Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore ฐานข้อมูลเชื้อพันธุ์พืช มะม่วง

ฐานข้อมูลเชื้อพันธุ์พืช มะม่วง

Description: ฐานข้อมูลเชื้อพันธุ์พืช มะม่วง

Search

Read the Text Version

คาํ นํา การปรับปรุงพันธุพืชหรือพัฒนาพันธุพืชใหไดมาซึ่งพันธุใหม (new plant variety) หรือพันธุที่มี ลักษณะท่ีดีทั้งคุณลักษณะทางดานปริมาณ (quantitative) และทางดานคุณภาพ (qualitative) เปนที่ตองการของ ผูบริโภคหรือนักปรับปรุงพันธุพืช ปจจัยท่ีสําคัญคือตองมีพอ-แมพันธุพืชท่ีมีฐานพันธุกรรมที่กวางหรือมีความ หลากหลายทางดานพันธุกรรม (genetic diversity) พอสมควร อีกประการหน่ึงฐานขอมูลเชื้อพันธุพืชเปนเร่ือง จําเปนและสําคัญที่สุดเชนกันในการท่ีจะทราบประวัติความเปนมาตลอดจนคุณลักษณะประจําพันธุแตละพันธุพืช เหลานั้นวามีลักษณะเดนหรือลักษณะดีอยางไร ทิศทางในการวางแผนเพื่อปรับปรุงพันธุพืชก็จะสะดวกขึ้นถามี ฐานขอมลู ทดี่ ีพอ ปจ จบุ ันพนั ธุพ ชื ใหมท ี่ไดรับการปรับปรงุ พนั ธุหรอื พฒั นาพนั ธุโดยนักปรับปรุงพันธุพืช ผูที่ปรับปรุง พันธพุ ืชสามารถยืน่ ขอรับสิทธิเพอื่ คมุ ครองสทิ ธิ (Plant Variety Protection) ไดต ามพระราชบัญญัติคุมครองพันธุพืช พ.ศ. 2542 ในการตรวจสอบพันธุพืชใหมตามกฎหมายฉบับน้ีจําเปนตองอาศัยฐานขอมูลเกี่ยวกับพันธุพืชมาก พอสมควร ต้ังแตป พ.ศ. 2540 เปนตนมา กรมวิชาการเกษตรโดยสํานักคุมครองพันธุพืชแหงชาติ ได ทําการศึกษาและเก็บรวบรวมขอมูลเช้ือพันธุพืชตาง ๆ \"ภายใตโครงการอนุรักษพัฒนาพืชสมุนไพร พืชพ้ืนเมืองและ จุลินทรีย\" เพื่ออนุรักษและใชประโยชนอยางสูงสุดของเช้ือพันธุพืช ในระยะเบื้องตนของโครงการดังกลาว (พ.ศ. 2540 - 2544) สํานักคุมครองพันธุพืชแหงชาติรวมกับศูนยวิจัยพืชสวนจันทบุรี สถาบันวิจัยพืชสวน ศูนยวิจัยยาง ฉะเชิงเทรา สถาบันวจิ ยั ยางและศนู ยว ิจยั ขา วปทุมธานี สถาบนั วจิ ยั ขา ว ไดทาํ การศึกษาและรวบรวมขอมูลเชื้อพันธุพืช จํานวน 4 พืชไดแก มะมวง ทุเรียน ยางพาราและขาว ในโอกาสนี้จึงไดจัดทําเอกสารวิชาการฐานขอมูลเช้ือพันธุพืช เหลาน้ีข้ึนมาโดยเปนเร่ืองเกี่ยวกับขอมูลสําหรับบันทึกลักษณะเช้ือพันธุพืช (descriptor) และรายละเอียดเกี่ยวกับ ฐานขอ มูลเชอื้ พันธุพ ชื (plant germplasm database) ชนิดตางๆ ฐานขอมูลเชื้อพันธุพืช ; มะมวง (Plant Germplasm Database for Mango) เอกสารเลมน้ีเปนสวน หนึ่งของผลงานภายใตโครงการดังกลาว เปนเร่ืองเก่ียวกับเชื้อพันธุมะมวงที่พบและมีรายงานการปลูกเลี้ยงใน ประเทศไทยมาต้ังแตอดีตจนถึงปจจุบัน ภายในเลมจะประกอบดวยขอมูลสําหรับบันทึกลักษณะเชื้อพันธุมะมวง การ จัดจําแนกกลุมพันธุมะมวง ช่ือพันธุ ช่ือสามัญ ช่ือวิทยาศาสตร ลักษณะประจําพันธุ ลักษณะทางดานการเกษตร ตลอดจนภาพประกอบลักษณะของผลมะมวงประจําแตละพันธุ ฐานขอมูลเช้ือพันธุมะมวงนับวาเปนคร้ังแรกในการ จัดพิมพทางคณะผูจัดทํายินดีนอมรับคําติชมจากทานผูรูและผูเช่ียวชาญทุกทาน เพื่อปรับปรุงแกไขขอมูลและความ สมบูรณของฐานขอมลู เชือ้ พันธมุ ะมวงตอไป (นายวิชา ธติ ิประเสรฐิ ) ผอู าํ นวยการสาํ นักคุม ครองพันธุพ ชื แหงชาติ กรมวิชาการเกษตร

สารบัญ หนา บทนํา การจดั จาํ แนกกลมุ พนั ธุมะมว ง การบนั ทกึ ลกั ษณะประจาํ เชื้อพนั ธมุ ะมว ง (Descriptors for Mango) รายชื่อพนั ธมุ ะมวงไทย ลักษณะประจาํ เช้ือพันธมุ ะมว งเรียงตามตวั อักษร ก ถึง ฮ คํานิยม เอกสารประกอบการเรียบเรียง

บทนาํ พันธุพืชหรือเช้ือพันธุพืชเปนปจจัยสําคัญอยางย่ิงในการปรับปรุงพันธุและผสมพันธุใหไดพันธุที่ดี โดยใหผลผลิตสูง เหมาะสมกับดินฟาอากาศ ตานทานโรคและศัตรูพืช ไมมีผลกระทบตอส่ิงแวดลอมและสุขอนามัย ของประชาชน ตลอดจนมีคุณภาพดีเปนท่ีตองการของตลาดท้ังในและตางประเทศ แตปจจุบันพันธุพืชหรือเช้ือพันธุ พืชตามธรรมชาติไดถูกทําลายลงจนใกลจะสูญพันธุโดยกิจกรรมของมนุษย เชน การบุกรุกทําลายปาเพ่ือทํามาหา เลี้ยงชีพ การขยายแหลงท่ีอยูอาศัย การสรางเข่ือน เปนตน นอกจากน้ียังถูกทําลายโดยภัยทางธรรมชาติ เชน ความแหงแลง ความหนาวเย็น น้ําทวม ไฟปา เปนตน นักวิชาการดานพันธุพืช นักอนุรักษธรรมชาติได ตระหนักถึงความสญู หายของพันธพุ ชื ซงึ่ ถูกทาํ ลายลงไปเรื่อยๆ จึงไดร ณรงคใ หมกี ารรว มมอื กนั อนุรักษพันธุพ ืชตาม ธรรมชาติใหคงอยูสภาพเดิม สวนนักพัฒนาพันธุพืชก็ไดทําการสํารวจ รวบรวมและนําเทคนิคใหมๆ เขามาใชใน การเก็บรักษาเชื้อพันธุพืช การแลกเปล่ียนเช้ือพันธุพืชและขอมูลทางดานเช้ือพันธุพืช เพื่อจะไดนํามาใชประโยชนใน การปรับปรงุ พันธุและผสมพนั ธุใ หไดพ ันธุพชื ท่ีดีใหผลผลิตสงู และคุณภาพดตี อ ไป กรมวิชาการเกษตรไดมีการรวบรวมและอนุรักษเช้ือพันธุพืชท้ังภายในประเทศและ นําเขาจากตางประเทศไวจํานวนมากท้ังชนิดและปริมาณไวตามศูนยและสถานีทดลองตางๆ ท่ัวประเทศ นอกจาก งานรวบรวมเก็บรักษา ปลกู ตอ อายุ และการประเมินลักษณะประจาํ พันธุของเชื้อพันธุแตละชนิดแลว ยังจําเปนตอง มีการบันทึกขอมูล (documentation) ไวเพ่ือใชคนควา อางอิง หรือจัดทํารายงานภายหลังซึ่งมีหลายรูปแบบ เชน บันทึกลงในสมุดหรือกระดาษ บันทึกลงในโปรแกรมซอฟแวรสําเร็จรูปตางๆ เปนตน การบันทึกขอมูลดังกลาวยิ่ง นานผานมาไดจัดสัมมนาเชิงปฏิบัติการ เร่ือง “การจัดทําระบบฐานขอมูลเชื้อพันธุพืชทั้ง 4 ชนิดพืชขอกรมวิชาการ เกษตร ในระยะเวลาและสถานท่ีตางกันโดยไดเรียนเชิญทานผูมีประสบการณจากภาคราชการ เอกชนและสถานบัน อุดมศึกษารวมท่ังผูท่ีมีประสบการณในกลุมพืชน้ันๆ ท่ัวประเทศมาใหความเห็นโดยมีเปาหมายของการสัมมนาเชิง ปฏิบตั กิ าร” คอื 1. เพื่อทบทวน/ปรับปรุง โครงสรา งฐานขอมูลเช้อื พันธุพชื ใหค รบถว นสมบรู ณ 2. เพื่อทบทวน/ปรับปรุง ขอมูลท่ีทําการบันทึกในฐานขอมูลเชื้อพันธุใหมีความถูกตองชัดเจนใน แตละลกั ษณะของพันธพุ ชื 3. เพ่ือนําขอมูล/ขอเสนอแนะ/ขอคิดเห็นจากนักวิชาการ ผูมีประสบการณ มาพัฒนาฐานขอมูล เช้อื พันธพุ ชื 4. เพ่ือใชเปน แบบอยา งในการทําฐานขอมลู เชือ้ พันธพุ ืชชนดิ อื่น ๆ ตอ ไป เอกสารเลมน้ีเปนสวนหน่ึงหลังจากการจัดสัมมนาเชิงปฏิบัติการดังกลาวซ่ึงไดปรับปรุงฐานขอมูลให สมบูรณขึ้นและดาํ เนนิ การจดั พิมพไ วเ ปน เอกสารทางดา นวชิ าการเพือ่ การใชประโยชนตอ ไป

