก ซึ่งรายการน้ี อาจารย์ณรงค์ เกียรติเกาะ อาจารย์ใหญ่ ร.ร.บ้านโคกสูง สปอ. เมืองนครราชสีมา เป็นผู้บรรยาย ปรากฏว่าได้รับความนิยมเป็นอันมาก มีจดหมายเขียนมาสนับสนุนรายการอยู่ไม่ขาด และจากจดหมาย และคำ�บอกเล่า จากผูฟ้ งั ท�ำ ใหท้ ราบวา่ ภาษาโคราชมิได้เปน็ ทสี่ นใจแต่คนโคราชเทา่ นัน้ คนทมี่ าจาก ภาคอ่นื กใ็ หค้ วามสนใจ อีกทั้งบางทา่ นยงั นำ�ไปใช้ประโยชน์ในชีวติ ประจ�ำ วนั อกี ดว้ ย จากกระแสแห่งข้อเสนอแนะของแฟนรายการ จึงเป็นแรงดลใจให้เกิด (9)

“พจนานุกรมภาษาโคราช” ฉบับน้ี อันเป็นโครงการหนึ่งของการเผยแพร่ภาษา โคราช ซ่ึงข้าพเจ้าและสมาชิกในชมรมอนุรักษ์วัฒนธรรมพื้นบ้านโคราช ได้เพียร พยายามรวบรวมค�ำ ในภาษาโคราชใหม้ ากทสี่ ดุ อกี ประการเพอื่ ใหค้ น้ หางา่ ยจงึ ไดจ้ ดั ท�ำ เปน็ หมวดหมู่ แล้วเรยี งตามอักษร – สระ และข้อทส่ี �ำ คญั ก็คือ การใหค้ ำ�จ�ำ กัด ความ หรือความหมายน้นั พยายามทจ่ี ะใหค้ รบกระบวนความ กะทดั รัด ถูกตอ้ งที่สุด อย่างไรกต็ าม กม็ ิใชเ่ ป็นเรื่องท่ีง่ายนักในการดำ�เนินงานในคร้งั นี้ เพราะ ภาษาโคราชในปัจจุบันได้พูดปะปนกับภาษาอีสานและภาษาอ่ืนจนดูประหนึ่งว่าเป็น ภาษาเดยี วกนั ดังนน้ั การให้คำ�จำ�กดั ความกด็ ี การแยกภาษาโคราชออกจากภาษาอืน่ ก็ดี จะต้องใช้ความละเอียดอ่อนและความรู้ทางหลักภาษาตลอดจนผู้รู้เป็นอันมาก อาทิ ค�ำ วา่ “โต้น” ซ่งึ แปลวา่ ใหญ่นน้ั บางคนคิดว่าเป็นภาษาโคราช แตแ่ ท้จรงิ แล้วเป็นภาษาอสี าน แต่คนโคราชส่วนใหญ่ก็พดู คำ�น้ี จึงเขา้ ใจไปวา่ ค�ำ นเี้ ปน็ ภาษา โคราช ค�ำ ทีม่ คี วามหมายวา่ “ใหญ่” คนโคราชแท้ ๆ จะพูดวา่ “ใหญ”่ หรือ “ไอ้ อย่างใหญ่” หรืออยา่ งเช่นค�ำ วา่ “เขยี ม” ซงึ่ แปลวา่ ประหยัดนน้ั เปน็ ภาษาจีน แต่ คนโคราชกพ็ ดู วา่ “เขียม” เป็นต้น เบ้ืองหลังการดำ�เนินงานจนสำ�เร็จมาถึงข้ึนนี้นั้น ได้มีบุคคลหลายฝ่าย ไดใ้ หค้ วามร่วมมอื สนบั สนนุ ใหข้ อ้ สังเกตและความหมายของคำ�ทีม่ คี ณุ ค่ายิ่ง จน สามารถน�ำ มาวเิ คราะหเ์ ปรยี บเทยี บกบั ภาษาอน่ื และรวบรวมภาษาโคราชถงึ ๑,๗๘๘ คำ� โดยเฉพาะ อาจารย์ปรชี า อุยตระกลู ศนู ย์ขอ้ มูลท้องถนิ่ เพ่อื พัฒนา วทิ ยาลัยครู นครราชสมี า ได้อำ�นวยความสะดวกในการศึกษาค้นควา้ ซ่ึงต้องกราบขอบพระคณุ ไว้ ณ ท่ีน้ี อน่ึงในการตรวจแกค้ วามถกู ตอ้ งนน้ั ไดร้ ับความอนุเคราะหจ์ าก อาจารย์ บุญสม เตยี นพลกรัง โรงเรียนเมืองคง คุณเยี่ยม เหล็กสงู เนิน ผชู้ ว่ ยศึกษาธิการ อ�ำ เภอสคี ว้ิ คณุ ทองมว้ น สกลุ ภชุ พงศ์ เจา้ หนา้ ทป่ี กครอง ๓ คณุ กรรณกิ าร์ ค�ำ พลู เจา้ หนา้ ทก่ี ารปกครอง ๓ ฝา่ ยทะเบยี นและบตั ร อ�ำ เภอสคี วิ้ อาจารยป์ ระกาย ทองดี โรงเรยี นจอหอ สปอ. เมอื งนครราชสมี า อาจารยจ์ �ำ เรญิ รตั น์ เจอื จนั ทร์ อาจารยอ์ นุ่ เรือน ขิขุนทด มหาวทิ ยาลยั วงษช์ วลติ กุล และเพื่อนนกั ศึกษา ป.ป.(ประกาศนยี บตั ร ประโยคครูประถมศึกษา) รุน่ ปีการศกึ ษา ๒๕๑๓ จากวทิ ยาลยั ครูนครราชสีมา ทสี่ �ำ คัญทสี่ ุดกค็ ือ ในการจดั พิมพ์ครัง้ นี้ ข้าพเจา้ ได้รบั ความกรณุ าจาก (10)

ทา่ นอาจารยป์ ราณี วงษช์ วลติ กลุ อธกิ ารบดมี หาวทิ ยาลยั วงษช์ วลติ กลุ ผซู้ ง่ึ สง่ เสรมิ ศลิ ปวฒั นธรรมของโคราชมาโดยตลอด และเหน็ ความส�ำ คญั ของงานชนิ้ นเี้ ปน็ สมบตั ิ ชน้ิ หนงึ่ ของโคราชไดอ้ นมุ ตั ใิ หใ้ ชง้ บประมาณของมหาวทิ ยาลยั วงษช์ วลติ กลุ จดั พมิ พ์ ขา้ พเจา้ หวงั วา่ “พจนานกุ รมภาษาโคราช” เลม่ นคี้ งจะท�ำ ใหท้ า่ นไดท้ ราบ ถึงความหมายทถ่ี กู ต้องและเกดิ ประโยชนจ์ ากการใช้ และขอคณุ ความดีจงบังเกดิ แด่ท่านที่ได้มีส่วนร่วมในการอนุรักษ์ภาษาโคราช โดยเฉพาะท่านอาจารย์ถาวร สุบงกช ปรมาจารย์ทางศิลปวฒั นธรรมพน้ื บ้านโคราช เมตต์ เมตต์การุณ์จิต ชมรมอนรุ กั ษว์ ฒั นธรรมพนื้ บา้ นโคราช (11)

(12)

สารบาญ คำ�นิยม แม่ทพั ภาคที่ ๒ (๔) คำ�นิยม ผวู้ ่าราชการจงั หวัดนครราชสมี า (๕) คำ�นิยม ประธานชมรมจิตอาสาราชประชาสมาสัยจังหวดั นครราชสมี า (๖) ค�ำ นำ� ในการจดั พมิ พป์ รบั ปรุงแกไ้ ข คร้ังท่ี ๗ (๗) ค�ำ นำ� ในการจดั พมิ พ์ครง้ั ที่ ๑ (๘) ค�ำ ช้แี จงการจดั ทำ�พจนานุกรมภาษาโคราช (๑๕) ค�ำ ชี้แจงวธิ กี ารใช้พจนานกุ รมภาษาโคราช (๒๑) ก ๑ ป ๑๗๗ ข ๓๕ ผ ๑๙๓ ค ๕๙ ฝ ๒๐๑ ฆ ๗๓ พ ๒๐๓ ง ๗๕ ฟ ๒๑๕ จ ๘๑ ภ ๒๑๙ ฉ ๙๓ ม ๒๒๑ ช ๙๕ ย ๒๔๑ ซ ๑๐๓ ร ๒๔๗ ฐ ๑๐๙ ฤ ๒๕๙ ฒ ๑๑๑ ล ๒๖๑ ด ๑๑๓ ว ๒๗๕ ต ๑๒๑ ศ ๒๘๑ ถ ๑๔๕ ส ๒๘๓ ท ๑๔๙ ห ๓๐๗ ธ ๑๕๗ อ ๓๓๗ น ๑๕๙ ฮ ๓๕๓ บ ๑๖๙

เอกสารอา้ งองิ ๓๕๕ ภาคผนวก ๓๕๙ เพลงมารช์ ราชสีมา ๓๖๑ รายนามผ้สู นบั สนนุ การจดั พิมพ ์ ๓๖๒ ประวัตผิ ู้รวบรวมเรียบเรียง ๓๖๕ (14)

ค�ำ ชแ้ี จงการจัดทำ�พจนานุกรมภาษาโคราช ในการใช้พจนานุกรมภาษาโคราช ใคร่แนะน�ำให้อ่านและท�ำความเข้าใจ เบอ้ื งตน้ ถึงความเปน็ มาของการจดั ทำ� เปน็ ตน้ วา่ การเขยี นคำ� หลักหรือค�ำต้ัง การให้ ความหมาย การเรียงล�ำดับ การค้นหาค�ำ การอ้างอิงซึ่งกันและกัน การยกตัวอย่าง ประกอบ โดยเฉพาะการบอกเสยี งอ่านท่ีเปน็ ส�ำเนียงโคราชหรือภาษาโคราช ฯลฯ ดงั น้ี ๑. ภมู หิ ลงั ของการจดั ท�ำ กวา่ จะมาเป็นพจนานกุ รมภาษาโคราชเล่มน้ี ไดม้ กี ารแกไ้ ขเพ่ิมเตมิ หลายคร้งั ๑) การวิเคราะห์ค�ำศัพท์ ใช้วิธีสอบทานและเปรียบเทียบคำ� ในภาษาโคราช กับภาษาอีสาน ภาษาไทยกรงุ เทพ ภาษาเขมร ฯลฯ ท้ังการสอบถามจากผรู้ ู้ รวมถงึ การ คน้ ควา้ จากพจนานกุ รมฉบบั ราชบณั ฑติ ยสถาน พจนานกุ รมฉบบั มตชิ น พจนานกุ รมภาษา อสี าน เปน็ ตน้ เพอ่ื แกไ้ ขคำ� นยิ ามหรอื ความหมายของคำ� ใหม้ คี วามถกู ตอ้ ง ชดั เจน กะทดั รดั ค�ำบางคำ� เหน็ ว่าไม่ใชภ่ าษาโคราชโดยแท้ หรือเป็นคำ� ในภาษาไทยกรงุ เทพกจ็ ะตัดออก ๒) มกี ารเพม่ิ คำ� ภาษาโคราชอกี จำ� นวนหลายคำ� จากฉบบั เดมิ ทเ่ี กบ็ ไดจ้ ากการ สนทนากับคนโคราชเก่า ๆ โดยเฉพาะคนในชนบท บทเพลงโคราช นอกจากน้ียังไดศ้ กึ ษา จากวรรณกรรมที่เกี่ยวกับเรื่องราวและนิทานพ้ืนบ้านโคราช เช่น นิทานค�ำกลอนเร่ือง พระปาจิต นิทานค�ำกาพย์เร่ืองรูปทอง นิทานค�ำกาพย์เรื่องกุศราช นิทานเร่ืองสุภมิต- เกสนิ ี ทา้ วสรุ นารี เป็นต้น จากการศึกษาพบว่าภาษาโคราชน้นั มที งั้ ระดับคนทัว่ ไปใช้พดู ใชส้ อื่ สาร กบั ภาษาโคราชทใ่ี ชใ้ นการประพนั ธห์ รอื บทกวซี งึ่ เปน็ ศพั ทค์ อ่ นขา้ งเปน็ ทางการ ๓) การเขียนค�ำ ในฉบับก่อน ๆ การเขียนค�ำศัพท์นั้นมีเจตนาเพื่อจะให้อ่าน เขา้ ใจงา่ ยและเหน็ ถงึ ทมี่ าของคำ� ศพั ทเ์ ดมิ เชน่ คำ� วา่ “เหลก็ ไฟ” กจ็ ะเขยี นเปน็ “เหลก๊ ไฟ” ตามสำ� เนยี งโคราชและใหเ้ หน็ วา่ คำ� ศพั ทน์ ม้ี าจากคำ� วา่ “เหลก็ ” หรอื “ซอ่ื สตั ย”์ กจ็ ะเขยี น เปน็ “ซอ่ื ส๊ตั ย”์ ซงึ่ มาจากคำ� วา่ “ซ่ือสตั ย”์ แต่มหี ลายท่านให้ขอ้ เสนอแนะและขอ้ คดิ เหน็ ในเชิงวิชาการว่า การที่จะมุ่งถึงความสะดวกในการสื่อความหมายแต่เพียงอย่างเดียว โดยไม่เหลียวพิจารณาถึงหลักภาษาด้วย จะท�ำให้เกิดความสับสนในการเขียนภาษาไทย เพราะค�ำ “เหล๊ก” หรือ “ส๊ัตย์” แม้จะออกเสยี งตามสำ� เนยี งโคราชกจ็ รงิ แตต่ ามหลกั ภาษาไมม่ คี วามหมายและผนั วรรณยกุ ตไ์ ม่ได้ เม่ือใครค่ รวญพิจารณาเหน็ ว่าภาษาโคราช เป็นส่วนหน่ึงของภาษาไทยแล้ว จึงตกลงใจที่จะยึดหลักการเขียนค�ำศัพท์ให้ถูกต้องตาม (15)

