Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore มนุษยธรรม

Description: มนุษยธรรม

Search

Read the Text Version

มนษุ ยธ์ รรม หลกั แหง่ ปกตภิ าพปกตสิ ุขของชวี ติ และสงั คม

มนุษยธรรม สมเดจ็ พระญาณสังวร สมเด็จพระสังฆราช สกลมหาสงั ฆปริณายก ISBN 978-616-348-608-0 พมิ พค์ รั้งที่ ๑ ท่ปี รึกษา สมเด็จพระวันรตั พระเทพปรยิ ตั วิ มิ ล กองบรรณาธกิ าร พระราชมนุ ี พระศากยวงศว์ ิสทุ ธ์ิ รศ.สเุ ชาวน์ พลอยชุม ผจู้ ัดพมิ พ์ วดั บวรนเิ วศวหิ าร พิมพโ์ ดยเสด็จพระราชกศุ ลในการพระศพสมเด็จพระญาณสงั วร สมเดจ็ พระสังฆราช สกลมหาสังฆปริณายก ผู้อปุ ถมั ภก์ ารพิมพ์ พระราชมนุ แี ละคณะศรทั ธา นสิ ติ คณะวศิ วกรรมศาสตร์ จฬุ าลงกรณม์ หาวิทยาลัย ร่นุ ๕๖ บรษิ ทั ท.ี ท.ี ทองทิพย์ เซอรว์ สิ จำ�กดั พิมพท์ ่ี

คำ�น�ำ นบั แตเ่ จา้ พระคณุ สมเดจ็ พระญาณสงั วร สมเดจ็ พระสงั ฆราช สกลมหาสังฆปริณายก สิ้นพระชนมเ์ มื่อวนั ที่ ๒๔ ตลุ าคม พ.ศ. ๒๕๕๖ และเชญิ พระศพมาประดษิ ฐาน ณ พระต�ำ หนกั เพช็ ร เมอื่ วนั ที่ ๒๕ ตลุ าคม พ.ศ. ๒๕๕๖ ไดม้ พี ทุ ธศาสนกิ ชนและสาธชุ นมาถวายความ เคารพพระศพเปน็ จ�ำ นวนมาก ทง้ั กลางวนั และกลางคนื ต่อเน่ืองมา ตง้ั แตบ่ ดั นน้ั จนบดั น้ี แสดงถงึ พระบารมธี รรมของเจา้ พระคณุ สมเดจ็ ฯ ท่ีปกแผ่ไปยังพุทธศาสนิกชนและสาธุชนทุกหมู่เหล่าและแสดงถึง ความเคารพนับถือท่ีพุทธศาสนิกชนและสาธุชนทุกหมู่เหล่ามีต่อ เจ้าพระคุณสมเด็จฯ อันเป็นแรงบันดาลใจให้บุคคลเหล่านั้น ไม่ ว่าจะอยู่ใกล้ไกลเพียงไร ก็ต้ังใจเดินทางมาถวายความเคารพ พระศพอย่างเนืองแน่นต่อเนื่อง ด้วยความสำ�นึกในพระเมตตาคุณ และพระกรุณาคณุ ของเจ้าพระคณุ สมเด็จฯ เพ่ือให้พุทธศาสนิกชนและสาธุชนผู้มาถวายความเคารพ พระศพไดม้ ีส่ิงอนุสรณ์ อนั เน่อื งด้วยเจ้าพระคณุ สมเดจ็ ฯ ไวเ้ ปน็ ท่ี ระลกึ และปลม้ื ปตี ิ ทางวดั บวรนเิ วศวหิ ารจงึ ไดจ้ ดั พมิ พพ์ ระนพิ นธข์ อง เจา้ พระคณุ สมเดจ็ ฯ พร้อมดว้ ยพระรูปนอ้ มถวายพระกุศลและแจก เป็นปฏิการแกท่ กุ ทา่ น ดงั ท่ปี รากฏอย่ใู นมือของท่านทง้ั หลายบัดน้ี วัดบวรนเิ วศวหิ าร มกราคม ๒๕๕๘

พระประวตั ิ สมเดจ็ พระญาณสังวร สมเด็จพระสงั ฆราช สกลมหาสังฆปรณิ ายก (สุวฑฺฒนมหาเถร เจริญ คชวัตร) เมอื่ วนั ที่ ๒๑ เมษายน พ.ศ. ๒๕๓๒ พระบาทสมเด็จ พระเจ้าอยู่หัว ทรงพระกรุณาโปรดเกล้าฯ ให้สถาปนาสมเด็จพระ ญาณสังวร วัดบวรนเิ วศวิหาร เปน็ สมเด็จพระญาณสังวร สมเด็จ พระสังฆราช สกลมหาสังฆปริณายก นับเป็นสมเด็จพระสังฆราช พระองค์ท่ี ๑๙ แห่งกรุงรัตนโกสินทร์ ลุถึงปี พ.ศ. ๒๕๕๖ ทรง ดำ�รงตำ�แหน่งสมเด็จพระสังฆราชยาวนานกว่าสมเด็จพระสังฆราช พระองคใ์ ดๆ ในอดตี ท่ีผ่านมา คอื ๒๔ ปี วันที่ ๓ ตุลาคม พ.ศ. ๒๕๕๖ เป็นวันคล้ายวัน ประสูติของเจ้าพระคุณสมเด็จพระญาณสังวร สมเด็จพระสังฆราช สกลมหาสงั ฆปรณิ ายก ทรงเจรญิ พระชนมายุ ๑๐๐ พรรษาบรบิ รู ณ์ นับเป็นสมเด็จพระสังฆราช สกลมหาสังฆปริณายก ที่เจริญพระ ชนมายยุ ง่ิ ยนื นานกวา่ สมเดจ็ พระสงั ฆราชพระองคใ์ ดๆ ในอดตี ทผ่ี า่ น มา ท้งั ทรงด�ำ รงตำ�แหนง่ ตา่ งๆ ทางคณะสงฆ์ยาวนานกวา่ พระองค์ อ่นื ๆ คอื ทรงด�ำ รงต�ำ แหน่งเจา้ คณะใหญ่คณะธรรมยุต ๒๕ ปี ทรงดำ�รงต�ำ แหน่งเจ้าอาวาสวัดบวรนเิ วศวหิ าร ๕๒ ปี นบั เป็นบุญ บารมใี นทางปรหติ ปฏบิ ตั ขิ องเจา้ พระคณุ สมเดจ็ พระสงั ฆราช ซงึ่ ยาก ที่จะมีเปน็ สาธารณะแกบ่ คุ คลทัว่ ไป

สมเดจ็ พระญาณสงั วร สมเดจ็ พระสงั ฆราช สกลมหาสงั ฆ- ปรณิ ายก มีพระนามเดมิ ว่า เจรญิ นามสกุล คชวตั ร ทรงมีพระ ชาติภมู ิ ณ จังหวัดกาญจนบุรี ประสูตเิ มือ่ วันที่ ๓ ตลุ าคม พ.ศ. ๒๔๕๖ ทรงบรรพชาเปน็ สามเณรเมือ่ พระชนมายุ ๑๔ พรรษา ณ วัดเทวสังฆาราม กาญจนบุรี แล้วเข้ามาอยู่ศึกษาพระปริยัติ- ธรรม ณ วดั บวรนิเวศวหิ าร จนพระชนมายุครบอุปสมบท จึงกลบั ไปอุปสมบทท่วี ดั เทวสงั ฆาราม กาญจนบรุ ี และทรงจ�ำ พรรษา ณ วดั เทวสังฆาราม ๑ พรรษา แล้วจึงกลับมาทรงทำ�ทัฬหีกรรม คือ ทรงอปุ สมบทซ�้ำ ณ วดั บวรนเิ วศวิหารเมอ่ื วันที่ ๑๕ กุมภาพนั ธ์ พ.ศ. ๒๔๗๖ โดยสมเดจ็ พระสงั ฆราชเจา้ กรมหลวงวชริ ญาณ- วงศ์ ทรงเปน็ พระอปุ ัชฌาย์ ไดป้ ระทบั อยู่ศึกษาพระปริยัตธิ รรม ณ วัดบวรนิเวศวิหารตลอดมา จนกระทัง่ สอบไดเ้ ปน็ เปรยี ญธรรม ๙ ประโยค เมื่อพ.ศ. ๒๔๘๔ เจ้าพระคุณสมเด็จพระญาณสังวร ทรงดำ�รงสมณศกั ดิม์ า โดยล�ำ ดบั ดังนี้ ทรงเปน็ พระราชาคณะช้ันสามัญ พระราชาคณะชัน้ ราช และพระราชาคณะชั้นเทพ ในราชทนิ นามที่ พระโศภนคณา- ภรณ์ ทรงเปน็ พระราชาคณะชนั้ ธรรมท่ี พระธรรมวราภรณ์ ทรงเปน็ พระราชาคณะช้ันเจ้าคณะรองท่ี พระสาสนโสภณ ทรงเป็นสมเด็จ พระราชาคณะท่ี สมเดจ็ พระญาณสงั วร และทรงไดร้ บั พระราชทาน สถาปนาเปน็ สมเดจ็ พระสงั ฆราช ในราชทนิ นามท่ี สมเดจ็ พระญาณ- สงั วร สมเดจ็ พระสังฆราช สกลมหาสังฆปริณายก

เจ้าพระคุณสมเด็จพระญาณสังวร ทรงเป็นผู้ใคร่ในการ ศึกษา ทรงมีพระอัธยาศัยใฝ่รู้ใฝ่เรียนมาตั้งแต่ทรงเป็นพระเปรียญ โดยเฉพาะในดา้ นภาษา ทรงศกึ ษาภาษาตา่ งๆ เชน่ องั กฤษ ฝรง่ั เศส เยอรมนั จีน และ สนั สกฤต จนสามารถใชป้ ระโยชน์ไดเ้ ป็นอยา่ งดี กระทั่งเจ้าพระคณุ สมเดจ็ พระสงั ฆราชเจา้ กรมหลวงวชิรญาณวงศ์ พระอุปัชฌาย์ทรงเห็นว่า จะเพลินในการศึกษามากไป วันหนึ่ง ทรงเตอื นวา่ ควรท�ำ กรรมฐานเสยี บา้ ง เปน็ เหตใุ หพ้ ระองคท์ รงเรมิ่ ท�ำ กรรมฐานมาแต่บัดน้ัน และท�ำ ตลอดมาอย่างต่อเน่ือง จึงทรงเป็น พระมหาเถระทที่ รงภมู ิธรรม ทง้ั ดา้ นปริยัตแิ ละด้านปฏบิ ตั ิ เจา้ พระคณุ สมเดจ็ พระญาณสงั วร ทรงศกึ ษาหาความรสู้ มยั ใหมอ่ ยเู่ สมอ เปน็ เหตใุ หท้ รงมที ศั นะกวา้ งขวาง ทนั ตอ่ เหตกุ ารณบ์ า้ น เมอื ง ซงึ่ เปน็ ประโยชนต์ อ่ การสงั่ สอนและเผยแผพ่ ระพทุ ธศาสนาเปน็ อยา่ งมาก และทรงนพิ นธห์ นงั สอื ทางพระพทุ ธศาสนาจ�ำ นวนมากได้ อยา่ งสมสมยั เหมาะแกบ่ คุ คลและสถานการณใ์ นยคุ ปจั จบุ นั และทรง ส่ังสอนพระพทุ ธศาสนาท้ังแกช่ าวไทยและชาวตา่ งประเทศ ในด้านการศึกษา ได้ทรงมีพระดำ�ริทางการศึกษาที่กว้าง ไกล ทรงมีส่วนร่วมในการก่อตั้งมหาวิทยาลัยพระพุทธศาสนาแห่ง แรกของไทย คอื มหาวิทยาลัยมหามกุฏราชวทิ ยาลัยมาแต่ตน้ ทรง ริเริ่มให้มีสำ�นักฝึกอบรมพระธรรมทูตไปต่างประเทศขึ้นเป็นครั้งแรก เพ่อื ฝึกอบรมพระธรรมทูตไทย ที่จะไปปฏิบตั ศิ าสนกิจในต่างประเทศ ทรงเปน็ พระมหาเถระไทยรปู แรก ทไี่ ดด้ �ำ เนนิ งานพระธรรมทตู ในตา่ ง ประเทศอย่างเป็นรูปธรรม โดยเริ่มจากทรงเป็นประธานกรรมการ

อำ�นวยการฝึกอบรมพระธรรมทูตไปต่างประเทศเป็นรูปแรก เสด็จ ไปเป็นประธานสงฆ์ในพิธีเปิดวัดไทยแห่งแรกในทวีปยุโรป คือวัด พทุ ธปทปี ณ กรงุ ลอนดอน สหราชอาณาจกั ร ทรงน�ำ พระพทุ ธศาสนา เถรวาทไปสู่ทวีปออสเตรเลียเป็นครั้งแรก โดยการสร้างวัด พุทธรังษีขึ้น ณ นครซิดนยี ์ ทรงใหก้ ำ�เนดิ คณะสงฆ์เถรวาทขึน้ ใน ประเทศอนิ โดนเี ซยี ทรงชว่ ยฟน้ื ฟพู ระพทุ ธศาสนาเถรวาทในประเทศ เนปาล โดยเสดจ็ ไปใหก้ ารบรรพชาแกศ่ ากยกลุ บตุ รในประเทศเนปาล เปน็ คร้ังแรก ทำ�ใหป้ ระเพณีการบวชฟน้ื ตัวขึ้นอีกคร้ังหน่งึ ในเนปาล ยุคปัจจุบัน ทรงอุปถัมภ์การสร้างวัดแคโรไลนาพุทธจักรวนาราม สหรฐั อเมรกิ า ทรงเจรญิ ศาสนไมตรีกบั องคด์ าไลลามะ กระท่งั เปน็ ท่ีทรงคุ้นเคยและได้วิสาสะกันหลายคร้ัง และทรงเป็นพระประมุข แห่งศาสนจักรพระองค์แรกที่ได้รับทูลเชิญให้เสด็จเยือนสาธารณรัฐ ประชาชนจนี อยา่ งเป็นทางการในประวตั ิศาสตร์จีน เจ้าพระคุณสมเด็จพระญาณสังวร ทรงเป็นนักวิชาการ และนักวิเคราะห์ธรรมตามหลักการของพระพุทธศาสนา ที่เรียกว่า ธมั มวจิ ยะ เพอ่ื แสดงให้เหน็ วา่ พุทธธรรมนั้นสามารถประยกุ ตใ์ ช้กับ กจิ กรรมของชวี ติ ไดท้ กุ ระดบั ตง้ั แตร่ ะดบั พนื้ ฐานไปจนถงึ ระดบั สงู สดุ ทรงมีผลงานด้านพระนิพนธ์ทั้งที่เป็นภาษาไทยและภาษาอังกฤษ จำ�นวนกวา่ ๒๐๐ เรอ่ื ง ประกอบด้วยพระนิพนธ์แสดงคำ�สอนทาง พระพทุ ธศาสนาทง้ั ระดบั ตน้ ระดบั กลาง และระดบั สูง รวมถึงความ เรียงเชงิ ศาสนคดีอกี จ�ำ นวนมาก ซง่ึ ล้วนมคี ุณคา่ ควรแกก่ ารศกึ ษา สถาบันการศึกษาของชาติหลายแห่งตระหนักถึงพระปรีชาสามารถ