การจดั จําแนกกลุมพนั ธุมะมว ง มะมวงเปนไมผ ลปลูกงาย ทนทานตอสภาพอากาศทแี่ ปรปรวนไดทาํ ใหเกษตรกรนยิ มปลูกกนั ทั่วทุกภาคของ ประเทศปจ จบุ นั มีพ้นื ท่ีปลูกทงั้ หมดประมาณ 2 ลา นไร แตเดิมเกษตรกรขยายพนั ธมุ ะมวงโดยการเพาะเมลด็ จงึ กอใหเกดิ ความหลากหลายของสายพนั ธุ มกี ารกระจายของสายพันธทุ ี่แตกตา งไปจากตน แม ซงึ่ มปี ระโยชนอ ยา งย่งิ ตอการพัฒนาและปรับปรุงพันธตุ อไปในอนาคต จากการสํารวจและรวบรวมของ นางสาวศิวพร จินตนาวงศ ซงึ่ เปน การดาํ เนนิ การต้ังแตป  พ.ศ. 2522-2541 สามารถรวมพันธมุ ะมว งจากทวั่ ประเทศและปลูกรวบรวมไวท่ี ศนู ยวจิ ัยพืชสวนสพุ รรณบรุ ี มกี ารรายงานของพันธมุ ะมว งทส่ี าํ รวจพบในประเทศไทยไวป ระมาณ 150 สายพนั ธุ บางสายพนั ธมุ ีลักษณะคลา ยกนั บางพนั ธุมีลกั ษณะแตกตา งกนั บางสายพนั ธุอาจจะมีชอ่ื เรียกหลายชื่อแตกตางกัน ตามสภาพภมู ปิ ระเทศทเ่ี ปนแหลง ปลกู จากการทีม่ ีช่ือเรยี กแตกตา งกนั ก็เปนสาเหตุแหงความสับสนในการสาํ รวจ และรวบรวมขอ มูล ศิวพร (2534 และ 2539) จงึ ไดเ ร่ิมศึกษาลักษณะประจาํ พนั ธุตามหลกั เกณฑข อง IPGRI ของ มะมวงท่รี วบรวมไว ดงั กลาว ตอ มาไดท าํ การวิเคราะหล กั ษณะภายนอกพบวามีบางลกั ษณะท่คี ลา ยคลงึ กัน จึงไดจดั แบงกลมุ มะมว งพนั ธุตา ง ๆโดยศกึ ษาจากลกั ษณะทรงพุม ตน ใบ ชอ ดอก และผล โดยใชล ักษณะใบและทรงทรง ผลเปน หลัก (ดงั ตารางท่ี 1) และลักษณะอน่ื ๆ เปน องคป ระกอบ ซึ่งสามารถจาํ แนกกลมุ ไดเ ปน 8 กลุมดังตอไปน้ี 1. กลมุ แกว 2. กลมุ เขยี วเสวย 3. กลุมดอกไม 4. กลุมหนังกลางวัน 5. กลุมอกรอ ง 6. กลุมพราหมณ 7. กลมุ ผลกลม 8. เบ็ดเตลด็

1. กลุมแกว มีลักษณะทรงผล (fruit shape) รูปไขกลับ (obovate) ลักษณะทรงใบ (leaf shape) ปอม โคนใบ (lanecolate) ลักษณะปลายใบ (leaf apex) สอบเรียว (attenuate) ลักษณะฐานใบ (leaf base) แหลม (acute) ลักษณะขอบใบ (leaf margin) เรยี บ (entire) รายละเอยี ดแสดงไวในภาพที่ 1 รูปไขกลบั (obovate) ปอ มโคนใบ (lanceolate) สอบเรยี ว (attenuate) แหลม (acute) เรียบ (entrie) ภาพที่ 1 แสดงลกั ษณะทรงผล ทรงใบ ปลายใบ ฐานใบ ขอบใบของมะมวงกลุมแกว

รายช่ือมะมวงพันธตุ าง ๆ ทจ่ี าํ แนกอยูในกลุม แกว 1. แกว ขาว 2. แกวเขยี ว 3. แกว จุก 6. บานเยน็ 4. หนองแซง 5. มันแหว 9. บานขาว 7. ออนมนั 8. แมวเซา 2. กลุมเขียวเสวย มีลักษณะทรงผล (fruit shape) รูปขอบขนาน (oblong) ลักษณะทรงใบ (leaf shape) ขอบขนาน (oblong) ลักษณะปลายใบ (leaf apex) สอบเรียว (attenuate) ลักษณะฐานใบ (leaf base) สอบเรียว (attenuate) ขอบใบ (leaf margin) เรียบ (entire) รายละเอียดแสดงไวใ นภาพท่ี 2 รปู ขอบขนาน (oblong) ขอบขนาน (oblong) สอบเรยี ว (attenuate) สอบเรียว (attenuate) เรยี บ (entire) ภาพท่ี 2 แสดงลกั ษณะทรงผล ทรงใบ ปลายใบ ฐานใบ ขอบใบของมะมว งกลุมเขยี วเสวย

รายช่อื มะมว งพนั ธุตางๆทจี่ ําแนกอยใู นกลุมเขียวเสวย 1. เขยี วเสวย 2. ทองดํา 3. ลนิ้ งเู หา 4. ฟา ล่นั 7. มันบา นลาด 8. ศาลายา 5. ขนุ ทพิ ย 6. รจนา 11. กระแตลมื รงั 12. มันสะเดด็ 15. หมอนทอง 9. ไขตึก 10.เขียวเสวยรจนา 13. สงั ขยา 14. ยายกล่าํ 3. กลุมน้ําดอกไม มีลักษณะทรงผล (fruit shape) ทรงรี (elliptical) ลักษณะทรงใบ(leaf shape) ปอม กลางใบ (elliptical) ลักษณะปลายใบ (leaf apex) เรียวแหลม (acuminate) ลักษณะฐานใบ (leaf base) แหลม (acute) ลักษณะขอบใบ (leaf margin) คล่ืน (undulate) รายละเอียดแสดงไวใน ภาพท่ี 3 ทรงรี (elliptical) ปอ มกลางใบ (elliptical) เรียวแหลม (acuminate) แหลม (acute) คล่ืน (undulate) ภาพท่ี 3 แสดงลกั ษณะทรงผล ทรงใบ ปลายใบ ฐานใบ ขอบใบของมะมวงกลุมนํ้าดอกไม

รายชอ่ื มะมว งพนั ธตุ างๆทจ่ี ําแนกอยใู นกลุมนา้ํ ดอกไม 1. นา้ํ ดอกไม 2. น้ําดอกไมท วาย 3. นาํ้ ดอกไมส ที อง 4. นา้ํ ดอกไมเบอร 4 8. หงษท อง 5. น้ําดอกไมเ บอร 5 6. คอนกแกว 7. ลา 12. เจา พระยา 9. สาวนอยลมื ผวั 10. เมล็ดน่ิม 11. มะลิลา 4. กลุมหนังกลางวัน มีลักษณะทรงผล (fruit shape) ทรงกระบอก (cylindrical) ลักษณะทรงใบ (leaf shape) ขอบขนาน (oblong) ลักษณะปลายใบ (leaf apex) สอบเรียว (attenuate) ลักษณะขอบใบ (leaf margin) เรียบ (entire) รายละเอยี ดแสดงไวในภาพท่ี 4 ทรงกระบอก (cylindroidal) ขอบขนาน (oblong) สอบเรยี ว (attenuate) เรยี บ (entire) ภาพที่ 4 แสดงลักษณะทรงผล ทรงใบ ปลายใบ ฐานใบ ขอบใบ ของมะมว งกลมุ หนงั กลางวัน