หลักภาษาไทย ดงั นั้นในฉบบั ปรบั ปรงุ แกไ้ ขฉบบั นี้ จงึ เขยี นคำ� ศพั ทภ์ าษาโคราชใหเ้ ปน็ ไปตาม หลกั ภาษาไทย เชน่ คำ� วา่ “เหลก๊ ไฟ” กจ็ ะเขียนตามส�ำเนยี งโคราชเปน็ “เลก็ ไฟ” ค�ำวา่ “ซือ่ สัตย์” จะเขียนเป็น “ซ่ือซัด” หรือคำ� ว่า “ผกั ” จะเขยี นเปน็ “พกั ” เปน็ ต้น ๔) ค�ำในภาษาโคราชทเ่ี ปน็ ช่อื พชื พรรณไมซ้ งึ่ พูดกันเฉพาะในถนิ่ โคราชน้นั ได้ นำ� ภาพมาแสดงประกอบ เพอื่ ให้เห็นภาพของพรรณไมแ้ ละเกิดความเขา้ ใจยง่ิ ขึน้ ๕) การเรยี งลำ� ดบั คำ� ในฉบบั กอ่ นการจดั เรยี งลำ� ดบั คำ� มบี างคำ� ทไี่ มเ่ ปน็ ไปตาม แบบแผนการจัดท�ำพจนานุกรมของราชบัณฑิตยสภา ดังน้ันในฉบับน้ีได้ปรับปรุงโดยจัด เรยี งลำ� ดบั หรอื จดั คำ� ทค่ี ำ� แรกเขยี นและออกเสยี งเหมอื นกนั ใหอ้ ยใู่ นกลมุ่ เดยี วกนั เสยี ใหม่ ๒. ความเขา้ ใจเบ้อื งตน้ เก่ยี วกบั ภาษาโคราช ๑) ภาษาไทยถิ่นโคราช เป็นภาษาที่มีเสียงเหน่อ บางค�ำมีส�ำเนียงค่อน ไปทางภาษาไทยกรุงเทพ บางค�ำออกส�ำเนียงไปทางภาษาไทยถิ่นภาคอีสาน แม้จะไม่ ปรากฏหลักฐานท่แี นช่ ดั ว่าคนโคราชพดู ภาษาตระกลู อะไร แต่มีความเชื่อว่ามาจากภาษา ตระกลู มอญ-เขมร, ไทย-ลาว อยดู่ ว้ ย ในโบราณกาลบรรพบรุ ษุ มกี ารเดนิ ทางตดิ ตอ่ กนั ใน ลมุ่ แมน่ ำ�้ โขง, ลมุ่ นำ้� เจา้ พระยา ฯลฯ และทเ่ี ดน่ ชดั คอื โคราชเปน็ เมอื งปากประตไู ปสอู่ สี าน ซงึ่ อยรู่ ะหวา่ งกรงุ เทพฯ กบั ภาคอสี าน ภาษาพดู จงึ ออกสำ� เนยี งเชน่ นก้ี ไ็ ด้ เสยี งเหนอ่ นเี้ อง ทำ� ใหบ้ างคนเขา้ ใจผดิ คดิ วา่ เปน็ คนปักษ์ใต้บา้ ง อยา่ งไรกต็ ามนับว่าเปน็ เอกลักษณท์ โ่ี ดด เด่นของภาษาไทยถนิ่ โคราชโดยแท้ ๒) เพอ่ื ใหเ้ ขา้ ใจงา่ ย ตอ่ ไปคำ� วา่ “ภาษาไทยถนิ่ โคราช” จะใชว้ า่ “ภาษาโคราช” ๓. สำ� เนียงภาษาไทยถิน่ โคราช ส�ำเนียงโคราชที่ออกเสียงไปทางภาษาไทยกรุงเทพ แต่ออกเสียงตาม วรรณยุกต์แตกตา่ งกนั เชน่ ๑) อักษรต�่ำ ค�ำเป็นและค�ำตาย ในภาษาไทยกรงุ เทพออกเสียงตรี แตภ่ าษา โคราชออกเสยี งโท เช่น ภาษาไทยกรงุ เทพ ภาษาไทยถ่ินโคราช ฟา้ ฟ่า มา้ ม่า ร้ ู รู่ งว้ิ ง่ิว มิด มิ่ด (16)

ชก ช่ก ๒) อกั ษรกลาง คำ� ตายในภาษาไทยกรงุ เทพจะออกเสยี งเอก แตภ่ าษาโคราช ออกเสยี งตรี เช่น ภาษาไทยกรงุ เทพ ภาษาไทยถ่ินโคราช ตดิ ต๊ิด จติ จ๊ติ แบะ แบ๊ะ ปกึ ปึ๊ก แกะ แก๊ะ อึด อึ๊ด กะ ก๊ะ เจาะ เจ๊าะ อักษรกลาง ค�ำเปน็ ในภาษาไทยกรงุ เทพจะออกเสยี งสามัญ แตภ่ าษาโคราช จะออกเปน็ เสยี งจตั วา เช่น ภาษาไทยกรุงเทพ ภาษาไทยถิ่นโคราช กนิ กน๋ิ เจอ เจ๋อ จน จ๋น เดน เด๋น เอา เอา๋ เอง เอ๋ง เดมิ เด๋ิม กัน กั๋น ตงั ตง๋ั ใจ ใจ๋ ๓) อกั ษรสงู ค�ำเปน็ ภาษาไทยกรงุ เทพจะออกเสียงโท แต่ภาษาโคราชออก เสียงเอก เชน่ ภาษาไทยกรุงเทพ ภาษาไทยถนิ่ โคราช ข ้ี ขี่ ขา้ ว เข่า เสื้อ เสอื่ (17)

ไส้ ไส่ หว้ ย ห่วย ให ้ ให่ ผ้า ผา่ ๔. เสียงพยัญชนะควบกล�ำ้ ร ล ภาษาโคราชไมม่ เี สยี งพยญั ชนะควบกลำ้� ร และ ล เหมอื นภาษาไทยกรุงเทพ ซ่ึง ในภาษาโคราชจะมีการออกเสียงไปหลายแบบ ดงั นี้ ไม่ออกเสยี ง ร และ ล แมว้ ่าในการเขยี นจะมตี ัว ร และ ล กต็ าม เช่น คำ� วา่ กลา้ ออกเสียงว่า ก้า พระ ” พ่ะ เพลง ” เพง คร ู ” คู ไกร ” ไก ใคร ” ไค ไตร ” ไต ไกล ” ไก ใกล ้ ” ไก้ แกลบ ” แกบ ปลาย ” ปาย ปลกู ” ปูก พริก ” พก่ิ ๕. เสียงพยัญชนะควบกล�ำ้ ว ภาษาโคราช คำ� ทม่ี รี ูปพยญั ชนะควบกล�ำ้ ว จะออกเสียงเปน็ ดงั น้ี ๑) คำ� ควบกลำ้� ว ทป่ี ระสมกบั สระอะ สระอา จะออกเสยี งเปน็ สระประสม อวั เชน่ คำ� ว่า กว้าง ออกเสียงว่า ก้วง ไกว ” กวย ไขว ่ ” ข่วย ขวัญ ” ขว็ น ขวาน ” ขวน คว้า ” คัว่ (18)

ความ ” ควม ควาย ” ควย ๒) คำ� ควบกล�ำ้ ว ทปี่ ระสมกบั สระอ่นื จะตดั เสียงควบ ว ออก เชน่ คำ� วา่ แกว่น ออกเสียงว่า แกน่ แขวน ” แขน ๓) ค�ำควบกล้�ำ หฺว จะออกเสยี งควบ เชน่ คำ� วา่ หวนั่ เหว ออกเสียงว่า หวฺ ั่นเหฺว โหวด ” โหวฺ ด โหวงเหวง ” โหวฺ งเหวฺ ง ๖. คำ� บางค�ำท่ีเปลย่ี นเสยี ง ค�ำบางค�ำเปลีย่ นเสยี งพยญั ชนะหรอื กลายเสยี งซ่งึ กม็ หี ลายแบบ ดงั นี้ ๑) คำ� ว่า สะ ออกเสยี งว่า กะ เช่น สะพาย ออกเสยี งวา่ กะพาย ๒) ค�ำว่า คอก ออกเสยี งว่า ขะ เช่น คอกร้ัว ออกเสียงว่า ขะรัว่ ๓) ค�ำว่า จน ออกเสยี งวา่ เก่น หรอื เจน่ เช่น เอาจนได้ [เอาเกน่ ได้ หรอื เอาเจ่นได]้ , ตายจนกระดูกลอ่ น [ตายเกน่ กะดกู หฺลอ่ น] ๔) ค�ำสระอุ กลายเสยี งเป็นสระโอะ เชน่ กระพงุ้ แก้ม เปน็ กะโผ่งแก้ม กระทงุ เหว ” กะทงเหว ตกุ๊ แก ” ตก๊ แก ๕) คำ� วา่ ปาน ออกเสียงว่า ปน่ั เช่น ปานลูก ออกเสยี งวา่ ปนั่ ลูก ๖) ค�ำว่า วัว ออกเสยี งว่า งัว ๗) ค�ำสระเอีย กลายเสยี งเปน็ สระอิ เชน่ เสียดาย ออกเสียงวา่ ซดิ าย ๘) คำ� สระโอะ กลายเสยี งเปน็ สระเออ เชน่ หมด ออกเสยี งวา่ เบดิ้ หรอื เมด้ิ ๙) คำ� สระอวั กลายเสยี งเปน็ สระโอะ เชน่ หวั กระได ออกเสยี งเปน็ ฮกกะได ๑๐) คำ� ทเ่ี ปน็ สระอะ กลายเสยี งเปน็ สะอี เชน่ สะดอื เปน็ สดี อื สะบา้ ” สบี า้ สวาบ ” สหี วาบ ๑๑) คำ� ทเี่ ปน็ สระอา กลายเสยี งเปน็ สระเออ เชน่ บา้ ง เปน็ เบง้ิ (19)

๗. การเรยี งลำ� ดบั ค�ำ การเรียงล�ำดับคำ� ใชต้ ามแบบแผนของส�ำนกั ราชบณั ฑติ ยสภา ดังนี้ ๑) คำ� ศพั ท์จะเรียงตามล�ำดบั ตัวอกั ษร คอื ก ข ค ฯลฯ ไปจนถึง อ ฮ ไม่ได้เรยี งล�ำดบั ตามเสยี ง เช่น จะค้นหาคำ� ทราย ตอ้ งไปหาในหมวดตวั ท เป็นต้น ๒) สระจะเรยี งไปตามรูปสระ ะ ั า ิ ี ึ ื ุ ู เ แ โ ใ ไ รปู สระทปี่ ระสมกนั หลายรปู กจ็ ดั เรยี งตามลำ� ดบั รปู สระทอี่ ยกู่ อ่ นและหลงั ตาม ลำ� ดบั ข้างบนนีเ้ หมอื นกัน ดงั เช่นลำ� ดบั ไวใ้ ห้ดตู ่อไปน้ี ะ ุ เ ื (เสอื ) ั (กนั ) ู เ ื ะ (เกอื ะ) ั ะ (ผัวะ) เ แ า เ ะ (เกะ) แ ะ (แพะ) ำ เ า (เขา) โ ิ เ าะ (เจาะ) โ ะ (โป๊ะ) ี เ ิ (เกนิ ) ใ ึ เ ี (เสีย) ไ ื เ ี ะ (เดียะ) คำ� ที่มี ็ (ไม้ไตค่ ้)ู จะล�ำดบั อยู่ก่อนวรรณยุกต์ เชน่ เกง็ เกง* เกง่ เกง้ เกง๊ * เก๋ง ( * เป็นค�ำทีม่ เี สียงในภาษาแตไ่ มม่ ีความหมาย) (20)

คำ�ชแี้ จงวิธีการใช้พจนานุกรมภาษาโคราช ๑. การค้นหาค�ำศัพท์ เพ่อื ความสะดวกในการค้นหาคำ� จะเกบ็ คำ� ทีค่ �ำ ๒ ค�ำเม่ือประสมกันแลว้ โดย คำ� แรกเปน็ ค�ำเดียวกับคำ� ต้ังและมคี วามหมายเกีย่ วเน่อื งกบั ค�ำต้ังจะเก็บเป็นอนุพจน์ คือ เปน็ ลูกคำ� ต้ังน้นั ๆ ไวใ้ นกลุ่มเดยี วกนั เช่น กบกนิ เดือน กบดดุ กบเบา้ โดยจะจัดเรยี งขน้ึ บรรทัดใหม่ ตวั อยา่ งเชน่ กบ [ก๊บ] ช่ือสตั วส์ ะเทนิ น�ำ้ สะเทินบกหลายชนิด ลำ� ตัวสัน้ ป้อม ขาค่ ู หลงั ใหญแ่ ละยาวกว่าคู่หนา้ ตนี แบน กระโดดไดไ้ กล. กบกนิ เดอื น [กบ๊ -กิน-เดอื น] น. จันทรปุ ราคา, จนั ทรคราส. กบดดุ [กบ๊ -ดุ๊ด] น. กบจ�ำศีล มกั จะอยู่ในรูลกึ . กบเบา้ [กบ๊ -เบา้ ] น. กบจำ� ศลี มกั จะอยใู่ นรไู มล่ กึ และจะทำ� ดนิ คลา้ ย ฝาปิดปากรไู ว้. กบปนปู [กบ๊ -ปน-ป]ู น. กบทอ่ี าศยั อยูร่ ่วมกับปูในรปู .ู ปร้า [ปฺรา้ ] น. ปลาร้า. ปรา้ สะเออะ [ปรฺ า้ -สะ-เออ๊ ะ] ดู ปลารา้ สะเออ๊ ะ. ปร้าหลน [ปรฺ า้ -หฺลน] ดู หลน. ๒. ขอบเขตขอ้ มูลของพจนานุกรม ๒.๑ การเขียนค�ำต้งั (คำ� หลัก) ค�ำตัง้ คอื คำ� ท่ยี กข้ึนตงั้ เพอื่ นิยามความหมาย; คำ� ทีเ่ ปน็ หลกั ให้ค�ำอนื่ เติม เขา้ มาตอ่ จะเตมิ ข้างหนา้ ตรงกลาง หรอื ข้างหลงั กไ็ ด้ ๒.๑.๑ ค�ำศัพท์ในภาษาโคราชท่ีเป็นค�ำต้ัง (ค�ำหลัก) บางค�ำยากที่จะหา ข้อสรุป เพราะแต่ละท้องถิ่นหรือท้องท่ีในโคราชจะออกเสียงแตกต่างกันไป ไม่ว่าจะเป็น เสยี งหนกั เบา การออกเสยี งตามวรรณยกุ ต ์ เช่น ในเขตทอ้ งท่ีอ�ำเภอพมิ าย อำ� เภอ โนนสูง ถ้าจะพดู ว่า “อะไร” กจ็ ะพดู ออกเสยี งเป็น “ไอ”๋ แต่ทอ้ งทบี่ างแหง่ ออกเสยี งวา่ “อาย” หรอื “ไอ” เปน็ ตน้ อยา่ งไรกต็ ามไดพ้ ยายามเขยี นคำ� ศพั ทใ์ หม้ เี สยี งตามวรรณยกุ ต ์ ใกลเ้ คยี งกบั สำ� เนยี งทคี่ นโคราชสว่ นใหญพ่ ดู กนั มากทสี่ ดุ ดงั นนั้ จงึ มคี ำ� ทมี่ เี สยี งหนกั หรอื เบาต่างกันไปบา้ งดว้ ยเหตุผลดังกล่าว (21)