และคุณค่าแห่งงานพระนิพนธ์ ตลอดถึงพระกรณียกิจที่ทรงปฏิบัติ จงึ ไดท้ ลู ถวายปรญิ ญาดษุ ฎบี ณั ฑติ กติ ตมิ ศกั ดเิ์ ปน็ การเทดิ พระเกยี รติ หลายสาขา รวม ๑๓ มหาวิทยาลยั นอกจากพระกรณียกิจตามหน้าที่ตำ�แหน่งแล้ว ยังได้ทรง ปฏิบัติหน้าที่พิเศษ อันมีความสำ�คัญย่ิงอีกหลายวาระ กล่าวคือ ทรงเปน็ พระอภบิ าลในพระภกิ ษพุ ระบาทสมเดจ็ พระเจา้ อยหู่ วั รชั กาล ปัจจุบนั เม่อื คร้งั ทรงพระผนวช เมื่อ พ.ศ. ๒๔๙๙ พรอ้ มทัง้ ทรง ถวายความรใู้ นพระธรรมวนิ ยั ตลอดระยะเวลาแหง่ การทรงพระผนวช ทรงเป็นพระราชกรรมวาจาจารย์ ในสมเด็จพระบรมโอรสาธิราช เจ้าฟ้ามหาวชิราลงกรณ สยามมกุฎราชกุมาร เมื่อคร้ังทรงผนวช เปน็ พระภกิ ษุ เมอ่ื พ.ศ. ๒๕๒๑ เจ้าพระคุณสมเด็จพระญาณสังวร ไมเ่ พียงแตส่ ร้างศาสน- ธรรม คอื ค�ำ สอนมอบไวเ้ ปน็ มรดกธรรมแกพ่ ทุ ธศาสนกิ ชนและแกโ่ ลก เท่านั้น แต่ยังได้ทรงสร้างวัตถุธรรมอันนำ�สุขประโยชน์สู่ประชาชน ท่ัวไป มอบไว้เป็นมรดกของแผ่นดินอีกเป็นจำ�นวนมาก อาทิ วดั ญาณสังวราราม ชลบุรี วัดรชั ดาภิเษก กาญจนบรุ ี วดั วังพุไทร เพชรบุรี วัดล้านนาญาณสังวราราม เชียงใหม่ พระบรมธาตุ เจดีย์ศรีนครินทราสถิตมหาสันติคีรี เชียงราย โรงพยาบาลสมเด็จ พระปยิ มหาราชรมณยี เขต กาญจนบรุ ี ตกึ สกลมหาสงั ฆปรณิ ายก ใน โรงพยาบาล และโรงเรยี นในถนิ่ ธรุ กนั ดาร ๑๙ แหง่ โรงพยาบาลสมเดจ็ พระสงั ฆราช พระองคท์ ่ี ๑๙ ทา่ มว่ ง กาญจนบรุ ี ตกึ วชริ ญาณวงศ์ ตกึ วชริ ญาณ สามคั คพี ยาบาร ตกึ ภปร ในโรงพยาบาลจฬุ าลงกรณ์

โรงเรยี นสมเดจ็ พระปยิ มหาราชรมณยี เขต กาญจนบรุ ี และวดั ไทยใน ตา่ งประเทศอกี หลายแหง่ เจา้ พระคณุ สมเดจ็ พระญาณสงั วร ทรงด�ำ รงต�ำ แหนง่ หนา้ ท่ี สำ�คัญทางการคณะสงฆ์ในดา้ นตา่ งๆ มาเป็นลำ�ดบั เป็นเหตใุ ห้ทรง ปฏิบตั ิพระกรณยี กจิ เป็นประโยชนแ์ กพ่ ระศาสนา ประเทศชาติ และ ประชาชน เป็นอเนกประการ นับได้ว่าทรงเป็นพระมหาเถระที่ทรง เพยี บพรอ้ มด้วยอตั ตสมบตั แิ ละปรหิตปฏิบัติ และทรงเปน็ ครฐุ านยี - บุคคลของชาติ ทัง้ ในด้านพทุ ธจักรและอาณาจักร เจ้าพระคุณสมเด็จพระญาณสังวร ทรงเป็นท่ีเคารพ สกั การะตลอดไปถงึ พทุ ธศาสนิกชนในนานาประเทศ ดว้ ยเหตนุ ี้ ทาง รัฐบาลสาธารณรัฐแห่งสหภาพเมียนมาร์ จึงได้ทูลถวายตำ�แหน่ง อภิธชมหารัฐคุรุ อันเป็นสมณศักดิ์สูงสุดแห่งคณะสงฆ์เมียนมาร์ เมื่อ พ.ศ. ๒๕๓๔ และท่ีประชุมผู้นำ�สูงสุดแห่งพุทธศาสนาโลก เมื่อ พ.ศ. ๒๕๕๕ ได้ทูลถวายตำ�แหน่ง พระประมุขสูงสุดแห่ง พระพุทธศาสนาโลก ถึง พ.ศ. ๒๕๔๓ พระสุขภาพของเจ้าพระคุณสมเด็จ พระญาณสังวรถดถอยลง เนื่องจากทรงเจริญพระชนมายุมากขึ้น ไมอ่ �ำ นวยใหท้ รงปฏิบัตพิ ระศาสนกจิ ตา่ งๆ ไดโ้ ดยสะดวก จงึ เสด็จ เข้าประทบั รักษาพระองค์ ณ ตกึ วชริ ญาณ สามคั คพี ยาบาร โรง พยาบาลจฬุ าลงกรณ์ สภากาชาดไทย เมอื่ วนั ท่ี ๒๐ กมุ ภาพันธ์ พ.ศ. ๒๕๔๓ ในช่วงแรกๆ ยังเสดจ็ กลบั ไปประทับ ณ วัดบวร- นเิ วศวหิ าร เปน็ ระยะๆ ครั้งละ ๓-๔ วัน และเสดจ็ ไปสดบั พระ

ปาตโิ มกข์ ณ พระอโุ บสถวัดบวรนิเวศวหิ าร ทกุ วนั ธรรมสวนะเดือน เพญ็ และเดือนดบั กระท่ังพระสขุ ภาพไม่อ�ำ นวย คณะแพทย์ผ้ถู วาย การรักษาพยาบาลจึงกราบทูลให้งดการเสด็จไปสดับพระปาติโมกข์ ดงั กลา่ ว ต้งั แต่ พ.ศ. ๒๕๕๐ เปน็ ตน้ มา ถึงวนั ท่ี ๑๓ ตุลาคม พ.ศ. ๒๕๕๖ พระอาการประชวร โดยท่วั ไปทรดุ ลง คณะแพทย์จงึ ได้ถวายการผา่ ตัดพระอันตะ (ล�ำ ไส้) และพระอันตคุณ (ล�ำ ไส้น้อย) หลงั การผา่ ตดั ทรงมพี ระอาการท่วั ไป เป็นทพ่ี อใจของคณะแพทย์ ถึงวนั ที่ ๒๑ ตุลาคม พ.ศ. ๒๕๕๖ เริ่มมพี ระอาการความดันพระโลหติ ลดลง แตม่ ีการกระเตื้องข้ึนเปน็ ระยะๆ กระทง่ั ถงึ วันที่ ๒๔ ตุลาคม พ.ศ. ๒๕๕๖ ความดนั พระโลหติ ลดลงถงึ ๒๐ และคงตวั อยรู่ ะยะหนงึ่ ถงึ เวลา ๑๙.๓๐ น. ความดันพระโลหติ ลงถงึ ๐ ในทันทีทันใด คณะแพทย์ได้ออกแถลงการณ์ในเวลาต่อมาว่า เจ้า พระคณุ สมเด็จพระญาณสงั วร สมเด็จพระสังฆราช สกลมหาสังฆ- ปริณายก ส้นิ พระชนม์ดว้ ยการติดเชือ้ ในกระแสพระโลหติ เม่ือวนั ท่ี ๒๔ ตุลาคม พ.ศ. ๒๕๕๖ เวลา ๑๙.๓๐ น. สิรพิ ระชนมายุ ได้ ๑๐๐ พรรษากบั ๒๑ วัน วันท่ี ๒๕ ตุลาคม พ.ศ. ๒๕๕๖ ได้เชญิ พระศพจาก โรงพยาบาลจุฬาลงกรณ์ สภากาชาดไทย มายังพระตำ�หนักเพ็ชร วัดบวรนิเวศวิหาร พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวทรงพระกรุณา โปรดเกลา้ ฯ ใหส้ มเด็จพระบรมโอรสาธริ าชฯ สยามมกฎุ ราชกุมาร เสด็จพระราชดำ�เนินแทนพระองค์มาถวายน้ำ�สรงพระศพ ณ พระ

ตำ�หนักเพ็ชร วัดบวรนิเวศวิหาร แล้วเชิญพระศพประดิษฐานใน พระโกศกุด่นั ใหญ่ ภายใต้เศวตฉัตร ๓ ชั้น บนพระแท่นแว่นฟา้ ปิด ทองประดบั กระจก แวดลอ้ มดว้ ยฉัตรเครอื่ งสงู ๓ คู่ ประดบั พุ่ม ตาดทองดอกไมแ้ จกนั และเทยี นไฟฟ้ารายรอบพระโกศบนพระแท่น แว่นฟ้าทง้ั สองชั้น พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวทรงพระกรุณาโปรดเกล้าฯ ให้มีพระพิธีธรรมสวดพระอภิธรรมถวายพระศพ ท้ังกลางวันและ กลางคนื พร้อมท้งั มีประโคมย่�ำ ยามถวายพระศพ เป็นเวลา ๗ วัน ทรงพระกรณุ าโปรดเกลา้ ฯ ใหบ้ �ำ เพญ็ พระราชกศุ ลสตั ตมวาร (๓๐ - ๓๑ ตลุ าคม ๒๕๕๖) ปัญญาสมวาร (๑๑ - ๑๒ ธันวาคม ๒๕๕๖) และสตมวาร (๓๐ - ๓๑ มกราคม ๒๕๕๗) ถวาย พระศพตามราชประเพณโี ดยลำ�ดบั นบั แตไ่ ด้เชญิ พระศพประดิษฐาน ณ พระตำ�หนักเพ็ชร วดั บวรนิเวศวหิ าร เม่ือวนั ที่ ๒๕ ตุลาคม พ.ศ. ๒๕๕๖ เปน็ ต้นมา ได้มพี ระบรมวงศานุวงศ์ ผนู้ �ำ ประเทศ ทตู านทุ ูตประเทศตา่ งๆ และ องค์กรศาสนา พรอ้ มท้งั พุทธศาสนกิ ชน ทัง้ ภายในประเทศและต่าง ประเทศ มาถวายสกั การะเคารพพระศพอย่างเนืองแนน่ อยา่ งมิเคย ปรากฏมากอ่ น อาทิ คณะทตู านทุ ตู กวา่ ๒๓ ประเทศ มารว่ มในการบ�ำ เพญ็ พระ ราชกศุ ลสัตตมวาร (๗ วนั ) ในวนั ท่ี ๓๐ ตลุ าคม พ.ศ. ๒๕๕๖ พระราชกุศลปญั ญาสมวาร (๕๐ วนั ) วนั ที่ ๑๑ ธนั วาคม พ.ศ. ๒๕๕๖ และ พระราชกุศลสตมวาร (๑๐๐ วัน) วันท่ี ๓๐

