Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore ราชาศัพท์

Description: ราชาศัพท์

Search

Read the Text Version

ราชาศพั ท์ เฉลมิ พระเกียรตพิ ระบาทสมเดจ็ พระเจ้าอยู่หวั เน่อื งในโอกาสมหามงคลพระราชพธิ บี รมราชาภิเษก พทุ ธศกั ราช ๒๕๖๒ คณะกรรมการเอกลกั ษณ์ของชาติ สานกั งานปลัดสานกั นายกรฐั มนตรี จดั พมิ พเ์ ผยแพร่

ราชาศพั ท์ เฉลิมพระเกยี รตพิ ระบาทสมเด็จพระเจา้ อยูห่ วั เนือ่ งในโอกาสมหามงคล พระราชพิธบี รมราชาภเิ ษก พุทธศักราช ๒๕๖๒ คณะอนุกรรมการจัดทาหนังสือราชาศัพท์ ในคณะกรรมการเอกลักษณ์ของชาติ สานักงานปลัดสานักนายกรฐั มนตรี จดั พมิ พ์เผยแพร่ ครั้งท่ี ๖ พุทธศกั ราช 25๖๔ ขอ้ มลู ทางบรรณานกุ รมของสานักหอสมุดแห่งชาติ National Library of Thailand Cataloging in Publication Data. สานกั งานเสริมสร้างเอกลักษณ์ของชาติ, ราชาศพั ท์. -- พิมพ์คร้งั ที่ 46.-- กรงุ เทพฯ : สานักงาน, 256545. 41260 หนา้ . 1. ภาษาไทย -- ราชาศัพท์. I. ชอ่ื เรอื่ ง. 495.913 ISBN 978-616-235-315432-6 พิมพท์ ่ี : บจก.ซดี ี มีเดีย ไกด์

คำปรำรภ พลเอก ประยุทธ์ จนั ทร์โอชำ นำยกรฐั มนตรี ในโอกำสจดั พมิ พห์ นังสอื ทีร่ ะลกึ และจดหมำยเหตงุ ำนพระรำชพธิ ีบรมรำชำภิเษก พทุ ธศักรำช ๒๕๖๒ ------------------------------ ราชอาณาจักรไทย มีความเจริญรุ่งเรืองสถาพรสืบมาโดยลาดับ อันเนอ่ื งมาจากความมั่นคงของสถาบันชาติ ศาสนา และพระมหากษตั ริย์ ซึ่งเป็นสถาบันหลัก ที่สาคัญของชาติ เป็นศูนย์รวมจิตใจของชาวไทยท้ังประเทศ ตลอดระยะเวลาอันยาวนาน นับแต่อดีตตราบจนปัจจุบัน พระมหากษัตริย์ไทยทุกพระองค์ล้วนทรงปฏิบัติพระราช กรณยี กิจนานปั การดว้ ยพระวริ ิยะอตุ สาหะตามหลักทศพิธราชธรรม เพือ่ ประโยชน์สุขแห่ง อาณาประชาราษฎรเ์ ป็นสาคญั เน่ืองในโอกาสมหามงคลสมัยที่พระบาทสมเด็จพระปรเมนทรรามาธิบดี ศรีสินทรมหาวชริ าลงกรณ มหศิ รภูมพิ ลราชวรางกรู กติ ิสิริสมบูรณอดุลยเดช สยามินทราธิเบศร ราชวโรดม บรมนาถบพิตร พระวชิรเกล้าเจ้าอยู่หัว ทรงพระกรุณาโปรดเกล้า โปรดกระหมอ่ มให้ตั้งการพระราชพิธบี รมราชาภิเษก ระหว่างวนั ศุกร์ที่ ๓ ถงึ วนั จนั ทร์ที่ ๖ พฤษภาคม พุทธศักราช ๒๕๖๒ รัฐบาลพร้อมด้วยหน่วยงานภาครัฐและภาคเอกชน ตลอดจนประชาชนชาวไทยทุกหมู่เหล่าล้วนปีติปราโมทย์อย่างยิ่ง จึงพร้อมใจกันจัด โครงการและกิจกรรมเฉลมิ พระเกียรติ เพ่อื แสดงออกถงึ ความจงรกั ภกั ดีและน้อมสานึกใน พระมหากรุณาธิคุณอันหาที่สุดมิได้โดยพร้อมเพรียงกันท่ัวประเทศ รัฐบาลในนาม คณะกรรมการอานวยการจัดงานพระราชพิธีบรมราชาภิเษก ได้กราบบังคมทูลเชิญ สมเด็จพระกนิษฐาธิราชเจ้า กรมสมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี ทรงเป็นท่ีปรึกษากิตติมศักดิ์ในการพระราชพิธี และได้แต่งต้ังคณะกรรมการฝ่ายต่าง ๆ เพ่ือการดาเนินงานจัดการพระราชพิธีบรมราชาภิเษก พุทธศักราช ๒๕๖๒ ให้สมบูรณ์ ครบถ้วนตามขตั ติยโบราณราชประเพณี เพอื่ ทาหน้าที่ต่าง ๆ อนั เน่ืองด้วยการพระราชพิธี บรมราชาภิเษกทั้งมวล ตลอดจนบันทึกเหตุการณ์พระราชพิธีบรมราชาภิเษก พทุ ธศกั ราช ๒๕๖๒ ไว้เป็นหลักฐานสาคัญทางประวัติศาสตร์ของชาติและเฉลิมพระเกียรติยศ พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยหู่ วั ใหเ้ ปน็ ทป่ี รากฏแผ่ไพศาลไปในนานาอารยประเทศ /รัฐบาล...

รัฐบาลและปวงชนชาวไทยทุกหมู่เหล่าน้อมสานึกในพระมหากรุณาธิคุณ ล้นเกล้าล้นกระหม่อมขอพระราชทานพระบรมราชานุญาต อัญเชิญพลานุภาพแห่ง คุณพระศรีรัตนตรัยและส่ิงศักดิ์สิทธ์ิทั้งหลายในสากลพิภพ โปรดอภิบาลพระบาทสมเด็จ พระเจ้าอยู่หัว และสมเด็จพระนางเจ้าฯ พระบรมราชินี ให้เจริญพระชนมสุขสิริสวัสดิ์ สรรพพิบัติอุปัทวันตรายจงเส่ือมหายสูญสนิท เสด็จสถิตเป็นม่ิงขวัญแห่งสยามรัฐสีมาและ ปวงชนชาวไทยตราบนริ นั ดร์ พลเอก (ประยทุ ธ์ จันทร์โอชา) นายกรฐั มนตรี ประธานกรรมการอานวยการจดั งานพระราชพิธีบรมราชาภเิ ษก

