Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore การปลูกแอปเปิ้ล

Description: การปลูกแอปเปิ้ล

Search

Read the Text Version

การปลกู แอปเปล้ิ กรมส่งเสรมิ การเกษตร

การปลกู แอบเปลิ้ ลักษณะทั่วไป แอปเปิลเป็นไม้ผลเมืองหนาวประเภทผลัดใบ ซึ่งมีแหล่งกําเนิดทางยุโรป แหล่งปลูกที่สํ าคัญๆ ของโลก คือ ทวปี อเมรกิ า ยุโรปทางแถบเอเซียก็มี เชน่ โซเวียต จีน ญป่ี ุ่น รวมทงั้ ออสเตรเลยี และนวิ ซีแลนด์ด้วย สํ าหรับประเทศไทยนน้ั เพ่ิงจะถกู นํ าเข้ามาปลกู ไม่กี่ปีนีเ้ องลกั ษณะตน้ และใบ เป็นไมเ้ น้ือแขง็ รปู ร่างของยอดทเี่ จรญิ เตม็ วัยจะแตกตา่ งไปตามชนิด และตามพันธุ์ โดยทั่วไปต้นแอปเปิลมีรูปร่างเกือบเป็นทรงกลม แต่บางพันธุ์ก็มีลักษณะสูงชลูด บางพันธุ์ก็มีลักษณะเป็น พมุ่ แจ้ ใบเปน็ ใบเดยี่ วเขยี วสลับกนั และขอบเปน็ หยัก ผลคล้ายชมพมู่ ีรอยเปน็ ปุ๋มทางดา้ นขั้นและก้นผล แต่ไม่ลึกนักมีสีผิว ตา่ งกันตง้ั แต่สีเหลอื งคล่ํ าจนถึงนํ้ าตาลแดงเขม้ เนือ้ มักจะมีสีขาวหรือขาวนวลซึ่งมลี กั ษณะหยาบ แอปเปลิ เปน็ พืชในสกลุ Rosaceae มีช่ือวทิ ยาศาสตร์วา่ Malus domestica สภาพดินฟ้าอากาศ แอปเปลิ เปน็ ไมผ้ ลเมอื งหนาวที่ตอ้ งการอากาศหนาวเยน็ อันยาวนาน โดยจะทํ าใหร้ ะยะพกั ตัวยุติลง โดยอุณหภูมิ ที่เหมาะสมคือ 60-85 องศาฟาเรนไฮต์ ถ้าอุณหภูมิตํ่ ากว่า 20 องศาฟาเรนไฮต์ จะเป็นอันตรายต่อระบบรากอย่างรุนแรง สํ าหรับดินที่เหมาะสมกับการปลูกแอปเปิล ควรเป็นดินร่วนปนทรายมีความเป็นกรด-ด่างประมาณ 5.0-6.8แต่แอปเปิล ไม่ชอบดินที่มีนํ้ าขังบริเวณราก พนั ธุ์แอปเปิ้ล พันธุ์แอปเปิล มีประมาณ 2,000 พันธุ์ แต่ที่ดีและนิยมปลูกมีเพียง 4 พันธุ์ คือ 1. พันธุ์แอนนา เป็นพันธุ์ที่ผสมขึ้นมาในประเทศอิสราเอลเมื่อผลแก่จัดจะมีสีเหลืองสดขนาด ใหญ่ปานกลาง รูปผลค่อนข้างยาว 2. พันธุ์เอนเชเมอ ผลค่อนข้างกลมขนาดเล็กว่า แอนนา เล็กน้อย สีเหลืองจัด ทั้ง 2 พันธุ์นี้ ปลูกที่ดอยอ่างขางเริ่มจะให้ผลแล้ว 3. พันธุ์ โรม บิวตี้ เป็นพันธุ์ที่ปล่อยละอองเรณูหลังจากที่ออกช่อดอกเร็วที่จะu3626 สามารถรับเชื้อ ได้ ดังนั้น พันธุ์นี้จึงไม่มีประโยชน์ที่จะใช้เป็นตัวถ่ายละอองเรณูแก่พันธุ์อื่นๆ ได้ 4. พันธุ์ แกลนด์ อเลกเซนเตอร์ การขยายพันธ์ุ การขยายพนั ธแ์ุ อปเปลิ ทํ าไดห้ ลายวธิ ี เชน่ การตดิ ตา ตดั กง่ิ วธิ กี ารทํ ากเ็ รม่ิ จากเตรยี มตน้ ตอ ซง่ึ อาจจะไดม้ าจากการ ตอนหรอื ปกั ชํ า แตม่ วี ธิ กี ารเตรยี มตน้ ตอซง่ึ จะไดจ้ ํ านวนมากและระยะเวลารวดเรว็ กค็ อื ทํ าโดยปลกู แอปเปลิ ลงไปกอ่ น แลว้ ตดั ตน้ แอปเปลิ ใหเ้ หลอื แตต่ อ ตอจะแตกกง่ิ กา้ นสาขาออกมามากมาย เราจงึ ใชด้ นิ กลบโคนตน้ กง่ิ เหลา่ นน้ั กจ็ ะแตกรากออกมา เมอ่ื รากออกดแี ลว้ กท็ ํ าการขดุ ยา้ ยเอาไปปลกู ตอ่ ไป ตน้ ตอทใ่ี ชใ้ นประเทศไทยคอื พนั ธ์ุ เอม็ เอม็ 106 ซง่ึ เปน็ พนั ธท์ุ ค่ี อ่ นขา้ งแคระ และสามารถขยายพนั ธไ์ุ ดง้ า่ ยและรวดเรว็ นอกจากนก้ี ย็ งั มไี มป้ า่ ทใ่ี ชเ้ ปน็ ตน้ ตอไดด้ ี เชน่ มะระขห้ี นู กล้วยฤาษี ก่อเป็นต้น