มกราคม พ.ศ. ๒๕๕๗ พระราชทานพระศพเจา้ พระคุณสมเด็จฯ วนั ท่ี ๘ พฤศจกิ ายน พ.ศ. ๒๕๕๖ ส�ำ นกั วาตกิ นั โดย สภาประมุขบาทหลวงโรมนั คาธอลิกแห่งประเทศไทย ไดป้ ระกอบพธิ ี มิสซาถวายพระกศุ ลแด่พระศพเจา้ พระคณุ สมเด็จฯ วันท่ี ๑๒ พฤศจิกายน พ.ศ. ๒๕๕๖ คณะสงฆแ์ ห่ง นิกายเนนบุตซึสุ แห่งประเทศญ่ีปุ่น ได้ประกอบพิธีสวดถวายพระ กุศลแด่พระศพเจา้ พระคณุ สมเดจ็ ฯ วันที่ ๑๕ พฤศจิกายน พ.ศ. ๒๕๕๖ ฯพณฯ เชอรร์ งิ ตอ็ ปเกย์ นายกรฐั มนตรแี หง่ ประเทศภฏู าน พรอ้ มดว้ ยภรยิ าและคณะ ได้มาถวายสักการะเคารพพระศพเจา้ พระคุณสมเด็จฯ วนั ท่ี ๑๒ ธันวาคม พ.ศ. ๒๕๕๖ พระมหาคณาจารย์ จีนธรรมสมาธิวตั ร เจ้าคณะใหญ่จีนนกิ าย พร้อมดว้ ยคณะสงฆจ์ นี ได้ประกอบพธิ ีกงเต็กนอ้ มถวายพระกุศลแด่เจ้าพระคณุ สมเดจ็ ฯ วันท่ี ๗ กุมภาพนั ธ์ พ.ศ. ๒๕๕๗ พระมหาคณานัม- ธรรมปัญญาธิวัตร เจ้าคณะใหญ่อนัมนิกาย พร้อมด้วยคณะสงฆ์ อนมั นกิ าย ได้ประกอบพธิ กี งเต็กน้อมถวายพระกุศลแด่เจ้าพระคุณ สมเด็จฯ วนั ที่ ๑๗ - ๒๔ มนี าคม พ.ศ. ๒๕๕๗ รฐั บาลอนิ เดีย โดยรัฐมนตรีกระทรวงวัฒนธรรม ประเทศอินเดีย และ ฯพณฯ เอกอคั รราชทตู อนิ เดยี ประจ�ำ ประเทศไทย ไดป้ ระกอบพธิ วี ชั รยานบชู า ถวายพระกุศลแด่พระศพเจ้าพระคณุ สมเด็จฯ อย่างเตม็ รูปแบบตาม ลัทธิวชั รยานแห่งทเิ บต

วนั ท่ี ๑๒ เมษายน พ.ศ. ๒๕๕๗ คณะสงั ฆเถรวาทแหง่ อนิ โดนเี ซยี พรอ้ มดว้ ยพทุ ธศาสนกิ ชนอนิ โดนเี ซยี จ�ำ นวนกวา่ ๑๐๐ คน ได้บ�ำ เพ็ญกศุ ลถวายพระศพเจ้าพระคณุ สมเดจ็ ฯ นอกจากนี้ ยงั ได้มผี ู้น�ำ องคก์ รทางศาสนาในประเทศตา่ งๆ ส่งสารแสดงความอาลัย เน่ืองในการสิ้นพระชนม์ของเจ้าพระคุณ สมเด็จฯ จำ�นวนมาก อาทิ องค์ทะไลลามะ พระสังฆราช พระ สังฆนายก องค์กรระหว่างประเทศ และองค์กรพุทธศาสนาจาก นานาประเทศ กลา่ วไดว้ ่า เจา้ พระคณุ สมเด็จพระญาณสงั วร สมเดจ็ พระ สงั ฆราช สกลมหาสังฆปริณายก ทรงด�ำ รงอยูใ่ นฐานะพระสงั ฆบดิ ร ของพทุ ธบรษิ ทั ท่วั โลกโดยแท้ ลุถึงวนั ที่ ๓ ตลุ าคม พ.ศ. ๒๕๕๗ ตรงกับวันคลา้ ยวัน ประสูติของเจ้าพระคุณสมเด็จพระญาณสังวร สมเด็จพระสังฆราช สกลมหาสงั ฆปรณิ ายก ครบ ๑๐๑ ปี และวนั ท่ี ๒๔ ตลุ าคม พ.ศ. ๒๕๕๗ ตรงกบั วนั สนิ้ พระชนมข์ องเจา้ พระคณุ สมเดจ็ ฯ ครบ ๑ ปี พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว ได้ทรงพระกรุณาโปรดพระราชทาน พระบรมราชูปถัมภ์จัดงานบำ�เพ็ญกุศลถวายแด่เจ้าพระคุณ สมเดจ็ ฯ เน่อื งใน ๒ วาระนี้ เรียกว่า “งานบำ�เพญ็ กุศลครบ ๑ ปี แห่งการส้ินพระชนม์ สมเด็จพระญาณสังวร สมเด็จพระสังฆราช สกลมหาสงั ฆปริณายก” ระหวา่ งวันท่ี ๓ - ๒๔ ตุลาคม พ.ศ. ๒๕๕๗ ณ วดั บวรนิเวศวหิ าร ในการน้ี รฐั บาล ศษิ ยานศุ ิษย์ และ พทุ ธศาสนกิ ชนไดร้ ว่ มโดยเสดจ็ พระราชกุศล

งานบ�ำ เพ็ญกุศลเริ่มแตว่ ันท่ี ๓ ตุลาคม พ.ศ. ๒๕๕๗ เวลาเช้า มกี ารถวายภัตตาหารเช้าแด่พระภกิ ษุสามเณร ๑๕๐ รปู ณ ประร�ำ ขา้ งพระต�ำ หนกั เพช็ ร แลว้ มกี ารตกั บาตรพระภกิ ษสุ ามเณร ๑๕๐ รปู ณ ถนนพระสุเมรุหนา้ วดั บวรนเิ วศวิหาร โดยมี ฯพณฯ พลเอกประยทุ ธ์ จนั ทร์โอชา นายกรัฐมนตรีเป็นประธาน พรอ้ มด้วย พุทธศาสนิกชนทั้งภาครฐั และภาคเอกชน เสรจ็ แลว้ ฯพณฯ นายก รัฐมนตรี ในนามของพุทธศาสนิกชนทั้งมวลไปวางพวงมาลาถวาย สกั การะพระศพเจา้ พระคุณสมเด็จฯ ณ ลานหนา้ พระต�ำ หนักเพช็ ร จากนั้นไปชมนิทรรศการพระประวัติเจ้าพระคณุ สมเด็จฯ ณ ตึกสภา การศกึ ษา มหาวทิ ยาลัยมหามกฏุ ราชวทิ ยาลัย เวลาเพล พระบาทสมเดจ็ พระเจา้ อยหู่ วั ทรงพระกรณุ าโปรด พระราชทานพระบรมราชูปถัมภ์การบำ�เพ็ญกุศลคล้ายวันประสูติ ถวายพระกุศลแด่เจ้าพระคุณสมเด็จฯ โดยมีพระสงฆ์ ๑๐ รูป เจริญพระพุทธมนต์ และถวายภัตตาหารเพลแด่พระสงฆ์ที่เจริญ พระพุทธมนต์ พร้อมทง้ั พระภิกษสุ ามเณรอีก ๑๕๐ รปู เวลาเยน็ คณะสงฆว์ ดั บวรนเิ วศวหิ ารและคณะศษิ ยานศุ ษิ ย์ เป็นเจ้าภาพสวดพระอภธิ รรมถวายพระศพ ระหว่างวันท่ี ๓ ตุลาคม พ.ศ. ๒๕๕๗ ซ่ึงเป็นวัน คลา้ ยวนั ประสตู ิถงึ วันท่ี ๒๔ ตุลาคม พ.ศ. ๒๕๕๗ ซง่ึ ตรงกับ วันส้ินพระชนม์ครบ ๑ ปี ได้จัดให้มีกิจกรรมที่เปิดโอกาสให้คณะ ศิษยานุศิษย์และประชาชนท่ัวไปได้ร่วมในการระลึกถึงพระองค์ท่าน โดยในช่วงระยะเวลานั้น มีการเปิดให้ประชาชนเข้าถวายสักการะ

พระศพ ฯ รว่ มฟงั สวดพระอภธิ รรมพระศพ โดยมหี นงั สอื สมั มาทฏิ ฐิ และซีดีเสยี งอ่าน จติ ตนคร โดย คุณเพชรี พรหมช่วย แจกเป็นที่ ระลกึ ให้ผูท้ ่มี าร่วมสักการะพระศพฯ ทกุ วัน พร้อมเปิดให้ประชาชน เข้าชมและสักการะพระพุทธรูปสำ�คัญของชาติ ในเขตพุทธาวาส วัดบวรนเิ วศวิหาร ๙ แหง่ และมีการจัดกิจกรรม “บุปผาวิธานบูชา” คือ การให้ ประชาชนร่วมปักดอกบานไม่รู้โรย บนพระรูปเจ้าพระคุณสมเด็จฯ ในอิริยาบทต่างๆ เพ่ือแสดงความระลึกถึงพระองค์ท่านอย่างไม่ เสอื่ มคลาย เสมอื นพระองคย์ งั คงด�ำ รงอยู่ ดง่ั ความส�ำ นกึ ในพระคณุ พระองค์ท่านท่ีอยู่ในความระลึกถึงอย่างไม่เคยเส่ือมคลายไปจากใจ ของคณะศิษยานุศิษย์และประชาชนชาวไทย โดยหลังจากมีการปัก ภาพเสร็จแลว้ จะท�ำ การรวบรวมภาพ เพื่อจัดเป็นนิทรรศการตอ่ ไป มกี ารจดั กจิ กรรม “ปฏบิ ัติธรรมสงั ฆราชบชู า ครบ ๑ ปี แหง่ การสน้ิ พระชนม”์ เชญิ ชวนพทุ ธศาสนกิ ชนรว่ มสวดพระพทุ ธมนต์ ฟงั พระธรรมเทศนาและปฏบิ ตั ธิ รรม โดยการน�ำ ของพระวปิ สั สนาจารย์ สายกรรมฐาน นอ้ มอทุ ศิ ถวายพระกศุ ลแด่เจ้าพระคุณสมเดจ็ ฯ ณ พระตำ�หนักเพช็ ร วัดบวรนิเวศวิหาร นอกจากน้ี ในทุกวันเสาร์ และวันอาทิตย์ ตลอดเดือน ตลุ าคม พ.ศ. ๒๕๕๗ (วนั ท่ี ๓, ๔, ๕, ๑๑, ๑๒, ๑๘, ๑๙, ๒๓ และ ๒๔ ตลุ าคม) ไดจ้ ดั ใหม้ กี จิ กรรมการอา่ นบทเสภา และบทกลอน ในพระนิพนธ์ของเจ้าพระคุณสมเด็จฯ ท่ีพระองค์ได้ทรงนิพนธ์ไว้ จำ�นวนมากกว่าร้อยบท ซึ่งยังไม่เคยได้รับการเผยแพร่มาก่อน

โดยผู้เชี่ยวชาญด้านวรรณกรรมจะเป็นผู้อ่านบทร้อยกรองดังกล่าว ทุกวันเสาร์และอาทิตย์ก่อนการเร่ิมพิธี “ปฏิบัติธรรมสังฆราชบูชา ครบ ๑ ปี แห่งการส้นิ พระชนม”์ เวลา ๑๖.๐๐ น. อนึ่งมหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลธัญบุรีได้ประดิษฐ์ พวงมาลาขนาดพิเศษ คือขนาด ๓ เมตร โดยใช้ดอกไม้จำ�นวน ๑๐๐,๑๐๑ กลบี (หนง่ึ แสนหนงึ่ ร้อยหนงึ่ กลบี ) มีน้�ำ หนกั ๑๐๑ กโิ ลกรมั ท้งั น้ี พวงมาลาทป่ี ระดษิ ฐเ์ ป็นรูปดอกบัวซ่ึงเป็นดอกไม้ ท่ีมีความสำ�คัญทางพระพุทธศาสนา ซ้อนด้วยดอกไม้ประดิษฐ์เป็น รูปทรงพุ่มข้าวบิณฑ์อันเป็นรูปแบบพัดยศ พุ่มข้าวบิณฑ์มี ๒๑ แฉก สัญลักษณ์แทนวันท่ีได้รับพระราชทานสถาปนาเป็นสมเด็จ พระสังฆราช ๒๑ เมษายน ๒๕๓๒ พื้นตรงกลางพวงมาลา ถักร้อยดว้ ยตาข่ายดอกรัก อันแทนความศรัทธาและจงรักภกั ดขี อง พทุ ธศาสนกิ ชน ดา้ นลา่ งประดษิ ฐเ์ ปน็ รปู ชา้ งสามเศยี รมคี วามหมาย แทนพระสกุล “คชวัตร” บนเศียรช้างเทินด้วยพานพุ่มรูปดอกบัว สัญลกั ษณ์แหง่ อามสิ บชู า เหนือพานพมุ่ ประดษิ ฐานอกั ษรพระนาม ย่อ ญสส. อักษรพระนามสมเด็จพระสังฆราช ด้านล่างประดับ ด้วยดอกไม้ประดิษฐ์ มีพวงดอกไม้แบบราชสำ�นัก พร้อมประดิษฐ์ ดอกไม้ “บัวสเ่ี หล่า” เพื่อประดบั หน้าพระโกศ โดยคณาจารยแ์ ละ นกั ศึกษา สาขาเทคโนโลยงี านประดษิ ฐ์สรา้ งสรรค์ คณะเทคโนโลยี คหกรรมศาสตร์ ท่ีตึกมนุษยนาค เปิดพิพิธภัณท์เจ้าอาวาสทุกพระองค์ ของวดั บวรนเิ วศวหิ าร และทโี่ ถงตกึ มนษุ ยนาค ไดจ้ ดั กจิ กรรมตา่ งๆ