คำนำ ณ มหามงคลพระราชพิธีบรมราชาภิเษก พุทธศักราช ๒๕๖๒ พระบาทสมเด็จ พระปรเมนทรรามาธิบดีศรีสินทรมหาวชิราลงกรณ พระวชิรเกล้าเจ้าอยู่หัว เสด็จเถลิงถวัลยราชย์ ธารงเป็นพระมหากษัตริย์ รัชกาลท่ี ๑๐ แห่งราชอาณาจักรไทยอย่างสมบูรณ์ตามโบราณ ราชประเพณี ระหว่างวันศุกร์ท่ี ๓ ถึงวันจันทร์ที่ ๖ พฤษภาคม พุทธศักราช ๒๕๖๒ และพระราชพิธีเสด็จเลียบพระนครโดยขบวนพยุหยาตราทางชลมารค วนั พฤหัสบดีท่ี ๑๒ ธันวาคม พุทธศักราช ๒๕๖๒ เป็นพระราชพิธีย่ิงใหญ่ เป็นที่แซ่ซ้องสรรเสริญในความ งดงามของวัฒนธรรม แสดงความรุ่งเรืองมาแต่โบราณกาลของชาติ และสถาบัน พระมหากษัตริย์ชาติไทย ในกาลสมัยที่กรุงรัตนโกสินทร์เจริญก้าวหน้าถึง ๒๓๘ ปี มีหลักฐานประจักษ์ถึงความเจริญนานาประการ เ ม่ื อ ค ณ ะ ก ร ร ม ก า ร ฝ่ า ย จั ด พิ ธี ก า ร ง า น พ ร ะ ร า ช พิ ธี บ ร ม ร า ช า ภิ เ ษ ก ในคณะกรรมการอานวยการจัดงานพระราชพิธีบรมราชาภิเษก ได้แต่งต้ังคณะอนุกรรมการ ฝ่ายจัดทาหนังสือที่ระลึกและจดหมายเหตุงานพระราชพิธีบรมราชาภิเษก ปรากฏว่า นอกจากหนังสอื จดหมายเหตุงานพระราชพิธีบรมราชาภิเษก ซงึ่ เป็นหนงั สือทีต่ อ้ งมขี ้ึนตาม ธรรมเนียมท่ีมีเหตุการณ์สาคัญของสถาบันพระมหากษัตริย์และของบ้านเมืองแล้ว เนื่องใน โอกาสมหามงคลน้ี ได้มีหนังสือที่ระลึกชุดเฉลิมพระเกียรติพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว อีกจานวนหนึง่ ทง้ั ประวตั ิศาสตร์ ราชประเพณี วฒั นธรรม ชีวติ ผูค้ นในแผน่ ดนิ ไทย เน่ืองด้วยคณะกรรมการเอกลักษณ์ของชาติได้ตระหนักว่า ภารกิจหลักคือ การเผยแพร่ภาพลักษ ณ์ชาติไ ท ยที่สั่งสมวัฒนธรรมอันดีให้ปร ะ ชาชนชา วไ ทยเข้า ใ จ และรับรู้ เพื่อร่วมมือบาเพ็ญคุณประโยชน์แก่ชาติบ้านเมืองตามโอกาส โดยเฉพาะ ในพระราชพิธีบรมราชาภิเษกครั้งนี้ สมควรอย่างย่ิงท่ีจะได้จัดพิมพ์หนังสือเร่ืองราชาศัพท์ ท ูล เ ก ล ้า ท ูล ก ร ะ ห ม ่อ ม ถ ว า ย ใ ห ้เ ป ็น ห น ัง ส ือ เ ฉ ล ิม พ ร ะ เ ก ีย ร ต ิ พ ร ะ บ า ท ส ม เ ด ็จ พระเจ้าอยู่หัว เนื่องในโอกาสมหามงคลพระราชพิธีบรมราชาภิเษก พุทธศักราช ๒๕๖๒ ซึ่งสานักงานเสริมสร้างเอกลักษณ์ของชาติ สานักงานปลัดสานักนายกรัฐมนตรี เป็นเจ้าของลิขสิทธิ์ ด้วยผู้ทรงคุณวุฒิด้านระเบียบราชประเพณีและภาษาหนังสือ ในสานกั พระราชวังและสานักราชเลขาธิการ คร้งั รชั กาลพระบาทสมเด็จพระบรมชนกาธิเบศร มหาภูมิพลอดุลยเดชมหาราช บรมนาถบพิตร เป็นผู้ค้นคว้าเรียบเรียง ตลอดทั้ง ให้ความเห็นชอบในการจัดทาต้นฉบับ ซ่ึงสมควรจะเอ่ยนามท่านไว้เป็นหลักฐาน ได้แก่ หม่อมราชวงศ์แสงสูรย์ ลดาวัลย์ เป็นผู้ค้นคว้าเรียบเรียง และนายภาวาส บุนนาค เป็นผู้ให้ความเห็นท่ีถูกต้อง ตลอดท้ังได้รับการแก้ไขปรับปรุงให้สอดคล้องกับโอกาสและ กาลสมัยเป็นสาคัญเสมอมา โดยเฉพาะจัดพิมพ์เฉลิมพระเกียรติพระบาทสมเด็จพระบรม ชนกาธิเบศร มหาภูมิพลอดุลยเดชมหาราช บรมนาถบพิตร ในมหามงคลต่าง ๆ เพื่อสนอง พระมหากรุณาธิคุณที่ได้พระราชทานพระราชกระแสแสดงความห่วงใยในการใช้ภาษา ของชาติและมพี ระราชประสงคท์ ี่จะไม่ใหว้ ฒั นธรรมแขนงนี้ผันแปรไปจนวบิ ตั ิ

คณะกรรมการเอกลักษณ์ของชาติได้รับพระราชทานพระบรมราชานุญาต ให้การจัดทาหนังสือราชาศัพท์เป็นหนังสือเฉลิมพระเกียรติ เนื่องในโอกาสมหามงคล พระราชพิธีบรมราชาภิเษก พระราชทานพระบรมราชานุญาตเชิญภาพประกอบหนังสือ ราชาศัพท์ทจี่ ัดทาในคร้ังที่ ๔ เม่อื ปี ๒๕๕๕ พระบรมฉายาลักษณ์ และภาพพระราชกรณียกิจ พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว และสมเด็จพระนางเจ้าฯ พระบรมราชินี ในพระราชพิธีต่าง ๆ พร้อมทั้งตราสัญลักษณ์พระราชพิธีบรมราชาภิเษก พุทธศักราช ๒๕๖๒ เพ่ือจัดพิมพ์ ในหนงั สอื ดงั กล่าว (นายวิษณุ เครอื งาม) รองนายกรัฐมนตรี ประธานกรรมการเอกลกั ษณ์ของชาติ

คำช้แี จง การใช้คาราชาศัพท์เป็นวัฒนธรรมทางภาษาอย่างหนึ่งที่เป็นลักษณะเฉพาะของ ภาษาไทย หรือจะกล่าวว่าเป็นเอกลักษณ์ทางภาษาก็ว่าได้ ถ้าพิเคราะห์ดูโดยรวมแล้ว จะพบวา่ ทุกชาติทุกภาษาย่อมมีระดับของภาษาพดู ภาษาเขียนทต่ี ้องเลือกใชใ้ ห้เหมาะกับ ฐานะของผู้ส่ือสารและผู้รับสารเป็นธรรมดา การใช้ภาษาให้มีความถูกต้องกับระบบ ระเบียบเช่นนั้นเป็นเร่ืองท่ีมีความนิยมกันอยู่โดยท่ัวไป พร้อมกันน้ันก็มีข้อควรพิจารณา ด้วยว่า เร่ืองราวของภาษาไม่ใช่ภาวะท่ีหยุดนิ่งอยู่กับท่ี หากแต่มีความเปลี่ยนแปลงไปได้ ตามยุคสมัย ไม่ต้องดูอ่ืนไกล เพียงภาษาท่ีใช้ในสมัยต้นกรุงรัตนโกสินทร์กับภาษาที่เรา ใช้กันอยู่ในปัจจุบันน้ี ก็ไม่ได้เหมือนกันสนิทเสียแล้ว การถ่ายทอดความรู้เกี่ยวกับภาษา จากคนรุ่นหนึ่งไปสู่คนอีกรุ่นหน่ึงจึงเป็นเร่ืองสาคัญ เพ่ือให้เราสามารถใช้ภาษาได้ถูกต้อง โดยไม่ท้งิ รากเหง้าความเปน็ มาทีม่ มี าแต่เกา่ ก่อน ประเทศไทยของเรามีสถาบันพระมหากษัตริย์เป็นท่ียึดเหนี่ยวจิตใจของประชาชน มาแต่ไหนแต่ไร ความรู้เกี่ยวกับเรื่องราชาศัพท์จึงเป็นเร่ืองที่พบเห็นได้อยู่เสมอ หนังสือ ตารับตาราว่าด้วยเรื่องของราชาศัพท์ได้มีผู้เรียบเรียงจัดทาข้ึนต่างยุคต่างสมัยเสมอมา ยิ่งจานวนประชากรมีเพิ่มมากข้ึน ระบบการศึกษามีการพัฒนาเติบใหญ่ข้ึน ความจาเป็น ท่ีจะต้องมีหนังสือราชาศัพท์เพ่ือสืบทอดความรู้เร่ืองนี้ยิ่งเห็นได้ชัด หนังสือว่าด้วยเรื่อง ราชาศัพท์จึงได้มีการปรับปรุงให้อ่านเข้าใจง่าย สามารถใช้เป็นคู่มือในการใช้ราชาศัพท์ ให้ถูกต้องเหมาะสมมาตามลาดับ คณะกรรมการเอกลักษณ์ของชาติได้จัดพิมพ์หนังสือ ราชาศัพท์ ฉบับที่มีผู้ทรงคุณวุฒิช่วยกันเรียบเรียงจัดทาข้ึนเป็นคร้ังแรก ในรัชกาลของ พระบาทสมเด็จพระบรมชนกาธิเบศร มหาภูมิพลอดุลยเดชมหาราช บรมนาถบพิตร เมอื่ พุทธศกั ราช ๒๕๓๗ และได้ตพี ิมพฉ์ บบั แก้ไขเพ่มิ เตมิ ตอ่ เนื่องมาอกี สามครัง้ ในพุทธศักราช ๒๕๖๒ ที่ผ่านมา เป็นวาระท่ีประชาชนทั้งชาติมีความปีติยินดี เป็นล้นพ้น เน่ืองในการพระราชพิธีบรมราชาภิเษกพระบาทสมเด็จพระวชิรเกล้าเจ้าอยู่หัว คณะกรรมการเอกลักษณ์ของชาติและสานักงานเสริมสร้างเอกลักษณ์ของชาติ เห็นเป็น โอกาสสาคัญท่ีสมควรจะได้นาหนังสือเร่ืองราชาศัพท์ ฉบับข้างต้นมาปรับปรุงให้ทันสมัย และเป็นปัจจุบันมากขึ้น เพื่อความสะดวกแก่การใช้งานและค้นคว้าอ้างอิง จึงได้มีการ แต่งต้ังคณะอนุกรรมการขึ้นคณะหน่ึงเพื่อดาเนินการในเรื่องนี้ และสาเร็จผลเป็นหนังสือ เรอื่ งราชาศัพท์ ฉบบั ทีท่ า่ นได้เห็นอย่แู ล้วในบดั นี้ (ศาสตราจารยพ์ ิเศษธงทอง จนั ทรางศุ) ประธานอนกุ รรมการจัดทาหนงั สือราชาศัพท์ ในคณะกรรมการเอกลกั ษณ์ของชาติ