รายชือ่ มะมวงพนั ธุต าง ๆ ท่ีจําแนกอยูในกลุมหนังกลางวนั 1. หนังกลางวัน 2. งาแดง 3. งาเขียว 4. งาดาบ 8. งาทอ งเรอื 5. งาขาวหรอื งาหมนยาว 6. งาขาวหรอื หมน สั้น 7. งาชาง 12. ทองปลายแขน 16. น้ําตาลปากกระบอก 9. งาเพชรบรู ณ (สามใบแขน) 10. แกว ลมื คอน 11. แกวลมื รัง 13. ผา ขร้ี ว้ิ หอ ทอง 14. เลบ็ มือนาง 15. นวลจันทร 5. กลุมอกรอง มีลักษณะทรงผล (fruit shape) ทรงรี (elliptical) ลักษณะทรงใบ(leaf shape)ปอมโคน ใบ (lanceolate) ลักษณะปลายใบ (leaf apex) เรียวแหลม (acuminate) ลักษณะฐานใบ (leaf base) แหลม (acute) ลกั ษณะขอบใบ (leaf margin) เรยี บ (entire) รายละเอยี ดแสดงไวใ นภาพท่ี 5 ทรงรี (elliptical) ปอ มโคนใบ (lanceolate) เรียวแหลม acuminate) แหลม (acute) เรียบ (entire) ภาพท่ี 5 แสดงลักษณะทรงผล ทรงใบ ปลายใบ ฐานใบ ขอบใบของมะมว งกลมุ อกรอ ง

รายช่อื มะมวงพนั ธุต าง ๆ ท่ีจําแนกอยใู นกลมุ อกรอ ง 1. อกรองเขียว 2. อกรองทอง 3. อกรองขาว 6. ทองขาว 4. อกรองมนั 5. ทองแดง 9. แหวหลวงอิงค 12.พิมพเ สนมัน 7. ทองขาวยาว 8. ทองขาวกลม 15. แสงทอง 18. มันทวาย 10. หงสาวดี 11. การะเกด 21. แฟบ 24. ขท้ี ุบ 13. สวนทพิ ย 14. ทองไมร วู าย 27. ลูกโยนพระอนิ ทร 30. มนั ทองเอก 16. แตงกวา 17. แหว 33. ตะเพยี นทอง 36. พญาลมื เฝา 19. พรวนขอ 20. ตบั เปด 39. อกรอ งกะทิ 42. ขอชาง 22. กําปน 23. ระเดน ขาว 45. ตาเตะหลาน 48. เลื้อย 25. นวลแตง 26. แกมแดง 51. เจาเสวย 54. งาแบบตลับนาค 28. สามฤดู 29. ข้ีใต 57. กระสวย 60. มันเมืองสงิ ห 31. แรด 32. เจา คณุ ทพิ ย 63. พดั นํ้าผึง้ 34. สามป 35. พิมเสนเปรยี้ ว 37. มันทวาย 38. ระเดน เขียว 40. มันอยุธยา 41. กลว ย 43. หอระฆัง 44. มันคอ ม 46. คา งคาวลมื รงั 47. ขายตกึ 49. ทลู ถวาย 50. เทพนิมิตร 52. เกล็ด 53. แกวสามป 55. เขียวสะอาด 56. แกว หอม 58. ชางตกตกึ 59. มณโฑ 61. เขียวภเู ก็ต 62. รจนา 64. ทองประกายแสด 65. สาวนอ ยกระทบื หอ

6. กลุมพราหมณ มีลักษณะผล (fruit shape) รูปไข (ovate) ลักษณะทรงใบ (leaf shape) ปอมกลาง ใบ (elliptical) ลักษณะปลายใบ (leaf apex) เรียวแหลม (acuminate) ลักษณะฐานใบ (leaf base) แหลม (acute) ลกั ษณะขอบใบ (leaf margin) เรยี บ (entire) รายละเอยี ดแสดงไวในภาพท่ี 6 รูปไข (ovate) ปอมกลางใบ (elliptical) เรยี วแหลม (acuminate) แหลม (acute) เรียบ (entire) ภาพที่ 6 แสดงลักษณะทรงผล ทรงใบ ปลายใบ ฐานใบ ขอบใบของมะมว งกลุมพราหมณ รายชอื่ มะมวงพันธุต า ง ๆ ท่ีจาํ แนกอยใู นกลุมพราหมณ 1. พราหมณเ นือ้ เหลอื ง 2. พราหมณเนือ้ แดง 3. พราหมณก น ขอ 6. เบา 4. มะปราง 5. นกกระจิบ 9. คํา 12. หนิ ทอง 7. กะลอนทอง 8. ทองหยด 10. ทองทวาย 11. เทพรส

7. กลุมผลกลม มีลักษณะทรงผล (fruit shape) ทรงกลม (roundish) ลักษณะทรงใบ (leaf shape) ปอมกลางใบ (elliptical) ลักษณะปลายใบ (leaf apex) สอบเรียว (attenuate) ลักษณะฐานใบ (leaf base) แหลม (acute) ลกั ษณะขอบใบ (leaf margin) เรียบ (entire) รายละเอียดแสดงไวใ นภาพที่ 7 ทรงกลม (roundish) ปอ มกลางใบ (elliptical) สอบเรยี ว (attenuate) แหลม (acute) เรยี บ (entire) ภาพที่ 7 แสดงลักษณะทรงผล ทรงใบ ปลายใบ ฐานใบ ขอบใบของมะมว งกลมุ ผลกลม รายชอ่ื มะมว งพันธุตา ง ๆ ที่จําแนกอยใู นกลุมผลกลม 1. อนิ ทรชติ 2. ตลบั นาค 3. ทเุ รยี น 6. หอยแครง 4. นํ้าตาลเตา 5. นาํ้ ตาลทรายหนกั 9. ตะพาบกลม 7. จันทรเ จา ขา 8. นา้ํ ตาลจนี

7. กลมุ เบด็ เตล็ด มลี กั ษณะทรงผล (fruit shape) หลายแบบไมสามารถจัดในกลุมใดกลุมหนึ่ง เชนพันธุเงาะ มัน ทะลุฟา สวนลักษณะทรงใบ ลักษณะปลายใบ ลักษณะฐานใบ และลักษณะขอบใบ มีลักษณะไมอยูกลุมใด กลุม หนง่ึ อาจมลี ักษณะกลมุ หนงึ่ ปนกบั ลักษณะอกี กลมุ หนึ่ง เปน ตน รายละเอยี ดแสดงไวใ นภาพที่ 8 พันธเุ งาะ พันธมุ นั ทะลุฟา ทรงใบ ทรงใบ ปลายใบ ปลายใบ ขอบใบ ขอบใบ เรียบ ( entire ) ภาพที่ 8 แสดงลักษณะ ทรงใบ ปลายใบ ขอบใบของมะมวงกลุมเบ็ดเตล็ด รายชอ่ื มะมวงพันธตุ า ง ๆทอี่ ยูในกลมุ เบด็ เตลด็ 1. เงาะ 2. มนั ทะลฟุ า 3. มะปราง 4. มาทัน 7. มนั หมู 8. กะลาแม 5. ไอฮ วบ 6. พระยาเสวย

ตารางที่ 1 การเปรียบเทยี บลักษณะตาง ๆ ของใบและผลมะมวง จํานวน 151 สายพันธุ กลมุ พนั ธุ ใบ (leaf) สายพนั ธุ ทรงใบ(leaf shape) ปลายใบ(leaf apex) 1.กลมุ แกว ปอ มโคนใบ(lanceolate) สอบเรียว(attenuate) 1) คุ ปอ มโคนใบ(lanceolate) แหลม(acute) 2) แกวเขียว ปอ มโคนใบ(lanceolate) แหลม(acute) 3) เพชรบานลาด ปอมโคนใบ-ขอบขนาน(oblong-lanceolate) เรยี วแหลม(acuminate) 4) หนองแซง ปอ มโคนใบ-ขอบขนาน(oblong-lanceolate) เรียวแหลม(acuminate) 5) มันแหว - - 6) บานเยน็ - - 7) ออนมัน - - 8) แกว ทวาย ปอมโคนใบ(lanceolate) แหลม(acute) 9) แกว 007 ปอมกลางใบ(elliptical) เรียวแหลม(acuminate) 2.กลมุ เขียวเสวย ขอบขนาน(oblong) สอบเรียว(attenuate) 10) เขียวเสวย ปอ มกลางใบ(elliptical) -

ฐานใบ(leaf base) ขอบใบ(leaf ทรงผล(fruit shape) ลกั ษณะ หมาย พิเศษ เหตุ แหลม(acute) margin) รูปไขกลบั (obovate) มน(obtuse) รปู ไขก ลับ(obovate) มน(obtuse) เรยี บ(entire) รปู ไข( ovate) แหลม(acute) คลื่น(undulate) รูปไขก ลบั (obovate) แหลม(acute) คล่ืน(undulate) รูปขอบขนาน(oblong) - เรยี บ(entire) รปู ไขกลบั (obovate) - เรยี บ(entire) รปู ไขกลับ(obovate) - - รูปไขก ลบั (obovate) มน(obtuse) - รูปไขกลับ(obovate) แหลม(acute) - รปู ไขกลบั (obovate) แหลม(acute) คล่ืน(undulate) รูปขอบขนาน(oblong) - เรียบ(entire) - เรียบ(entire) -

การเปรียบเทียบลักษณะตาง ๆ ของใบและ กลุมพันธุ ใบ (leaf) สายพันธุ ทรงใบ(leaf shape) ปลายใบ(leaf apex) 11) ทองคํา ปอ มกลางใบ(elliptical) แหลม(acute) 12) ลนิ้ งเู หา ขอบขนาน(oblong) แหลม(acute) 13) ฟา ลน่ั ยาวเรยี ว(linear-oblong) แหลม(acute) 14) ขนุ ทพิ ย ปอมกลางใบ(elliptical) แหลม(acute) 15) เขียวไขก า ปอ มกลางใบ(elliptical) แหลม(acute) 16) มนั บา นลาด - - 17) ศาลายา ปอ มโคนใบ-ขอบขนาน(oblong-lanceolate) แหลม(acute) 18) คลา ยเขียวเสวย ขอบขนาน(oblong) แหลม(acute) 19) เขียวเสวยรจนา - - 20) กระแตลมื รัง ขอบขนาน(oblong) แหลม(acute) 21) มันสะเด็ด ปอ มกลางใบ(elliptical) แหลม(acute) 22) สังขยา - - 23) ยายกล่าํ ปอ มกลางใบ(elliptical) เรียวแหลม(acuminate)