อาทิ การแสดงดนตรีเพลงของกลุม่ ศลิ ปนิ เปน็ คตี ญั ชลีบูชา เพ่ือ ร�ำ ลกึ ถึงเจ้าพระคุณสมเดจ็ ฯ อกี ด้วย ที่ตึกสภาการศึกษามหามกุฏราชวิทยาลัย มีการจัด นทิ รรศการ “สัมพัจฉรานุสรณ์ ครบ ๑ ปี แหง่ การส้ินพระชนม”์ นิทรรศการคร้ังน้ีได้รวบรวมกิจกรรมตลอดระยะเวลา ๑ ปีแห่ง การสิ้นพระชมน์ ตลอดจนจดหมายเหตุแห่งการส้ินพระชนม์ เพ่ือ ถ่ายทอดให้ประชาชนได้มีโอกาสได้ร่วมรับรู้ถึงความสำ�นึกในพระ เมตตาคณุ พระกรณุ าธคิ ณุ ทปี่ ระชาชนทงั้ ในประเทศและตา่ งประเทศ ได้มีโอกาสมาร่วมแสดงอาลัยต่อพระองค์ท่าน และในนิทรรศการ ครั้งน้ี ได้มีการเปิดตัวภาพยนตร์การ์ตูนเรื่อง “เมืองนิรมิต แห่ง จิตตนคร” ในรูปแบบใหม่ทันสมัย น่าตื่นตาต่ืนใจ โดยการจัดทำ� เปน็ โรงภาพยนต์ เสียงเซอร์ราว ทด่ี �ำ เนินการผลติ โดย “คณะเมือง นิรมิต แห่งจิตตนคร” ซ่ึงเป็นคณะจิตอาสาที่ร่วมกันสร้างสรรค์ ขึ้น เพ่ือถวายเจ้าพระคณุ สมเดจ็ ฯ ในคร้งั น้ี นอกจากนยี้ ังไดจ้ ดั ท�ำ หนงั สอื การ์ตนู พร้อมจัดพมิ พเ์ ป็นหนังสอื แจกแกผ่ ้เู ข้าชม จำ�นวน ๑๐,๐๐๐ เล่ม วันท่ี ๒๔ ตุลาคม พ.ศ. ๒๕๕๗ ตรงกบั วันสน้ิ พระชนม์ ครบ ๑ ปี พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวทรงพระกรุณาโปรด พระราชทานพระบรมราชูปถมั ภก์ ารบ�ำ เพญ็ กุศลครบ ๑ ปี แห่งการ สิ้นพระชนมถ์ วายเจ้าพระคุณสมเดจ็ ฯ เริ่มแตว่ ันท่ี ๒๓ ตลุ าคม เวลาเยน็ มพี ระธรรมเทศนากณั ฑ์หนงึ่ แล้วพระสงฆ์ ๒๐ รปู สวด มาติกา สดับปกรณ์ เวลาคำ�่ คณะสงฆว์ ัดบวรนิเวศวิหารและคณะ

อบุ าสกอุบาสกิ า จัดใหม้ ีการสวดพระอภิธรรมถวายพระศพ วันท่ี ๒๔ ตุลาคม เวลาเช้า พระสงฆ์ ๑๐ รูปสวด พระพุทธมนต์ จบแล้วถวายภัตตาหารเพลแด่พระสงฆ์ที่สวด พระพุทธมนต์ และพระภกิ ษุสามเณรอกี ๑๕๐ รปู โดยมี ฯพณฯ พลเอกประยุทธ์ จนั ทรโ์ อชา นายกรัฐมนตรี เปน็ ประธานในพธิ ี ตอนบ่าย มีพิธีมอบทุนส่งเสริมการศึกษาพระปริยัติธรรม แผนกบาลี แก่สำ�นักศาสนศึกษาทั่วประเทศท่ีมีการจัดการศึกษาดี เด่น ประจำ�ปี พ.ศ. ๒๕๕๗ ของมูลนิธิสมเด็จพระญาณสังวร สมเดจ็ พระสงั ฆราช วดั บวรนเิ วศวหิ าร ในพระบรมราชปู ถมั ภ์ ณ พระตำ�หนักเพ็ชรด้วย โดยสมเด็จพระวันรัต รักษาการเจ้าอาวาส วดั บวรนิเวศวหิ าร เป็นประธานในพธิ ี ตอนเยน็ มกี ารสวดพระอภธิ รรมถวายพระศพ แลว้ พระสงฆ์ วัดบวรนิเวศวิหารสวดพระพุทธมนต์ถวายพระกุศลแด่เจ้าพระคุณ สมเด็จฯ ณ พระต�ำ หนักเพช็ ร วันท่ี ๘ ธันวาคม พ.ศ. ๒๕๕๗ ท่ีประชุมสุดยอด ชาวพทุ ธโลก ประกอบดว้ ยพระราชาธิบดี ผนู้ ำ�ทางการเมือง ผู้นำ� ทางพระพุทธศาสนาและบุคคลสำ�คัญของโลกจาก ๔๑ ประเทศ ได้ร่วมประกอบพิธีสวดมนต์ถวายพระกุศล และเทิดพระเกียรติ แด่เจ้าพระคุณสมเด็จพระญาณสังวรฯ พระประมุขสูงสุดแห่ง พุทธศาสนาโลก ณ วิหารแห่งวัดเนนบุตซึสุ เมืองกาโต จังหวัด ควิ โงะ ประเทศญี่ปุ่น

มนษุ ยธ์ รรม หลกั แหง่ ปกตภิ าพปกตสิ ุขของชวี ติ และสงั คม

มนุษยธรรม สมเดจ็ พระญาณสังวร สมเด็จพระสังฆราช สกลมหาสงั ฆปริณายก ISBN 978-616-348-608-0 พมิ พค์ รั้งที่ ๑ ท่ปี รึกษา สมเด็จพระวันรตั พระเทพปรยิ ตั วิ มิ ล กองบรรณาธกิ าร พระราชมนุ ี พระศากยวงศว์ ิสทุ ธ์ิ รศ.สเุ ชาวน์ พลอยชุม ผจู้ ัดพมิ พ์ วดั บวรนเิ วศวหิ าร พิมพโ์ ดยเสด็จพระราชกศุ ลในการพระศพสมเด็จพระญาณสงั วร สมเดจ็ พระสังฆราช สกลมหาสังฆปริณายก ผู้อปุ ถมั ภก์ ารพิมพ์ พระราชมนุ แี ละคณะศรทั ธา นสิ ติ คณะวศิ วกรรมศาสตร์ จฬุ าลงกรณม์ หาวิทยาลัย ร่นุ ๕๖ บรษิ ทั ท.ี ท.ี ทองทิพย์ เซอรว์ สิ จำ�กดั พิมพท์ ่ี

คำ�น�ำ นบั แตเ่ จา้ พระคณุ สมเดจ็ พระญาณสงั วร สมเดจ็ พระสงั ฆราช สกลมหาสังฆปริณายก สิ้นพระชนมเ์ มื่อวนั ที่ ๒๔ ตลุ าคม พ.ศ. ๒๕๕๖ และเชญิ พระศพมาประดษิ ฐาน ณ พระต�ำ หนกั เพช็ ร เมอื่ วนั ที่ ๒๕ ตลุ าคม พ.ศ. ๒๕๕๖ ไดม้ พี ทุ ธศาสนกิ ชนและสาธชุ นมาถวายความ เคารพพระศพเปน็ จ�ำ นวนมาก ทง้ั กลางวนั และกลางคนื ต่อเน่ืองมา ตง้ั แตบ่ ดั นน้ั จนบดั น้ี แสดงถงึ พระบารมธี รรมของเจา้ พระคณุ สมเดจ็ ฯ ท่ีปกแผ่ไปยังพุทธศาสนิกชนและสาธุชนทุกหมู่เหล่าและแสดงถึง ความเคารพนับถือท่ีพุทธศาสนิกชนและสาธุชนทุกหมู่เหล่ามีต่อ เจ้าพระคุณสมเด็จฯ อันเป็นแรงบันดาลใจให้บุคคลเหล่านั้น ไม่ ว่าจะอยู่ใกล้ไกลเพียงไร ก็ต้ังใจเดินทางมาถวายความเคารพ พระศพอย่างเนืองแน่นต่อเนื่อง ด้วยความสำ�นึกในพระเมตตาคุณ และพระกรุณาคณุ ของเจ้าพระคณุ สมเด็จฯ เพ่ือให้พุทธศาสนิกชนและสาธุชนผู้มาถวายความเคารพ พระศพไดม้ ีส่ิงอนุสรณ์ อนั เน่อื งด้วยเจ้าพระคณุ สมเดจ็ ฯ ไวเ้ ปน็ ท่ี ระลกึ และปลม้ื ปตี ิ ทางวดั บวรนเิ วศวหิ ารจงึ ไดจ้ ดั พมิ พพ์ ระนพิ นธข์ อง เจา้ พระคณุ สมเดจ็ ฯ พร้อมดว้ ยพระรูปนอ้ มถวายพระกุศลและแจก เป็นปฏิการแกท่ กุ ทา่ น ดงั ท่ปี รากฏอย่ใู นมือของท่านทง้ั หลายบัดน้ี วัดบวรนเิ วศวหิ าร มกราคม ๒๕๕๘

พระประวตั ิ สมเดจ็ พระญาณสังวร สมเด็จพระสงั ฆราช สกลมหาสังฆปรณิ ายก (สุวฑฺฒนมหาเถร เจริญ คชวัตร) เมอื่ วนั ที่ ๒๑ เมษายน พ.ศ. ๒๕๓๒ พระบาทสมเด็จ พระเจ้าอยู่หัว ทรงพระกรุณาโปรดเกล้าฯ ให้สถาปนาสมเด็จพระ ญาณสังวร วัดบวรนเิ วศวิหาร เปน็ สมเด็จพระญาณสังวร สมเด็จ พระสังฆราช สกลมหาสังฆปริณายก นับเป็นสมเด็จพระสังฆราช พระองค์ท่ี ๑๙ แห่งกรุงรัตนโกสินทร์ ลุถึงปี พ.ศ. ๒๕๕๖ ทรง ดำ�รงตำ�แหน่งสมเด็จพระสังฆราชยาวนานกว่าสมเด็จพระสังฆราช พระองคใ์ ดๆ ในอดตี ท่ีผ่านมา คอื ๒๔ ปี วันที่ ๓ ตุลาคม พ.ศ. ๒๕๕๖ เป็นวันคล้ายวัน ประสูติของเจ้าพระคุณสมเด็จพระญาณสังวร สมเด็จพระสังฆราช สกลมหาสงั ฆปรณิ ายก ทรงเจรญิ พระชนมายุ ๑๐๐ พรรษาบรบิ รู ณ์ นับเป็นสมเด็จพระสังฆราช สกลมหาสังฆปริณายก ที่เจริญพระ ชนมายยุ ง่ิ ยนื นานกวา่ สมเดจ็ พระสงั ฆราชพระองคใ์ ดๆ ในอดตี ทผ่ี า่ น มา ท้งั ทรงด�ำ รงตำ�แหนง่ ตา่ งๆ ทางคณะสงฆ์ยาวนานกวา่ พระองค์ อ่นื ๆ คอื ทรงด�ำ รงต�ำ แหน่งเจา้ คณะใหญ่คณะธรรมยุต ๒๕ ปี ทรงดำ�รงต�ำ แหน่งเจ้าอาวาสวัดบวรนเิ วศวหิ าร ๕๒ ปี นบั เป็นบุญ บารมใี นทางปรหติ ปฏบิ ตั ขิ องเจา้ พระคณุ สมเดจ็ พระสงั ฆราช ซงึ่ ยาก ที่จะมีเปน็ สาธารณะแกบ่ คุ คลทัว่ ไป

สมเดจ็ พระญาณสงั วร สมเดจ็ พระสงั ฆราช สกลมหาสงั ฆ- ปรณิ ายก มีพระนามเดมิ ว่า เจรญิ นามสกุล คชวตั ร ทรงมีพระ ชาติภมู ิ ณ จังหวัดกาญจนบุรี ประสูตเิ มือ่ วันที่ ๓ ตลุ าคม พ.ศ. ๒๔๕๖ ทรงบรรพชาเปน็ สามเณรเมือ่ พระชนมายุ ๑๔ พรรษา ณ วัดเทวสังฆาราม กาญจนบุรี แล้วเข้ามาอยู่ศึกษาพระปริยัติ- ธรรม ณ วดั บวรนิเวศวหิ าร จนพระชนมายุครบอุปสมบท จึงกลบั ไปอุปสมบทท่วี ดั เทวสงั ฆาราม กาญจนบรุ ี และทรงจ�ำ พรรษา ณ วดั เทวสังฆาราม ๑ พรรษา แล้วจึงกลับมาทรงทำ�ทัฬหีกรรม คือ ทรงอปุ สมบทซ�้ำ ณ วดั บวรนเิ วศวิหารเมอ่ื วันที่ ๑๕ กุมภาพนั ธ์ พ.ศ. ๒๔๗๖ โดยสมเดจ็ พระสงั ฆราชเจา้ กรมหลวงวชริ ญาณ- วงศ์ ทรงเปน็ พระอปุ ัชฌาย์ ไดป้ ระทบั อยู่ศึกษาพระปริยัตธิ รรม ณ วัดบวรนิเวศวิหารตลอดมา จนกระทัง่ สอบไดเ้ ปน็ เปรยี ญธรรม ๙ ประโยค เมื่อพ.ศ. ๒๔๘๔ เจ้าพระคุณสมเด็จพระญาณสังวร ทรงดำ�รงสมณศกั ดิม์ า โดยล�ำ ดบั ดังนี้ ทรงเปน็ พระราชาคณะช้ันสามัญ พระราชาคณะชัน้ ราช และพระราชาคณะชั้นเทพ ในราชทนิ นามที่ พระโศภนคณา- ภรณ์ ทรงเปน็ พระราชาคณะชนั้ ธรรมท่ี พระธรรมวราภรณ์ ทรงเปน็ พระราชาคณะช้ันเจ้าคณะรองท่ี พระสาสนโสภณ ทรงเป็นสมเด็จ พระราชาคณะท่ี สมเดจ็ พระญาณสงั วร และทรงไดร้ บั พระราชทาน สถาปนาเปน็ สมเดจ็ พระสงั ฆราช ในราชทนิ นามท่ี สมเดจ็ พระญาณ- สงั วร สมเดจ็ พระสังฆราช สกลมหาสังฆปริณายก