สารบาญ สาสราบราบญาญ ๘ สารคบาาอญธบิ ายวธิ ใี ช้หนังสือราชาศพั ท์ ๘๙ คาอบธทิบทายี่ ๑วธิ อีใชธห้บิ นายังรสาอื ชราศชัพาศทัพ์แทละ์ การใชร้ าชาศัพท์ ๙๑๐ บททบี่ท๑ที่อ๒ธบิ รายชราาศชพั าทศห์พั มทว์แดลตะา่ กงาๆรใชร้ าชาศพั ท์ ๑๐๒๘ บทที่ ๒ ราชหามศวัพดททห์ ี่ มวด๑ต่างคๆานาม ๒๘๒๙ หมวดที่ ๑ คาน๑า.ม๑ ขตั ติยตระกลู ๒๙๒๙ ๑.๑๑ข.๒ัตตริยา่ งตกราะยกลู ๒๙๔๕ ๑.๒๑ร.๓่างคกานยามอนื่ ๆ ๔๕๕๓ หมวดที่ ๒๑.๓คคากานริยามาอืน่ ๆ ๕๓๗๑ หมวหดมทวี่ดท๒ี่ ๓คากลรักยิ ษาณนาม ๗๑๑๕ หมวหดมทว่ีดท๓่ี ๔ลักษเคณรนอ่ื งาแมต่งกาย เครื่องประดบั ๑๑๕๑๑๘ หมวดท่ี ๔ เครภอ่ื งาแชตนง่ะกใชายส้ อเคยรอื่ างหปารระดแับละเครื่องใช้ทัว่ ไป ๑๑๘ หมวดท่ี ๕ภาชศนพั ะทใช์ทส้ ใี่ ชอ้ใยนอกาหรพาระแรลาะชเพคิธรีแื่อลงใะชกท้ าวั่รไพประราชกศุ ล ๑๒๙ หมวหดมทวี่ดท๕่ี ๖ศพั ทเค์ทรใ่ี ื่อชง้ใรนากชากรกพธุ รภะณัราฑชแ์ พลิธะแี เลคะรกือ่ างรพาชรูปะรโภาชคกุศล ๑๒๙๒๓๑ หมวหดมทว่ีดท๖่ี ๗เครพื่องรระารชากชกนธุเิ วภศณั นฑ์มแ์ณลเะฑเียครสือ่ ถงรานาชปู โภค ๒๓๒๑๕๒ หมวหดมทวี่ดท๗ี่ ๘พระพรราะชรนาิเชวพศานห์มนณะเฑียรสถาน ๒๕๒๖๓ บทท่ี ห๓มกวาดรทเี่ขียน๘หนพังสรือะกรารชาบพบาหังคนมะทูลพระกรณุ า กราบบงั คมทูล กราบทูล ๒๖๒๓๙๒ บทท่ี ๓ การแเลขะยี ทนลูหนแังลสะือกการากบรบาบงั คบมังทคมลู ทพลูระพกรระณุกราุณการากบรบาบังคบมงั ทคมลู ทกลู รากบรทาบูลทูล ๒๙๒ และแทลูละทแูลดะว้กยาวรากจราบบงั คมทลู พระกรณุ า กราบบังคมทลู กราบทลู บทที่แ๔ละคทาูลขดึ้น้วตยน้ วาคจาาสรรพนาม คาลงทา้ ย ในการเขียนหนงั สอื ๓๒๐ บทท่ี ๔ คาขแ้นึ ลตะน้ กาครากสลรา่ รวพรนายามงาคนาพลรงะทสา้ งยฆ์ในการเขียนหนังสือ ๓๒๐ ภาคผแนลวะกการกลา่ วรายงานพระสงฆ์ ๓๓๓ ภาคผนวก ภาคผนวกท่ี ๑ คาสุภาพ ๓๓๓๓๔ ภาคภผานควผกนทว่ีก๑ทคี่ ๒าสคุภาาขพนึ้ ต้น คาสรรพนาม คาลงท้าย ในการเขียนหนังสอื ๓๓๓๔๔๓ ภาคผนวกที่ ๒ คาขแ้นึ ลตะ้นกาครากสลร่ารวพรนาายมงาคนาบลุคงคทล้าทยัว่ ใไนปการเขียนหนังสอื ๓๔๓ ภาคผนวกที่ แ๓ละคกาาสรุภกาลพา่ เวรรียากยสงตัานวแ์บลุคะคอลื่นท่ัวๆไป ๓๔๕ บรรณภานคุกผรนมวกที่ ๓ คาสภุ าพเรียกสตั ว์และอน่ื ๆ ๓๔๓๕๔๘ บรรดณัชานนี ุกรม ๓๔๓๘๕๓ ดชั นรีายนามคณะอนกุ รรมการจัดทาหนงั สอื ราชาศพั ท์ ๓๕๔๑๘ คาสง่ั แต่งตงั้ คณะอนกุ รรมการจดั ทาหนงั สือราชาศพั ท์ ๔๑๘ 8๘