ะผลมะมว ง จาํ นวน 150 สายพนั ธุ (ตอ) ฐานใบ(leaf base) ขอบใบ ทรงผล(fruit shape) ลกั ษณะ หมาย พิเศษ เหตุ แหลม(acute) (leaf margin) รูปไขกลับ(obovate) แหลม(acute) คลนื่ (undulate) ทรงกระบอก(cylindrical) แหลม(acute) เรยี บ(entire) รูปขอบขนาน(oblong) มน(obtuse) เรียบ(entire) รปู ไขกลับ(obovate) แหลม(acute) เรยี บ(entire) รูปขอบขนาน(oblong) - คลืน่ (undulate) ทรงร(ี elliptical) แหลม(acute) - รูปขอบขนาน(oblong) แหลม(acute) เรียบ(entire) รูปขอบขนาน(oblong) - คลน่ื (undulate) รูปขอบขนาน(oblong) แหลม(acute) - ทรงรี(elliptical) แหลม(acute) คล่ืน(undulate) ทรงร(ี elliptical) - เรียบ(entire) ทรงร(ี elliptical) แหลม(acute) - ทรงร(ี elliptical) คลืน่ (undulate)

การเปรียบเทยี บลกั ษณะตาง ๆ ของใบและ กลมุ พันธุ ทรงใบ(leaf shape) ใบ (leaf) ฐ สายพนั ธุ - ปลายใบ(leaf apex) - ปอมกลางใบ(elliptical) แห 24) หมอนทอง ขอบขนาน(oblong) - มน 3. กลมุ นํา้ ดอกไม ขอบขนาน(oblong) เรียวแหลม(acuminate) แห 25) นาํ้ ดอกไม เรียวแหลม(acuminate) 26) นาํ้ ดอกไมพ ระ ขอบขนาน(oblong) เรยี วแหลม(acuminate) มน ปอมกลางใบ(elliptical) มน ประแดง ขอบขนาน(oblong) แหลม(acute) แห 27) นา้ํ ดอกไมส ที อง ปอมกลางใบ(elliptical) เรียวแหลม(acuminate) แห 28) นา้ํ ดอกไมเ บอร4 ยาวเรยี ว(linear-oblong) แหลม(acute) แห 29) เจา พระยา ปอ มกลางใบ(elliptical) แหลม(acute) มน 30) มนั ขุนศรี ปอ มกลางใบ(elliptical) แหลม(acute) แห 31) คอนกแกว - แหลม(acute) - 32) ลา แหลม(acute) 33) หงษท อง - 34) สาวนอ ยลมื ผวั

ะผลมะมวง จาํ นวน 150 สายพนั ธุ (ตอ ) ฐานใบ(leaf ขอบใบ(leaf ทรงผล(fruit shape) ลกั ษณะ หมายเหตุ base) margin) พิเศษ ทรงกระบอก(cylindrical) หลม(acute) ทรงรี(elliptical) น(obtuse) ทรงรี(elliptical) หลม(acute) ทรงรี(elliptical) น(obtuse) ทรงรี(elliptical) น(obtuse) ทรงรี(elliptical) หลม(acute) ทรงรี(elliptical) หลม(acute) ทรงรี(elliptical) หลม(acute) รูปขอบขนาน(oblong) น(obtuse) ทรงร(ี elliptical) หลม(acute) ทรงรี(elliptical) ทรงรี(elliptical)

การเปรยี บเทียบลักษณะตาง ๆ ของใบและ กลมุ พนั ธุ ทรงใบ(leaf shape) ใบ (leaf) ฐานใบ(le base) สายพนั ธุ ขอบขนาน(oblong) ปลายใบ(leaf apex) ปอ มโคนใบ(lanceolate) มน(obtuse) 35) เมล็ดนิม่ ปอมกลางใบ(elliptical) แหลม(acute) มน(obtuse) 36) มะลลิ า ขอบขนาน(oblong) เรยี วแหลม(acuminate) แหลม(acut 37) แมล กู ดก ปอ มกลางใบ(elliptical) แหลม(acute) แหลม(acut 4.กลุมหนงั กลางวัน ปอมกลางใบ(elliptical) แหลม(acute) แหลม(acut 38) หนังกลางวัน ขอบขนาน(oblong) แหลม(acute) แหลม(acut 39) งาแดง ปอมกลางใบ(elliptical) แหลม(acute) แหลม(acut 40) งาเขยี ว - แหลม(acute) แหลม(acut 41) งาดาบ เรียวแหลม(acuminate) - 42) งาขาวหรอื งาหมน ยาวเรยี ว(linear-oblong) - ปอ มโคนใบ(lanceolate) แหลม(acut ยาว ปอ มกลางใบ(elliptical) แหลม(acute) แหลม(acut 43) ทองเจาพฒั น ปอมกลางใบ(elliptical) แหลม(acute) แหลม(acut 44) งาชา ง แหลม(acute) แหลม(acut 45) งาทอ งเรือ แหลม(acute) 46) งาหมน

ะผลมะมวง จาํ นวน 150 สายพันธุ (ตอ ) eaf ขอบใบ(leaf ทรงผล(fruit shape) ลกั ษณะ หมายเหตุ margin) พิเศษ ทรงร(ี elliptical) ) คล่นื (undulate) ทรงร(ี elliptical) ) คล่นื (undulate) ทรงกระบอก(cylindrical) te) คล่ืน(undulate) รูปขอบขนาน(oblong) te) เรียบ(entire) ทรงกระบอก(cylindrical) te) คลื่น(undulate) ทรงกระบอก(cylindrical) te) เรียบ(entire) ทรงกระบอก(cylindrical) te) เรยี บ(entire) ทรงกระบอก(cylindrical) te) เรยี บ(entire) ทรงกระบอก(cylindrical) - รูปขอบขนาน(oblong) ทรงกระบอก(cylindrical) te) คล่นื (undulate) ทรงกระบอก(cylindrical) te) คลืน่ (undulate) ทรงกระบอก(cylindrical) te) คลนื่ (undulate) te) เรยี บ(entire)

การเปรียบเทยี บลกั ษณะตาง ๆ ของใบและ กลมุ พันธุ ทรงใบ(leaf shape) ใบ (leaf) ฐานใบ สายพันธุ ปอมกลางใบ(elliptical) ปลายใบ(leaf apex) (leaf base ขอบขนาน(oblong) แหลม(acut 47) แกวลมื คอน ปอ มกลางใบ(elliptical) แหลม(acute) แหลม(acut 48) แกว ลืมรงั ปอ มกลางใบ(elliptical) แหลม(acute) แหลม(acut 49) ทองปลายแขน ขอบขนาน(oblong) เรยี วแหลม(acuminate) มน(obtuse) 50) ผาขรี้ ว้ิ หอทอง - เรียวแหลม(acuminate) แหลม(acut 51) มนั บางขุนศรี - แหลม(acute) - 52) นวลจันทร ยาวเรยี ว(linear-oblong) - - 53) นํ้าตาลปากกระบอก ปอ มโคนใบ(lanceolate) - มน(obtuse) 54) มหาชนก ขอบขนาน(oblong) เรียวแหลม(acuminate) 5. กลมุ อกรอง ขอบขนาน(oblong) เรียวแหลม(acuminate) แหลม(acut 55) อกรองเขียว ปอมกลางใบ(elliptical) เรียวแหลม(acuminate) แหลม(acut 56) อกรองทอง เรียวแหลม(acuminate) แหลม(acut 57) อกรองขาว แหลม(acute) แหลม(acut

ะผลมะมวง จํานวน 150 สายพนั ธุ (ตอ) ขอบใบ ทรงผล(fruit shape) ลักษณะ หมายเหตุ พิเศษ e) (leaf margin) ทรงกระบอก(cylindrical) te) เรยี บ(entire) ทรงรี(elliptical) ลกู ผสมระหวางซนั เซท te) เรยี บ(entire) รปู ขอบขนาน(oblong) กบั หนงั กลางวัน te) เรียบ(entire) ทรงรี(elliptical) ) คลน่ื (undulate) ทรงกระบอก(cylindrical) te) คลน่ื (undulate) ทรงกระบอก(cylindrical) ทรงกระบอก(cylindrical) - รูปขอบขนาน(oblong) - ทรงรี(elliptical) ) คล่นื (undulate) ทรงรี(elliptical) ทรงร(ี elliptical) te) เรยี บ(entire) ทรงร(ี elliptical) te) เรียบ(entire) te) คลน่ื (undulate) te) คล่นื (undulate)