๒.๑.๒ การให้ความหมายหรือการอธิบายค�ำศัพท์ท่ีเป็นค�ำต้ัง (ค�ำหลัก) ได้พยายามให้ความหมายสน้ั ๆ กะทัดรดั อย่างชดั เจนและตรงกบั ความหมายของคำ� มาก ที่สุด โดยเทียบเคียงจากพจนานุกรมฉบับราชบัณฑิตยสถาน ภาษาไทยกรุงเทพ ภาษา ไทยถน่ิ ภาคอีสาน ภาษาเขมร ฯลฯ บางคำ� ได้ขยายความบอกถงึ ท่มี าและประวัตเิ อาไว้ ดว้ ย เพื่อใหค้ วามหมายมคี วามครบถว้ นกระบวนความ แตก่ ไ็ มไ่ ดล้ งในรายละเอียดมาก นัก เพราะมฉิ ะน้ันจะกลายเปน็ หนงั สอื สารานกุ รมไป ๒.๒ การระบสุ �ำเนียงหรือภาษาโคราช การทจี่ ะระบเุ สยี งวา่ คำ� ใดเปน็ ภาษาโคราชหรอื บอกวา่ คำ� ใดคนโคราชออก เสยี งอย่างไรนัน้ จะระบุเปน็ ๒ ลักษณะ ดังนี้ ๒.๒.๑ คำ� ตง้ั (คำ� หลกั ) ทเ่ี ขยี นตามรปู คำ� หรอื สำ� เนยี งของภาษาไทยกรงุ เทพ จะเขียนคำ� อา่ นตามอักษรท่ีออกสำ� เนียงโคราชก�ำกบั ไว้ในวงเลบ็ เหล่ยี ม [ ] ดว้ ยตวั อกั ษร สฟี า้ (สนี ำ้� ทะเล) เพอื่ ใหท้ ราบวา่ เปน็ สำ� เนยี งโคราชหรอื เปน็ ภาษาโคราช ทงั้ นเี้ นอื่ งจาก หากจะเขยี นคำ� ตงั้ (คำ� หลกั ) ตามอกั ษรทอ่ี อกเสยี งหรอื สำ� เนยี งโคราช เชน่ พกั หวาน (ผกั หวาน) หรือ เล็กไฟ (เหลก็ ไฟ) อาจเป็นปญั หาสำ� หรับผทู้ ีม่ าจากถ่นิ อ่ืน โดยเฉพาะไทย กรุงเทพหรือภาคกลางท่ีไม่ทราบถึงส�ำเนียงโคราช ก็จะค้นหาค�ำศัพท์ท่ีต้องการทราบได้ ยากและเป็นการไม่สะดวก จึงเขียนค�ำอ่านตามส�ำเนียงโคราชก�ำกับไว้ในวงเล็บเหลี่ยม [ ] ด้วยตวั อักษรสฟี ้า ตวั อย่างเชน่ ค�ำตัง้ ที่เป็นภาษาไทยกรุงเทพ ส�ำเนียงโคราช /ภาษาโคราช ผักกะโตวา [พัก-กะโต-วา] น. ผักสันตะวา ๒.๒.๒ คำ� ตงั้ ทเ่ี ปน็ ภาษาโคราชและออกสำ� เนยี งโคราช ทภี่ าษาไทยกรงุ เทพ ไม่มีพดู กนั ก็จะไมบ่ อกคำ� อา่ นหรอื สำ� เนยี งโคราชไวใ้ นวงเลบ็ เหล่ยี ม [ ] เหมือนขอ้ ๒.๑ ซ่ึงจะละไวใ้ นฐานความเขา้ ใจและเปน็ ทท่ี ราบกัน โดยคำ� ต้ังจะพิมพด์ ้วยตวั อกั ษร สีฟา้ (สี น�้ำทะเล) เพอ่ื ให้ทราบวา่ เปน็ ภาษาโคราชหรอื เปน็ สำ� เนยี งโคราช ตัวอยา่ งเชน่ ส�ำเนยี งโคราช /ภาษาโคราช จำ� หืน ว. ฝืนใจทำ� , เสแสร้ง. (22)

๒.๓ คำ� ท่ีใชเ้ ฉพาะแห่ง ๒.๓.๑ สำ� นวน ถอ้ ยคำ� หรอื ขอ้ ความทมี่ คี วามหมายไมต่ รงตามความหมาย ประจำ� คำ� หรอื มคี วามหมายอนื่ แฝงอยจู่ ะใชค้ ำ� ยอ่ ในวงเลบ็ ไวห้ นา้ ชนดิ ของคำ� และคำ� นยิ าม หรือคำ� อธิบายความหมายของคำ� ศพั ท์ วา่ (ส�ำ) = ค�ำทเี่ ปน็ สำ� นวน ค�ำศัพท์ในภาษาโคราชท่ีเป็นส�ำนวนมีมาก แสดงถึงภูมิปัญญาของคนแต่ กอ่ นท่ีพูดเป็นสำ� นวนโวหาร หรือ สุภาษิตเปน็ คตสิ อนใจ สำ� นวนบางสำ� นวนมองเห็นภาพ ได้อย่างชดั เจนฟังแล้วมีความไพเราะในภาษา จึงได้น�ำมารวบรวมไว้ในฉบับน้ี เช่น สำ� นวน มนี ำ�้ ไม่รู้จักกนิ - [ม-ี นา่ ม-ไม-่ ล-ู่ จั๊ก-กนิ - (สำ� ) ว. มีของดมี คี ่า มีหม้อดินไมร่ ูจ้ กั ใช้ มี-หม่อ-ดนิ -ไม่-ล-ู่ จก๊ั -ใช]่ แต่ไมร่ ูจ้ กั ประโยชน์ ๒.๓.๒ ระดับของภาษา หมายถึง ค�ำที่ใช้ระดับต่าง ๆ รวมท้ังที่ใช้ใน วรรณกรรม ไดแ้ ก่ (ปาก) ภาษาปาก (วรรณ) วรรณกรรม (ราชา) ราชาศพั ท์ ค�ำที่เปน็ ระดบั ของภาษาจะเขยี น ( ) ก�ำกับไวห้ นา้ ชนดิ ของคำ� และคำ� นยิ าม หรอื คำ� อธบิ ายความหมายของคำ� ศพั ท์ ตวั อย่างเชน่ โขก (ปาก) ก. โกง่ ราคา, บอกราคาเกินสมควร. ระดับของภาษาประเภทภาษาปาก ๒.๔ ชนดิ ของค�ำ ชนิดของค�ำตามหลักภาษา เขียนเป็นอักษรย่อและค�ำย่อไว้หน้าค�ำนิยาม หรอื คำ� อธบิ ายความหมายของคำ� ศพั ท์ เพื่อบอกชนดิ ของคำ� ตามหลักไวยากรณ์ คือ ก. = กรยิ า น. = นาม บ. = บรุ พบท ว. = วเิ ศษณ์ (คณุ ศัพทห์ รือกรยิ าวิเศษณ์) ส. = สรรพนาม (23)

สัน. = สนั ธาน อ. = อุทาน ตัวอย่าง การบอกชนิดของค�ำ เชน่ คำ� วิเศษณ์ งดึ [งึด่ ] ว. แปลกใจ, ประหลาด, ฉงนสนเทห่ ์. ๒.๕ ท่ีมาของขอ้ ความตัวอยา่ งทีม่ าจากวรรณกรรม จะบอกขอ้ มูลอา้ งอิง ทม่ี าของขอ้ ความตวั อยา่ งทมี่ าจากวรรณกรรมวา่ มาจากเรอื่ งใด โดยเขยี นคำ� ยอ่ ในวงเลบ็ หลังตวั อยา่ ง เป็นการบอกลกั ษณะคำ� ท่ใี ช้เฉพาะแหง่ ได้แก่ (ก้อม) = เพลงกอ้ ม. (กล่อมเดก็ ) = เพลงกลอ่ มเด็ก. (ช้าเจา้ หงสฯ์ ) = เพลงชา้ เจา้ หงสด์ งล�ำไย : ของ ขนุ สบุ งกช ศกึ ษากร. (ทา้ ว ฯ) = ทา้ วสรุ ะนารี:ของพ.ต.หลวงศรโี ยธาและคณะ. (นิ.กศุ ราช) = นทิ านคำ� กาพย์ เรื่องกุศราช. (น.ิ พระปาจิต) = นทิ านคำ� กลอน เร่ืองพระปาจิต : ของ หลวงบ�ำรงุ สุวรรณ. (นิ.รปู ทอง) = นทิ านค�ำกาพย์ เร่อื งรปู ทอง. (นิ.เพลงเจ็ดคะนน) = นทิ านเพลงพ้นื บ้านโคราชเร่อื งเจด็ คะนน : บญุ สง่ ครศู รี รวบรวม. (น.ิ เพลงปาจติ ฯ) = นทิ านเพลงพน้ื บา้ นโคราชเรอ่ื งปาจติ -อรพมิ : บญุ สง่ ครศู รี รวบรวม. (น.ิ เพลงศุภมิตร ฯ) = นิทานเพลงพน้ื บ้านโคราชเรื่องศุภมิตร- เกศนี : บญุ สง่ ครศู รี รวบรวม. (นิ.เพลงเสอื สางรางโกง) = นิทานเพลงพืน้ บ้านโคราชเรือ่ งเสอื สาง รางโกง : บญุ สง่ ครศู รี รวบรวม. (น.ิ เพลงเมอื งขวางทะบรุ )ี = นทิ านเพลงพนื้ บา้ นโคราช เรื่องเมอื งขวาง ทะบรุ ี : บญุ สง่ ครศู ร ี รวบรวม. (นิ.เพลงอินทปัตถา) = นทิ านเพลงพ้นื บ้านโคราชเร่อื งอนิ ทปตั ถา : บญุ สง่ ครศู รี รวบรวม. (24)

(น.ิสองดรณุ )ี = นทิ าน เรอื่ งสองดรณุ ี : ของ ขนุ สบุ งกช ศกึ ษากร. (ปแ่ี กว้ ) = เพลงปแ่ี ก้ว. (เพลงโคราช) = เพลงโคราช. (เพลงเชิด) = เพลงท่ใี ชเ้ ชดิ การเล่นต่าง ๆ เช่น การเล่น ผนี างด้ง, ผนี างกะโหลก ฯลฯ. (เพลงนางกะโหลก) = เพลงเชิดการเลน่ นางกะโหลก. (เพลงเพยี ะ) = เพลงเพยี ะ. (ลากไม)้ = เพลงลากไม.้ (สุภมติ ฯ) = สุภมิต–เกสินี : ธวชั ปุณโณทก. อสิ ยม [อิ๊ด-สะ-หยฺ ม] น. อสิ ริยยศ, ยศที่แสดงถงึ ความเปน็ เจ้า เชน่ ปางเจา้ จอมพระปาจิตอิสยม (นิ.พระปาจิต). ที่มาของตวั อยา่ งจากวรรณกรรม นทิ านคำ� กลอน เรือ่ งพระปาจติ ๒.๖ ทม่ี าของคำ� ๒.๖.๑ ค�ำย่อในวงเลบ็ หนา้ ค�ำนิยาม คำ� ยอ่ ในวงเลบ็ หน้าค�ำนิยามบอก ที่มาของคำ� ทใ่ี ชเ้ ฉพาะแหง่ ไดแ้ ก่ (ปริศ) = ค�ำที่เปน็ ปรศิ นาคำ� ทาย ขอ้ ความท่เี ปน็ ปริศนา เพ่ือใหแ้ ก้ใหท้ าย (สำ� ) = ค�ำทเ่ี ปน็ ส�ำนวน (ปาก) = คำ� ที่เปน็ ภาษาปาก คือภาษาพดู ท่แี สดงความ คุ้นเคยไมเ่ หมาะทีจ่ ะใชเ้ ปน็ พธิ รี ีตอง ๒.๖.๒ คำ� ยอ่ ในวงเล็บหลงั ค�ำนิยาม คำ� ย่อในวงเล็บหลังค�ำนิยามบอก ท่ีมาของค�ำ ไดแ้ ก่ (จ.) = ภาษาจีน (อ.) = ภาษาอังกฤษ (ข.) = ภาษาเขมร (ถ่นิ ) = คำ� ที่เป็นภาษาใชเ้ ฉพาะถิ่น เชน่ ถ่ินอสี าน (25)

(คำ� ทเี่ ปน็ ภาษาถิ่นภาคอีสาน), ถิน่ โชคชัย (คำ� ทเ่ี ป็นภาษาถิน่ เขตอ�ำเภอโชคชัย โคราช) ๒.๗ การอ้างองิ คำ� ต้ัง (ค�ำหลัก) ทเี่ กี่ยวขอ้ ง มี ๒ ลักษณะ ๒.๗.๑ การระบุข้อความให้ไปดขู อ้ มูลเพ่ิมเติมในคำ� ต้ังอื่นทเ่ี กี่ยวข้อง ใช้ ในกรณีเปน็ ค�ำทมี่ ีคำ� อธิบายความหมาย แลว้ มคี �ำว่า ดู ตามดว้ ยค�ำที่จะต้องดกู บั โดยมี ค�ำว่า ประกอบ กจ็ ะระบุ (ดู.....ประกอบ) หมายความว่า ใหด้ คู �ำน้ันประกอบ เพือ่ ใหเ้ กดิ ความเขา้ ใจยง่ิ ข้ึน เชน่ ค�ำท่ใี ห้ดปู ระกอบเพ่มิ เตมิ ไปดอก [ไป-ดอ๊ ก] (ดู ดอก ประกอบ). ๒.๗.๒ กรณีทเี่ ป็นคำ� ศัพทซ์ ่งึ ไม่มีค�ำอธบิ ายความหมาย มีแต่เขียนค�ำว่า ด.ู ........ กลา่ วคือเขียนวา่ ดู ตามด้วยค�ำทีจ่ ะต้องดูแสดงด้วยตัวเอน หมายความ วา่ ใหด้ คู ำ� ทอ่ี า้ งถงึ นนั้ ซงึ่ มรี ายละเอยี ดจากคำ� ดงั กลา่ วเพมิ่ เตมิ เพอ่ื ทราบถงึ ทม่ี าของคำ� และความหมายที่แท้จริง เพราะถ้าจะอธิบายอีกก็จะเปน็ การซำ้� ซ้อนกัน เช่น ผา้ กะเต่ยี ว [ผา่ -กะ-เตย่ี ว] ดู ผ้าข่ีมา้ . คำ� หรือข้อความทีใ่ หด้ เู พิม่ เตมิ ๒.๘ ไวพจน์ (คำ� พอ้ งความ) คอื คำ� ทเ่ี ขยี นตา่ งกนั แตม่ คี วามหมายเหมอื น กนั หรือใกล้เคยี งกันมาก ๒.๘.๑ ไวพจน์ทใ่ี ชเ้ ฉพาะถน่ิ จะระบุถิน่ ให้ทราบ เช่น ถ่ินอสี าน, ถิ่นใต้ ใชว้ ่า......หรอื เรียกว่า...... หรอื เรยี ก...... ตัวอยา่ งเชน่ คำ� ท่ใี ช้เฉพาะถน่ิ อีสาน จักแล้ว [จั๊ก-แหลว่ ] ว. ไม่รู,้ ไม่ทราบ, ถิน่ อสี านใช้ว่า จกั แล้ว. (26)