คำอธบิ ำย วธิ ีใช้หนังสือรำชำศพั ท์ หนังสือรำชำศัพท์ฉบับนี้ จัดทำข้ึนเพื่อให้กำรค้นหำคำรำชำศัพท์ท่ีต้องกำร สะดวกขึ้น ท้งั จำกคำรำชำศพั ท์และคำสำมญั จึงจดั ทำคำอธิบำยวิธีใชห้ นงั สอื ไวด้ ังตอ่ ไปนี้ 1. คำรำชำศัพท์จัดไว้เป็นหมวด เรียงลำดับตำมควำมสำคัญของคำที่เก่ียวข้อง กับพระมหำกษัตริย์ เร่ิมต้นด้วยขัตติยตระกูล ร่ำงกำย คำนำม คำกริยำ ลักษณนำม เคร่ืองแต่งกำย เครื่องประดับ ภำชนะใช้สอย อำหำร และเครื่องใช้ท่ัวไป ศัพท์ท่ีใช้ในกำร พระรำชพิธีและกำรพระรำชกุศล เคร่ืองรำชกกุธภัณฑ์และ เครื่องรำชูปโภค พระรำชนิเวศน์มณเฑียรสถำน พระรำชพำหนะ กำรเขียนหนังสือกรำบบังคมทูล พระกรุณำ กรำบบังคมทูล กรำบทูล และทูล กำรกรำบบังคมทูลพระกรุณำ กรำบบังคมทูล กรำบทูล และทูลด้วยวำจำ คำข้ึนต้น คำสรรพนำม คำลงท้ำย ในกำรเขียนหนังสือ กำรกล่ำวรำยงำนพระสงฆ์ และภำคผนวก เริ่มต้นด้วยคำสุภำพ คำข้ึนต้น คำสรรพนำม คำลงท้ำย ในกำรเขียนหนังสือ กำรกล่ำวรำยงำนบุคคลทวั่ ไป คำสุภำพเรยี กสตั ว์และอ่นื ๆ 2. กำรจดั คำในแตล่ ะหมวด 2.1 ขึ้นตน้ ดว้ ยคำรำชำศพั ท์ อธิบำยควำมหมำยและระบฐุ ำนันดรศักดขิ์ อง พระบรมวงศำนวุ งศ์ 2.2 จัดคำตำมลำดับอันควร เช่น ในหมวดร่ำงกำย เร่ิมต้นจำกเบ้ืองบน ลงไปถึงเบื้องลำ่ ง คือ ศรี ษะ แขน มือ ลำตวั ขำ และเท้ำ 2.3 จัดคำที่ใช้แก่พระมหำกษัตริย์ก่อน แล้วจึงถึงคำที่ใช้แก่สมเด็จ พระบรมรำชินนี ำถ และตอ่ ไปตำมลำดบั พระบรมวงศำนุวงศ์ ๙ 9

บทท่ี 1 อธบิ ายราชาศพั ทแ์ ละการใช้ราชาศัพท์ ตามที่เข้าใจกันทั่วไป ราชาศัพท์ หมายถึงคาจาพวกหนึ่งที่มีลักษณะพิเศษ เป็นคาท่ีใช้แก่พระมหากษัตริย์และเจ้านาย เช่น คาว่า พระเนตร พระกรรณ พระบาท พระหัตถ์ สรง เสวย ท่ีจริง ราชาศัพท์ มีความหมายกว้างกว่าน้ี ตาราของพระยาศรีสุนทร โวหาร (น้อย อาจารยางกูร) อธิบายคานี้ไว้ว่า ราชภาษา อันสมมติเรียกว่า ราชาศัพท์ เป็นถ้อยคาภาษาที่ผู้ทาราชการพึงศึกษาจดจาไว้ใช้ให้ถูกในการกราบบังคมทูลพระกรุณา ในการเขียนหนังสือ และแต่งโคลง ฉันท์ กาพย์ กลอน จะกล่าวถึงผู้ใด สิ่งใดก็ใช้ถ้อยคา ใหส้ มความ ไมใ่ ห้พลาดจากแบบแผนเยี่ยงอย่างท่มี ีมาแต่กอ่ น ทม่ี าของราชาศพั ท์ ราชาศัพท์เกิดขึ้นในช้ันแรกเพ่ือเฉลิมพระเกียรติพระมหากษัตริย์ในฐานะที่เป็น พระประมุขของชาติ ให้สูงกว่าคนในชาติ ดงั ลายพระหตั ถข์ องสมเดจ็ พระเจ้าบรมวงศ์เธอ กรมพระยาดารงราชานุภาพ ทูลสมเด็จพระเจ้าบรมวงศ์เธอ เจ้าฟ้ากรมพระยานริศรา นุวัดติวงศ์ ในพระนิพนธ์ สาสน์ สมเด็จ เล่ม 23(๑) ว่า “ลักษณะที่ไทยใช้ราชาศัพท์ก็เป็นคาที่ผู้ที่มิใช่เจ้าใช้เรียกกิริยาหรือวัตถุอันเป็น ของเจ้า หรือว่าโดยย่อ ราชาศัพท์ดูเป็นคาที่ผู้เป็นบริวารชนใช้สาหรับผู้เป็นเจ้าเป็นใหญ่ หรือถ้าว่าอีกอย่างหนึ่ง ดูเป็นเอาภาษาของคนจาพวกอื่น ที่ใช้สาหรับผู้ที่มาเป็นเจ้านาย ผู้ปกครองของตน มีเค้าจะสังเกตในคาจารึกและหนังสือเก่า เห็นได้ว่า ราชาศัพท์ใช้ใน กรงุ ศรีอยุธยาดกกว่าทอ่ี ่ืน ยงิ่ เหนือขึ้นไปยิ่งใช้น้อยลงเป็นลาดับ หม่อมฉนั อยากสันนิษฐานว่า มลู ของราชาศพั ท์จะเกิดดว้ ยเมื่อเขมรปกครองเมืองละโว้ ในอาณาเขตเมืองละโว้ พลเมือง มหี ลายชาติ คาพดู เป็นหลายภาษา ปะปนกนั ทั้งเขมร ไทย และละวา้ ไทยพวกเมอื งอทู่ องคงพูด ภาษาไทย มีคาภาษาอ่ืนปนมากกว่า ภาษาไทยท่ีพูดทางเมืองเหนือ หรือจะเปรียบให้เห็นใกล้ ๆ เช่น ภาษาไทยท่ีพูดกันทางเมืองอุบลกับที่พูดกันในกรุงเทพฯ ในเวลานี้ก็ทานองเดียวกัน ครั้นรวมเมืองเหนือกับเมืองใต้อยู่ในปกครองของกรุงศรีอยุธยา เจ้านายที่เคยอยู่ เมืองเหนือนับแต่สมเด็จพระบรมราชาธิราชสามพระยา เป็นตน้ ได้ปกครองกรงุ ศรอี ยุธยา และตีเมืองเขมรได้ ได้เขมรพวกที่เคยปกครองเมืองเขมรเข้ามาเพ่ิมเติม ระเบียบราชาศัพท์ จึงเริ่มเกิดขนึ้ ตัง้ แต่รชั กาลสมเด็จพระบรมไตรโลกนาถ เปน็ ต้น แตเ่ จ้านายเคยตรสั อยแู่ ต่กอ่ น (๑) สาส์นสมเด็จ ฉบับลงวันที่ 29 กันยายน พุทธศักราช 2484 (ฉบับองค์การค้าคุรุสภา พุทธศักราช 2516) เลม่ 23 หน้า 106-107 ๑1๐0