การปลกู และการปฏบิ ตั ิดแู ลรักษา การปลูกแอปเปิลมีระบบการปลูกเป็น 2 แบบ คือ 1. ระบบสี่เหลี่ยมผืนผ้า ในระบบสี่เหลี่ยมผืนผ้า จะปลูกต้นไม้เป็นมุมฉากต่อกันอยู่แต่ละมุมของสี่เหลี่ยมผืนผ้า เหมาะสํ าหรับปลูกไม้แซมทํ าให้พรวนดินได้ 2 ทาง สะดวกในการดูแลรักษา และต้นแอปเปิลจะได้รับแสงแดด มากที่สุด 2. ระบบแนวระดับ ส่วนระบบแนวระดับจะปลูกตามแนวระดับทางเดียวและมักจะคดเคี้ยวไปตามระยะทาง ห่างกันอีกด้านเป็นระยะจํ ากัด ระบบนี้ช่วยลดการสึกกร่อนของดินเหมาะกับพื้นที่ที่เป็นเนินเขาหรือที่ลาดชัน การเตรยี มดิน ก็เหมือนกับการปลูกไม้ผลทั่วไป โดยขุดหลุมขนาด 1x1x1 เมตร กองดินดินบนไว้กองหนึ่ง และดินชั้นล่างไว้ อีกกองหนึ่ง นํ าปุ๋ยหมักหรือปุ๋ยคอกเก่า ๆ เทใส่ลงไปขนาดพอ ๆ กับกองดินบน ผสมคลุกเคล้าให้เข้ากันจากนั้นจึง ค่อยเอาดินล่างกลบลงไปให้มีระยะสูงกว่าปากหลุมเล็กน้อยนํ าต้นตกลงปลูกได้แล้วกลบดินบริเวณโคนต้นให้แน่น พอควรระยะปลูกที่เหมาะสม 3x3 เมตร หรือ 4x4 เมตร ในพื้นที่ 1 ไร่ จะได้ประมาณ 100-177 ต้นฤดูกาลที่ปลูก ควร ทํ าในขณะท่ีอยใู่ นช่วงพกั ตัว คอื ชว่ งฤดหู นาว ซึ่งในช่วงนี้ต้นพืชจะได้รับการกระทบกระเทือนจากการขดุ ยา้ ยน้อยทีส่ ดุ การใหป้ ุย๋ จะใหป้ ระมาณ 2 คร้งั ต่อปี โดยในช่วงเริ่มออกดอกจะให้สูตร 13-13-21 และในชว่ งหลงั เกบ็ เกย่ี วและตัดแต่งจะให้ สูตร 15-15-15 สว่ นอตั ราทใี่ ชก้ แ็ ลว้ แตข่ นาดและอายุu3586 ของการเจรญิ เตบิ โต วธิ ีการให้ปุ๋ยก็ทํ าโดยพรวนดนิ บรเิ วณ รอบทรงพุ่มแลว้ โรยป๋ยุ ลงบนบริเวณท่พี รวน จากนั้นก็ให้นํ้ าตามลงไปสํ าหรบั วธิ กี ารตา่ ง ๆ ทจี่ ะช่วยให้แอปเปิลมีดอกและ ผลกม็ ีการศึกษาทดลองกันมากมาย เช่นในประเทศอินโดนเี ซียใชก้ ารโนม้ กงิ่ และปลิดใบ เพ่อื บังคบั ให้ตาแตก จากวิธีน้จี ะ ทํ าใหแ้ อปเปลิ ออกผลได้ 2 คร้งั ต่อปี การตัดแตง่ ก่ิง การตัดแต่งกิ่งจะนิยมทํ ากันในช่วงที่ต้นแอปเปิลพักตัวคือในฤดูหนาว ซึ่งในช่วงนี้เป็นช่วงที่แอปเปิลทิ้งใบจะ สะดวกในการตัดแต่งกิ่งมาก การปลิดผล เมอ่ื แอปเปลิ ติดผลมากเกินไปก็จะทํ าใหไ้ ด้ขนาดผลทเ่ี ล็กและอาจเปน็ อันตรายแกต่ ้นได้ เพราะใช้อาหารจากต้นมาก ดังน้นั จงึ ตอ้ งมีการปลิดผลออกบา้ ง โดยคํ านึงถงึ ความแข็งแรงของตน้ กง่ิ และใบโดยปกติแลว้ ใบที่จะปรงุ อาหารมาเลี้ยงผล ไมค่ วรต่ํ ากวา่ 40 ใบตอ่ 1 ผล การห่อผล แอปเปลิ ทป่ี ลกู อยเู่ ราใชก้ ระดาษหอ่ ผลตง้ั แตเ่ มอ่ื ผลยงั มขี นาดเลก็ อยทู่ ง้ั นก้ี เ็ พอ่ื ปอ้ งกนั แมลงทอ่ี าจจะมาเจาะผลทํ าลาย และการห่อผลยังชว่ ยให้สีผลแอปเปลิ สวยสดกวา่ ดว้ ย