เจ้าพระคุณสมเด็จพระญาณสังวร ทรงเป็นผู้ใคร่ในการ ศึกษา ทรงมีพระอัธยาศัยใฝ่รู้ใฝ่เรียนมาตั้งแต่ทรงเป็นพระเปรียญ โดยเฉพาะในดา้ นภาษา ทรงศกึ ษาภาษาตา่ งๆ เชน่ องั กฤษ ฝรง่ั เศส เยอรมนั จีน และ สนั สกฤต จนสามารถใชป้ ระโยชน์ไดเ้ ป็นอยา่ งดี กระทั่งเจ้าพระคณุ สมเดจ็ พระสงั ฆราชเจา้ กรมหลวงวชิรญาณวงศ์ พระอุปัชฌาย์ทรงเห็นว่า จะเพลินในการศึกษามากไป วันหนึ่ง ทรงเตอื นวา่ ควรท�ำ กรรมฐานเสยี บา้ ง เปน็ เหตใุ หพ้ ระองคท์ รงเรมิ่ ท�ำ กรรมฐานมาแต่บัดน้ัน และท�ำ ตลอดมาอย่างต่อเน่ือง จึงทรงเป็น พระมหาเถระทที่ รงภมู ิธรรม ทง้ั ดา้ นปริยัตแิ ละด้านปฏบิ ตั ิ เจา้ พระคณุ สมเดจ็ พระญาณสงั วร ทรงศกึ ษาหาความรสู้ มยั ใหมอ่ ยเู่ สมอ เปน็ เหตใุ หท้ รงมที ศั นะกวา้ งขวาง ทนั ตอ่ เหตกุ ารณบ์ า้ น เมอื ง ซงึ่ เปน็ ประโยชนต์ อ่ การสงั่ สอนและเผยแผพ่ ระพทุ ธศาสนาเปน็ อยา่ งมาก และทรงนพิ นธห์ นงั สอื ทางพระพทุ ธศาสนาจ�ำ นวนมากได้ อยา่ งสมสมยั เหมาะแกบ่ คุ คลและสถานการณใ์ นยคุ ปจั จบุ นั และทรง ส่ังสอนพระพทุ ธศาสนาท้ังแกช่ าวไทยและชาวตา่ งประเทศ ในด้านการศึกษา ได้ทรงมีพระดำ�ริทางการศึกษาที่กว้าง ไกล ทรงมีส่วนร่วมในการก่อตั้งมหาวิทยาลัยพระพุทธศาสนาแห่ง แรกของไทย คอื มหาวิทยาลัยมหามกุฏราชวทิ ยาลัยมาแต่ตน้ ทรง ริเริ่มให้มีสำ�นักฝึกอบรมพระธรรมทูตไปต่างประเทศขึ้นเป็นครั้งแรก เพ่อื ฝึกอบรมพระธรรมทูตไทย ที่จะไปปฏิบตั ศิ าสนกิจในต่างประเทศ ทรงเปน็ พระมหาเถระไทยรปู แรก ทไี่ ดด้ �ำ เนนิ งานพระธรรมทตู ในตา่ ง ประเทศอย่างเป็นรูปธรรม โดยเริ่มจากทรงเป็นประธานกรรมการ

อำ�นวยการฝึกอบรมพระธรรมทูตไปต่างประเทศเป็นรูปแรก เสด็จ ไปเป็นประธานสงฆ์ในพิธีเปิดวัดไทยแห่งแรกในทวีปยุโรป คือวัด พทุ ธปทปี ณ กรงุ ลอนดอน สหราชอาณาจกั ร ทรงน�ำ พระพทุ ธศาสนา เถรวาทไปสู่ทวีปออสเตรเลียเป็นครั้งแรก โดยการสร้างวัด พุทธรังษีขึ้น ณ นครซิดนยี ์ ทรงใหก้ ำ�เนดิ คณะสงฆ์เถรวาทขึน้ ใน ประเทศอนิ โดนเี ซยี ทรงชว่ ยฟน้ื ฟพู ระพทุ ธศาสนาเถรวาทในประเทศ เนปาล โดยเสดจ็ ไปใหก้ ารบรรพชาแกศ่ ากยกลุ บตุ รในประเทศเนปาล เปน็ คร้ังแรก ทำ�ใหป้ ระเพณีการบวชฟน้ื ตัวขึ้นอีกคร้ังหน่งึ ในเนปาล ยุคปัจจุบัน ทรงอุปถัมภ์การสร้างวัดแคโรไลนาพุทธจักรวนาราม สหรฐั อเมรกิ า ทรงเจรญิ ศาสนไมตรีกบั องคด์ าไลลามะ กระท่งั เปน็ ท่ีทรงคุ้นเคยและได้วิสาสะกันหลายคร้ัง และทรงเป็นพระประมุข แห่งศาสนจักรพระองค์แรกที่ได้รับทูลเชิญให้เสด็จเยือนสาธารณรัฐ ประชาชนจนี อยา่ งเป็นทางการในประวตั ิศาสตร์จีน เจ้าพระคุณสมเด็จพระญาณสังวร ทรงเป็นนักวิชาการ และนักวิเคราะห์ธรรมตามหลักการของพระพุทธศาสนา ที่เรียกว่า ธมั มวจิ ยะ เพอ่ื แสดงให้เหน็ วา่ พุทธธรรมนั้นสามารถประยกุ ตใ์ ช้กับ กจิ กรรมของชวี ติ ไดท้ กุ ระดบั ตง้ั แตร่ ะดบั พนื้ ฐานไปจนถงึ ระดบั สงู สดุ ทรงมีผลงานด้านพระนิพนธ์ทั้งที่เป็นภาษาไทยและภาษาอังกฤษ จำ�นวนกวา่ ๒๐๐ เรอ่ื ง ประกอบด้วยพระนิพนธ์แสดงคำ�สอนทาง พระพทุ ธศาสนาทง้ั ระดบั ตน้ ระดบั กลาง และระดบั สูง รวมถึงความ เรียงเชงิ ศาสนคดีอกี จ�ำ นวนมาก ซง่ึ ล้วนมคี ุณคา่ ควรแกก่ ารศกึ ษา สถาบันการศึกษาของชาติหลายแห่งตระหนักถึงพระปรีชาสามารถ

และคุณค่าแห่งงานพระนิพนธ์ ตลอดถึงพระกรณียกิจที่ทรงปฏิบัติ จงึ ไดท้ ลู ถวายปรญิ ญาดษุ ฎบี ณั ฑติ กติ ตมิ ศกั ดเิ์ ปน็ การเทดิ พระเกยี รติ หลายสาขา รวม ๑๓ มหาวิทยาลยั นอกจากพระกรณียกิจตามหน้าที่ตำ�แหน่งแล้ว ยังได้ทรง ปฏิบัติหน้าที่พิเศษ อันมีความสำ�คัญย่ิงอีกหลายวาระ กล่าวคือ ทรงเปน็ พระอภบิ าลในพระภกิ ษพุ ระบาทสมเดจ็ พระเจา้ อยหู่ วั รชั กาล ปัจจุบนั เม่อื คร้งั ทรงพระผนวช เมื่อ พ.ศ. ๒๔๙๙ พรอ้ มทัง้ ทรง ถวายความรใู้ นพระธรรมวนิ ยั ตลอดระยะเวลาแหง่ การทรงพระผนวช ทรงเป็นพระราชกรรมวาจาจารย์ ในสมเด็จพระบรมโอรสาธิราช เจ้าฟ้ามหาวชิราลงกรณ สยามมกุฎราชกุมาร เมื่อคร้ังทรงผนวช เปน็ พระภกิ ษุ เมอ่ื พ.ศ. ๒๕๒๑ เจ้าพระคุณสมเด็จพระญาณสังวร ไมเ่ พียงแตส่ ร้างศาสน- ธรรม คอื ค�ำ สอนมอบไวเ้ ปน็ มรดกธรรมแกพ่ ทุ ธศาสนกิ ชนและแกโ่ ลก เท่านั้น แต่ยังได้ทรงสร้างวัตถุธรรมอันนำ�สุขประโยชน์สู่ประชาชน ท่ัวไป มอบไว้เป็นมรดกของแผ่นดินอีกเป็นจำ�นวนมาก อาทิ วดั ญาณสังวราราม ชลบุรี วัดรชั ดาภิเษก กาญจนบรุ ี วดั วังพุไทร เพชรบุรี วัดล้านนาญาณสังวราราม เชียงใหม่ พระบรมธาตุ เจดีย์ศรีนครินทราสถิตมหาสันติคีรี เชียงราย โรงพยาบาลสมเด็จ พระปยิ มหาราชรมณยี เขต กาญจนบรุ ี ตกึ สกลมหาสงั ฆปรณิ ายก ใน โรงพยาบาล และโรงเรยี นในถนิ่ ธรุ กนั ดาร ๑๙ แหง่ โรงพยาบาลสมเดจ็ พระสงั ฆราช พระองคท์ ่ี ๑๙ ทา่ มว่ ง กาญจนบรุ ี ตกึ วชริ ญาณวงศ์ ตกึ วชริ ญาณ สามคั คพี ยาบาร ตกึ ภปร ในโรงพยาบาลจฬุ าลงกรณ์

โรงเรยี นสมเดจ็ พระปยิ มหาราชรมณยี เขต กาญจนบรุ ี และวดั ไทยใน ตา่ งประเทศอกี หลายแหง่ เจา้ พระคณุ สมเดจ็ พระญาณสงั วร ทรงด�ำ รงต�ำ แหนง่ หนา้ ท่ี สำ�คัญทางการคณะสงฆ์ในดา้ นตา่ งๆ มาเป็นลำ�ดบั เป็นเหตใุ ห้ทรง ปฏิบตั ิพระกรณยี กจิ เป็นประโยชนแ์ กพ่ ระศาสนา ประเทศชาติ และ ประชาชน เป็นอเนกประการ นับได้ว่าทรงเป็นพระมหาเถระที่ทรง เพยี บพรอ้ มด้วยอตั ตสมบตั แิ ละปรหิตปฏิบัติ และทรงเปน็ ครฐุ านยี - บุคคลของชาติ ทัง้ ในด้านพทุ ธจักรและอาณาจักร เจ้าพระคุณสมเด็จพระญาณสังวร ทรงเป็นท่ีเคารพ สกั การะตลอดไปถงึ พทุ ธศาสนิกชนในนานาประเทศ ดว้ ยเหตนุ ี้ ทาง รัฐบาลสาธารณรัฐแห่งสหภาพเมียนมาร์ จึงได้ทูลถวายตำ�แหน่ง อภิธชมหารัฐคุรุ อันเป็นสมณศักดิ์สูงสุดแห่งคณะสงฆ์เมียนมาร์ เมื่อ พ.ศ. ๒๕๓๔ และท่ีประชุมผู้นำ�สูงสุดแห่งพุทธศาสนาโลก เมื่อ พ.ศ. ๒๕๕๕ ได้ทูลถวายตำ�แหน่ง พระประมุขสูงสุดแห่ง พระพุทธศาสนาโลก ถึง พ.ศ. ๒๕๔๓ พระสุขภาพของเจ้าพระคุณสมเด็จ พระญาณสังวรถดถอยลง เนื่องจากทรงเจริญพระชนมายุมากขึ้น ไมอ่ �ำ นวยใหท้ รงปฏิบัตพิ ระศาสนกจิ ตา่ งๆ ไดโ้ ดยสะดวก จงึ เสด็จ เข้าประทบั รักษาพระองค์ ณ ตกึ วชริ ญาณ สามคั คพี ยาบาร โรง พยาบาลจฬุ าลงกรณ์ สภากาชาดไทย เมอื่ วนั ท่ี ๒๐ กมุ ภาพันธ์ พ.ศ. ๒๕๔๓ ในช่วงแรกๆ ยังเสดจ็ กลบั ไปประทับ ณ วัดบวร- นเิ วศวหิ าร เปน็ ระยะๆ ครั้งละ ๓-๔ วัน และเสดจ็ ไปสดบั พระ

ปาตโิ มกข์ ณ พระอโุ บสถวัดบวรนิเวศวหิ าร ทกุ วนั ธรรมสวนะเดือน เพญ็ และเดือนดบั กระท่ังพระสขุ ภาพไม่อ�ำ นวย คณะแพทย์ผ้ถู วาย การรักษาพยาบาลจึงกราบทูลให้งดการเสด็จไปสดับพระปาติโมกข์ ดงั กลา่ ว ต้งั แต่ พ.ศ. ๒๕๕๐ เปน็ ตน้ มา ถึงวนั ท่ี ๑๓ ตุลาคม พ.ศ. ๒๕๕๖ พระอาการประชวร โดยท่วั ไปทรดุ ลง คณะแพทย์จงึ ได้ถวายการผา่ ตัดพระอันตะ (ล�ำ ไส้) และพระอันตคุณ (ล�ำ ไส้น้อย) หลงั การผา่ ตดั ทรงมพี ระอาการท่วั ไป เป็นทพ่ี อใจของคณะแพทย์ ถึงวนั ที่ ๒๑ ตุลาคม พ.ศ. ๒๕๕๖ เริ่มมพี ระอาการความดันพระโลหติ ลดลง แตม่ ีการกระเตื้องข้ึนเปน็ ระยะๆ กระทง่ั ถงึ วันที่ ๒๔ ตุลาคม พ.ศ. ๒๕๕๖ ความดนั พระโลหติ ลดลงถงึ ๒๐ และคงตวั อยรู่ ะยะหนงึ่ ถงึ เวลา ๑๙.๓๐ น. ความดันพระโลหติ ลงถงึ ๐ ในทันทีทันใด คณะแพทย์ได้ออกแถลงการณ์ในเวลาต่อมาว่า เจ้า พระคณุ สมเด็จพระญาณสงั วร สมเด็จพระสังฆราช สกลมหาสังฆ- ปริณายก ส้นิ พระชนม์ดว้ ยการติดเชือ้ ในกระแสพระโลหติ เม่ือวนั ท่ี ๒๔ ตุลาคม พ.ศ. ๒๕๕๖ เวลา ๑๙.๓๐ น. สิรพิ ระชนมายุ ได้ ๑๐๐ พรรษากบั ๒๑ วัน วันท่ี ๒๕ ตุลาคม พ.ศ. ๒๕๕๖ ได้เชญิ พระศพจาก โรงพยาบาลจุฬาลงกรณ์ สภากาชาดไทย มายังพระตำ�หนักเพ็ชร วัดบวรนิเวศวิหาร พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวทรงพระกรุณา โปรดเกลา้ ฯ ใหส้ มเด็จพระบรมโอรสาธริ าชฯ สยามมกฎุ ราชกุมาร เสด็จพระราชดำ�เนินแทนพระองค์มาถวายน้ำ�สรงพระศพ ณ พระ