เฉลมิ พระเกยี รติเนือ่ งในโอกาสมหามงคลพระราชพธิ บี รมราชาภิเษก พุทธศรัการชาชาศ๒๕ัพ๖ท๒์ เฉลิมพระเกียรติเน่อื งในโอกาสมหามงคลพระราชพิธบี รมราชาภเิ ษก พุทธศกั ราช ๒๕๖๒ อย่างไรก็ตรัสอยู่อย่างนั้น ใช้ราชาศัพท์แต่กับพระเจ้าแผ่นดินหรอื เจา้ นายท่ีทรงศักดิ์ สูงกว่าหรือเสมอกัน นี่ว่าด้วยกาเนิดของราชาศัพท์ ถ้าว่าต่อไปถึงความประสงค์ที่ใช้ ราชาศัพท์ ดูก็ชอบกล สังเกตตามคาที่เอาคาภาษามคธและสันสกฤตมาใช้ เช่นว่า พระเศียร พระโอษฐ์ พระหัตถ์ พระบาท เป็นต้น ดูประสงค์จะแสดงว่าเป็นของผู้สูงศักด์ิ กว่าที่มิใช่เจ้าเท่านั้น แต่ที่เอาคาสามัญในภาษาเขมรมาใช้ เช่น พระขนง พระเขนย และ พระขนอง เป็นต้น ดูเป็นแต่จะเรียกให้บริวารที่เป็นเขมรเข้าใจ มิใช่เพราะถือว่าภาษาเขมร สูงศักดิ์กว่าภาษาไทย ชวนให้เห็นว่า เมื่อแรกตั้งราชาศัพท์ ภาษาที่ใช้กันในพระนครศรีอยุธยา ยังสาส่อน เลือกเอาศัพท์ท่ีเข้าใจกันมากมาใช้ และราชาศัพท์ในคร้ังแรกจะไม่มีมากมายนัก ตอ่ มาภายหลงั จงึ คิดเพม่ิ เติมขน้ึ ” พระวรเวทย์พิสิฐ (เซ็ง ศิวะศริยานนท์) กล่าวไว้ในหนังสือ หลักภาษาไทย ว่า “ต้นเดิมท่ีจะเกิดมีราชาศัพท์ข้ึน ก็เพราะเม่ือไทยเราตั้งชาติเข้มแข็งขึ้นในดินแดนท่ีเข้ามา ปกครองใหม่ คือ ดินแดนประเทศสยามนี้ เราก็เลือกผู้ที่มีความสามารถ มีลักษณะเป็น อัจฉริยบุคคลในคณะ แล้วยกข้ึนเป็นประมุขของชาติเพื่อคุ้มครองชาติให้มั่นคงและ นาชาติให้ประสบชัย ตลอดถึงความเป็นอารยชาติ ผู้ท่ีได้รับเลือกเป็นประมุขน้ีเรียกกันว่า พระราชาธิบด”ี พระเจ้าวรวงศ์เธอ กรมหมื่นนราธิปพงศ์ประพันธ์ ตรัสไว้ในปาฐกถาเร่ือง กถาเรื่องภาษา ว่า “นอกจากคาพูดและวิธีพูดทั่วไปแล้ว ยังมีคาพูดและวิธีพูดสาหรับชน เฉพาะหมู่เฉพาะเหล่าอีกด้วย เช่น ราชาศัพท์ของเรา เป็นต้น ฝรั่งไม่มีราชาศัพท์เป็นคา ตายตัว แต่มีวิธีพูดยกย่องช้ันพระมหากษัตริย์หรือช้ันผู้ดีเหมือนกัน แต่วิธีพูดเช่นนี้ไม่มี กฎเกณฑ์ตายตัว โดยมากมกั จะเปน็ วิธพี ดู อย่างสุภาพเท่าน้ันเอง” คาท่ีใช้เป็นราชาศัพท์ของไทย ส่วนใหญ่เป็นคาภาษาอื่น มาจากภาษาบาลี สันสกฤต และเขมร เหตุที่ใช้คาภาษาบาลี สันสกฤต และเขมร เป็นคาร าชาศัพท์ของไทยน้ัน นักปราชญ์ทางประวัติศาสตร์และทางภาษากล่าวว่า การนาคาในภาษาเขมรมาใช้นั้น เป็นการเทิดพระเกียรติพระมหากษัตริย์ในฐานะทรงเป็นผู้ปกครองแผ่นดิน นอกจากน้ัน พระเจ้าวรวงศ์เธอ กรมหม่ืนนราธิปพงศ์ประพันธ์ ยังได้ตรัสไว้ในปาฐกถาเร่ือง สยามพากย์ ว่า “การใชร้ าชาศัพท์ เพ่อื จะยกย่องฐานะของพระราชาใหส้ งู ขึน้ ” คาเขมรที่ต่อมานามาใช้เป็นราชาศัพท์น้ัน ในศิลาจารึกสุโขทัยหลักต่าง ๆ มีใช้ อย่มู ากและใช้แกค่ นสามญั ทั่วไป มไิ ดใ้ ช้แก่พระมหากษตั ริย์ เช่น 1๑1๑

รเฉาลชมิ าพศระัพเกทยี ร์ ติเนือ่ งในโอกาสมหามงคลพระราชพิธีบรมราชาภิเษก พทุ ธศกั ราช ๒๕๖๒ เฉลิมพระเกียรตเิ น่ืองในโอกาสมหามงคลพระราชพธิ ีบรมราชาภิเษก พุทธศกั ราช ๒๕๖๒ ศลิ าจารกึ สโุ ขทัย หลกั ที่ 1 จารกึ พ่อขนุ รามคาแหง คำวำ่ ทรง “คนในเมืองสโุ ขทยั นม้ี กั ทาน มักทรงศีล มกั โอยทาน” (บรรทดั ท่ี 9 ดา้ น 2) ศลิ าจารึกสโุ ขทยั หลักท่ี 2 จารึกวดั ศรชี ุม (พุทธศกั ราช 1884-1910) คำว่ำ เสด็จ “พระศรีรัตนมหาธาตุเจ้ากูลูกหนึ่งมีพรรณงามดังทอง... เสด็จมาแต่ กลางหาว” (บรรทัดท่ี 66 ด้ำน 2) คำว่ำ บังคม “คนทั้งหลายไหว้กันเตมแผ่นดิน อุปมาดังเรียงท่อนอ้อยไว้มาก... เขาจึงขนึ้ บงั คม” (บรรทัดท่ี 73 ดำ้ น 2) ส่วนท่ีใช้คำภำษำสันสกฤตและภำษำบำลีเป็นรำชำศัพท์นั้น พระวรเวทย์พิสิฐ กล่ำวไว้ในหนังสือ หลักภาษาไทย ว่ำ เป็นเพรำะคำท้ังสองนี้เป็นคำทำงพระศำสนำซ่ึงถือว่ำ เป็นคำสงง ึงึ นำมำใช้เป็นรำชำศัพทด์ ว้ ย หลักเกณฑ์คำรำชำศัพท์ มีใช้เป็นลำยลักษณ์อักษรคร้ังแรกในสมัยอยุธยำ ดังท่ี พลตรี หม่อมทวีวงศ์ถวัลยศักด์ิ (หม่อมรำชวงศ์เฉลิมลำภ ทวีวงศ์) กล่ำวไว้ในเรื่อง กิริยามารยาทและการใช้ถ้อยคาในราชสานัก ว่ำ “ราชาศัพท์ที่ปรากฏเป็นลายลักษณ์ อักษรฉบับแรก เหนจะเป็นกฎมณเฑียรบาลในรัชสมัยสมเดจพระบรมไตรโลกนาถ กรุงศรีอยุธยา ในกฎมณเฑียรบาลฉบับนี้มีพระราชกาหนดถอ้ ยคาที่จะใช้กราบทูล คาท่ีใช้ เรียกส่ิงของใช้ และวิธีใช้คารบั อาจถือเอาเป็นราชาศัพท์ฉบับแรกได้ ดังท่ีสมเดจพระเจ้า บรมวงศ์เธอ กรมพระยาดารงราชานุภาพ กทรงแสดงพระมติทูลสมเดจพระเจ้าบรมวงศ์เธอ เจ้าฟ้ากรมพระยานริศรานุวัดติวงศ์ ไว้แล้วว่า ระเบียบราชาศัพท์จึงเร่ิมขึ้นต้ังแต่รัชกาล สมเดจพระบรมไตรโลกนาถ เป็นตน้ ” ๑๒ 12