๒.๘.๒ ไวพจนท์ ใี่ ชท้ ว่ั ไป รปู เขยี นไวพจนท์ ใี่ ชก้ นั ทวั่ ไปในถนิ่ หรอื ทอ้ งท่ี จะ เขียนบอก , ......ก็ว่า ตวั อยา่ งเช่น แอบแปะ [แอบ-แป๊ะ] ว. พึ่งพาอาศัยคนอ่ืน, ได้ดีเพราะมี คนอ่ืนช่วย, แอม่ แปะ กว็ า่ . คำ� ทใี่ ชก้ นั ทั่วไปในถ่นิ โคราช ๒.๙ คำ� ศัพทท์ ก่ี ล่าวถงึ ชอ่ื วิทยาศาสตร์ (scienticfi names) ของพชื คำ� ศพั ทท์ กี่ ลา่ วถงึ ชอื่ วทิ ยาศาสตรเ์ พอ่ื ใหท้ ราบทม่ี าของคำ� และผตู้ ง้ั ชอื่ เพอ่ื ให้ผสู้ นใจไปสบื ค้นเพิม่ เตมิ จากหนงั สือทอี่ ้างองิ ต่อไป เช่น คำ� ศัพทช์ อื่ วิทยาศาสตร์ เปราะหิน [เปา๊ ะ-หนิ ] น. ช่อื ไมล้ ้มลกุ ชนิด Caulokaempferia saxicola K. Larsen ในวงศ์ Zingiberaceae คล้ายตน้ เปราะ, เปราะหอม ใชเ้ ปน็ อาหาร และทำ� ยา. ๒.๑๐ ปรศิ นาค�ำทาย ปรศิ นาคำ� ทายเปน็ คำ� ทายทค่ี นแตก่ อ่ นผกู ขน้ึ เปน็ เงอื่ นงำ� เพอื่ ใหแ้ กใ้ หท้ าย ท้ังคนทายและคนแก้จะต้องใช้ความคิดหรือภูมิปัญญา ซ่ึงนอกจากจะเป็นวิถีชีวิตอย่าง หนึ่งที่ท�ำให้เกิดความสนุกสนานบันเทิงแล้ว ยังท�ำให้เกิดปัญญา ปฏิภาณไหวพริบ อีกด้วย จึงได้น�ำมารวบรวมไว้เช่นเดียวกัน โดยเขียนเป็นค�ำย่อว่า (ปริศ) ไว้หน้าชนิด ของค�ำ เช่น ตกตุ๊บใสห่ มวกแต้ [ตก๊ -ตุ๊บ-ใส-่ หฺมวก-แต้] (ปรศิ ) น. ลูกตาล. คำ� ที่เปน็ ปรศิ นาคำ� ทาย (27)

๒.๑๑ อน่ื ๆ นอกจากนย้ี งั ไดน้ ำ� การเลน่ ของคนโคราชทเี่ ดน่ ๆ และแตกตา่ งไป จากการเล่นของภาคอื่นมารวบรวมไว้ เพราะถอื ว่าเป็นส่วนหน่งึ ของภาษาโคราชทค่ี วรจะ ได้กล่าวถงึ ๓. การใชเ้ ครื่องหมายในบทนยิ าม ๓.๑ เคร่อื งหมายจุลภาค ( , ) ๓.๑.๑ ใชค้ ่ันระหว่างค�ำต้งั ที่มมี ากกว่า ๑ คำ� เชน่ บแ่ พ่ ว. มาก, มากมาย, หลาย, ถมเถ, ถมไป, บแ่ พะ, บ่แพบ่ ่พัด กว็ า่ . ใชเ้ ครือ่ งหมายจุลภาคค่นั ระหวา่ งคำ� ตั้งท่ีมี มากกวา่ ๑ คำ� เช่น บแ่ พะ, บแ่ พ่บ่พดั ๓.๑.๒ ใช้คั่นระหว่างค�ำศัพท์หรือระหว่างความหมายที่เป็นไปในท�ำนอง เดียวกนั ท่มี ีความหมายเหมอื นกนั หรือใกลเ้ คยี งกัน เชน่ บ่นอืด ก. บ่นออด, บ่นซำ�้ ๆ ซาก ๆ, บน่ ไมห่ ยดุ , บ่นอย่รู ่ำ� ไป. ใช้เครื่องหมายจุลภาคคั่นระหว่างค�ำศัพท์หรือ ระหวา่ งความหมายทเ่ี ปน็ ไปในทำ� นองเดยี วกัน ๓.๑.๓ ใชค้ ั่นระหวา่ งตัวอยา่ ง คำ� ศพั ทบ์ างคำ� เมอ่ื อธบิ ายความหมายแลว้ เหน็ วา่ ควรจะยกตวั อยา่ ง ประกอบเพอื่ ใหเ้ กดิ ความเขา้ ใจและการใชค้ ำ� ไดอ้ ยา่ งถกู ตอ้ ง เพราะภาษาโคราชบางคำ� มคี วาม หมายลกึ ซง้ึ ไปกวา่ ภาษาไทยกรงุ เทพ หรอื คำ� ในพจนานกุ รมฉบบั ราชบณั ฑติ ยสถาน จงึ ได้ ยกตัวอย่างประกอบ อนึ่งตัวอยา่ งก็จะเขยี นค�ำเปน็ ภาษาโคราชหรอื ส�ำเนยี งโคราช โดย ใชต้ วั เอน เช่น หยุดปัด้ [ยดุ -ป่ดั ] ก. หยดุ ทนั ที เชน่ เลอื ดทไี่ หลยุดปด้ั , พอครูมาพวกสง่ เสยี งดงั พากนั ยดุ ปัด้ . เครื่องหมายจลุ ภาคใช้ค่นั ระหว่างตัวอยา่ ง (28)

๓.๒ เครือ่ งหมายวงเล็บ ( ) ๓.๒.๑ ใชก้ ำ� กบั อกั ษรยอ่ ของคำ� ทใ่ี ชเ้ ฉพาะแหง่ เชน่ (สำ� ), (เพลงโคราช) ใช้เคร่ืองหมายวงเลบ็ ( ) ก�ำกบั อักษรยอ่ ของค�ำท่ีใช้เฉพาะแหง่ เช่น ส�ำนวน (ส�ำ) ภเู ขาสูงย่อมมหี ญา้ ขนึ้ [พู-เขา-สูง-ย่อม-ม-ี หย่า-ข่นึ ] (ส�ำ) น. ผู้สูงศกั ดิ์ยอ่ ม มีบริวารเสรมิ บารมี ๓.๒.๒ ใชก้ �ำกบั อักษรยอ่ บอกภาษาทมี่ าและรูปศัพท์เดิม เชน่ น้ำ� มะเน็ด [น่าม-มะ-เนด่ ] น. เครือ่ งดื่มรสมะนาว (อ. Lemonade : เลมอนเนด). ใชเ้ ครอ่ื งหมายวงเล็บก�ำกับอกั ษรย่อบอก ภาษาท่ีมา คอื ภาษาอังกฤษ และรูปศัพทเ์ ดิม ๓.๒.๓ ใชก้ ำ� กับการอา้ งองิ ค�ำตง้ั (ค�ำหลัก) ท่ีเกยี่ วข้อง เชน่ นอิ อ่ ง น. กลว้ ยน�ำ้ วา้ (ดู มะลอิ ่อง ประกอบ). ใชเ้ ครื่องหมายวงเล็บกำ� กับ การอ้างอิงค�ำต้ังที่เกี่ยวขอ้ ง ๓.๓ เครื่องหมายจดุ หรอื มหพั ภาค ( . ) ๓.๓.๑ ใช้หลงั อกั ษรย่อชนิดของคำ� เช่น น. (นาม), ก. (กริยา) ๓.๓.๒ ใชห้ ลงั อักษรย่อบอกภาษาทม่ี า เชน่ อ. (องั กฤษ), จ. (จนี ) ๓.๓.๓ ใชเ้ มอื่ จบการอธบิ ายคำ� ศพั ท์ (29)

ใช้มหัพภาคหลังอักษรย่อชนิด ของคำ� ในทนี่ ี้ คือ ค�ำนาม (น.) น�ำ้ มะเน็ด [นา่ ม-มะ-เนด่ ] น. เคร่ืองด่ืมรสมะนาว (อ. Lemonade : เลมอนเนด). ใชเ้ ครอ่ื งหมายมหัพภาคหลังอกั ษรย่อ ใช้เคร่อื งหมายมหพั ภาค บอกภาษาท่ีมา คือ ภาษาองั กฤษ เม่ือจบการอธิบายค�ำศพั ท์ ๓.๔ เครอื่ งหมายอัฒภาค ( ; ) ใชค้ นั่ ระหวา่ งความหมายหรอื คำ� ศพั ทก์ บั คำ� ขยายความเพม่ิ เตมิ เชน่ เคร่อื งหมายอัฒภาคใชค้ ั่นระหว่างความหมาย หรือคำ� ศพั ท์กับค�ำขยายความเพ่มิ เติม ควาญเม อื ง [ควน-เมอื ง] น. ผู้รกั ษาเมอื ง ; เปรียบกบั ควาญชา้ ง ซ่ึงเปน็ ผูเ้ ล้ยี งและบังคบั ชา้ ง. ๓.๕ เครอ่ื งหมายวงเลบ็ เหลยี่ ม [ ] ใช้ก�ำกบั คำ� ต้ัง (คำ� หลัก) ทีเ่ ป็นรูปเขียนอกั ษรไทยตามเสยี งถนิ่ เพอื่ บอก คำ� ภาษาถนิ่ หรอื สำ� เนยี งภาษาถนิ่ เชน่ แน่นตึบ [แหนฺ น่ -ต๊ึบ] ก. แนน่ หนา, แน่นสนิท, แนน่ เอ้ียด. เครื่องหมาย [ ] ใช้กำ� กับบอกภาษาถ่นิ โคราช หรือ การออกเสยี ง/ ส�ำเนยี งโคราช ๓.๖ เครอ่ื งหมายยตั ภิ ังค์ ( - ) ใชเ้ ขยี นระหวา่ งแตล่ ะพยางคข์ องคำ� ตงั้ (คำ� หลกั ) ทเี่ ปน็ รปู เขยี นอกั ษรไทย (30)

ตามเสียงถ่นิ เชน่ กระหสั ถ์ [กะ - ฮัด] น. คฤหัสถ์, ฆราวาส, ผคู้ รองเรอื น. เครอ่ื งหมายยตั ภิ งั คใ์ ช้เขียน ระหวา่ งแต่ละพยางคข์ องค�ำตง้ั ค�ำบางค�ำอาจมีปญั หาหรอื มขี อ้ สงสยั ในการอ่าน กจ็ ะบอกเสยี งอา่ นกำ� กบั ไวโ้ ดยใชเ้ ครอ่ื งหมาย (-) และบอกเสยี งอา่ นเรยี งพยางคค์ น่ั ดว้ ยยตั ภิ งั คด์ งั กลา่ ว เพอื่ มใิ ห้ สับสนหรอื อา่ นผดิ เช่น กะเตด้ แพด็ ๆ [กะ-เต้ด-แพ็ด-แพด็ ] ก. สะบัดถ่ี ๆ , สลัดถี่ ๆ บอกค�ำอา่ นเพื่อมิใหส้ บั สนหรืออา่ นผดิ ๓.๗ เครื่องหมายเทา่ กบั ( = ) หมายถงึ มีคา่ เสมอกนั และหมายถงึ คำ� นีม้ ี ความหมายเท่ากับ เช่น ผักตวาดหมา [พัก-ตะ-หวาด-หมา] (ปริศ) น. ผกั กระเฉด (เฉด = เสยี งตวาดหรอื ไลห่ มา), ใช้เคร่อื งหมายเท่ากับ หมายถงึ เฉด คอื เสยี งตวาดหมา ๓.๘ เคร่ืองหมายพินทุ ( . ) คำ� ท่ีอา่ นตามกฎและหลักภาษาอยแู่ ลว้ และ ไมม่ ีความซบั ซอ้ นทางเสียงจะไม่บอกเสียงอา่ นกำ� กบั ไว้ เชน่ ขนาย, สนน ส่วนค�ำทอี่ า่ น ยกเว้นจากกฎหรือหลักภาษาหรือค�ำอ่ืน ถ้าไม่อธิบายบอกอาจอ่านเป็นอย่างอื่นได้ เช่น ขยดู กจ็ ะบอกเสยี งอา่ นวา่ ขะ-หยฺ ดู คำ� อา่ นทมี่ เี ครอื่ งหมายพนิ ทจุ ดุ ไวข้ า้ งใตต้ วั อกั ษรหรอื ใต้พยัญชนะต้นดงั กล่าว มคี วามหมายว่าตัวอกั ษรนั้นเปน็ อกั ษรนำ� ไมอ่ อกเสยี ง ได้แก่ตวั (31)

ห เพื่อมใิ หอ้ อกเสยี งเปน็ อยา่ งอ่นื ซ่งึ มคี วามหมายตา่ งกนั ตวั อยา่ งเชน่ โขกโหลกเขกเหลก [โขก-โหฺลก-เขก-เหฺลก] ว. ไมเ่ ป็นระเบยี บ, สงู ชะลูด. ค�ำอ่านท่ีมีเครื่องหมายพินทุจุดไว้ข้างใต้ตัวอักษร หมายความว่าตัวอักษรนัน้ เป็นอกั ษรนำ� ไมอ่ อกเสยี ง ส�ำหรับตัวอักษรควบกล้�ำ จะใช้พินทุจุดใต้พยัญชนะตัวหน้าเพื่อให้อ่าน พยัญชนะตัวหนา้ ควบกลำ้� กบั ตัวท่ตี ามมา เชน่ เขลาใจ เขลฺ า-ใจ] ว. ไม่ดลใจ, มเี หตุอนั ไมใ่ หค้ ิดไมใ่ หท้ ำ� . ค�ำอ่านที่มีเคร่ืองหมายพินทุจุดไว้ข้างใต้ตัวอักษร หมายความวา่ ตวั อกั ษรน้นั เปน็ อักษรน�ำไมอ่ อกเสยี ง ๓.๙ ตวั เลข ใชแ้ ยกคำ� ต้งั (ค�ำหลัก) ทมี่ ีรปู เหมอื นกนั แตม่ คี วามหมายต่างกัน จะแยก ค�ำตง้ั โดยใส่ตัวเลข ๑, ๒, ๓ ..........กำ� กับไว้ เช่น พอกวอก [ พอ่ ก-ว่อก] ๑. ว. มอมแมม, เปือ้ น. ๒. ว. ขาวเหมอื นพอกหรือ โปะแป้ง (ใชแ้ กห่ น้า). ค�ำตงั้ (ค�ำหลัก) ท่ีมีรูปเหมือนกนั แต่มีความหมายต่างกัน จะแยก ค�ำตั้งโดยใส่ตวั เลขก�ำกบั (32)