กลุมพันธุ การเปรียบเทียบลักษณะตาง ๆ ของใบและ ใบ (leaf) สายพันธุ ทรงใบ(leaf shape) ปลายใบ(leaf apex) 58) อกรอ งมนั 59) ทองแดง ปอ มกลางใบ(elliptical) แหลม(acute) 60) ทองขาว ปอ มกลางใบ(elliptical) แหลม(acute) 61) ทองขาวยาว ขอบขนาน(oblong) แหลม(acute) 62) ทองขาวกลม ปอ มกลางใบ(elliptical) แหลม(acute) 63) แหว หลวงองิ ค ปอ มกลางใบ(elliptical) แหลม(acute) 64) หงสาวดี ปอมกลางใบ(elliptical) เรยี วแหลม(acuminate) 65) การะเกด ปอมกลางใบ(elliptical) แหลม(acute) 66) พิมเสนมนั ปอมโคนใบ-ขอบขนาน(oblong-lanceolate) แหลม(acute) 67) อกรอ งไทรโยค - - 68) ทองไมร วู าย ปอมกลางใบ(elliptical) เรียวแหลม(acuminate) 69) แสงทอง ขอบขนาน(oblong) แหลม(acute) 70) แตงกวา ปอ มกลางใบ(elliptical) แหลม(acute) ปอ มกลางใบ(elliptical) แหลม(acute)

ะผลมะมวง จาํ นวน 150 สายพนั ธุ (ตอ ) ฐานใบ ขอบใบ ทรงผล ลักษณะ หมายเหตุ (fruit shape) พเิ ศษ (leaf base) (leaf margin) แหลม(acute) คล่นื (undulate) ทรงรี(elliptical) ตดิ ผลนอกฤดกู าล(out of season) แหลม(acute) เรียบ(entire) ทรงร(ี elliptical) แหลม(acute) คลื่น(undulate) ทรงรี(elliptical) แหลม(acute) เรียบ(entire) ทรงร(ี elliptical) แหลม(acute) คล่ืน(undulate) ทรงร(ี elliptical) แหลม(acute) เรยี บ(entire) ทรงร(ี elliptical) แหลม(acute) เรยี บ(entire) ทรงร(ี elliptical) มน(obtuse) คลืน่ (undulate) ทรงร(ี elliptical) - - ทรงร(ี elliptical) แหลม(acute) เรยี บ(entire) ทรงร(ี elliptical) แหลม(acute) เรยี บ(entire) ทรงร(ี elliptical) แหลม(acute) เรยี บ(entire) ทรงรี(elliptical) มน(obtuse) คล่นื (undulate) ทรงรี(elliptical)

การเปรียบเทยี บลักษณะตา ง ๆ ของใบและ กลมุ พนั ธุ ใบ (leaf) สายพันธุ ทรงใบ(leaf shape) ปลายใบ(leaf apex) ฐานใบ(le base) 71) แหว 72) มนั ทวาย ปอ มกลางใบ(elliptical) แหลม(acute) แหลม(acut 73) พรวนขอ 74) ตับเปด --- 75) แฟบ 76) จาํ ปา ขอบขนาน(oblong) แหลม(acute) แหลม(acut 77) ระเดน ขาว 78) ขีท้ ุบ ปอ มกลางใบ(elliptical) เรยี วแหลม(acuminate) แหลม(acut 79) นวลแตง 80) แกม แดง --- 81) ลกู โยนพระ ปอมโคนใบ(lanceolate) แหลม(acute) แหลม(acut อนิ ทร 82) สามฤดู ปอ มกลางใบ(elliptical) แหลม(acute) แหลม(acut ปอมโคนใบ(lanceolate) แหลม(acute) แหลม(acut --- ปอมโคนใบ(lanceolate) แหลม(acute) มน(obtuse) ปอมกลางใบ(elliptical) แหลม(acute) แหลม(acut ขอบขนาน(oblong) - -

ะผลมะมวง จํานวน 150 สายพันธุ (ตอ) eaf ขอบใบ(leaf ทรงผล(fruit shape) ลกั ษณะพเิ ศษ หมายเหตุ margin) ทรงรี(elliptical) te) คลน่ื (undulate) ทรงร(ี elliptical) ทรงร(ี elliptical) - รูปไขก ลบั (obovate) te) เรยี บ(entire) ทรงรี(elliptical) te) คลนื่ (undulate) ทรงรี(elliptical) รปู ไขก ลบั (obovate) - รปู ไขกลับ(obovate) te) คลื่น(undulate) ทรงร(ี elliptical) te) เรยี บ(entire) ทรงร(ี elliptical) te) คลื่น(undulate) รูปไขก ลับ(obovate) - ) คลืน่ (undulate) te) เรยี บ(entire) - ทรงกลม(roundish)

การเปรยี บเทยี บลักษณะตาง ๆ ของใบและ กลุมพนั ธุ ใบ (leaf) สายพันธุ ทรงใบ(leaf shape) ปลายใบ(leaf apex) ฐานใบ(le base) 83) ขใ้ี ต 84) มนั ทองเอก --- 85) แรด 86) เจาคุณทิพย ขอบขนาน(oblong) - - 87) ตะเพยี นทอง 88) สามป ขอบขนาน(oblong) - - 89) พมิ เสนเปรี้ยว 90) บุญบันดาล ขอบขนาน(oblong) - - 91) อกรองกะทิ 92) มันอยธุ ยา --- 93) กลวย 94) ขอชา ง ปอมกลางใบ(elliptical) - - 95) ทวายเดอื นเกา 96) หอระฆัง ปอมกลางใบ(elliptical) แหลม(acute) มน(obtuse) ปอมกลางใบ(elliptical) แหลม(acute) มน(obtuse) --- --- --- ขอบขนาน(oblong) เรียวแหลม(acuminate) แหลม(acut ปอ มโคนใบ(lanceolate) แหลม(acute) ปอมกลางใบ(elliptical) เรยี วแหลม(acuminate) แหลม(acut

ะผลมะมวง จํานวน 150 สายพนั ธุ (ตอ) eaf ขอบใบ(leaf ทรงผล(fruit shape) ลักษณะพิเศษ หมายเหตุ margin) รูปไขกลับ(obovate) - ทรงกลม(roundish) - รปู ไขก ลบั (obovate) - รปู ไขกลบั (obovate) - รูปไขกลบั (obovate) - ทรงรี(elliptical) - ทรงรี(elliptical) ) เรยี บ(entire) ทรงรี(elliptical) ) เรยี บ(entire) ทรงร(ี elliptical) - ทรงรี(elliptical) - รปู ไขกลบั (obovate) - ทรงรี(elliptical) te) เรยี บ(entire) ทรงร(ี elliptical) คล่ืน(undulate) ทรงร(ี elliptical) te) เรียบ(entire)

การเปรียบเทยี บลกั ษณะตา ง ๆ ของใบและ กลุมพนั ธุ ใบ (leaf) สายพนั ธุ ทรงใบ(leaf shape) ปลายใบ(leaf apex) ฐานใบ(leaf base) 97) มนั คอม ปอมกลางใบ(elliptical) 98) ตาเตะหลาน - เรียวแหลม(acuminate) แหลม(acute) 99) คางคาวลมื รัง - 100) เล้อื ย - -- 101) ทูลถวาย - 102) เทพนิมติ ร - -- 103) เจาเสวย ปอ มกลางใบ(elliptical) 104) โชคโสภณ ปอมกลางใบ(elliptical) -- 105) แกว 3 ป - 106) โชคอนนั ต ปอมกลางใบ(elliptical) -- 107) โชคอนนั ตกา น ปอ มโคนใบ(lanceolate) -- ชมพู ปอ มกลางใบ(elliptical) 108) แกวหอม - แหลม(acute) แหลม(acute) 109) กระสวย เรียวแหลม(acuminate) แหลม(acute) -- สอบเรยี ว(attenvate) แหลม(acute) แหลม(acute) แหลม(acute) แหลม(acute) แหลม(acute) -

ะผลมะมวง จาํ นวน 150 สายพันธุ (ตอ ) ขอบใบ ทรงผล(fruit shape) ลักษณะ หมายเหตุ พเิ ศษ (leaf margin) ทรงร(ี elliptical) เพาะจากเมลด็ มะมว งพันธุ 3 ป(ศวิ พร2541) เรยี บ(entire) ทรงร(ี elliptical) ฤดกู าลผลติ กอ นฤดูกาล - รปู ขอบขนาน(oblong) - ทรงร(ี elliptical) - ทรงร(ี elliptical) - ทรงรี(elliptical) - ทรงรี(elliptical) คล่ืน(undulate) ทรงรี(elliptical) คลื่น(undulate) ทรงร(ี elliptical) - รปู ไขกลบั (obovate) คล่นื (undulate) รปู ไขก ลบั (obovate) เรยี บ(entire) คล่ืน(undulate) ทรงร(ี elliptical) - รูปขอบขนาน(oblong)

การเปรียบเทียบลกั ษณะตา ง ๆ ของใบและ กลุมพนั ธุ ใบ (leaf) สายพนั ธุ ทรงใบ(leaf shape) ปลายใบ(leaf apex) ฐานใ (leaf b 110) ชางตกตึก 111) มณโฑ ปอ มโคนใบ(lanceolate) แหลม(acute) แหลม(ac 112) เขียวภเู กต็ 113) พดั นํ้าผึง้ -- - 114) ทองประกายแสด 115) สาวนอยกระทบื หอ -- - 116) พมิ เสนแดง 6.กลุม พราหมณ -- - 117) พราหมณเ น้ือเหลือง 118) พราหมณเ นอ้ื แดง ปอมกลางใบ(elliptical) แหลม(acute) มน(obtus -- - ปอ มกลางใบ(elliptical) แหลม(acute) มน(obtus ปอ มกลางใบ(elliptical) แหลม(acute) แหลม(ac ขอบขนาน(oblong) แหลม(acute) แหลม(ac ปอ มกลางใบ(elliptical) แหลม(acute) แหลม(ac