ตำ�หนักเพ็ชร วัดบวรนิเวศวิหาร แล้วเชิญพระศพประดิษฐานใน พระโกศกุด่นั ใหญ่ ภายใต้เศวตฉัตร ๓ ชั้น บนพระแท่นแว่นฟา้ ปิด ทองประดบั กระจก แวดลอ้ มดว้ ยฉัตรเครอื่ งสงู ๓ คู่ ประดบั พุ่ม ตาดทองดอกไมแ้ จกนั และเทยี นไฟฟ้ารายรอบพระโกศบนพระแท่น แว่นฟ้าทง้ั สองชั้น พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวทรงพระกรุณาโปรดเกล้าฯ ให้มีพระพิธีธรรมสวดพระอภิธรรมถวายพระศพ ท้ังกลางวันและ กลางคนื พร้อมท้งั มีประโคมย่�ำ ยามถวายพระศพ เป็นเวลา ๗ วัน ทรงพระกรณุ าโปรดเกลา้ ฯ ใหบ้ �ำ เพญ็ พระราชกศุ ลสตั ตมวาร (๓๐ - ๓๑ ตลุ าคม ๒๕๕๖) ปัญญาสมวาร (๑๑ - ๑๒ ธันวาคม ๒๕๕๖) และสตมวาร (๓๐ - ๓๑ มกราคม ๒๕๕๗) ถวาย พระศพตามราชประเพณโี ดยลำ�ดบั นบั แตไ่ ด้เชญิ พระศพประดิษฐาน ณ พระตำ�หนักเพ็ชร วดั บวรนิเวศวหิ าร เม่ือวนั ที่ ๒๕ ตุลาคม พ.ศ. ๒๕๕๖ เปน็ ต้นมา ได้มพี ระบรมวงศานุวงศ์ ผนู้ �ำ ประเทศ ทตู านทุ ูตประเทศตา่ งๆ และ องค์กรศาสนา พรอ้ มท้งั พุทธศาสนกิ ชน ทัง้ ภายในประเทศและต่าง ประเทศ มาถวายสกั การะเคารพพระศพอย่างเนืองแนน่ อยา่ งมิเคย ปรากฏมากอ่ น อาทิ คณะทตู านทุ ตู กวา่ ๒๓ ประเทศ มารว่ มในการบ�ำ เพญ็ พระ ราชกศุ ลสัตตมวาร (๗ วนั ) ในวนั ท่ี ๓๐ ตลุ าคม พ.ศ. ๒๕๕๖ พระราชกุศลปญั ญาสมวาร (๕๐ วนั ) วนั ที่ ๑๑ ธนั วาคม พ.ศ. ๒๕๕๖ และ พระราชกุศลสตมวาร (๑๐๐ วัน) วันท่ี ๓๐

มกราคม พ.ศ. ๒๕๕๗ พระราชทานพระศพเจา้ พระคุณสมเด็จฯ วนั ท่ี ๘ พฤศจกิ ายน พ.ศ. ๒๕๕๖ ส�ำ นกั วาตกิ นั โดย สภาประมุขบาทหลวงโรมนั คาธอลิกแห่งประเทศไทย ไดป้ ระกอบพธิ ี มิสซาถวายพระกศุ ลแด่พระศพเจา้ พระคณุ สมเด็จฯ วันท่ี ๑๒ พฤศจิกายน พ.ศ. ๒๕๕๖ คณะสงฆแ์ ห่ง นิกายเนนบุตซึสุ แห่งประเทศญ่ีปุ่น ได้ประกอบพิธีสวดถวายพระ กุศลแด่พระศพเจา้ พระคณุ สมเดจ็ ฯ วันที่ ๑๕ พฤศจิกายน พ.ศ. ๒๕๕๖ ฯพณฯ เชอรร์ งิ ตอ็ ปเกย์ นายกรฐั มนตรแี หง่ ประเทศภฏู าน พรอ้ มดว้ ยภรยิ าและคณะ ได้มาถวายสักการะเคารพพระศพเจา้ พระคุณสมเด็จฯ วนั ท่ี ๑๒ ธันวาคม พ.ศ. ๒๕๕๖ พระมหาคณาจารย์ จีนธรรมสมาธิวตั ร เจ้าคณะใหญ่จีนนกิ าย พร้อมดว้ ยคณะสงฆจ์ นี ได้ประกอบพธิ ีกงเต็กนอ้ มถวายพระกุศลแด่เจ้าพระคณุ สมเดจ็ ฯ วันท่ี ๗ กุมภาพนั ธ์ พ.ศ. ๒๕๕๗ พระมหาคณานัม- ธรรมปัญญาธิวัตร เจ้าคณะใหญ่อนัมนิกาย พร้อมด้วยคณะสงฆ์ อนมั นกิ าย ได้ประกอบพธิ กี งเต็กน้อมถวายพระกุศลแด่เจ้าพระคุณ สมเด็จฯ วนั ที่ ๑๗ - ๒๔ มนี าคม พ.ศ. ๒๕๕๗ รฐั บาลอนิ เดีย โดยรัฐมนตรีกระทรวงวัฒนธรรม ประเทศอินเดีย และ ฯพณฯ เอกอคั รราชทตู อนิ เดยี ประจ�ำ ประเทศไทย ไดป้ ระกอบพธิ วี ชั รยานบชู า ถวายพระกุศลแด่พระศพเจ้าพระคณุ สมเด็จฯ อย่างเตม็ รูปแบบตาม ลัทธิวชั รยานแห่งทเิ บต

วนั ท่ี ๑๒ เมษายน พ.ศ. ๒๕๕๗ คณะสงั ฆเถรวาทแหง่ อนิ โดนเี ซยี พรอ้ มดว้ ยพทุ ธศาสนกิ ชนอนิ โดนเี ซยี จ�ำ นวนกวา่ ๑๐๐ คน ได้บ�ำ เพ็ญกศุ ลถวายพระศพเจ้าพระคณุ สมเดจ็ ฯ นอกจากนี้ ยงั ได้มผี ู้น�ำ องคก์ รทางศาสนาในประเทศตา่ งๆ ส่งสารแสดงความอาลัย เน่ืองในการสิ้นพระชนม์ของเจ้าพระคุณ สมเด็จฯ จำ�นวนมาก อาทิ องค์ทะไลลามะ พระสังฆราช พระ สังฆนายก องค์กรระหว่างประเทศ และองค์กรพุทธศาสนาจาก นานาประเทศ กลา่ วไดว้ ่า เจา้ พระคณุ สมเด็จพระญาณสงั วร สมเดจ็ พระ สงั ฆราช สกลมหาสังฆปริณายก ทรงด�ำ รงอยูใ่ นฐานะพระสงั ฆบดิ ร ของพทุ ธบรษิ ทั ท่วั โลกโดยแท้ ลุถึงวนั ที่ ๓ ตลุ าคม พ.ศ. ๒๕๕๗ ตรงกับวันคลา้ ยวัน ประสูติของเจ้าพระคุณสมเด็จพระญาณสังวร สมเด็จพระสังฆราช สกลมหาสงั ฆปรณิ ายก ครบ ๑๐๑ ปี และวนั ท่ี ๒๔ ตลุ าคม พ.ศ. ๒๕๕๗ ตรงกบั วนั สนิ้ พระชนมข์ องเจา้ พระคณุ สมเดจ็ ฯ ครบ ๑ ปี พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว ได้ทรงพระกรุณาโปรดพระราชทาน พระบรมราชูปถัมภ์จัดงานบำ�เพ็ญกุศลถวายแด่เจ้าพระคุณ สมเดจ็ ฯ เน่อื งใน ๒ วาระนี้ เรียกว่า “งานบำ�เพญ็ กุศลครบ ๑ ปี แห่งการส้ินพระชนม์ สมเด็จพระญาณสังวร สมเด็จพระสังฆราช สกลมหาสงั ฆปริณายก” ระหวา่ งวันท่ี ๓ - ๒๔ ตุลาคม พ.ศ. ๒๕๕๗ ณ วดั บวรนิเวศวหิ าร ในการน้ี รฐั บาล ศษิ ยานศุ ิษย์ และ พทุ ธศาสนกิ ชนไดร้ ว่ มโดยเสดจ็ พระราชกุศล

งานบ�ำ เพ็ญกุศลเริ่มแตว่ ันท่ี ๓ ตุลาคม พ.ศ. ๒๕๕๗ เวลาเช้า มกี ารถวายภัตตาหารเช้าแด่พระภกิ ษุสามเณร ๑๕๐ รปู ณ ประร�ำ ขา้ งพระต�ำ หนกั เพช็ ร แลว้ มกี ารตกั บาตรพระภกิ ษสุ ามเณร ๑๕๐ รปู ณ ถนนพระสุเมรุหนา้ วดั บวรนเิ วศวิหาร โดยมี ฯพณฯ พลเอกประยทุ ธ์ จนั ทร์โอชา นายกรัฐมนตรีเป็นประธาน พรอ้ มด้วย พุทธศาสนิกชนทั้งภาครฐั และภาคเอกชน เสรจ็ แลว้ ฯพณฯ นายก รัฐมนตรี ในนามของพุทธศาสนิกชนทั้งมวลไปวางพวงมาลาถวาย สกั การะพระศพเจา้ พระคุณสมเด็จฯ ณ ลานหนา้ พระต�ำ หนักเพช็ ร จากนั้นไปชมนิทรรศการพระประวัติเจ้าพระคณุ สมเด็จฯ ณ ตึกสภา การศกึ ษา มหาวทิ ยาลัยมหามกฏุ ราชวทิ ยาลัย เวลาเพล พระบาทสมเดจ็ พระเจา้ อยหู่ วั ทรงพระกรณุ าโปรด พระราชทานพระบรมราชูปถัมภ์การบำ�เพ็ญกุศลคล้ายวันประสูติ ถวายพระกุศลแด่เจ้าพระคุณสมเด็จฯ โดยมีพระสงฆ์ ๑๐ รูป เจริญพระพุทธมนต์ และถวายภัตตาหารเพลแด่พระสงฆ์ที่เจริญ พระพุทธมนต์ พร้อมทง้ั พระภิกษสุ ามเณรอีก ๑๕๐ รปู เวลาเยน็ คณะสงฆว์ ดั บวรนเิ วศวหิ ารและคณะศษิ ยานศุ ษิ ย์ เป็นเจ้าภาพสวดพระอภธิ รรมถวายพระศพ ระหว่างวันท่ี ๓ ตุลาคม พ.ศ. ๒๕๕๗ ซ่ึงเป็นวัน คลา้ ยวนั ประสตู ิถงึ วันท่ี ๒๔ ตุลาคม พ.ศ. ๒๕๕๗ ซง่ึ ตรงกับ วันส้ินพระชนม์ครบ ๑ ปี ได้จัดให้มีกิจกรรมที่เปิดโอกาสให้คณะ ศิษยานุศิษย์และประชาชนท่ัวไปได้ร่วมในการระลึกถึงพระองค์ท่าน โดยในช่วงระยะเวลานั้น มีการเปิดให้ประชาชนเข้าถวายสักการะ

พระศพ ฯ รว่ มฟงั สวดพระอภธิ รรมพระศพ โดยมหี นงั สอื สมั มาทฏิ ฐิ และซีดีเสยี งอ่าน จติ ตนคร โดย คุณเพชรี พรหมช่วย แจกเป็นที่ ระลกึ ให้ผูท้ ่มี าร่วมสักการะพระศพฯ ทกุ วัน พร้อมเปิดให้ประชาชน เข้าชมและสักการะพระพุทธรูปสำ�คัญของชาติ ในเขตพุทธาวาส วัดบวรนเิ วศวิหาร ๙ แหง่ และมีการจัดกิจกรรม “บุปผาวิธานบูชา” คือ การให้ ประชาชนร่วมปักดอกบานไม่รู้โรย บนพระรูปเจ้าพระคุณสมเด็จฯ ในอิริยาบทต่างๆ เพ่ือแสดงความระลึกถึงพระองค์ท่านอย่างไม่ เสอื่ มคลาย เสมอื นพระองคย์ งั คงด�ำ รงอยู่ ดง่ั ความส�ำ นกึ ในพระคณุ พระองค์ท่านท่ีอยู่ในความระลึกถึงอย่างไม่เคยเส่ือมคลายไปจากใจ ของคณะศิษยานุศิษย์และประชาชนชาวไทย โดยหลังจากมีการปัก ภาพเสร็จแลว้ จะท�ำ การรวบรวมภาพ เพื่อจัดเป็นนิทรรศการตอ่ ไป มกี ารจดั กจิ กรรม “ปฏบิ ัติธรรมสงั ฆราชบชู า ครบ ๑ ปี แหง่ การสน้ิ พระชนม”์ เชญิ ชวนพทุ ธศาสนกิ ชนรว่ มสวดพระพทุ ธมนต์ ฟงั พระธรรมเทศนาและปฏบิ ตั ธิ รรม โดยการน�ำ ของพระวปิ สั สนาจารย์ สายกรรมฐาน นอ้ มอทุ ศิ ถวายพระกศุ ลแด่เจ้าพระคุณสมเดจ็ ฯ ณ พระตำ�หนักเพช็ ร วัดบวรนิเวศวิหาร นอกจากน้ี ในทุกวันเสาร์ และวันอาทิตย์ ตลอดเดือน ตลุ าคม พ.ศ. ๒๕๕๗ (วนั ท่ี ๓, ๔, ๕, ๑๑, ๑๒, ๑๘, ๑๙, ๒๓ และ ๒๔ ตลุ าคม) ไดจ้ ดั ใหม้ กี จิ กรรมการอา่ นบทเสภา และบทกลอน ในพระนิพนธ์ของเจ้าพระคุณสมเด็จฯ ท่ีพระองค์ได้ทรงนิพนธ์ไว้ จำ�นวนมากกว่าร้อยบท ซึ่งยังไม่เคยได้รับการเผยแพร่มาก่อน