\" ภาษาโคราช เป็นเอกลักษณ์ ของโคราช อันน่าภาคภูมใิ จ \"“เราลกู หลาน” ตอ้ งชว่ ยกันสืบสาน ความเป็นโคราช (33)

(34)

กพจนานุกรม ภาษาโคราช ก ก็ดาย ว. ใช้ประกอบค�ำอื่นมีความ เตม็ -นา่ ม] (ปรศิ ) น. ผกั แวน่ . ข หมายทำ� นองวา่ กน็ อ้ , กเ็ นาะ, กกอยฟู่ ้าปลายอยู่ดนิ [กก๊ -อย-ู่ ฟา่ - ค เหลอื เกนิ , เกนิ ไป เชน่ เหน็ วา่ ฆ กด็ าย (เหน็ วา่ กเ็ นาะ), แกกด็ าย ปาย-อยู่-ดิน] (ปรศิ ) น.ไต้, ง ปลอ่ ยใหห่ ลาน มอมแมม (แก เช้อื เพลงิ จุดใหส้ วา่ ง. จ กน็ อ้ หรอื แกกเ็ หลอื เกนิ ปลอ่ ยให้ กงก�ำกงเกวียน [กง-ก�ำ-กง-เกียน] ฉ หลานมอมแมม), กะดาย กว็ า่ . (ส�ำ) กงเกวียนก�ำเกวียน,กรรม ช สนองกรรม, เวรสนองเวร. ซ ก็น่ันเอ๋ง ว . ก็นั่นซ,ิ กใ็ ชซ่ ,ิ ก็ กงเกง น. กางเกง เชน่ ให้สอดใส่เสื้อ ฐ ใชแ่ ลว้ . ด�ำกงเกงแดง (น.ิ พระปาจิต), ฒ กงุ เกง กว็ ่า. ด กก [ก๊ก] น. ชอื่ ไมล้ ม้ ลกุ ลำ� ตน้ ใช้ทอ กงโก๊ะ ก. กงโก,้ โกง่ ๆ โค้ง ๆ, กม้ ๆ ต หรือสานเสอ่ื . เงย ๆ, กงโก๊ะกงโก้ง, กงโกะ๊ กง ถ โก้ย, โกงโกะ๊ โกงโก้ง, โกงโกะ๊ ท กกกลม [กก๊ -กม] น. กกจนั ทบรู . โกงโกย้ ก็วา่ . ธ กกคมบาง [กก๊ -คม-บาง] ดู กงโก๊ะกงโก้ง ดู กงโกะ๊ . น กงโกะ๊ กงโกย้ ดู กงโกะ๊ . บ กกน�ำ้ พอง. โกงโก๊ะโกงโกง้ ดู กงโกะ๊ . ป กกนำ้� พอง [กก๊ -นา่ ม-พอง] น. โกงโกะ๊ โกงโก้ย ดู กงโก๊ะ. ผ กง่ ตะเกยี ง ดู กะโลงตะเกียง. ฝ ปรอื ; ลำ� ตน้ เปน็ สามเหลยี่ ม เนอ้ื กดปูด [ก๊ด-ปูด] น. นกกะปดู , กน่ั ปูด, พ ในฟา่ ม สงู ประมาณ ๒ เมตร กดั ปดู ก็วา่ . ฟ เมอ่ื แหง้ ผวิ เปลอื กสเี หลอื งคลา้ ย กถา น. คาถา, ค�ำเสกเป่าท่ีถือว่า ภ ฟางขา้ ว, กกคม บาง กว็ า่ . ศกั ดิ์สิทธ์.ิ ม กกล�ำพัน [กก๊ -ลำ� -พนั ] น. กก กน้ คกุ [กน้ -คกุ่ ] ว. ขคี้ กุ , เลวเหมอื น ย ชนดิ หน่งึ สงู ประมาณ ๓ เมตร คนตดิ คกุ (คำ� ดา่ ), คนคกุ กว็ า่ . ร โคนตน้ อวบขาว ใบแบนคล้าย ก้นแงน น. กน้ งอน, ลกั ษณะก้นชอ้ ย ฤ หญ้าคา มีช่อดอกคล้ายธูป, ล หญา้ ธปู ก็วา่ . ว กกไม ้ [ก๊ก-ม่าย] น. ตน้ ไม.้ ศ กกเทา่ เขม็ ใบเตม็ นำ้� [กก๊ -เทา่ -เขม็ -ใบ- ส ห อ ฮ 1

ก้นจ�ำ้ - กระจ้อน ขนึ้ หรอื โงง้ ขึน้ เชน่ ขยบั ยา่ ง กน้ รากงอก ดู ก้นออกราก. กน้ แงนงะเงกเง (น.ิ พระปาจติ ). กน้ ออกราก ว. กน้ หนัก, นงั่ คยุ ได้ กน้ จ�้ำ น. ชอ่ื พืชลม้ ลุกชนิด Bidens ก biternata นาน ๆ ไม่ยอมลุกงา่ ย ๆ จนคน ข รอต้องเร่งหรือรบเร้าให้ลุก, ค (Lo ur.) Merr. ก้นรากงอก ก็ว่า. ฆ & Sherff ex กบ [ก๊บ] น. ชื่อสัตวส์ ะเทินนำ้� สะเทิน ง Sherff ในวงศ์ กน้ จำ�้ บกหลายชนดิ ลำ� ตัวส้ันปอ้ ม จ Compositae ขาคู่หลังใหญ่และยาวกว่าคู่ ฉ หน้า ตีนแบน กระ โดดไดไ้ กล. ช ล�ำตน้ เป็นเหลี่ยม ใบออกเป็น กบกนิ เดือน [ก๊บ-กนิ -เดอื น] ซ ช่อยอดเดียวดอกสีเหลือง น. จนั ทรุปราคา,จันทรคราส. ฐ นำ้� ใบคั้นใช้ลา้ งตา แก้โรคตา กบดดุ [ก๊บ-ดดุ๊ ] น. กบจำ� ศลี ฒ มัว ตาฟาง พอกแผลสด แผล มกั จะอยใู่ นรลู กึ . ด กบเบ้า [กบ๊ -เบา้ ] น. กบจำ� ศีล ต ไฟไหม้ นำ้� ร้อนลวก. มักจะอยู่ในรูไม่ลึกและจะท�ำดิน ถ กน้ จ�้ำน้อย ๑. น. ชอ่ื ไมล้ ม้ ลกุ อายุปี คล้ายฝาปิดปากรูไว้. ท กบปนปู [ก๊บ-ปน-ปู] น. กบที่ ธ เดียวชนิด Siegesbeckia อาศัยอย่รู ว่ มกบั ป.ู น orientalis Linn. ในวงศ์ กมลสันดาน [กะ-มน-สัน-ดาน] น. บ Compositae ใบเด่ียวรูปไข่ สนั ดาน, นสิ ยั ทม่ี ีมาแตก่ �ำเนิด. ป ปลายแหลม ดอกช่อเป็น ก้มหนา้ ตาดูดนิ [กม้ -หนา่ -ตา-ด-ู ดนิ ] ผ (ส�ำ) ก. จ�ำทน เชน่ กพ็ ยายาม ฝ กระจุกสีเหลอื งสด ใบใชพ้ อก ตัดใจมิให้อาลัยถึงก้มหน้าตาดู พ แผลไฟไหม้ คนั้ ทาแกพ้ ิษแมลง ดิน (ท้าว ฯ). ฟ สัตว์กัดต่อย ล�ำต้นใช้แก้ กรง [กง] ว. ตรง, กรง๋ กว็ า่ . ภ กรงเปะ๊ [กง-เปะ๊ ] ว. ตรงเผง, ม อักเสบ มุตกิด บ�ำรุงหัวใจ ยนื ตรงน่ิง, กรงเพละ, กรง ย โรคผิวหนัง นักพฤกษศาสตร์ แหนว่ ก็วา่ . ร เรียก สะพ้านก้น. กรงเพละ [กง-เพะ] ดู กงเป๊ะ. ฤ ๒. ชอ่ื ไม้พมุ่ เล้ือยชนดิ Sida ล ว qutinosa Cav. ในวงศ์ Mal- ศ vaceae. ส กน้ เตา่ น. ท้ายทอย, ก�ำดน้ , สว่ นสดุ ห อ ของกะโหลกศรี ษะด้านหลัง. ฮ 2

พจนานุกรม ภาษาโคราช กรงแหน่ว [กง-แหฺนว่ ] ดู กง Fabaceae ใบเป็นใบประกอบ ก เปะ๊ . เนื้อไม้สีส้ม เปลือกสีเทาปน ข เขียว ดอกรสขม เปลือกรส ค กรนฝูฝู [กน-ฟ-ู่ ฟ]ู่ ก. เสียงกรนดงั ฝาด ขับฟอกและบ�ำรุงหัวใจ ฆ ฝู ๆ เช่น เสยี งกรนอยฝู่ ูฝู พระ แก่นรสฝาดร้อนขื่น แก้กษัย ง โฉมตรูแลว้ นง่ิ ไป (นิ.รปู ทอง). เลือดลม นักพฤกษศาสตร์ จ เรยี ก แดง. ฉ กรรมแตก ดู มตุ โต. กรอ้ [กอ้ ] ลักษณะนามของหลอดด้าย ช กรลบ [กะ-ลบ] ก. กระลบ, ตรลบ, เช่น ด้าย ๑ กรอ้ (ดา้ ย ๑ ซ หลอด). ฐ ตลบ; ว. ฟ้งุ เช่น หอมฟงุ้ กร กรอง [กอง] ก. ตรอง, คิดทบทวน. ฒ ลบทว่ั ทั้งพารา (นิ.กศุ ราช). กรอบแกรบ [กอ๊ บ-แก๊บ] ว. เสียงดงั ด กรวจ [กวด] ก. ตรวจ. อย่างเหยียบหรือเค้ียวของ ต กรวจกรา [กวด-กา] ก. ตรวจ กรอบหรอื แห้ง. ถ ตรา, ส�ำรวจหาความผดิ ปกติ กรอม ก. ตรอม, ระทมเจ็บชำ้� อยใู่ นใจ ท อยา่ งรอบคอบ เช่น เมอ่ื นั้นหมู่ เชน่ กรอมใจ (ตรอมใจ). ธ เสนา ไปกรวจกรารอบบรุ ี (นิ. กรอมกรม ก. ตรอมตรม, ระทมใจ น กศุ ราช). เช่น ยิ่งเศร้าใจกรอมกรม บ กรวน [กวน] น. ตรวน, เคร่ืองจองจำ� อารมณ์โรย (นิ.พระปาจิต). ป ทใ่ี ช้สวมขานักโทษ. กระการ [ก๊ะ-กาน] ว. ตระการ, ผ งาม เช่น บังเหียนเคียนด้วย ฝ กรว้ ม ไม้ เบาะอานใส่ดูกระการ (นิ. พ รูปทอง). ฟ กรว้ ม [กว้ ม] น. ชื่อไม้ยนื ตน้ ขนาด กระเกรยี ม [กะ๊ -เกยี ม] ก. ตระเตรียม. ภ ใหญช่ นดิ Xylia xylocarpa กระจอก ว. ไมม่ ีท่า, ไม่เก่ง, ไม่มีความ ม Taub. var. kerrii (Craib & สามารถ, ยากจน, ต่�ำตอ้ ย, ย Hutch.) Nielsen. ในวงศ์ กระจอกงอกงอ่ ย กว็ า่ . ร กระจอกงอกง่อย ดู กระจอก. ฤ กระจ้อน ๑. น. สัตว์ชนิดหน่ึงคล้าย ล ว ศ ส ห อ ฮ 3

กระจ้ี - กระทงเกวียน กระแตแตเ่ ลก็ กวา่ ไมม่ ลี ายขน. เชอื กหาบสิง่ ของ, (ดู กระเพ่าะ ๒. ว. แคระ, แกร็น (ใช้แก่ ประกอบ). สัตว์) เช่น ม่ากระจ้อน (ม้า กระซบึ [กะ-ซบ่ึ ] ก. กระซบิ , กระซบึ ก แคระ). กระซาบ ก็วา่ . ข กระจ ี้ น. เมล็ดของตน้ แสลงใจ. กระซบึ กระซาบ [กะ-ซบ่ึ -กะ- ค ซาบ] ดู กระซึบ. ฆ กระจุกกระจิก [กะ-จุ๊ก-กะ-จ๊ิก] ก. กระดกกระดิงดา่ ง [กะ-ด๊ก-กะ-ดงิ - ง กระจุบ กระจิบ, อาการที่กิน ด่าง] ดู กระดกกระเดือ่ ง. จ พร่�ำเพร่ือ, ทีละเล็กทีละน้อย, กระดกกระเดื่อง [กะ-ดก๊ -กะ-เดื่อง] ฉ น. กระดานหก (เครื่องเล่นของ ช สง่ิ ละอนั พนั ละนอ้ ย, จกุ จกิ กว็ า่ . เด็ก) ใชก้ ระดานเรยี บพาดบน ซ กระเจยี วขาว น. กระเจียว, ชื่อไม้ คานแล้วนง่ั ที่ปลายทั้งสอง ใช้ ฐ เท้ายันพื้นถีบให้กระดกทีละ ฒ ล้มลุกชนิด Curcumapa ขา้ ง, กระดกกระดงิ ดา่ ง, กระดก ด viflofa Wall. ในวงศ์ กระโด,่ กระดกดงิ ดา่ ง, เงาะเหงบิ , ต Zingiberaceae ลักษณะ อเี หงบิ องี บั กว็ า่ , ถน่ิ อสี านใชว้ า่ ถ คล้ายต้นกระชาย ช่อดอก ดบุ เดอื่ งดอ้ ง. ท เป็นช่อตั้ง รูปคล้ายทรง กระดกกระโด่ [กะ-ดก๊ -กะ-โด]่ ๑. ดู ธ กระดกกระเด่ือง. น กระบอก ดอกสีขาว ใช้ ๒. ก. พดู ติด ๆ ขัด ๆ, พดู บ ประกอบอาหารได้, ถ่ินเหนือ ตกหล่น, พูดไมช่ ัดถอ้ ยชัดค�ำ. ป เรียก กระเจียวโคก, ถิ่น ผ กระดกกระโด่ ฝ อีสานเรียก กระชายดง. พ กระเจ้าะ ก. กระแซะ, เบียดเข้าไป, กระดกดงิ ดา่ ง [กะ-ดก๊ -ดิง-ดา่ ง] ดู ฟ กระดกกระเดื่อง. ภ ขยบั เขา้ ไป. ม กระแจนแวน น. นกกระแวนหรอื กาแวน, กระดง้ ม่อน น. กระด้งมอญ, กระด้ง ย ร ถิน่ อสี านเรียก แจนแวน. ฤ กระชงิ น. ปลากระทงิ . ล กระเชอเรว็ น. กระเชอไม่มหี ู ใช้ตกั ว หรือตวงข้าวได้รวดเร็วแต่ใช้ ศ หาบไม่ได้, กระเชอเลว กว็ า่ . ส กระเชอเลว ดู กระเชอเร็ว. ห อ กระเชอหู น. กระเชอมหี ูส�ำหรับรอ้ ย ฮ 4