ะผลมะมวง จาํ นวน 150 สายพนั ธุ (ตอ ) ใบ ขอบใบ ทรงผล(fruit shape) ลักษณะพิเศษ หมายเหตุ base) cute) (leaf margin) รูปไขกลับ(obovate) คลนื่ (undulate) ทรงรี(elliptical) se) - รูปไขก ลบั (obovate) - ทรงรี(elliptical) se) - ทรงรี(elliptical) cute) เรยี บ(entire) ทรงรี(elliptical) cute) - รูปขอบขนาน(oblong) cute) เรียบ(entire) รปู ไข( ovate) เรียบ(entire) รปู ไข(ovate) เรียบ(entire) รปู ไขกลบั (obovate) เรยี บ(entire)

การเปรยี บเทียบลกั ษณะตา ง ๆ ของใบและ กลุมพันธุ ใบ (leaf) สายพนั ธุ ทรงใบ(leaf shape) ปลายใบ(leaf apex) ฐานใบ (leaf base) 119) พราหมณก นขอ ปอมกลางใบ(elliptical) แหลม(acute) แหลม(acute) 120) มะลิทอง ปอ มกลางใบ(elliptical) 121) เบา ขอบขนาน(oblong) แหลม(acute) มน(obtuse) 122) กะลอนทอง ยาวเรยี ว(linear-oblong) 123) คาํ - แหลม(acute) แหลม(acute) 124) ทองทวาย - 125) เทพรส ขอบขนาน(oblong) แหลม(acute) มน(obtuse) 126) หินทอง ขอบขนาน(oblong) -- 7. กลมุ ผลกลม ปอมกลางใบ(elliptical) 127) อนิ ทรชิต ปอ มกลางใบ(elliptical) -- 128) ตลับนาค ขอบขนาน(oblong) 129) ทุเรียน ขอบขนาน(oblong) แหลม(acute) แหลม(acute) 130) จนั ทรเ จา ขา ปอมกลางใบ(elliptical) เรียวแหลม(acuminate) แหลม(acute) แหลม( acute) แหลม(acute) เรียวแหลม(acuminate) แหลม(acute) แหลม(acute) แหลม(acute) เรยี วแหลม มน(obtuse) (acuminate)แหลม แหลม(acute) (acute)

ะผลมะมว ง จาํ นวน 150 สายพันธุ (ตอ) ขอบใบ ทรงผล(fruit shape) ลกั ษณะ หมายเหตุ พเิ ศษ (leaf margin) ทรงร(ี elliptical) ตดิ ผลนอกฤดกู าล (out of season) คลื่น(undulate) ทรงร(ี elliptical) กลิ่นฉุน คลน่ื (undulate) ทรงกลม(roundish) คล่ืน(undulate) ทรงกลม(roundish) เรียบ(entire) รปู ไขกลับ(obovate) - ทรงรี(elliptical) - รูปไขกลับ(obovate) เรียบ(entire) รูปไขก ลบั (obovate) คลน่ื (undulate) ทรงกลม(roundish) ทรงกลม(roundish) เรยี บ(entire) ทรงกลม(roundish) เรยี บ(entire) ทรงกลม(roundish) คลื่น(undulate) ทรงกลม(roundish) เรียบ(entire) คลน่ื (undulate)

การเปรียบเทียบลักษณะตาง ๆ ของใบและ กลมุ พนั ธุ ทรงใบ(leaf shape) ใบ (leaf) ฐานใบ(le ปอมกลางใบ(elliptical) ปลายใบ(leaf apex) base) สายพนั ธุ แหลม(acute) แหลม(acut 131) นา้ํ ตาลทราย ยาวเรยี ว(linear-oblong) แหลม(acute) หนกั ปอมกลางใบ(elliptical) แหลม(acute) แหลม(acut ขอบขนาน(oblong) แหลม(acute) มน(obtuse) 132) สายทิพย ยาวเรยี ว(linear-oblong) แหลม(acute) มน(obtuse) 133) หอยแครง ปอมกลางใบ(elliptical) เรยี วแหลม(acuminate) แหลม(acut 134) ลกู แดง ขอบขนาน(oblong) แหลม(acute) แหลม(acut 135) สําปน ยาวเรยี ว(linear-oblong) แหลม(acute) แหลม(acut 136) ลกู กลม แหลม(acut 137) หงษสา ปอมกลางใบ(elliptical) แหลม(acute) 138) ฟาแอปเปล ปอมกลางใบ(elliptical) เรียวแหลม(acuminate) แหลม(acut 8. กลมุ เบ็ดเตล็ด ปอ มกลางใบ(elliptical) เรยี วแหลม(acuminate) แหลม(acut 139) เงาะ - 140) มันทะลุฟา 141) มะปราง

ะผลมะมวง จํานวน 150 สายพนั ธุ (ตอ ) eaf ขอบใบ(leaf ทรงผล(fruit shape) ลักษณะ หมายเหตุ margin) พเิ ศษ te) เรียบ(entire) ทรงกลม(roundish) te) คลื่น(undulate) ทรงกลม(roundish) ติดผลมาก 400 ผล/ตน(อายุ 10 ป) สีเปลือกผลสุกคอ นขางแดง ) คลื่น(undulate) ทรงกลม(roundish) ผลคอ นขา งแบน ) คล่ืน(undulate) ทรงกลม(roundish) te) เรียบ(entire) ทรงกลม(roundish) te) คล่นื (undulate) ทรงกลม(roundish) te) คลน่ื (undulate) ทรงกลม(roundish) te) เรียบ(entire) ทรงกลม(roundish) te) คล่นื (undulate) ทรงกลม te) เรียบ(entire) (roundish)ทรงรี - (elliptical) ทรงร(ี elliptical)

การเปรยี บเทียบลกั ษณะตาง ๆ ของใบและ กลมุ พันธุ ใบ (leaf) สายพนั ธุ ทรงใบ(leaf shape) ปลายใบ ฐาน (leaf apex) 142) สายนาํ้ คาง (leaf b 143) สายฝน ปอ มโคนใบ(lanceolate) แหลม(acute) มน(obtu 144) พญาเสวย แหลม(a 145) มนั หมู ยาวเรยี ว(linear-oblong) แหลม(acute) แหลม(a 146) กะลาแม - 147) มันพเิ ศษ ปอมโคนใบ-ขอบขนาน(oblong-lanceolate) แหลม(a 148) มนั สายฟา แหลม(a 149) มันหวาน ปอมกลางใบ(elliptical) แหลม(acute) แหลม(a 150) ขายตึก แหลม(a 151) หวานน้าํ ผึ้ง ปอ มกลางใบ(elliptical) แหลม(acute) แหลม(a - ยาวเรยี ว(linear-oblong) ขอบขนาน(oblong) แหลม(acute) ขอบขนาน(oblong) แหลม(acute) ขอบขนาน(oblong) ขอบขนาน(oblong) แหลม(acute)

ะผลมะมวง จาํ นวน 150 สายพนั ธุ (ตอ) นใบ ขอบใบ ทรงผล(fruit shape) ลักษณะ หมายเหตุ base) พเิ ศษ use) (leaf margin) รปู ไขก ลบั (obovate) พระยาเสวย acute) เรียบ(entire) ทรงร(ี elliptical) acute) เรยี บ(entire) รูปขอบขนาน(oblong) ผวิ เปลอื กไมเรยี บคอนขา งขรขุ ระ เรยี บ(entire) ทรงรี(elliptical) acute) คลื่น(undulate) ทรงรี(elliptical) acute) คลืน่ (undulate) รูปไขก ลบั (obovate) acute) คลืน่ (undulate) ทรงรี(elliptical) acute) คล่ืน(undulate) ทรงรี(elliptical) acute) คลน่ื (undulate) รูปไขก ลับ(obovate) เรยี บ(entire) รูปไขก ลับ(obovate) -

การบันทึกลกั ษณะประจําเชอื้ พันธมุ ะมวง (Descriptors for Mango) ฐานขอมูลเชื้อพันธุมะมวง ในเอกสารเลมน้ีไดทําการบันทึกลักษณะทางดานสัณฐานวิทยา (morphology) เปนหลัก ประกอบดวย ลักษณะรูปทรง (shape) สีสัน (colour) ขนาด (size) ตลอดจนการบันทึกคุณภาพโดยใช ประสาทสมั ผัส (panel test) และจาํ นวนนับเชิงปริมาณ เปนตน ในการบันทึกลักษณะแตละพนั ธุ ลักษณะที่สําคัญ คือ ลักษณะประจําพันธุ (characteristics) ซ่ึงเปนลักษณะที่ไมมีการแปรปรวนไปตามสภาพแวดลอม และลักษณะ ทางดานการเกษตร (agriculture descriptor) ซึ่งเปนลักษณะอาจท่ีแปรปรวนไปตามสภาพแวดลอม แตบางคร้ังจะ เปนลักษณะที่เดนและสําคัญของพันธุน้ัน ๆ จึงไดบันทึกไว นอกจากน้ีบางพันธุจะมีขอมูลในหัวขอบันทึกเพ่ิมเติม (note) ไวดวย ขอมูลสวนน้ีจะเปนขอมูลที่ไดรับมาจากการบอกเลาของผูมีประสบการณในการจําแนกพันธุมะมวง โดยประสบการณ ซึ่งเปนเกษตรกรชาวสวนมะมวงโดยตรง ขอมูลสวนใหญจะมีภาษาอังกฤษและภาษาลาตินกํากับไว ดวยเพื่อการคนควาในภายหลังและเปนมาตรฐานเดียวกัน สําหรับการบันทึกสี (colour) จะบันทึกเปนรหัสสีโดยใช มาตรฐานการเปรียบเทียบสีจากแผนเทียบสี RHS (Royal Horticultural Society Colour Chart) ของประเทศ อังกฤษ เชน YG 10 B เปนตน อยางไรก็ตามโครงสรางการบันทึกลักษณะประจําเช้ือพันธุมะมวงของกรมวิชาการ เกษตรจะประกอบดวยหัวขอหลักดงั ตอ ไปน้ี 1. ขอมูลเบื้องตน (Passport Data) 2. การบริหารเชื้อพันธุ (Management) 3. ลกั ษณะประจําพนั ธุ (Characterizations) 4. การประเมินผล (Evaluation) 5. รูปภาพประกอบ (Picture)