โดยผู้เชี่ยวชาญด้านวรรณกรรมจะเป็นผู้อ่านบทร้อยกรองดังกล่าว ทุกวันเสาร์และอาทิตย์ก่อนการเร่ิมพิธี “ปฏิบัติธรรมสังฆราชบูชา ครบ ๑ ปี แห่งการส้นิ พระชนม”์ เวลา ๑๖.๐๐ น. อนึ่งมหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลธัญบุรีได้ประดิษฐ์ พวงมาลาขนาดพิเศษ คือขนาด ๓ เมตร โดยใช้ดอกไม้จำ�นวน ๑๐๐,๑๐๑ กลบี (หนง่ึ แสนหนงึ่ ร้อยหนงึ่ กลบี ) มีน้�ำ หนกั ๑๐๑ กโิ ลกรมั ท้งั น้ี พวงมาลาทป่ี ระดษิ ฐเ์ ป็นรูปดอกบัวซ่ึงเป็นดอกไม้ ท่ีมีความสำ�คัญทางพระพุทธศาสนา ซ้อนด้วยดอกไม้ประดิษฐ์เป็น รูปทรงพุ่มข้าวบิณฑ์อันเป็นรูปแบบพัดยศ พุ่มข้าวบิณฑ์มี ๒๑ แฉก สัญลักษณ์แทนวันท่ีได้รับพระราชทานสถาปนาเป็นสมเด็จ พระสังฆราช ๒๑ เมษายน ๒๕๓๒ พื้นตรงกลางพวงมาลา ถักร้อยดว้ ยตาข่ายดอกรัก อันแทนความศรัทธาและจงรักภกั ดขี อง พทุ ธศาสนกิ ชน ดา้ นลา่ งประดษิ ฐเ์ ปน็ รปู ชา้ งสามเศยี รมคี วามหมาย แทนพระสกุล “คชวัตร” บนเศียรช้างเทินด้วยพานพุ่มรูปดอกบัว สัญลกั ษณ์แหง่ อามสิ บชู า เหนือพานพมุ่ ประดษิ ฐานอกั ษรพระนาม ย่อ ญสส. อักษรพระนามสมเด็จพระสังฆราช ด้านล่างประดับ ด้วยดอกไม้ประดิษฐ์ มีพวงดอกไม้แบบราชสำ�นัก พร้อมประดิษฐ์ ดอกไม้ “บัวสเ่ี หล่า” เพื่อประดบั หน้าพระโกศ โดยคณาจารยแ์ ละ นกั ศึกษา สาขาเทคโนโลยงี านประดษิ ฐ์สรา้ งสรรค์ คณะเทคโนโลยี คหกรรมศาสตร์ ท่ีตึกมนุษยนาค เปิดพิพิธภัณท์เจ้าอาวาสทุกพระองค์ ของวดั บวรนเิ วศวหิ าร และทโี่ ถงตกึ มนษุ ยนาค ไดจ้ ดั กจิ กรรมตา่ งๆ

อาทิ การแสดงดนตรีเพลงของกลุม่ ศลิ ปนิ เปน็ คตี ญั ชลีบูชา เพ่ือ ร�ำ ลกึ ถึงเจ้าพระคุณสมเดจ็ ฯ อกี ด้วย ที่ตึกสภาการศึกษามหามกุฏราชวิทยาลัย มีการจัด นทิ รรศการ “สัมพัจฉรานุสรณ์ ครบ ๑ ปี แหง่ การส้ินพระชนม”์ นิทรรศการคร้ังน้ีได้รวบรวมกิจกรรมตลอดระยะเวลา ๑ ปีแห่ง การสิ้นพระชมน์ ตลอดจนจดหมายเหตุแห่งการส้ินพระชนม์ เพ่ือ ถ่ายทอดให้ประชาชนได้มีโอกาสได้ร่วมรับรู้ถึงความสำ�นึกในพระ เมตตาคณุ พระกรณุ าธคิ ณุ ทปี่ ระชาชนทงั้ ในประเทศและตา่ งประเทศ ได้มีโอกาสมาร่วมแสดงอาลัยต่อพระองค์ท่าน และในนิทรรศการ ครั้งน้ี ได้มีการเปิดตัวภาพยนตร์การ์ตูนเรื่อง “เมืองนิรมิต แห่ง จิตตนคร” ในรูปแบบใหม่ทันสมัย น่าตื่นตาต่ืนใจ โดยการจัดทำ� เปน็ โรงภาพยนต์ เสียงเซอร์ราว ทด่ี �ำ เนินการผลติ โดย “คณะเมือง นิรมิต แห่งจิตตนคร” ซ่ึงเป็นคณะจิตอาสาที่ร่วมกันสร้างสรรค์ ขึ้น เพ่ือถวายเจ้าพระคณุ สมเดจ็ ฯ ในคร้งั น้ี นอกจากนยี้ ังไดจ้ ดั ท�ำ หนงั สอื การ์ตนู พร้อมจัดพมิ พเ์ ป็นหนังสอื แจกแกผ่ ้เู ข้าชม จำ�นวน ๑๐,๐๐๐ เล่ม วันท่ี ๒๔ ตุลาคม พ.ศ. ๒๕๕๗ ตรงกบั วันสน้ิ พระชนม์ ครบ ๑ ปี พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวทรงพระกรุณาโปรด พระราชทานพระบรมราชูปถมั ภก์ ารบ�ำ เพญ็ กุศลครบ ๑ ปี แห่งการ สิ้นพระชนมถ์ วายเจ้าพระคุณสมเดจ็ ฯ เริ่มแตว่ ันท่ี ๒๓ ตลุ าคม เวลาเยน็ มพี ระธรรมเทศนากณั ฑ์หนงึ่ แล้วพระสงฆ์ ๒๐ รปู สวด มาติกา สดับปกรณ์ เวลาคำ�่ คณะสงฆว์ ัดบวรนิเวศวิหารและคณะ

อบุ าสกอุบาสกิ า จัดใหม้ ีการสวดพระอภิธรรมถวายพระศพ วันท่ี ๒๔ ตุลาคม เวลาเช้า พระสงฆ์ ๑๐ รูปสวด พระพุทธมนต์ จบแล้วถวายภัตตาหารเพลแด่พระสงฆ์ที่สวด พระพุทธมนต์ และพระภกิ ษุสามเณรอกี ๑๕๐ รปู โดยมี ฯพณฯ พลเอกประยุทธ์ จนั ทรโ์ อชา นายกรัฐมนตรี เปน็ ประธานในพธิ ี ตอนบ่าย มีพิธีมอบทุนส่งเสริมการศึกษาพระปริยัติธรรม แผนกบาลี แก่สำ�นักศาสนศึกษาทั่วประเทศท่ีมีการจัดการศึกษาดี เด่น ประจำ�ปี พ.ศ. ๒๕๕๗ ของมูลนิธิสมเด็จพระญาณสังวร สมเดจ็ พระสงั ฆราช วดั บวรนเิ วศวหิ าร ในพระบรมราชปู ถมั ภ์ ณ พระตำ�หนักเพ็ชรด้วย โดยสมเด็จพระวันรัต รักษาการเจ้าอาวาส วดั บวรนิเวศวหิ าร เป็นประธานในพธิ ี ตอนเยน็ มกี ารสวดพระอภธิ รรมถวายพระศพ แลว้ พระสงฆ์ วัดบวรนิเวศวิหารสวดพระพุทธมนต์ถวายพระกุศลแด่เจ้าพระคุณ สมเด็จฯ ณ พระต�ำ หนักเพช็ ร วันท่ี ๘ ธันวาคม พ.ศ. ๒๕๕๗ ท่ีประชุมสุดยอด ชาวพทุ ธโลก ประกอบดว้ ยพระราชาธิบดี ผนู้ ำ�ทางการเมือง ผู้นำ� ทางพระพุทธศาสนาและบุคคลสำ�คัญของโลกจาก ๔๑ ประเทศ ได้ร่วมประกอบพิธีสวดมนต์ถวายพระกุศล และเทิดพระเกียรติ แด่เจ้าพระคุณสมเด็จพระญาณสังวรฯ พระประมุขสูงสุดแห่ง พุทธศาสนาโลก ณ วิหารแห่งวัดเนนบุตซึสุ เมืองกาโต จังหวัด ควิ โงะ ประเทศญี่ปุ่น



สารบญั ๑ ๔ มนษุ ยธรรม ๑๘ มนษุ ยธรรมท่ี ๑ ๓๓ มนษุ ยธรรมท่ี ๒ ๕๐ มนุษยธรรมท่ี ๓ ๖๖ มนษุ ยธรรมที่ ๔ ๘๐ มนุษยธรรมท่ี ๕ ปกตภิ าพ – ปกติสขุ

มนุษยธรรม ในโลกน้ี มมี นษุ ยแ์ ละดริ จั ฉานนานาชนดิ สบื ตอ่ กนั มาอยู่ เพราะอาศัยความไม่ล้างผลาญชีวิตกัน และความมีเมตตาต่อ กัน ส่วนสัตว์บางชนิดที่ดุร้ายและอยู่รวมกันเป็นหมู่ใหญ่ไม่ได้ เพราะความดุร้าย ปรากฏว่าได้สูญพันธุ์ไปแล้วก็มี เช่น สัตว์ ไดโนเสาร์ และที่เห็นกันว่ากำ�ลังจะสูญพันธ์ุไปก็มี เช่น เสือ มีคำ�กล่าวยกเสือเป็นข้อเปรียบเทียบว่า เสือสองตัวอยู่ถำ้� เดียวกันไม่ได้ ก็แสดงถึงความดุร้ายของเสือท่ีทำ�ลายแม้พวก เดยี วกนั มีบางคนเห็นว่า สัตว์ที่มีกำ�ลังมากจะคงอยู่ได้ในโลก ส่วนสัตว์ท่ีมีกำ�ลังน้อยจะหมดไป เพราะสัตว์ที่มีกำ�ลังมาก เบียดเบียนสัตว์ท่ีมีกำ�ลังน้อย เหมือนอย่างปลาใหญ่กินปลา เล็ก ฉะน้ัน เม่ือต้องการจะดำ�รงอยู่ก็ต้องทำ�ให้ตนมีกำ�ลังมาก ความเห็นนี้ยกเหตุผลคัดค้านได้ว่า มีกำ�ลังมากอย่างเดียว 1

ไม่อาจดำ�รงอยู่ได้ ดังสัตว์บางจำ�พวกท่ีกล่าวมานั้น ส่วนสัตว์ มกี �ำ ลงั น้อย แตอ่ ยู่รวมกนั ไดเ้ ปน็ หมูใ่ หญ่ ไมเ่ บียดเบียนท�ำ รา้ ย ลา้ งชวี ติ กนั มเี มตตาตอ่ กนั สามารถด�ำ รงอยไู่ ด้ พงึ เหน็ หมมู่ นษุ ย์ ตลอดจนถึงในหมสู่ ัตว์ดิรัจฉาน แม้ชนดิ เลก็ ๆ เช่น มด ปลวก เปน็ ตน้ ฉะนน้ั การไมท่ �ำ ลายลา้ งชวี ติ กนั ตามศลี ของพระพทุ ธเจา้ และความมเี มตตากรณุ าตามธรรมของพระพทุ ธเจา้ จึงเป็นเหตุ เพอ่ื ความดำ�รงอย่ขู องชวี ิตทง้ั หลายในโลก เร่ืองศีลจึงเป็นข้อปฏิบัติข้ันแรกของพระพุทธศาสนา หรือจะกล่าวอีกอย่างหน่ึงว่า เป็นข้อปฏิบัติของความเป็นคน กไ็ ด้ เพราะฉะนน้ั “ศลี ” โดยเฉพาะศลี หา้ จงึ เปน็ “มนษุ ยธรรม” คอื เปน็ ธรรมของมนุษย์ แปลว่า คนเราจะเป็นมนุษย์ทสี่ มบรู ณ์ น้ัน มิใช่ว่าจะเกิดมาเป็นมนุษย์เท่านั้น จะต้องมีธรรมสำ�หรับ มนุษย์อีกด้วย จนถึงมีภาษิตหิโตปเทศที่กล่าวไว้โดยความว่า “คนและสตั วเ์ ดรจั ฉานนน้ั ยอ่ มมกี ารกนิ การนอน การสบื พนั ธุ์ เสมอกัน แต่สิ่งที่ทำ�ให้คนต่างกับสัตว์เดรัจฉานน้ันก็คือธรรม” 2

และธรรมทเ่ี ปน็ เครอ่ื งสนบั สนนุ ใหม้ ศี ลี ๕ ทเ่ี รยี กวา่ เป็นเหตุอัน ใกลก้ ค็ อื “หริ ”ิ ความละอายแกใ่ จ “โอตตปั ปะ” ความเกรงกลวั ต่อความชว่ั หิริโอตตัปปะนเ้ี ป็นเหตใุ กลข้ องศลี การถอื ศลี นั้น อาจจะปฏิบตั ใิ นวงกว้างก็ได้ ในวงแคบ ก็ได้ เชน่ ชาวประมงกอ็ าจรักษาศลี ข้อ ๑ คือ ปาณาติปาตา เวรมณี ไดใ้ นวงจำ�กดั ยกเว้นสัตวท์ ี่เป็นอาชพี ของตน หรือวา่ งดเว้นโดยไม่จำ�กัดในวันใดวันหน่ึง เช่น ในธรรมเนียมเก่าของ ไทยเรา เวน้ การฆา่ สตั ว์ในวันพระ ในเวลาน้ใี นชนบทหลายแหง่ ก็ยงั ปฏิบัติกันอยู่ 3