เฉลิมพระเกยี รติเนื่องในโอกาสมหามงคลพระราชพิธีบรมราชาภิเษก พุทธศรัการชาชาศ๒๕ัพ๖ท๒์ เฉลมิ พระเกียรติเนือ่ งในโอกาสมหามงคลพระราชพธิ บี รมราชาภิเษก พุทธศกั ราช ๒๕๖๒ การใชร้ าชาศัพท์ ราชาศัพท์ส่วนมากเป็นศัพท์ท่ีมาจากภาษาบาลี สันสกฤต เขมร และคาไทยรุ่นเก่า มักเป็นคาประสม ประกอบข้ึนด้วยคาต้ังแต่สองคาขึ้นไป และกาหนดให้ใช้ในที่ต่าสูง ต่างกัน ในบทนี้ จะตั้งข้อสังเกตใหศ้ ึกษาถงึ ราชาศัพท์ท่ีใช้เป็นคาชนิดต่าง ๆ ว่าแต่ละชนดิ มีลักษณะอย่างไร และมีวิธีการอันใดที่พึงถือเป็นหลักในการประกอบคาเข้าด้วยกัน ใหส้ าเร็จเป็นราชาศพั ท์ทีม่ คี วามหมายถูกต้องตรงกับท่ีประสงค์จะใช้ ๑. ราชาศัพท์ท่ใี ช้เปน็ ชือ่ ท่ีเรียกว่า คานาม หรือสามานยนาม ในไวยากรณ์ มี ๒ ลกั ษณะ คือ ๑. คาท่ไี ม่ตอ้ งใช้คาใด ๆ เข้าประกอบ ได้แก่คานามที่เป็นราชาศัพท์แล้วในตัว เช่น คาว่า วัง ตาหนัก หม่อม หม่อมห้าม เจ้าจอม ชายา เป็นตัวอย่าง บางทีเม่ือจะใช้ ในที่สูงขึ้นไปกว่าศักดิ์ของคา ต้องประกอบคาอื่นเข้าด้วย ให้ได้ความหมายตรงกับ ท่ีต้องการ อย่างคาว่า ตาหนัก (เรือนของเจ้านาย) ประกอบคา พระ เป็น พระตาหนัก กลายเป็นเรือนหลวง (เรือนของพระมหากษัตริย์) หรือคาว่า ชายา ซึ่งหมายถึงหม่อมเจ้า ที่เป็นภรรยาของเจ้านาย และคาน้ียังอาจประกอบคาอื่น ๆ เข้าได้อีก เป็น พระวรชายา พระราชชายา พระวรราชชายา พระอัครชายา ซึ่งล้วนมีความหมายเปลี่ยนไปตาม ความมุ่งหมายท่ีจะใช้ให้สูงและสาคัญยิ่งขึ้นเพียงใด หรือคาว่า เจ้าจอม ซึ่งหมายถึง พระสนมของพระมหากษัตริย์และสมเด็จพระบวรราชเจ้า กอ็ าจเล่ือนเปน็ เจ้าจอมมารดา (เมื่อมีพระราชโอรส พระราชธิดา หรือพระโอรส พระธิดา) เป็น เจ้าคุณจอมมารดา (เมื่อได้รับสถาปนาให้มีศักดิ์สูงเป็นพิเศษ) หรืออาจตัดคา เจ้า ออกเสีย เหลือแต่ จอมมารดา ก็ได้ เมื่อใช้สาหรับพระสนมในกรมพระราชวังบวรวิไชยชาญ ท่ีมีพระโอรส พระธดิ า ๒. คาท่ีต้องใช้คาอื่นเข้าประกอบให้เป็นราชาศัพท์ ซ่ึงมีหลักสังเกตในการ ประกอบดังนี้ ๒.๑ คาท่ใี ช้แกพ่ ระมหากษตั รยิ ์ ๒.๑.๑ คานามที่เป็นส่ิงสาคัญอันควรยกย่อง ใช้คา เช่น พระบรมอรรคราช พระบรมมหาราช พระบรมมหา พระบรมราช พระบรม พระอัครราช พระอัคร พระมหา นาหน้า เช่น พระบรมอรรคราชบรรพบุรุษ พระบรมมหาราชวัง พระบรม มหาชนก พระบรมราชชนนี พระบรมราชโองการ พระบรมราชบุพการี พระบรมราชวงศ์ พระบรมราชูปถัมภ์ พระบรมราชานุเคราะห์ พระบรมราชานุสรณ์ พระบรมราชานุสาวรีย์ พระบรมราโชวาท พระบรมมหัยกา พระบรมราชินี พระบรมโพธิสมภาร พระบรม เดชานุภาพ พระบรมนามาภิไธย พระปรมาภิไธย พระบรมฉายาลักษณ์ พระบรมศพ ๑๓ 13

รเฉาลชิมาพศระพัเกทียร์ ติเน่อื งในโอกาสมหามงคลพระราชพธิ ีบรมราชาภิเษก พทุ ธศักราช ๒๕๖๒ เฉลมิ พระเกยี รตเิ น่อื งในโอกาสมหามงคลพระราชพธิ ีบรมราชาภเิ ษก พทุ ธศกั ราช ๒๕๖๒ พระบรมอัฐิ พระบรมโอรสาธิราช พระอัครราชเทวี พระอัครราชชายา พระอัครมเหสี พระอัครชายา พระมหามณเฑียร พระมหาปราสาท พระมหาอุณาโลม พระมหามงกุฎ พระมหาสงั วาล พระมหาสงั ข์ พระมหาเศวตฉตั ร พระมหากรุณา พระมหากรณุ าธคิ ณุ พระมหากษัตริย์ท่ียังมิได้รับบรมราชาภิเษก โดยหลักจะเว้นการใช้ คา “บรม” ประกอบคานามราชาศัพท์ต่าง ๆ ท่ีปกติใช้คาว่า “บรม” ประกอบอยู่ใน ราชาศัพท์สาหรับพระมหากษัตริย์ เช่น พระราชูปถัมภ์ พระนามาภิไธย พระราโชวาท พระฉายาลกั ษณ์ พระราชานญุ าต พระราชโองการ ๒.๑.๒ คานามท่ีเป็นส่ิงสาคัญรองลงมา หรือที่ประสงค์จะมิให้ปนกับ เจ้านายอื่น ๆ หรือไม่ประสงค์จะให้รู้สึกว่าสาคัญดังข้อต้น ใช้คาว่า พระราช- ประกอบ ข้างหน้า เช่น พระราชวัง พระราชนิเวศน์ พระราชอานาจ พระราชวงศ์ พระราชประสงค์ พระราชดาริ พระราชดารัส พระราชกุศล พระราชปรารถนา พระราชปรารภ พระราชทรัพย์ พระราชลัญจกร พระราชทาน พระราชอทุ ิศ ๒.๑.๓ คานามท่ีเป็นส่ิงสามัญท่ัวไป ท่ีไม่ถือว่าสาคัญ และไม่ประสงค์ จะแยกให้เห็นว่าเป็นนามใช้เฉพาะพระมหากษัตริย์ ใช้คาว่า พระ นาหน้า เช่น พระองค์ พระกร พระหัตถ์ พระบาท พระโลหิต พระบังคน พระวาตะ พระเคราะห์ พระโรค พระแสง พระศรี พระย่ีภู่ พระแท่น พระเก้าอี้ พระป้าย พระโธรน พระดิ่ง พระทวย พระฉาย พระสาง พระเขนย พระขนอง พระขนง พระกระเป๋า คาทเ่ี ตมิ ตามข้อ ๒.๑.๓ นี้ และแม้ตามข้อ ๒.๑.๑ และ ๒.๑.๒ มขี อ้ น่าสังเกตว่า ก. ส่วนใหญ่เป็นคาบาลี สันสกฤต คาเขมร และคาไทยเก่า แต่บางคาก็เป็น คาไทยธรรมดาและคาตา่ งภาษา เชน่ คาจีน คาฝรั่ง ซงึ่ อนโุ ลมใช้ พระ นาหนา้ ดว้ ย ข. คากริยาบางคาเม่ือเติมคาว่า พระ ไว้หน้าคาแล้วกลายเป็นคานาม เช่น ประชวร (ป่วยเจ็บ-กริยา) พระประชวร (ความป่วยเจ็บ-นาม) สาง (หวี-กริยา) พระสาง (หว-ี นาม) อทุ ศิ (กรยิ า) พระราชอทุ ิศ (นาม) ดาริ (กรยิ า) พระดาริ (นาม) ค. คานามที่เป็นคาประสมซ่ึงมีคา พระ ประกอบอยู่แล้ว ห้ามใช้คา พระ นาหน้าอีก เช่น ธารพระกร ฉลองพระเนตร รองพระบาท พานพระศรี ทองพระกร เครอื่ งพระสาอาง ตุม้ พระกรรณ บั้นพระองค์ ขันพระสาคร ง. สามัญชนที่เก่ียวข้องกับพระมหากษัตริย์โดยทางอ่ืน ใช้ พระ นาหน้า เช่น พระอาจารย์ พระสหาย พระพเ่ี ลย้ี ง พระนม 1๑4๔