ขอมูลเบือ้ งตน PASSPORT DATA ในการจดั ทําระบบฐานขอ มลู เชื้อพันธุมะมว ง การบันทึกขอ มลู เบือ้ งตนนบั วา เปน สงิ่ สําคัญอันดบั แรกทงั้ น้เี พ่อื ทราบประวัติของเช้ือพนั ธุมะมว งทตี่ องการจะตรวจสอบและเพื่อการใชป ระโยชนในการเกบ็ รวบรวมขอ มลู และ อนรุ กั ษเ ชอื้ พนั ธมุ ะมวง การแลกเปลีย่ นเช้ือพันธุมะมว งทัง้ ในและตา งประเทศ การขออนุญาตนําเขา หรอื สง ออกตามกฎ ระเบยี บและกฎหมายตาง ๆ ทเ่ี กีย่ วของทางดา นอนุรักษ ดา นคุม ครองและใชประโยชนจากเชอื้ พนั ธมุ ะมวงและรวมถงึ การขน้ึ ทะเบยี นพนั ธมุ ะมว ง การจดทะเบียนพันธพุ ืชตามกฎหมายเพื่อคมุ ครองสทิ ธิ เปนตน หวั ขอ การบันทกึ ขอ มูล เบอ้ื งตน ในการตรวจสอบพนั ธมุ ะมว ง มีดงั น้ี คือ 1. หมายเลข (Accession number) เชื้อพันธุมะมวงแตละตัวอยางท่ีเก็บรวบรวมจะตองมีรหัสหมายเลขกํากับไวทุกตัวอยางหรือทุกพันธุเพื่อ สะดวกในการเรียกใชขอมูลและอางอิงขอมูลในภายหลังได ในที่น้ีหมายเลขประจําเชื้อพันธุมะมวงจะกําหนดไวเปน ตวั เลขเรียงตามลําดบั เชน 00001 พันธแุ กว 007, 00002 พันธุกระแตลืมรงั เปนตน 2. ช่อื พันธุ (Name) 3. ชือ่ เดิม (Former name) 4. ชื่อวิทยาศาสตร (Scientific name) เชน Mangifera indica L. เปนตน 5. ประวตั พิ นั ธุ (Information) 5.1 แม- พอพนั ธุ (pedigree) ในทีน่ ีห้ มายถึง การผสมเทียมซ่งึ เกิดจากการกระทาํ โดยมนษุ ยเทาน้นั (artificial hybrid) 5.2 ความเปน มา - วันเดอื นปท ีแ่ นะนํา (date) (DDMMYYYY)* 5.3 ชอื่ และท่อี ยสู ถาบันหรือหนว ยงานท่ีผลติ เชื้อพันธุม ะมว ง (name and address of institution) *DD หมายถึง เลข 2 หลกั แทน วันท่ี MM หมายถึง เลข 2 หลัก แทน เดือน YY หมายถงึ เลข 4 หลกั แทน ป

6. สถานภาพของพนั ธุ (Status of sample) (DDMMYYYY) 6.1 พันธุพ ื้นเมือง (indigenous) 6.2 พันธุลกู ผสม (artificial hybrids) 6.3 พนั ธุตางประเทศ (introduction) 6.4 อ่ืนๆ (others) 7. วันเดอื นปทไี่ ดรบั (Acquisition date) 8. ลักษณะของตวั อยางทไ่ี ดร ับ (Type of material received) 8.1 เมลด็ (stone) 8.2 ทอนพันธ/ุ กิ่งพนั ธุ (stem/branch) 8.3 ตายอด (bud) 8.4 สว นขยายพนั ธพุ ืชในสภาพปลอดเช้อื (in vitro) 8.5 อืน่ ๆ (others) 9. ปรมิ าณที่ไดรับ (Accesstion size) 9.1 จาํ นวนนบั เชงิ ปริมาณ (quantity) 9.2 จํานวนเชิงน้ําหนกั (weight) 9.3 ตามภาชนะบรรจุ (packing material) 10. หมายเลขอื่น ๆ (Other number) 10.1 หมายเลขเดิมท่เี จา ของเชอ้ื พนั ธกุ าํ หนดไว (doner number) 10.2 หมายเลขทะเบียนนาํ พชื (plant introduction number) 10.3 อน่ื ๆ (others) 11. แหลง ท่มี า (Source) (DDMMYYYY) 11.1 ผูให (donor) (DDMMYYYY) - ช่ือและทอี่ ยู (name and address) (DDMMYYYY) - วนั ท/ี่ เดือน/ป ที่ไดร บั (date) 11.2 ผนู าํ เขา (importer) - ชื่อและทีอ่ ยู (name and address) - วันท/่ี เดือน/ป ทีไ่ ดร ับ (date) 11.3 ผเู กบ็ ตัวอยาง (collector) - ช่อื และทอ่ี ยู (name and address) - วันท/ี่ เดอื น/ป ทไี่ ดร บั (date)

11.4 แหลง ที่มาภายในประเทศ (indigenous source) - ระบชุ ่อื อําเภอ/ชื่อจงั หวดั 11.5 แหลงที่มาจากตา งประเทศ (introduction source) - ระบุชอ่ื ประเทศหรือรหสั ประเทศตาม ISO (international standard code for the representation of name of countries) 11.6 ตาํ แหนง ทเี่ ก็บตวั อยา ง โดยระบุเสน รงุ แลว ตามดว ยทศิ เหนือหรอื ใต (latitude of collection source) - ระบุเปนองศาของเสนรงุ ดานทิศเหนอื หรอื ทศิ ใต 11.7 ตาํ แหนงทเี่ ก็บตวั อยาง โดยระบุเสน แวงแลว ตามดว ยทศิ เหนอื หรือทิศใต (longitude of collection source) - ระบเุ ปนองศาของเสนแวงดา นทิศเหนือหรอื ทิศใต 11.8 ระดบั ความสูงจากระดบั นํา้ ทะเลของสถานท่ีเก็บตวั อยา ง (altitude of collection soure) - ระบุเปน ความสูงของพืน้ ทเ่ี หนือระดบั นํ้าทะเล (เมตร) 12. ตวั อยา งสําหรบั ทาํ ตวั อยางแหง (Herbarium specimen)/ ภาพถา ย (Photograph) 13. บันทกึ เพิ่มเตมิ (Note)

การบริหารเชือ้ พนั ธุ MANAGEMENT การบริหารเช้ือพันธุมะมวงเปนการปฏิบัติตามขั้นตอนท่ีเกี่ยวของกับหลักวิชาการและตามกฎระเบียบและกฎหมายตางๆ ท้ังนี้ เพือ่ การนําเชอื้ พนั ธุม ะมวงไปใชประโยชนสูงสุด หัวขอทคี่ วรพิจารณาดาํ เนินการมีดังน้ีคือ 1. การกกั กนั พชื และการขออนญุ าต (Plant quarantine and permits) การนําเขาและสงออกเช้ือพันธุมะมวง (Mangifera indica L.) จะตองปฏิบัติตามพระราชบัญญัติกักพืช พ.ศ. 2507 แกไขเพ่ิมเติมโดยพระราชบัญญัติกักพืช (ฉบับท่ี 2) พ.ศ. 2542 พระราชบัญญัติพันธุพืช พ.ศ. 2518 แกไขเพิ่มเติม โดยพระราชบัญญัติพันธุพืช (ฉบับที่ 2) พ.ศ. 2535 และคําส่ังกรมวิชาการเกษตร ที่ 352/2528 เรื่อง ระเบียบการ นาํ พันธพุ ืชเขามาในประเทศไทยและกําหนดแหลงรวบรวมพันธุพืช เปน ตน 1.1 การนําเขา (import) - ใบอนญุ าตนาํ เขา (import permit) Yes/No - ใบรบั รองปลอดศัตรพู ืชจากประเทศตนทาง (Phytosanitary Certificate) Yes/No - การปองกนั กําจดั ศัตรพู ชื ทางกักกนั พชื (quarantine treatment) Yes/No - สถานกักพชื (Post Entry Quarantine) Yes/No - ทะเบยี นนาํ พชื (plant introduction) Yes/No 1.2 การสงออก (export) - การปอ งกันกําจดั ศัตรพู ชื ทางกักกนั พืช (quarantine treatment) Yes/No - ใบรบั รองปลอดศัตรพู ชื (Phytosanitary Certificate) Yes/No - ใบอนญุ าตสง ออก (export permit) Yes/No 2. การแลกเปล่ยี นพันธรุ ะหวางประเทศ (Exchange of germplasm) 2.1 ใหปฏบิ ัติตามระเบียบกรมวชิ าการเกษตรวา ดวยหลกั เกณฑก ารแลกเปลยี่ นสวนขยายพนั ธพุ ืชระหวา ง ประเทศ พ.ศ. 2531 ซ่ึงปรมิ าณสว นขยายพนั ธพุ ชื ท่ีอนุญาตใหแลกเปลยี่ นกบั ตา งประเทศตามระเบยี บ ดังกลา วมเี ง่ือนไขดังนี้ คือ กลุม พนั ธุพชื สวน กงิ่ ตามะมว ง พันธลุ ะ 10 พันธุ กิ่งพันธุมะมว ง พนั ธุละ 5 ตน พันธุ 2.2 หมายเลข (accession number) ทสี่ ามารถแลกเปลยี่ นพนั ธุ (Passport Data I) - Yes/No 3. การเกบ็ รวบรวมพันธแุ ละอนุรกั ษ (Collection and conservation)