พจนานุกรม ภาษาโคราช ขนาดใหญ.่ กระดูกอึ่งใหญ่ น. กระดูกอึง่ , กระดกู ก กระดอลงิ น. นกหรอื เครอ่ื งสบั แกป๊ ปนื เขียด, แกลบหน,ู แกลบหูหน,ู ข แปรงหูหน,ู องึ่ ใหญ่; ไมพ้ มุ่ ใน ค (มลี กั ษณะคลา้ ยอวยั วะเพศของ วงศ์ Leguminosae ชนิด ฆ ลงิ ตวั ผ)ู้ . Denmo dium lanceolatum ง กระดานปีบ น. ฝาปีบน�ำมาทำ� เปน็ ท่ี (Dunn) Schindl. สูงประมาณ จ ใช้เขียนหนังสือแทนกระดาน ๑-๒ เมตร ใบรูปไข่ โคนใบ ฉ ชนวน. สอบ ชอ่ ดอกสน้ั ออกตามง่าม. ช กระดาษหนังหมู น. กระดาษที่ผิว ซ กระดาษขรุขระเหมือนหนังหมู กระเดน็ กระดอน ก. เคลื่อนจากทเ่ี ดมิ ฐ ใช้ส�ำหรับวาดภาพ. หรือแตกออกจากท่ีเดิมแล้ว ฒ กระดา่ ว ก. กระแด่ว, ระดา่ ว, ด้ินส่ัน ส ะ ท ้ อ น ข้ึ น โ ด ย เ ร็ ว เ พ ร า ะ ด รวั , ดิ้นอยู่กบั ท.่ี กระทบส่งิ ใดส่ิงหนง่ึ อย่างแรง. ต กระดเ่ี คียงขอน ก. อาการทช่ี ายร�ำ ถ กางแขนกว้าง หญิงร�ำกาง กระต้องกระแตง้ ว. กระตุ้งกระต้งิ ท แขนแคบอย่ใู นวงแขนชาย ใน เชน่ ทำ� กระต้องกระแต้ง อยู่ ธ ลักษณะเคลียคลอ, (ดู ช้าง เหมอื นแตงคอกระติ๊ก (เพลง น เทียมแม่ ประกอบ). กอ้ ม). บ กระดดื ก. กระดืบ, อาการท่คี ่อย ๆ ป คบื ไปอย่างหนอน. กระเตน้ ก. กระโดด, เตน้ มกั ใช้กับ ผ กระดูก (ปาก) ว. คดิ ราคาแพง. กระโดด เป็น กระโดดกระเตน้ , ฝ กระดูกกระเดย้ี ว น. กระดูก. กะเต้น กเ็ ขียน, เชน่ ลกู ไม่ พ เหลน่ กะเต้นข่นึ หลงั คา (ลกู ไม้ ฟ กระดกู อ่งึ ใหญ่ เลน่ เตน้ ขนึ้ หลงั คา) (เพลงกลอ่ ม ภ ลกู ). ม ย กระถด [กะ-ทด] ก. กระเถิบ, เขยบิ ร เช่น กระถดเข้าใกล้ ปราศรยั ฤ ด้วยดี ยายจงปรานี ขา้ นบ้ี ้าง ล รา (น.ิ รูปทอง). ว ศ กะโถก ดู กระโทก ๒. ส กระทงเกวียน [กะ-ทง-เกียน] น. ห อ กระทงเพชร; ไมต้ ดิ ขวางรอง ฮ 5

กระทงเหว - กระเบาใหญ่ แคร่เกวียน เพ่ือยึดติดไม่ให้ ไมต่ อ้ ง การออก เชน่ แยก แคร่แยกออกไป (แครเ่ กวยี น), ปลายข้าวหรือข้าวเปลือกออก ทวก กว็ า่ . จากข้าวสาร, (ดู กระทกิ และ ก กระทงเหว น. ปลากระทงุ เหว. กระไท ประกอบ). ข กระทอ่ มนา ดู เขียงนา. กระทิยอบ [กระท่ยิ อบ] น. ไมยราบ, ค กระทืบยอด, กระทบื ยอบ; ไม้ ฆ กระท่อมห่อมสะหนำ� น. กระท่อม, ล้มลุก ๓ ชนิด คือ Biophy ง บา้ น, ท่อี ยูอ่ าศยั , ถ่นิ ใตใ้ ช้ว่า tumadiantoides Wight ex จ หน�ำ หมายถึง เพิงสำ� หรบั พกั Edgew. et Hook. f., B. ฉ petersianum Klotzsch และ ช ในสวนยาง. B. sensitivum (L.) DC. ใน ซ กระทะดำ� งวมดิน [กะ-ท่ะ-ด�ำ-งวม- วงศ์ Oxalidaceae ต้นเล็ก ๆ ฐ ใบคล้ายใบผักกระเฉด ดอกสี ฒ ดิน] (ปริศ) น. ขี้ควาย. เหลือง เมือ่ ถูกกระเทือนจะหุบ ด กระทา น. คราดท่ีท�ำด้วยไม้แผ่น ได้, นกเขาเง้า กเ็ รียก, ดู กา้ น ต สี่เหลี่ยมมีด้ามส�ำหรับถือ ใช้ ของ ประกอบ. ถ เกล่ียส่ิงของ เช่น ขา้ ว, ระทา กระทุ่มโคก น. กระทุ่ม, กระทมุ่ นา; ไม้ ท กว็ า่ . ต้นขนาดกลางและขนาดใหญ่ ธ ชนดิ Mitragynahirsuta Hav น กระทาเกลอื น. ข้ีทา, ข้กี ระทาเกลือ; หรอื Anthocephalus chin บ คราบเกลอื ท่ีผดุ แห้งเกรอะขาว ensis (La m.) A. Rich. ex ป ตามผวิ ดนิ , ขี้กะทา ก็วา่ . Walp. ในวงศ์ Rubiaceae ผ ใบเป็นคู่ตามกิ่ง ดอกสีเหลอื ง ฝ กระทายหิน ดู เลนเต. ออ่ นเปน็ ชอ่ กล่ินหอม ใช้ท�ำ พ กระทกิ [กะ-ทก่ิ ] ก. กระทก, อาการที่ เสากระดาน และเยื่อกระดาษ. ฟ กระทู้ [กะ-ท]ู่ น. หลัก, เสาที่ปักเปน็ ภ ยกกระด้งข้นึ ลงและกระตกุ ถ่ี ๆ แนวร้วั เพ่ือแสดงเขต เช่น กระ ม เบา ๆ เพอ่ื แยกสงิ่ ทไี่ มต่ อ้ งการ ทรู่ วั่ (เสาร้วั ). ย ออกจากขา้ วสารหรอื แปง้ ทต่ี ำ� . กระทเู้ จด็ แบก [กะ-ท-ู่ เจด๊ -แบก] ดู ร กระทิกกระไท [กะ-ทิ่ก-กะ-ไท] ก. ฤ อาการท่ีย้ายกระด้งไปซ้ายที ล ว ขวาทีท�ำเหมือนกับการร่อนคือ ศ ยักไปย้ายมาสลับกับการยกข้ึน ส ยกลงหรือกระตุกอย่างถ่ี ๆ ห อ เบา ๆ เพอ่ื แยกกากหรือส่งิ ท่ี ฮ 6

พจนานุกรม ภาษาโคราช กระเบือ. ด้านลา่ งของกระดง้ . ก กระทเู้ พลง [กะ-ทู-่ เพลง] น. ท่อน กระบกหนิ [กะ-บก๊ -หนิ ] น. ช่อื ไม้ต้น ข ค หรือตอนเพลงโคราชที่เดิน ชนดิ Elaeocarpus lancea ฆ กลอน. efolius Roxb. ในวงศ์ Elaeo ง กระเทนิ ดู กะเทิน. carpaceae นักพฤกษศาสตร์ จ กระแทกกล้า ก. กระแทกต้นกล้าข้าว เรียก พพี า่ ย, ถ่นิ เหนอื เรียก ฉ ใหโ้ คนต้น (ตีนกลา้ ) เสมอกนั ยาขบงู. ช เพื่อมดั เปน็ ฟ่อน. กระบะ [กะ-บะ๊ ] น. ชามทำ� ดว้ ยโลหะ ซ กระแทกอกั [กะ-แทก-อกั่ ] ก. กระทบ เคลือบส�ำหรับใส่อาหาร ถ้า ฐ โดยแรงจนมีอาการจุก. ขนาดใหญ่เท่ากะละมัง เรียก ฒ กระโทก ๑. น. ชอื่ เดิมของอำ� เภอ ว่า กะบ๊ะใหญ.่ ด โชคชยั ปัจจบุ นั เปน็ อ�ำเภอหนงึ่ กระบะใหญ่ [กะ-บะ๊ -ไหย่] ดู กระบะ. ต ในจังหวดั นครราชสีมา. กระบาน น. ภาชนะสานด้วยไม้ไผ่ ถ ๒. น. ผ้าท่ผี ูกเปน็ หอ่ หรอื ถงุ ใส่ คล้ายกระด้ง หรือเข่งปลาทู ท สง่ิ ของ แลว้ คล้องไว้ทีค่ อ, กะ โตกว่าจานใช้ใส่ข้าวกินแทน ธ โถก ก็ว่า. จาน เช่น เหน็ กระบานทพี่ ระ น ๓. น.ตน้ ไมช้ นดิ หนงึ่ ใบคล้าย สานไวก้ ินข้าว (น.ิ พระปาจิต), บ ผกั หวานแต่เปน็ พิษหรอื เมา. พริกเกลือปลาร้าเก็บใส่กระ ป กระไท [กะ-ไท] ก. กระทาย, ร่อน บาน เม่อื จนลงนัน้ จะได้หงุ กิน ผ พลางกระตุกพลาง, อาการที่ (น.ิ รปู ทอง), ถนิ่ อีสานใชว้ า่ กะ ฝ ย้ายกระด้งไปซ้ายทีขวาทีท�ำ เบียน. พ คล้ายกับการร่อน คือยักไป กระบัดใจ [กะ-บ๊ัด-ไจ] ว. บัดใจ, ฟ ย้ายมาอย่างถี่ ๆ เบา ๆ บาง ประเดยี๋ ว, ทนั ใด เชน่ กระบดั ใจ ภ คร้ังสลับกับฝัดเบา ๆ หรือ กถ็ ึงฝั่งนทีท่ีตะงอย (นิ.พระ ม กระตุกถ่ี ๆ เพื่อแยกสิ่งไม่ ปาจิต). ย ตอ้ งการทปี่ นมา เชน่ แยกขา้ ว กระเบาใหญ่ น. กระเบา, กระเบาน�ำ้ ; ร เปลอื กออกจากขา้ วสาร โดย ชื่อไม้ต้นชนิดหนึ่งในกลุ่มต้นไม้ ฤ ข้าวเปลือกจะรวมกันอยู่ด้าน กระเบาชนิด Hydnocar pu ล บน ส่วนข้าวสารจะรวมกันอยู่ santhelminticus Pierre ใน ว ศ ส ห อ ฮ 7

กระเบอื - กระเหม่น วงศ์ Bixaceae ดอกสีขาว กระเป๋าแห้ง [กะ-เปา๋ -แหง่ ] (ปาก) ว. นวล ผลกลมมีขนสนี ้�ำตาลกนิ ในกระเปา๋ ไม่มีเงนิ . ไ ด ้ เ ม ล็ ด มี น�้ ำ มั น ใ ช ้ แ ก ้ โ ร ค กระแป ้ น. ภาชนะคอยาวคลา้ ยคนโท ก ผิวหนงั . ข กระเบืกอระนบ.อื ; กระบือเจ็ดตัว, ล้ิน ใช้ใสเ่ หล้าหรอื น้�ำ. ค ไมพ้ ุม่ ขนาดย่อมชนิด กระโปก น. กระดอ, อวัยวะเพศชาย ฆ Excoecaria cch in chinen ง sis Lour. ใ๑น-ว๒งศเม์ Eตuรpใhบoคrbลi้าaย- หรอื สตั ว์เพศผ.ู้ จ ceae สงู กระโปกอุ้ง น. ไส้เลื่อน, ฉ ใบพิกุล ด้านบนสีเขียวด้าน ช ล่างหรือท้องใบสีแดงเลือด ช่ือโรคล�ำไส้เลื่อนลงในช่อง ซ อัณฑะ. ฐ กระพวม ดู ก�ำพวม. ฒ กระเพาะ [กะ-เพา่ ะ] น. กระเชอมี ๔ หู ด หมู ดอกสีเหลือง ผลเล็ก ส�ำหรับร้อยเชือกหาบสิ่งของ, ต ประมาณ ๓ พู ใช้ทำ� ยา ขับน�้ำ กระเชอหู กว็ า่ . ถ คาวปลา แก้สันนิบาตเลือด, กระรอกกระแต น. การเลน่ อย่างหนึง่ ท ใบท้องแดง หรือ กระทู้เจ็ด แบง่ ผ้เู ล่นออกเป็น ๒ ฝา่ ย ธ เท่า ๆ กนั ยนื เปน็ แถวหนั หน้า น แบก ก็ว่า. เข้าหากนั หา่ งพอสมควร ให้ บ แถวแรกเปน็ กระรอก อกี แถว ป เปน็ กระแต มีคนหน่ึงยนื ตรง ผ กลาง ห่างจากแถวท้งั สอง ๑ ฝ ก้าวเพ่ือคอยสั่งว่า กระรอก พ หรอื กระแต ถา้ สง่ั วา่ “กระรอก” ฟ ฝ่ายท่ีเป็นกระรอกจะว่ิงไปแตะ ภ กระแตฝ่ายกระแตจะว่ิงหนี ม ถ้าส่ังวา่ “กระแต” ฝ่ายกระแต ย กระเบอื จ ะ วิ่ ง ไ ล ่ แ ต ะ ก ร ะ ร อ ก ฝ ่ า ย กระรอกจะว่ิงหนีสลับกันไปเช่น ร กระป๋องน้อยห้อยตาไม่มีคนตักมันก็ น้ี ฝ่ายใดแตะไดม้ ากท่ีสุดเป็น ฤ เตม็ [กะ-ปอ๋ ง-นอ่ ย-หอ่ ย-ตา- ฝา่ ยชนะ. ล ว ไม่-มี-คน-ตั๊ก-มัน-ก็-เต็ม] ศ (ปรศิ ) น. มะพรา้ ว. ส กระเปา๋ ฉีก (ปาก) ว. จา่ ยมากจนเงิน ห อ หมดกระเปา๋ . ฮ 8