เฉลมิ พระเกียรติเนื่องในโอกาสมหามงคลพระราชพธิ ีบรมราชาภิเษก พุทธรศกัารชาาชศ๒ัพ๕๖ท๒์ เฉลิมพระเกียรติเนอ่ื งในโอกาสมหามงคลพระราชพธิ บี รมราชาภิเษก พทุ ธศกั ราช ๒๕๖๒ ๒.๑.๔ คานามท่ีเป็นคาไทยท่ีมไิ ด้กลา่ วให้ความสาคัญ บางคาใช้คา หลวง หรือ ต้น ประกอบเข้าข้างหลังให้เป็นราชาศัพท์ได้ เช่น ลูกหลวง หลานหลวง ของหลวง รถหลวง เรือหลวง ม้าต้น ชา้ งตน้ ควรสังเกตว่า คานามที่ใช้คาประกอบท้ายตามข้อนี้ มีนัยต่างกันอยู่ ตามคาประกอบนั้น ๆ ท้ังยังมีความหมายไม่ตรงทีเดียวกับคานามท่ีมีคานาหน้าตามข้อ ๒.๑.๑, ๒.๑.๒ และ ๒.๑.๓ (สว่ น หลวง ท่แี ปลว่า ใหญ่ เช่น คา ภรรยาหลวง เขาหลวง ทะเลหลวง ไมจ่ ดั ว่าเปน็ คาประกอบท้ายเพ่อื ทาให้คานั้นเป็นคาราชาศพั ท์) ๒.๑.๕ คานามที่มีคาประกอบท้ายอื่น ๆ ตามข้อ ๒.๑.๔ บางทียัง ประกอบคา พระ เข้าข้างหน้าได้ด้วย เพื่อบ่งบอกว่าเป็นคาใช้แก่พระมหากษัตริย์ เช่น คาวา่ พระเคร่อื งต้น ๒.๑.๖ คานามบางคาประกอบคาอื่น ๆ เข้าให้เป็นราชาศัพท์ด้วย มีความหมายต่างกันไปตามคาที่ประกอบ เช่น รถยนต์พระที่นั่ง เรือยนต์พระที่นั่ง รถทรง เรอื ทรง ม้าทรง ชา้ งทรง น้าสรง หอ้ งสรง ท่ีสรง ของเสวย โต๊ะเสวย หอ้ งบรรทม ท่บี รรทม ท่ีประทับ ทป่ี ระพาส ๒.๒ คาที่ใช้สาหรับพระบรมวงศานุวงศ์ มีการใช้คาประกอบแตกต่างกัน หลายอย่าง เพราะเจ้านายมีลาดับช้ันพระราชอิสริยยศแตกต่างกันหลายชั้น กล่าวโดยย่อ ต้งั แต่สมเด็จพระบรมราชนิ ีนาถลงไปจนถงึ หม่อมเจ้า หลักการประกอบคาตามแบบแผนที่พบการใชม้ ดี ังตอ่ ไปน้ี ๒.๒.๑ ใช้คำ พระรำช นาหน้าคาบางคาที่ใช้สาหรับพระบรมวงศ์ ที่ได้รับพระราชทานพระสัปตปฎลเศวตฉัตรเป็นเครื่องประกอบพระราชอิสริยยศ ตลอดจนคานามท่ีสาคัญ เช่น พระราชเสาวนีย์ พระราชบัณฑูร พระราชบัญชา พระราช ประวัติ พระราชดาริ พระราชดารัส พระราชกิจ พระราชกุศล พระราชประสงค์ พระราโชบาย พระราโชวาท พระราชอทุ ิศ พระราชานเุ คราะห์ ๒.๒.๒ ใช้คา พระ นาหน้าคานามสาหรับพระบรมวงศ์ ตามข้อ ๒.๒.๑ ในคานามที่ไม่สาคัญ และสาหรับพระราชวงศ์ชั้นเจ้าฟ้าและพระองค์เจ้า ทั้งในคานาม สาคัญและไม่สาคัญ เช่น พระเศียร พระองค์ พระหตั ถ์ พระบาท พระหทยั พระศพ เวน้ แต่ หม่อมเจ้าท่ีราชาศัพท์มีใช้ท้ังคาว่า พระ นาหน้า และไม่ใช้คาว่า พระ นาหน้า เช่น เศียร องค์ หัตถ์ บาท หทัย ส่วนคาท่ีไม่พบการใช้คาว่า พระ นาหน้าคือคาว่า ศพ ที่ใช้อย่าง คาสามญั ชนเสมอ ๑๕ 15

รเฉาลชมิ าพศระพัเกทยี ร์ ตเิ น่ืองในโอกาสมหามงคลพระราชพธิ บี รมราชาภิเษก พุทธศักราช ๒๕๖๒ เฉลิมพระเกียรตเิ นื่องในโอกาสมหามงคลพระราชพิธบี รมราชาภิเษก พทุ ธศกั ราช ๒๕๖๒ ๒.๒.๓ พระราชพาหนะ เช่น รถยนต์พระที่นั่ง เรือยนต์พระที่นั่ง ใช้แก่เจ้านายตามข้อ ๒.๒.๑ รถยนต์ที่นั่ง เรือยนต์ที่นั่ง ใช้แก่พระราชวงศ์ชั้น เจ้าฟ้าและพระองค์เจ้า รถยนต์พระประเทียบ ใช้แก่สมเด็จพระสังฆราช รถของหม่อมเจ้า ท่ีเสด็จแทนพระองค์พระมหากษัตริย์ และรถเชิญพระพุทธรูปสาคัญ รถยนต์ประเทียบ ใช้แก่องคมนตรีที่เป็นผู้แทนพระองค์พระมหากษัตริย์ รถทรง เรือทรง ม้าทรง ใช้แก่ พระมหากษัตริยแ์ ละพระราชวงศ์ ๒.๒.๔ คาท่ีเป็นคานามราชาศัพท์สาหรับพระบรมวงศานุวงศ์อยู่ในตัว ไม่ต้องใช้คานาหรือคาต่อแต่อย่างใด เช่น คาว่า เจ้าจอม หม่อม วัง ตาหนัก ชายา หม่อมหา้ ม ๒.๓ คานามท่ีเป็นช่ือของคน สัตว์ ส่ิงของ หรือส่ิงอ่ืนที่เป็นของห่างไกล มิได้เก่ียวเนื่องกับพระมหากษัตริย์หรือเจ้านาย รวมท้ังเป็นคาที่มีข้ึนมาในช้ันหลัง ๆ ซ่ึงมีท้ังศัพท์ที่บัญญัติข้ึน เช่น โทรทัศน์ วิทยุ หรือคาทับศัพท์ภาษาต่างประเทศ เช่น คอมพิวเตอร์ ไม่จาเป็นต้องเปลี่ยนแปลงให้เป็นราชาศัพท์ ให้ใช้คาเดิมตามปกติ เช่น ทรงใช้เคร่อื งคอมพวิ เตอร์ไดช้ านาญ ๒.๔ คานามท่ีต้องใช้คาประกอบดังกล่าวแล้ว เป็นพวกช่ือทั่วไป ที่ทาง ไวยากรณ์เรียกว่าสามานยนามอย่างหน่ึง อาการนามอีกอย่างหน่ึง น่าสังเกตว่าคานาม สองชนิดน้ีบางทีบัญญัติคาไว้ให้ใชต้ ่างกันตามช้ันของพระราชอิสริยยศ เช่น คาวา่ จดหมาย หรือหนงั สือ ใหใ้ ช้ตา่ งกันหลายอย่าง ดงั นี้ พระราชหตั ถเลขา ใชแ้ ก่ พระมหากษัตรยิ ์ พระราชสาสน์ ใช้แก่ พระมหากษตั รยิ ์ (ในการเจรญิ สัมพันธไมตรี กบั ตา่ งประเทศ) ลายพระราชหัตถ์ ใชแ้ ก่ สมเดจ็ พระบรมราชนิ ีนาถ สมเดจ็ พระบรมราชนิ ี สมเดจ็ พระบรมราชชนก สมเดจ็ พระบรมราชชนนี สมเดจ็ พระยพุ ราช สมเด็จพระบรมโอรสาธิราช สยามมกฎุ ราชกมุ าร สมเด็จพระกนษิ ฐาธริ าชเจา้ กรมสมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี 1๑6๖