การปลกู พืชคลมุ ดิน ในการทํ าสวนแอปเปิลมีความจํ าเปน็ ตอ้ งทํ าในทท่ี มี่ อี ากาศเยน็ หรือสภาพภเู ขาสูง สิ่งที่จํ าเปน็ คอื พืชคลุมดิน โดยจะชว่ ยลดการชะล้างหน้าดินและยังช่วยเกบ็ ความชุ่มชื่นของดินให้อยไู่ ดน้ านทํ าให้ดนิ มคี วามอดุ มสมบูรณเ์ พ่มิ ขึ้นดว้ ย พชื ทใี่ ช้ไดด้ ีบนดอยอา่ งขาง คือ เดสโมเดียม เปน็ พชื ตระกลู ถ่วั สามารถเจรญิ เติบโตไดด้ ี โรคและแมลง การปลูกแอปเปิลในเมอื งไทยขณะนี้มศี ตั รูท่สี ํ าคัญ คือ นก ซ่ึงจะจิกผลแอปเปิลใหเ้ กิดตํ าหนิเสียหาย สว่ นศตั รูอื่นๆ เช่น โรคและแมลงกม็ ีบ้างแตย่ งั ไม่ทํ าความเสยี หายมากนกั การเกบ็ เกี่ยว แอปเปลิ ทป่ี ลกู ในประเทศไทยคอื ทด่ี อยอา่ งขาง จะเรม่ิ ออกดอกประมาณเดอื น -กมุ ภาพนั ธแ์ ละจะเรม่ิ เกบ็ ผลไดป้ ระมาณ ต้นเดือนมิถนุ ายน การเกบ็ ตอ้ งระมัดระวังใหม้ กี ารกระทบกระเทอื นนอ้ ยทสี่ ุด เพ่ือป้องกันการชอกช้ํ าเสียหายอันจะทํ าให้ ราคาตํ่ าได้ หลงั จากเกบ็ แลว้ ก็นํ าบรรจุหบี เพอ่ื สง่ ตลาดต่อไป ประโยชน์ แอปเปิลเปน็ ไมผ้ ลท่นี ยิ มรับประทานผลสด ราคาจํ าหนา่ ยก็สงู ประมาณ 12-15บาท นอกจากนีย้ งั สามารถเอาไปทํ า ไซเดอร์ และบางพันธยุ์ งั นํ าไปทํ าอาหารคาวหวานได้หลายชนดิ เช่น ไพน์ แยม เปน็ ต้น

เอกสารอา้ งองิ เอกสารวิชาการงานศึกษาไม้ผล สํานักโครงการเกษตรที่สูงมหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ บางเขน กรุงเทพมหานคร ปวิณ ปุณศรี. แนะนํ าโครงการไม้ผลเมืองหนาว. มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ บางเขน กรุงเทพมหานคร

ขอ้ มลู โดย ฝ่ายส่งเสริมการเกษตรที่สูง กรมส่งเสริมการเกษตร กระทรวงเกษตรและสหกรณ์ จดั ทำเปน็ เอกสารอเิ ลก็ ทรอนิกสโ์ ดย ศูนย์วิทยบริการเพอ่ื ส่งเสริมการเกษตร สำนักพฒั นาการถ่ายทอดเทคโนโลยี กรมส่งเสรมิ การเกษตร โทร. 0-2579-5517 E-Mail: [email protected]