มนษุ ยธรรมท่ี ๑ ปาณาตปิ าตา เวรมณี เวน้ จากการฆา่ สตั วม์ ชี วี ติ ค�ำ วา่ สตั วม์ ีชีวติ แปลจากค�ำ วา่ ปาณะ คอื อินทรีย์ที่หายใจ ทมี่ ีชวี ติ เป็นอยู่ หมายถึงมนษุ ยแ์ ละดริ ัจฉานทั่วไปทุกชนิด เพราะเม่อื มี ชวี ติ เปน็ อยกู่ ต็ อ้ งหายใจเหมอื นกนั หมด การหายใจหมายถงึ ความ มีชวี ิต หรือความมีชีวติ ก็หมายถึงการหายใจ คำ�วา่ ปาณา จงึ แปลฟังง่ายๆ ว่า สตั ว์มีชวี ิต ซ่งึ หมายถงึ ทง้ั มนุษย์ ท้งั ดริ จั ฉาน ทยี่ งั หายใจไดอ้ ยดู่ งั กลา่ วน้ี การฆา่ คอื การท�ำ ใหต้ ายดว้ ยวธิ ใี ดวธิ ี หนึง่ กต็ าม ตลอดจนถึงการท�ำ ใหแ้ ท้งลูก กช็ ่ือว่าการฆา่ เหมือน กัน เว้นจากการฆ่าสัตว์ท่ีมีชีวิต คือความต้ังใจงดเว้นจากการ ฆ่าสตั ว์ทกุ ชนิด ความตั้งใจงดเว้นหรือความงดเว้นได้ ไม่ฆ่านี้ ถ้าไม่ ได้รบั ศลี ไวก้ อ่ น แตเ่ มอ่ื พบสตั วม์ ชี วี ติ พอจะฆา่ ได้ กค็ ดิ งดเวน้ ขน้ึ ได้ เช่น เม่อื ยุงกัด จะตบให้ตายกไ็ ด้ แตไ่ มต่ บ เพียงแตป่ ดั ใหไ้ ป 4

อย่างน้เี ปน็ สัมปตั ตวริ ัติ ความเวน้ จากวตั ถทุ ี่จะพึงล่วงได้อันมา ถึงเฉพาะหน้า ถ้างดเว้นได้ด้วยรับศีลไว้ก่อน หรือตั้งใจถือศีล ไว้ก่อน เป็นสมาทานวิรัติ ความเว้นด้วยการถือเป็นกิจวัตร ถ้างดเว้นได้เป็นปกตินิสัยของตนจริงๆ ก็เป็นสมุจเฉทวิรัติ ความเวน้ ดว้ ยการตดั ขาดมอี นั ไมท่ �ำ อยา่ งนนั้ เปน็ ปกติ ความตง้ั ใจ งดเวน้ ดงั กลา่ วมีเมอ่ื ใด ศีลขอ้ น้กี ็มีเมอื่ น้นั มปี ญั หาว่า เดก็ ๆ ไมร่ ู้เดยี งสา ไมไ่ ด้ฆา่ สตั วอ์ ะไร จะ ชื่อว่ามีศีลหรือไม่ คนที่ยังไม่ฆ่าสัตว์เพราะยังไม่มีโอกาสจะฆ่า จะช่อื ว่ามศี ลี หรอื ไม่ ก็อาจตอบไดด้ ว้ ยอาศยั หลักวริ ตั ิวา่ ไม่ชอ่ื ว่ามศี ีล เพราะไม่มีวริ ตั ิเจตนา คือความตงั้ ใจงดเว้น เช่น เด็ก ไม่รูเ้ ดยี งสานน้ั ยังไมร่ ู้จกั ตั้งใจงดเวน้ คนทยี่ งั ไม่มโี อกาสจะฆา่ ก็ ไม่มคี วามต้งั ใจงดเว้น การล่วงศีลข้อน้ีมีขึ้นในเมื่อสิ่งท่ีจะฆ่าเป็นสัตว์มีชีวิต ตนกร็ ู้อยูว่ า่ เป็นสัตว์มชี ีวิต มเี จตนาคดิ จะฆ่า พยายามฆ่าด้วย เจตนานัน้ ด้วยการทำ�เองก็ตาม สั่งใชใ้ ห้คนอืน่ ทำ�กต็ าม และ 5

สตั วก์ ต็ ายด้วยความพยายามนนั้ เม่ือประกอบด้วยองค์ลักษณะ ดังกล่าว ศีลก็ขาด มีปัญหาว่าไม่ได้เจตนาเหยียบมดตาย ศีล ขาดหรอื ไม่ ก็ตอบได้ว่าไม่ขาด เพราะไม่รูว้ า่ สัตว์มีชวี ิต ยงุ กดั ตบยุง แต่ยุงบินหนีไปเสียก่อน ศีลขาดหรือไม่ ก็ตอบได้ว่า ไม่ขาด เพราะวา่ สตั ว์ไมต่ าย การฆา่ สตั ว์ ท่านแสดงว่ามีโทษมากและน้อยตา่ งๆ กนั คอื ถา้ ฆา่ ผทู้ ม่ี คี ณุ มาก มเี จตนาฆา่ แรงมาก มคี วามพยายามมาก ก็มีโทษมาก ถา้ ฆ่าผู้ทีม่ ีคณุ น้อย มเี จตนาอ่อน มีความพยายาม น้อย กม็ ีโทษนอ้ ยลงมาตามสว่ น ผู้ทำ�ศีลข้อนี้ขาดแล้ว เมื่อรับศีลใหม่ หรือไม่รับจาก ใคร แต่ตั้งใจถือศีลข้ึนใหม่ด้วยตนเอง ศีลก็กลับมีขึ้นใหม่ เพราะหลกั อยทู่ วี่ ิรัติเจตนา คอื ความตง้ั ใจงดเวน้ ดงั กล่าว ต้ังใจ งดเว้นขนึ้ เมือ่ ใด ศลี กเ็ กิดขึ้นเม่ือน้ัน ฉะน้ัน ถงึ จะรับศลี จากพระ แต่รับเพียงด้วยปาก ใจไม่ได้คิดงดเว้นอะไร ก็ไม่เกิดเป็นศีล ขน้ึ ถงึ ไมไ่ ดร้ บั ศีลจากพระ แต่มใี จงดเว้น กเ็ กิดเป็นศีลข้ึนได้ 6

มขี อ้ ทตี่ า่ งกนั อยวู่ า่ การรบั จากพระเปน็ การแสดงตนและเปน็ การ กล่าวค�ำ สตั ยป์ ฏิญาณ ซ่ึงท�ำ ให้ตอ้ งส�ำ นึกตนในคำ�สัตย์ปฏญิ าณ นนั้ เป็นเคร่อื งช่วยท�ำ ใหศ้ ลี มั่นเขา้ และการรบั ศลี เม่อื ไมไ่ ด้ตงั้ ใจ รบั เปน็ นจิ ถงึ จะไปลว่ งศลี เขา้ ในภายหลงั เพราะความพลงั้ เผลอ หรือเพราะเหตุจำ�เป็นอย่างใดอย่างหนึ่ง ก็ไม่เสียสัตย์ปฏิญาณ อะไร ทง้ั นี้ก็สดุ แต่จะตัง้ เจตนาไวอ้ ยา่ งไร พระพุทธเจ้าตรัสไว้มีความว่า ตนรักชีวิตของตน สะดุ้งกลัวความตายฉันใด สัตว์อื่นก็รักชีวิตของตน สะดุ้งกลัว ความตายฉันนั้น ฉะนั้น จึงไม่ควรฆ่าเอง ไม่ควรใช้ให้คนอื่น ฆ่า อน่ึง ตนรักสุขเกลียดทุกข์ฉันใด สัตว์อื่นก็รักสุขเกลียด ทุกข์ฉันน้ัน จึงไม่ควรสร้างความสุขให้แก่ตน ด้วยการก่อทุกข์ ให้แก่คนอื่น อาศัยหลักพระพุทธภาษิตดังกล่าวน้ีจึงเห็นได้ว่า พระพุทธเจา้ ทรงบญั ญตั ศิ ีลข้อที่ ๑ ด้วยอาศัยหลกั ยตุ ิธรรมและ หลักเมตตากรณุ า 7

หลักยุติธรรมคือหลักการให้ความยุติธรรม คุ้มครอง ชีวิตสัตว์ท้ังหลาย โดยเที่ยงธรรมเสมอหน้ากันทั้งหมด ท้ัง มนุษย์ท้ังดิรัจฉานทุกชนิด มิใช่บัญญัติด้วยลำ�เอียงเข้ากับ มนุษย์ ว่ามนุษย์ควรจะฆ่าดิรัจฉานกินได้ หรือลำ�เอียงเข้ากับ สัตว์ดิรัจฉาน เพราะท้ังมนุษย์ทั้งดิรัจฉานเม่ือยังมีชีวิตอยู่ ก็ ต้องหายใจอยู่เหมอื นกัน และตา่ งก็รกั ชีวิตรกั สุขเกลียดทกุ ขอ์ ยู่ เหมือนๆ กัน ฉะน้ัน การให้ความคุ้มครองชีวิตโดยเสมอหน้า กันหมดไม่เลือกว่าเราว่าเขา ไม่เลือกว่าตนว่าผู้อ่ืน ไม่เลือกว่า มนุษย์ว่าดริ จั ฉานชนิดไหน จึงเปน็ การยุตธิ รรม ปราศจากความ ล�ำ เอียงอยา่ งแทจ้ ริง แต่มนษุ ยเ์ รามปี กตนิ ิสยั เขา้ กับตวั ด้วยอำ�นาจความโลภ โกรธหลง จงึ พอใจบัญญัติอะไรใหอ้ นุโลมกบั ปกตนิ สิ ยั และอา้ ง ปกตนิ สิ ยั อนั มกี เิ ลสนแ้ี หละใหเ้ ปน็ ผศู้ กั ดสิ์ ทิ ธ์ิ ทบ่ี ญั ญตั ใิ หม้ นษุ ยม์ ี สทิ ธต์ิ ดั ชวี ติ ดริ จั ฉานเพอื่ ใชเ้ นอื้ ท�ำ อาหารไดโ้ ดยไมผ่ ดิ ทง้ั เปน็ การ ชอบธรรมดว้ ย ลองนกึ ดวู า่ ถ้าเสืออ้างว่า คนเกิดมาเปน็ อาหาร 8

ของเสือ คนก็คงไม่ยอมเป็นแน่ โดยท�ำ นองเดียวกัน ถา้ ปลาเนื้อ พดู ได้ ก็คงไม่ยอมให้ถอื ว่า เกดิ มาเปน็ อาหารของคนเหมือนกัน ข้อท่ีคนเราลำ�เอียงเข้ากับตัวนี้ มีตัวอย่างให้เห็นได้ อกี มากมาย เชน่ ในบางคราวสตั วด์ ริ จั ฉานท�ำ รา้ ยคน คนกพ็ ดู กนั เปน็ ขา่ ววา่ สตั วน์ นั้ ๆ ดุ แตค่ นท�ำ รา้ ยสตั วด์ ริ จั ฉานทวั่ ๆ ไป ไมพ่ ดู กันว่าคนดุ ในคราวหน่ึงเมื่อหลายปีมาแล้ว ปลาฉลามกินคน ท่ีลงเล่นนำ้�ท่ีศรีราชา เกิดเป็นข่าวเกรียวกราว สมเด็จพระ สังฆราชเจ้า กรมหลวงวชิรญาณวงศ์ รับส่ังเป็นเชิงประทาน แง่คิดว่า “ปลากินคน เป็นข่าวเอะอะกันใหญ่ แต่คนกินปลา เงียบไมม่ ใี ครพูด” เมอื่ พจิ ารณาดใู หด้ แี ลว้ จะเหน็ วา่ คนเรามคี วามล�ำ เอยี ง เข้ากบั ตวั อย่มู ากมายนกั ดังกล่าวมาน้ี พระพทุ ธเจ้าได้ทรงตัด ความล�ำ เอียงได้หมด ประทานความยตุ ิธรรมแกท่ กุ ๆ ชวี ติ สตั ว์ เสมอเหมือนกัน 9

อีกอย่างหน่ึง พระพุทธเจ้าทรงมีพระเมตตากรุณาแก่ สัตว์ทุกถ้วนหน้า เหมือนอย่างมารดาบิดามีเมตตากรุณาแก่ บุตรธิดา มารดาบิดาผู้เป่ียมด้วยเมตตากรุณาไม่อาจจะฆ่าเอง หรอื ยอมใหใ้ ครฆา่ บตุ รธดิ าของตนไดฉ้ นั ใด พระพุทธเจา้ ก็ฉนั นั้น เพราะทรงเปีย่ มด้วยพระเมตตากรณุ าในสรรพสตั ว์ เพราะเหตทุ พ่ี ระพทุ ธเจา้ ทรงบญั ญตั ศิ ลี ขอ้ ๑ เพอ่ื มใิ ห้ เบียดเบียนชีวิตของกันและกัน ด้วยเมตตากรุณา ฉะนั้น จึง มิใช่ควรเว้นจากการฆ่าสัตว์เพียงอย่างเดียว ควรเว้นจากการ ทำ�ร้ายร่างกายกัน และการทรมานสัตว์ให้ลำ�บากด้วย แม้การ ท�ำ ร้ายรา่ งกายอย่างเล็กๆ นอ้ ยๆ กค็ วรเว้น เช่น คนที่โตกวา่ ชกต่อยข่มเหงคนที่เล็กกว่า พี่รังแกน้อง การทรกรรมคือทำ� สตั วใ์ หล้ �ำ บากแมเ้ พอ่ื เลน่ สนกุ กค็ วรเวน้ เชน่ เลน่ เผาหนทู ง้ั เปน็ ใชน้ ำ�้ มนั ราดตัวให้ชมุ่ จดุ ไฟ ปลอ่ ยใหว้ ง่ิ ไฟติดโพลงไป เปน็ การ เลน่ สนกุ ตลอดถงึ การเลน่ กดั จง้ิ หรดี เปน็ ตน้ ส�ำ หรบั ผใู้ หญบ่ างที กเ็ ลน่ ทรกรรมสัตว์ เช่น ชนววั ชนไก่ เปน็ การสนุกบา้ ง เป็นการ 10