3.1 แหลง รวบรวมและอนรุ กั ษเช้ือพนั ธุมะมวง (maintenance site of collection) - ชือ่ และท่อี ยู (name and address) รหัส/code - ผูด แู ล (curator) รหัส/code 3.2 วิธกี ารเกบ็ รวบรวมและอนรุ ักษเ ช้ือพนั ธมุ ะมว ง (methods) 3.2.1 ex situ (นอกท่เี ดมิ ตามธรรมชาติ) รหัส/code - แปลงกิ่งตา (budding field collection) รหสั /code - แปลงรวบรวมพนั ธุมะมว ง (field collection) รหัส/code 3.2.2 in vitro (สวนขยายพันธใุ นสภาพปลอดเชอ้ื ) รหัส/code 3.3 หมายเลขทเี่ กบ็ รวบรวม (accession number) (Passport Data 1) 3.4 ปริมาณท่เี กบ็ รวบรวม (collection size) (Passport Data 9) 3.5 ระยะเวลาในการเก็บรวบรวม (period of collection) 3.6 วธิ ีการจัดการ (management) 3.6.1 การดแู ลรักษา (maintenance) 3.6.2 การปองกนั กาํ จดั ศัตรพู ืช (treatment) 4. การนําไปใชป ระโยชน (Economic use) 5. บนั ทึกเพมิ่ เติม (Note)

ลกั ษณะประจาํ พันธมุ ะมว ง : Characterization of Mango Variety เลข ตัวอยางพันธุ รปู ภาพ รหสั รายละเอยี ดประจาํ พนั ธุ รปู ที่ 2 1 เขยี วเสวย รูปที่ 3 1. ทรงพมุ ตน (Growth) 2 อกรอ ง รปู ท่ี 4 (เง่อื นไข : ใหด ูตน มะมว งทมี่ อี ายปุ ระมาณ 8-10 ป 3 รูปที่ 5 โดยไมม ีการตดั แตง กิง่ มากอน) 1.1 ขนาดของทรงพมุ (Growth size) 1 1.1.1 เล็ก (small) (........เมตร) 2 1.1.2 ปานกลาง (medium)(........เมตร) 1.1.3 ใหญ (large)(........เมตร) 1 เขียวเสวย 2 มหาชนก 2. เปลอื กลําตน (Bark) (เงือ่ นไข : ใหด ตู นมะมว งทม่ี ีอายุตัง้ แต 1 ปข ึน้ ไป) 1 2.1 ลักษณะเปลอื กลําตน (Bark texture) 2 2.1.1 เรียบ (smooth) 3 2.1.2 ขรขุ ระ (cracked) 4 5 3. การแตกกงิ่ (Branching) (เง่อื นไข : ใหด ูตน มะมว งท่ีมอี ายตุ ้งั แต 2 ปข นึ้ ไป) 1 3.1 การเลือ้ ย (Climbing of branch) 2 3.1.1 ใช (yes) 3 3.1.2 ไมใช (no) 4. ใบ (Leaf) (เงื่อนไข : ใหด ูใบท่ีเจรญิ เตบิ โตเต็มที/่ สมบูรณท สี่ ดุ / กลางกลุมใบ/ ประมาณใบท่ี 4 จากยอด) 4.1 รปู รา งของใบ (Leaf shape) 4.1.1 ยาวเรยี ว (linear-oblong) 4.1.2 ขอบขนาน (oblong) 4.1.3 ปอ มปลายใบ (oblanceolate) 4.1.4 ปอมกลางใบ (elliptical) 4.1.5 ปอ มโคนใบ (lanceolate) 4.2 ปลายใบ (Leaf apex) 4.2.1 สอบเรียว (attenuate) 4.2.2 เรียวแหลม (acuminate) 4.2.3 แหลม (acute)

รายละเอียดประจําพันธุ เลข ตวั อยา งพนั ธุ รปู ภาพ รหสั 4.3 ฐานใบ (Leaf base) 1 รปู ท่ี 6 4.3.1 สอบเรยี ว (attenuate) 4.3.2 แหลม (acute) 2 4.3.3 มน (obtuse) 3 4.3.4 กลม (rounded) 4 4.4 ขอบใบ (Leaf margin) รปู ท่ี 7 4.4.1 เรยี บ (entire) 1 4.4.2 คลืน่ (undulate) 2 4.5 แผนใบ (Leaf blade) รปู ท่ี 8 4.5.1 เรียบ (flat) 1 4.5.2 คลน่ื (wavy) 2 4.6 สใี บออน (Young leaf colour) 4.6.1 สเี ขียวออ น (light green) 1 4.6.2 สเี ขยี วอมเหลอื ง (yellowish green) 2 4.6.3 สีน้าํ ตาลปนแดง (reddish brown) 3 4.7 สใี บแก (Mature leaf colour) 4.7.1 สเี ขยี วเขม (dark green) 1 4.7.2 สีเขียวอมเหลอื ง (yellowish green) 2 4.7.3 สีเขียวออ น (light green) 3 4.8 มุมกา นใบ (Crotch angle of leaf petiole) 1 4.8.1 ตาํ่ กวา 90° (less than right angle) 2 4.8.2 เทา กับ 90°(right angle) 3 4.8.3 มากกวา 90° (more than right angle) 5. ผล (Fruit) (เง่ือนไข : ใหดผู ลท่เี จริญเติบโตเตม็ ท่ี (แกจัด) และมีสภาพทีส่ มบรู ณ) 5.1 ทรงผล (Fruit shape) รปู ที่ 9 5.1.1 ทรงกลม (roundish) 1 5.1.2 รูปไข (ovate) 2 5.1.3 รูปไขก ลบั (obovate) 3 5.1.4 ทรงรี (elliptical) 4 5.1.5 รูปขอบขนาน (oblong) 5

รายละเอยี ดประจําพันธุ เลข ตัวอยา งพนั ธุ รูปภาพ รหัส รูปท่ี 10 5.1.6 ทรงกระบอก (cylindrical) 5.2 รูปหนา ตดั ทรงผลตามขวาง (Cross section) 6 รูปท่ี 11 5.2.1 แคบรี (narrow elliptic) 1 รูปท่ี 12 5.2.2 ปอ มรี (broad elliptic) 2 รปู ท่ี 13 5.2.3 กลม (circular) 3 5.3 ความลึกของฐานผล (Depth of stalk cavity) รปู ที่ 14 5.3.1 ตน้ื (shallow) 1 รปู ที่ 15 5.3.2 ปานกลาง (medium) 2 รูปที่ 16 5.3.3 ลึก (deep) 3 รูปที่ 17 5.4 จกุ ของผล (Prominence of neck) 5.4.1 ไมมีจุก (absent) 0 แกว จกุ / สาม 5.4.2 มีจกุ (present) 1 ฤดู 5.5 ทรงไหลดานทองผล (Shape of ventral shoulder) 5.5.1 กลมนูนขึน้ (rounded upward) 1 5.5.2 กลมกวา ง (rounded outward) 2 5.5.3 กลมแคบ (rounded downward) 3 5.6 ทรงไหลด า นหลงั ผล (Shape of dorsal shoulder) 5.6.1 ไหลล าดลง 45 องศา (sloping downward) 1 5.6.2 ไหลล าดลง 20 องศา (falling abruptly) 2 5.7 รองฐานผล (Groove at fruit base) 5.7.1 ไมม ี (absent) 0 5.7.2 มี (present ) 1 5.8 รอยเวา ดานทอ งผล (Sinus) 5.8.1 ไมม ี (absent) 0 5.8.2 มี (present) 1 5.9 จะงอย (Beak) 5.9.1 ไมมี (absent) 0 5.9.2 มี (present) 1

รายละเอียดประจาํ พันธุ เลข ตวั อยา งพนั ธุ รปู ภาพ รหัส 6. ลักษณะพเิ ศษ (Note) 6.1 ผลใหญ (large fruit) 1 นาทับ 6.2 เมลด็ ลบี (seedless) 2 นาํ้ ดอกไม 6.3 ออกดอก ตดิ ผลมากกวา 1 คร้งั ตอป 3 6.4 อื่นๆ (others)