พจนานุกรม ภาษาโคราช กระวายวน ก. กระวายกระวน, กระวน พระยารามฟังความกระหนัก ก กระวาย, เรา่ รอ้ น เช่น กระวาย แน่ (นิ.พระปาจติ ). ข วนจับกระเหม่าออกเมามัว กระหมอ่ มยังไม่เตม็ (สำ� ) ยังไร้เดียง ค (สุภมิต ฯ). สา, เดก็ เมอ่ื วานซืน, เดก็ ทมี่ ี ฆ ความรู้และประสบการณ์น้อย ง กระเวน ก. ตระเวน. เปรียบได้กับทารกที่กระหม่อม จ กระสงั [กะ-สัง] น. ตน้ มะสงั มีหนาม ยงั ไมเ่ ตม็ . ฉ กระหมา่ ก. ประหม่า เชน่ ทางยายบัว ช ใบคล้ายใบมะขวิด เช่น มัน ตวั สน่ั ตกกระหมา่ (น.ิ พระปาจติ ), ซ จับเจ่าค่าบนต้นกระสัง (สุภ ลางคนเห็นยกั ษา ตกกระหมา่ ฐ มิต ฯ). หน้าคือผี (นิ.รปู ทอง), กระหมา่ ฒ กระโสบ ๑. น. ภาชนะห่อน้�ำตาลปกึ ตดั มา ฉยั ยาขดั สี (นิ.กุศราช), ด ท�ำดว้ ยกาบกล้วยแห้ง ๒ เส้น กระหม่า บ้าบ่นิ กว็ า่ . ต วางทับกันเป็นกากบาทแล้ว กระหมา่ บ้าบน่ิ ดู กระหมา่ . ถ หอ่ . ๒. ก. ขยอกกนิ อยา่ งหม.ู กระหมดุ ปลาไหล [กะ-มุด-ปา-ไหล] ท กระหกกระเหนิ [กะ-ฮก-กะ-เหิน] ว. น. ชื่อไม้เถาชนิด Genian ธ ระหกระเหนิ , ซดั เซไป เชน่ ตอ้ ง thus crassifolius Hook. f. ใน น ข่ีควายอุ่นอก กระหกกระเหิน วงศ์ Asclepia daceae. บ (นิ.พระปาจิต). กระหวาดกระเสยี ว ก. หวาดเสยี ว, กลวั ป กระหง่าน ว. ตระหง่าน. วาบในใจ เชน่ ใหป้ ระหารชวี ติ ผ กระหนกตกประหม่า [กะ-นก-ต๊ก- โดยไม่ต้องกระหวาดกระเสียว ฝ ปะ-หมา่ ] ก. ประหมา่ , พรนั่ ใจ (น.ิ เพลงศภุ มติ ร ฯ). พ เช่น กระหนก ตกประหม่า กระหัสถ์ [กะ-ฮัด] น. คฤหัสถ์, ฟ เพราะวา่ ความกลวั (น.ิ รปู ทอง). ฆราวาส, ผคู้ รองเรือน เชน่ ภ กระหนหาย ก. กระหนกระหาย, ที่ญาติโยมเป็นกระหัสถ์ได้ ม กระวน กระวาย, ทุรนทรุ าย อปุ ถมั ภ์ (น.ิ พระปาจติ ). ย เพราะความหิวกระหาย เช่น กระเหม่น ๑. ก. เขม่น, อาการทก่ี ล้าม ร น้องร้อนในพระกาย กระหน เนือ้ ตากระตกุ หรอื สน่ั เบา ๆ ฤ หายเป็นนักหนา (นิ.รูปทอง). เชื่อกันว่าจะเกิดเร่ืองไม่ดีขึ้นใน ล กระหนัก [กะ-นกั ] ก. ตระหนัก, รู้ ว ประจักษ์ชัด, รู้ชัดแจ้ง เช่น ศ ส ห อ ฮ 9

กระอบ - กลองทม่ึ เวลาข้างหน้า. พระทัยเทวี (น.ิ รปู ทอง). ๒. ก. ขะมักเขมน้ , ตัง้ ใจทำ� ให้ กรึกกรอง [กก๊ึ -กอง] ก. ตรึก เสรจ็ , (ดู ขะเมน่ ประกอบ). ก ๓. ว. รสู้ ึกไม่ชอบหนา้ หรือไม่ ตรอง, ค่อย ๆ คดิ อยา่ งสขุ มุ , ข พอใจ. กรุกกรอง, กรกุ ตรอง ก็ว่า. ค กรงึ กรา [กงึ -กา] ก. ตรงึ ตรา, ประทับ ฆ กระอบ [กะ-อ๊บ] น. ผอบ [ผะ-อบ] ใจจากการได้เห็น เช่น มิได้ ง ขนาดจะใหญ่กว่ากระอับ. (ดู คลาดคลา รดั รงึ กรงึ กรา ไมไ่ ด้ จ กระอับ ประกอบ). วางเลย (น.ิ รปู ทอง). ฉ กรบ๊ึ [กึบ๊ ] น. ลักษณะนามเรียกการ ช กระอวย น. กระถางสำ� หรบั รองใส่ ดม่ื เหลา้ แต่นอ้ ย ๆ อกึ หน่ึง ๆ ซ ของเหลว เชน่ นำ�้ ขา้ ว, นำ้� ออ้ ย. อย่างรวดเรว็ ; ก. ด่ืม (มกั ใช้ ฐ แกเ่ หล้า). ฒ กระออม น. ภาชนะใสน่ ้�ำสานดว้ ย กรุ [กุ]๊ ก. บ,ุ เอาของบาง ๆ รองขา้ ง ด ไมไ้ ผ่ทาด้วยชัน. ในปดิ กนั้ ช่องโหว่หรือช่องวา่ ง. ต กระอับ [กะ-อั๊บ] น. ตลบั , กลอ่ งมี กรุกกรอง [ก๊กุ -กอง] ดู กรกึ กรอง. ถ ลกั ษณะแบน ๆ ขนาดจะเล็ก กรกุ ตรอง [ก๊กุ -ตอง] ดู กรกึ กรอง. ท กว่ากระอบ ใชใ้ ส่สิง่ ของ เชน่ กรมุ่ ก. เฉย, น่ิงเฉย, อาการท่ที ำ� ธ สิ่งใดก็ท�ำเร่ือยไปแต่สิ่งน้ัน, น ขผ้ี ง้ึ , กระแอบ กว็ า่ , (ดู กระอบ กยุ่ กว็ า่ . บ ประกอบ). กรุษสารท [กุด๊ -สาด] โดยปรยิ าย ป กระแอบ ดู กระอบั . หมายถึงวันตรุษหรือวันสารท ผ เชน่ กรษุ๊ สง-กรานต์, ถึงกรุษ ฝ กรา่ ง (ปาก) ก. วางโต, วางกา้ ม. สารทตายายไม่ท�ำขงึ (น.ิ พระ พ กราน ๑. ก. กลัว, ขยาด. ปาจิต). ฟ ๒. ก. บาก, ฟนั ต้นไมใ้ ห้เป็น กรวน [กวน] น. ตรวน เชน่ ใส่ขอื่ คา ภ โซ่กรวนผูกพว่ งคอ (สุภมติ ฯ). ม แผลหรือเป็นรอยรอบต้นเพ่ือ กลน้ั กลืน ก. กล�้ำกลนื , ฝืนใจ, อด ย ใหต้ ้นไมต้ าย. กลัน้ ไวไ้ มแ่ สดงใหเ้ หน็ เช่น แต่ ร กราบเทา่ ว. ตราบเท่า. กลั้นกลืนขืนหักอารมณ์เสีย ฤ กราย ก. เดินผา่ น, ผา่ นมา, ชาย, ล ว เฉียด, ฉาก กว็ า่ . ศ กรำ�่ ว. อาการหน้าแดง, ตึง ๆ เพราะ ส ห ดมื่ เหลา้ . อ กรกึ [กก๊ึ ] ก. ตรกึ เช่น กรกึ กรกึ ใน ฮ 10

พจนานุกรม ภาษาโคราช (น.ิ พระปาขติ ). กล้วยจกั นวล. ก กลน้ั ดอก น. ผลิดอก, ดอกของพชื ที่ กลว้ ยโทน น. กลว้ ยชนดิ Musaglauca ข ค ก�ำลงั ออกตมู ๆ. Roxb. ในวงศ์ Musaceae นกั ฆ กลบ [ก๊บ] ก. ตรลบ, ฟุ้งไป, ปลิว พฤกษศาสตรเ์ รยี ก กลว้ ยหวั โต, ง ถน่ิ เหนอื เรยี ก กลว้ ยนวล. จ กระจาย เชน่ ฝนุ่ กบ๊ . กล้วยมะลิออ่ ง น. กลว้ ยนำ้� วา้ , กลว้ ยนิ ฉ กลบธาตุ [ก๊บ-ทาด] ดู กลบั ธาต.ุ ออ่ ง กเ็ รยี ก. ช กลบั ธาตุ [กบ๊ั -ทาด] น. การทำ� พธิ ี ซ กลว้ ยมะลิอ่อง ฐ เกบ็ อฐั ใิ ส่โกศ โดยนำ� กระดูก ฒ คนตายหลงั จากเผามาเรียง กล้วยส้ม [กว้ ย-สม่ ] น. กลว้ ยพนั ธ์ุ ด เป็นรูปคน หนั ศีรษะไปทางทิศ หนึ่งคล้ายกล้วยไข่แต่มีรสอม ต ตะวันตกแล้วนิมนต์พระมา เปรีย้ ว. ถ บังสกุ ลุ , กลบธาตุ ก็วา่ เชน่ ท ได้สามวันถ้วนค�ำรบจึงกลบ กล้วยส้มจัน [กว้ ย-สม่ -จนั ] น. กล้วย ธ ธาตุ (น.ิ พระปา จิต). พันธุ์หนึ่งมีรสออกเปรี้ยวอม น กลบั บา้ นเก่า [กบั๊ -บา้ น-เกา่ ] ก. ตาย. หวาน ผลเป็นเหลี่ยม เช่น บ กล้วยขม น. กลว้ ยพันธุ์หน่ึงมีลกั ษณะ กลว้ ยตีบและกล้วยตน้ กลว้ ย ป คลา้ ยกล้วยไข่. สม้ จันและกล้วยไข่ (น.ิ รูปทอง). ผ กลว้ ยครดู ดู ข้าวครูด ฝ กล้วยงาชา้ ง [ก้วย-งา-ช่าง] น. ช่ือ กล่องดวงใจ น. สว่ นส�ำคัญของสิง่ ใด พ กล้วยพันธุ์หนึ่งผลยาวงอน สิ่งหนึ่ง เช่น ข่าวน้ีเท่ากับ ฟ เหมือนงาช้าง. กล่องดวงใจของเจ้าอนุซึ่งฝัง ภ กลว้ ยจกั นวล [ก้วย-จ๊กั -นวน] น. ไว้ ณ ค่ายช้ันนอก ไดถ้ ูกขา้ ศึก ม กล้วยท่ีใกล้จะแก่หรือระยะท่ี บีบแตกเสยี แล้ว (ทา้ ว ฯ). ย เหลีย่ มกลว้ ยหาย ผิวจะนวล ร หรอื ขนึ้ นวล เชน่ กลว้ ยทงั้ หลาย กลองตอ๊ ก ดู กลองท่ึม. ฤ กลายหน่วยกล้วยจักนวล (นิ. กลองทึ่ม น. กลองสองหน้าขนาด ล พระปาจิต), กล้วยจับนวล, จกั ว นวล, จับนวล กว็ า่ . กลาง ๆ เวลาตเี สยี งดงั ทมึ่ ๆ ศ กล้วยจบั นวล [ก้วย-จบ๊ั -นวน] ดู ส ห อ ฮ 11

กล่อน - กอ่ นไก่โห่ ใช้ตีบรรเลงในวงกลองต๊อก, กลาด [กาด] ว. ขลาด, ไม่กล้า, กลวั . กลองตอ๊ ก กว็ า่ , (ดู วงกลอง กล่�ำผี [ก�่ำ-ผี] น. ไม้พุ่มชนิด ตอ๊ ก ประกอบ). ก กล่อน [กอ่ น] น. นว่ิ , โรคน่ิว. Sauropusorbicularis Craib ข กล่อม [ก่อม] น. ขน้ั ตอนการตีหม้อ ในวงศ์ Euphorbiaceae, ถนิ่ เลย ค เรยี ก คำ� ผีน้อย. ฆ ให้เรยี บหรือแต่งผวิ ใหเ้ รยี บ. กลิ้งโค่โล่ [ก้ิง-โข่-โหล่] ก. ล้มกลิ้ง ง กล่อมเกล้ียงเลี้ยงดู [ก่อม-เกี้ยง- ไม่เป็นท่า. จ กลนื นำ้� ลายเออื้ ก [กนื -นา่ ม-ลาย-เออ้ื ก] ฉ เล่ยี ง-ด]ู ก. อบรมเลี้ยงดู ให้มี ก. กลืนน�้ำลายอึกเน่ืองจาก ช นสิ ยั ดี. อยากกินมากหรอื โกรธแคน้ . ซ กลอ่ มมดลกู ก. การทำ� ใหม้ ดลกู เขา้ อู่ กลุกกล้ัว [กุ๊ก-กั๊ว] ก. เกลือกกล้ัว, ฐ คลุกคลีท�ำให้มีมลทิน เช่น ฒ ด้วยการใช้มือกดดันหัวเหน่า ไปพูดจากลุกกล้ัวอยู่มัวเมา ด แลว้ คลงึ ไปมา. (สุภมิต ฯ). ต กลอยหัวเหนียว น. กลอยชนดิ Dios กว้ ก ว. เสียงเกา เช่น เกาขากว้ ก, ถ coreahispida Denn st. ใน กว้ ก ๆ ก็ว่า. ท วงศ์ Dioscoreaceae มีหัว กว่ ง ว. กระจา่ ง (สว่าง), แจม่ ใส, ธ สดใส เชน่ แมค่ ่ิวก่งก่งระ่ วง น กลมขนาดใหญ่อยู่ใต้ดิน ใบ หน่าก่วงก่วง ลงท่งก้วงก้วง บ เปน็ ใบประกอบ มีใบยอ่ ย ๓ ใบ งามเอาเสียเกินเกิน (เพลง ป หัวดิบมีพิษเบื่อเมา แต่ถ้าท�ำ โคราช), เดอื นหงายกว่ ง (เดอื น ผ หงายกระจา่ งสวา่ งสดใส). ฝ ถูกวิธีการและน�ำมาท�ำให้สุก กวด ก. ตรวจ. พ สามารถกินได้. กว๊ ด ก. ขว้าง, ปา, เหวยี่ ง. ฟ กล้ันกลืน [กน้ั -กืน] ก. กลำ�้ กลนื , ฝนื ใจ กวดก๋วย ก. ปดั ให้พ้นไป. ภ เชน่ แตก่ ลน้ั กลนื ขนื หกั อารมณ์ กวดก๋วยสวยเสีย ก. ตายอย่าง ม เสยี (น.ิพระปาจติ ). กะทันหัน. ย กลว้ั คอ [กั้ว-คอ] ก. ด่มื นำ้� แต่นอ้ ยลง กวดทหาร ก. คดั เลอื กทหารเกณฑ,์ ร ไปเพียงล�ำคอ ทำ� เสยี งครอก ๆ เกณฑ์ทหาร. ฤ ล ว แลว้ บว้ นออก. ศ กลางวนั ยนื กลางคนื นอน (ปรศิ ) น. ส ห บนั ได; สมยั กอ่ นกอ่ นจะนอน จะ อ ลากบนั ไดขนึ้ เรอื นวางนอนไว.้ ฮ 12

พจนานุกรม ภาษาโคราช กวดหม่ี น. การละเลงแปง้ โดยเอากน้ ก๋อง ดู กอง. ก ขนั ละเลงใหก้ วาด ในลกั ษณะวน กอ้ งแขน น. กำ� ไลมือ. ข เปน็ วงกลมใหเ้ ปน็ แผน่ เมอ่ื สกุ กองเป็นภเู ขาเหลา่ กา ว. สมุ กองเปน็ ค จึงน�ำไปผ่ึงแดดก่อนน�ำไปหั่น ฆ หรอื ซอยเปน็ เสน้ , ถหู ม่ี กว็ า่ . ภูเขาเลากา, สุมกันมากมาย ง เป็นกองสูง. จ กว้ ยเตย๋ี ว น. กว๋ ยเตยี๋ ว, กะเตยี๋ ว กว็ า่ . กองพอน น. กองฟอน, กองขี้เถ้าศพท่ี ฉ กวกั น�ำ้ [กว๊ ก-นา่ ม] ก. ควำ่� อุ้งมือวดิ เผาแลว้ , ถิน่ อีสานใช้ว่า กอง ช ฟอน. ซ หรือวักนำ�้ เข้าหาตัว. กองพะเนินเทินทึก [กอง-พะ-เนิน- ฐ กวักไหม [กว๊ ก-ไหม] ก. ปนั่ ไหม, เทิน-ท่ึก] ว. สุมกันเป็นกอง ฒ มากมาย, กองเป็นภูเขาเหล่า ด ท�ำใหเ้ ป็นเสน้ ไหม. กา ก็ว่า. ต กว่าจิเลี้ยงใหญ่ต้องกินขี้เท่ากะโหลก กอ้ งโพละ ดู ตมุ้ บก. ถ กองแล น. หน่วยท่ีคอยตรวจตรา ท [กวั่ -จ-ิ เลย่ี ง-ไหย-่ ตอ้ ง-กนิ -ข-ี่ ดูแลภยนั ตราย เชน่ จึงตัง้ กอง ธ เทา่ -กะ-โหลฺ ก] (ส�ำ) ก. กวา่ จะ แล ผันแปรออกมา คอยสอ่ ง น เลี้ยงจนเติบใหญ่ต้องล�ำบาก มองหา ดูภยั อนั ตราย (นิ.รปู บ ยากเยน็ เพราะต้องเช็ดข้เี ยย่ี ว ทอง). ป ; เปรียบเมือ่ เปบิ ข้าวด้วยมือก็ กองเอเ้ ล่ น. กองอยูท่ นโท่. ผ กินขี้ท่ีติดมากว่าจะโตก็มาก กอดกนั กลมดกิ [กอด-กนั -กม-ดก๊ิ ] ก. ฝ เทา่ กบั กะลา. กอดกนั จนแทบเปน็ คนเดยี วกนั . พ กวา่ .....ปีกลาย [ก่วั .....ปี-กาย] ว. ใช้ กอดกงุ่ ก. ข่ีหลังแล้วกอดใหแ้ นน่ , (ดู ฟ ประกอบจ�ำนวนปีมีความหมาย กุ่ง ประกอบ). ภ ว่า.....ปกี ว่า ๆ, ....ปตี น้ ๆ เช่น กอดจอด ๑. ก. น่ังกอดเขา่ . ม ถ้าจะคิดเวลาที่ร่วมประเพณี ๒. ว. จด, จรด. ย ววิ าหก์ บั เจา้ คณุ สามีกก็ ว่า ๑๐ กอ็ ดล็อด ว. สัน้ , สนั้ จ,ู๋ กอ็ ดลอ็ ดแก็ด ร ปกี ลาย (ทา้ ว ฯ). แลด็ กว็ า่ . ฤ กอ็ กลอ็ กแก็กแลก็ ว. ทำ� อะไรจุกจกิ ก็อดล็อดแกด็ แล็ด ดู กอ็ ดล็อด. ล เล็ก ๆ น้อย ๆ, ทำ� อะไรไมเ่ ปน็ กอ่ นไกโ่ ห่ (สำ� ) ว. กอ่ นเวลา. ว ชิ้นเป็นอัน. ศ กอง น. กำ� ไล เชน่ กำ� ไลขอ้ เทา้ , กำ� ไล ส ขอ้ มอื , ออกเสยี งเปน็ กอ๋ ง กม็ .ี ห อ ฮ 13

ก้อนล่อน - กะตร้า กอ้ นล่อน ว. ส้นั (มักใชแ้ กห่ างสตั ว์). กะจอ่ งก่อง ว. ผอมโซ. กอ๊ ฟฟ่ี ดู กะฟ.ี่ กะจอ่ งหง่อง ๑. ว. ส้นั ผดิ ปกต.ิ กอ้ ม ว. สน้ั , ป้อม, กลม ๆ เช่น นิทาน ๒. ก. น่งั ชนั เขา่ ถงึ ห.ู ก ก้อม (นทิ านสั้น ๆ), เพลงกอ้ ม กะจอ่ บ ก. เขา้ ใกล,้ กระเถิบเข้าใกล.้ ข (เพลงพน้ื บ้านสน้ั ๆ). กะจอยงอย ว. ซมึ เศร้า; ก. น่งั ชนั เขา่ ค ฆ ก้อมก้อลอดขอน น. ชอ่ื ไมล้ ม้ ลกุ ถึงหู, นัง่ ยอง ๆ อยา่ งซึมเซา. ง เลอ้ื ยชนดิ Tylophorarotundif กะจอยฮอย กว็ า่ . จ olia Hm. ex Wight. ในวงศ์ กะจอยฮอย ดู กะจอยงอย. ฉ กะจา ว. ครงึ่ ๆ กลาง ๆ, ครง่ึ สกุ ครง่ึ ช Asclepiadaceae. ดบิ , หา่ ม, กำ� ลงั พอเหมาะพอดี ซ กอ้ มกกี้ อ้ มแกม้ ก. พดู โกหก, พดู เลน่ ๆ, เชน่ เขา่ เหมา่ กำ� ลงั กะจา (ขา้ วเมา่ ฐ ไมแ่ กไ่ มอ่ อ่ นกำ� ลงั พอด)ี . ฒ โกหกพกลม. กะจ้ี น. ตน้ แสลงใจ. ด กอ้ มแกม้ ว. ลกั ษณะเชอื่ งชา้ , เลก็ ๆ กะเจอกะจา ๑. ก. เอะอะ, โวยวาย, ต นอ้ ย ๆ, พดู ออ้ ม ๆ แอม้ ๆ เพอ่ื พูดให้คนอ่นื ได้ยิน. ถ ใหผ้ า่ นไปหรอื ทำ� เพอื่ ใหพ้ น้ ตวั . ๒. น. เดก็ อยูใ่ นวัยกำ� ลงั หดั ท กอ้ ยขโมย (ปาก) น. อาหารจำ� พวก พดู . ธ กะเจ้อะ ดู กะเจบ้ิ . น พลา่ ท�ำจากเนื้อสดช้ินโต ๆ. กะเจา้ ะเม่าะแมะ่ ว. ท�ำอะไรไม่เป็นช้นิ บ กอยศพ [กอย-ซบ] ก. ตราสังศพ, เปน็ อนั . ป กะเจ้ิบ ก. ย่�ำของเหลวอย่างถี่ ๆ, ผ มดั ศพเป็นเปลาะ ๆ ตามจุด กะเจอ้ ะ ก็วา่ . ฝ ท่ีก�ำหนด. กะเจยี้ ว น. อวยั วะเพศของเด็กชาย. พ กะ [กะ๊ ] ๑. บ. กบั , ท่ี เช่น มาก๊ะใคร กะแจะ้ ก. นง่ั กบั พนื้ , นงั่ กน้ ตดิ พนื้ , นง่ั แอบ ฟ หรอื แนบชดิ กนั , นงั่ กระแซะกนั . ภ (มากบั ใคร), กะ๊ บ้าน (ทีบ่ า้ น), กะชอก ก. เขยา่ , จบั สั่นหรือคลอน. ม ก๊ะไหน (ทไ่ี หน), ต๊ะ ก็วา่ . กะฉวย ก. ฉวย, คว้า. ย ๒. ว. คละกนั ท้ังขนาดเลก็ กะฉยุ่ ๑. น. ใชเ้ ทา้ ทอยสง่ิ ของให้เรียด ร ขนาดใหญ่ ทัง้ ดแี ละไมด่ ี. หรือเรย่ี พ้ืน. ฤ กะจ๊อกกะแจก๊ [กะ-จอ้ ก-กะ-แจก้ ] ว. ล ว กระจุกกระจกิ , เล็ก ๆ นอ้ ย, ศ กะจอ๊ กมอ็ กแมก็ ก็วา่ . ส กะจอ๊ กมอ็ กแมก็ [กะ-จอ้ ก-มอ่ ก-แมก่ ] ห อ ดู กะจ๊อกกะแจ๊ก. ฮ 14

พจนานุกรม ภาษาโคราช ๒. ก. ท่าหนึ่งของการเล่น กะด่อนกะแดน่ ว. กะดำ� กะด่าง, ด�ำ ๆ สะบ้า, กะสยุ่ ก็ว่า, (ดู สีบ้าสี ด่าง ๆ, สไี มเ่ สมอกนั . รอย ประกอบ). กะดงั กะดว้ิ น. ชือ่ ไม้เถาในกล่มุ ต้น “กะตังกะติ้ว” ชนิด Paraba ก กะชาด ดู โม.่ rium micranthumPierre ใน ข กะชุ่น น. ทุ่น, สิง่ ทีล่ อยนำ�้ ส�ำหรบั ให้ วงศ์ Apocynaeae เปน็ พืชมี ค นำ้� ยาง, ถนิ่ เหนอื เรียก ยางยืด. ฆ สิ่งอ่ืนเกาะหรือพยุงเพื่อให้ลอย กะดาย ดู กด็ าย. ง น�ำ้ เชน่ กระช่นุ เบ๊ด (ทุ่นเบด็ ). กะดนิ หนุ ดู ดินหุน. จ กะซวย ๑. น. กรวย. กะดกึ [กะ-ด๊กึ ] ก. อาการส�ำลกั น�้ำ, ฉ ๒. น. กระสวย, เคร่ืองบรรจุ ด๊ึก ก็วา่ เช่น ตั่วสนั่ รกึ กลวั จะ ช ดา้ ยส�ำหรบั ทอผา้ หรือเยบ็ ผ้า. ดกึ พระคงคา (นิ.พระปาจิต). ซ กะซอก น. ซอก, ช่องแคบ ๆ. กะดึง น. สะดงึ . ฐ กะซุดกะซาด [กะ-ซุ่ด-กะ-ซ่าด] ว. กะดบึ [กะ-ดึ๊บ] น. ผล,ิ แตกออก, ลดั ฒ ซูดซาด, เสียงอย่างเม่ือเวลา (ใชแ้ กพ่ ชื ) เชน่ สะเดากำ� ลงั กะดบึ๊ ด กินของเผ็ด. ยอด (สะเดากำ� ลงั แตกยอด). ต กะเซะ [กะ-เซ่ะ] ก. อาการที่น�ำ้ ตาไหล กะเดก้ ว. เปก๊ , แขง็ มาก ใชป้ ระกอบคำ� ถ พราก, กะเซะ ๆ, เซะ, ระเซะ “แขง็ ” วา่ แขง็ กะเดก้ (แขง็ เปก๊ ). ท ก็ว่า. กะเดา๊ ะ ว. ริอ่าน, ริ, เร่มิ คดิ อา่ น, ท�ำ ธ กะเซะ ๆ [กะ-เซ่ะ-กะ-เซ่ะ] ดู กะเซะ. แปลกกว่าธรรมดา, เดา๊ ะ ก่า. น กะโซ่ น. โชงโลง, เครอ่ื งวดิ นำ�้ รปู รา่ ง กะแด้ง น. แคระ, แกรน็ . บ คล้ายเรือครึ่งท่อนมีด้ามถือผูก กะแดนหุน ดู ดินหุน. ป แขวนไวก้ บั ขาหยง่ั ๓ ขา แลว้ จบั กะโดกกะเดก ก. เก้งกา้ ง, มีบคุ ลกิ ผ ด้ามวิดน�ำ้ ตามตอ้ งการ, ปงุ โซ,่ ทา่ ทางเกะกะ. ฝ โจงโลง, ชา่ งโลง, องุ้ พงุ่ กว็ า่ . กะโดน ก. โดน, พ กะฏิ [กะ-ต]ิ๊ น. กุฏิ. กระทบ, ชน. ฟ กะดอ้ กะแด้ ว. กระทอ่ นกระแทน่ , ไม่ กะตรอ้ น. ตะกร้อ. ภ ต่อเน่ือง เช่น พอแต่ขนึ่ บนั ได กะตร้า น. ตะกร้า, กะตรอ้ ม หันใจกะด้อกะแด้ มัวมองลูก ย ของแม่แทบจะต๊กฮกกระได ภาชนะสานส�ำหรับใส่ส่ิงของมี ร (เพลงโคราช). ฤ ล ว ศ ส ห อ ฮ 15