เฉลมิ พระเกยี รติเน่ืองในโอกาสมหามงคลพระราชพธิ ีบรมราชาภเิ ษก พุทธศรัการชาชาศ๒๕ัพ๖ท๒์ เฉลมิ พระเกยี รติเนือ่ งในโอกาสมหามงคลพระราชพิธีบรมราชาภเิ ษก พทุ ธศกั ราช ๒๕๖๒ พระมหาสมณสาส์น ใช้แก่ สมเดจ็ พระมหาสมณเจ้า พระสมณสาส์น ใช้แก่ สมเด็จพระสงั ฆราชเจ้า สมเด็จพระสังฆราช ลายพระหตั ถ์, พระอักษร ใช้แก่ พระราชวงศ์ชนั้ สมเด็จเจา้ ฟ้า ถึงหมอ่ มเจ้า สมเดจ็ พระมหาสมณเจ้า สมเดจ็ พระสังฆราชเจ้า สมเด็จพระสังฆราช ๒. ราชาศัพทท์ เี่ ปน็ ช่ือเฉพาะของบคุ คล ช่ือเฉพาะของบุคคลทางไวยากรณ์เรียกว่า วิสามานยนาม และต้องมีคา สามานยนาม คือคานาหน้าช่ือประกอบด้วยเสมอ มีวิธีประกอบคาให้ใช้เป็นราชาศัพท์ ทบี่ ัญญตั ไิ ว้ กล่าวคือ ๑. พระมหากษัตริย์และเจ้านายต้องมีคาสามานยนามนาพระปรมาภิไธย พระบรมนามาภิไธย พระนามาภิไธย และพระนาม ด้วยเสมอ คาสามานยนามท่ีบัญญัติไว้ ให้ใชน้ า มีดงั นี้ ๑.๑ พระมหากษัตริย์ ใช้คา พระบาทสมเด็จพระ นาพระปรมาภิไธย และยังมี วธิ เี ขียนพระปรมาภไิ ธยได้เป็น ๓ อยา่ ง คือ ๑.๑.๑ อยา่ งยงิ่ เขยี นพระปรมาภิไธยเตม็ ตามทีจ่ ารึกในพระสพุ รรณบฏั เช่น พ ร ะ บ า ท ส ม เ ด ็จ พ ร ะ ป ร ม ิน ท ร ม ห า ภ ูม ิพ ล อ ด ุล ย เ ด ช มหิตลาธิเบศรรามาธบิ ดี จักรนี ฤบดนิ ทร สยามนิ ทราธิราช บรมนาถบพิตร พระบาทสมเด็จพระบรมชนกาธิเบศร มหาภูมิพลอดุลยเดช มหาราช บรมนาถบพิตร พระบาทสมเด็จพระปรเมนทรรามาธิบดีศรีสินทรมหาวชิรา ลงกรณ มหิศรภูมิพลราชวรางกูร กิติสิริสมบูรณอดุลยเดช สยามินทราธิเบศรราชวโรดม บรมนาถบพิตร พระวชิรเกล้า เจ้าอย่หู วั ๑.๑.๒ อย่างกลาง ละสร้อยพระปรมาภิไธย พระบรมนามาภิไธย ลงบ้าง เชน่ พ ร ะ บ า ท ส ม เ ด็ จ พ ร ะ ป ร มิ น ท ร ม ห า จุ ฬ า ล ง ก ร ณ์ พระจลุ จอมเกลา้ เจา้ อยหู่ วั พ ร ะ บ า ท ส ม เ ด็ จ พ ร ะ ร า ม า ธิ บ ดี ศ รี สิ น ท ร ม ห า ว ชิ ร า วุ ธ พระมงกฎุ เกล้าเจ้าอยหู่ ัว ๑๗ 17

รเฉาลชมิ พารศะัพเกทยี ร์ติเนื่องในโอกาสมหามงคลพระราชพิธบี รมราชาภิเษก พุทธศกั ราช ๒๕๖๒ เฉลมิ พระเกยี รตเิ นื่องในโอกาสมหามงคลพระราชพธิ ีบรมราชาภิเษก พุทธศักราช ๒๕๖๒ ๑.๑.๓ อย่างย่อ ย่อเอาแต่ส่วนสาคัญของพระปรมาภิไธยไว้ เช่น พระบาทสมเดจ็ พระพุทธเลิศหล้านภาลยั พระบาทสมเด็จพระจอมเกลา้ เจา้ อยหู่ วั พ ร ะ บ า ท ส ม เด็ จ พ ระ ป ร เ ม น ท ร ม ห า อ านันท ม หิ ด ล พระอัฐมรามาธบิ ดินทร พระบาทสมเดจ็ พระปรมนิ ทรมหาภมู พิ ลอดุลยเดช พระบาทสมเดจ็ พระวชริ เกล้าเจ้าอยู่หัว พระมหากษัตริย์ในอดีต ใช้ สมเดจ็ พระ นา เชน่ สมเด็จพระนเรศวรมหาราช สมเด็จพระบรมไตรโลกนาถ สมเด็จพระมหาบุรุษ สมเด็จพระเจ้าตากสินมหาราช บางที ก็ใช้คาสามานยนามนาพระนามตามที่ปรากฏในพระราชพงศาวดาร เช่น พ่อขุนศรีอินทราทิตย์ พอ่ ขุนรามคาแหงมหาราช พระยาลิไท ขุนหลวงสรศักด์ิ ในสมัยรัตนโกสินทร์ มีคาขานพระราชสมัญญาว่า พระปิยมหาราช พระมหา ธีรราชเจา้ พระมหาเจษฎาราชเจ้า พระสยามเทวมหามกฏุ วิทยมหาราช ๑.๒ พระมหากษัตริย์ต่างประเทศ ใช้คาสามานยนามนาพระนามต่างกัน เป็นต้นว่า พระจักรพรรดิ สมเด็จพระเจ้า สมเด็จพระ พระเจ้า เช่น พระจักรพรรดิ ไฮเลเซลาสซี ที่ ๑ สมเด็จพระเจ้าจอร์จ ท่ี ๕ สมเด็จพระศรีสวัสด์ิมณีวงศ์ พระเจ้า กรุงนอร์เวย์ พระเจ้ากรุงเดนมาร์ก จาเป็นต้องสังเกตจดจาตามที่ทางราชการใช้ ปัจจุบัน คาที่เรียกพระมหากษัตริย์ต่างประเทศใช้ว่า สมเด็จพระราชาธิบดีแห่ง ตามด้วยชื่อ ประเทศ เช่น สมเด็จพระราชาธิบดีแห่งมาเลเซีย ถ้าพระมหากษัตริย์เป็นหญิงใช้ว่า สมเด็จ พระราชินีนาถ ตามด้วยพระนามและช่ือประเทศ เช่น สมเด็จพระราชินีนาถเอลิซาเบธ ท่ี ๒ แห่งสหราชอาณาจักร หรือตามด้วยชื่อประเทศ เช่น สมเด็จพระราชินีนาถแห่ง เดนมาร์ก เปน็ ต้น ๑.๓ เจ้านาย มีคาสามานยนามที่ใช้เป็นคานาพระนามเจ้านายโดยเฉพาะ เพอ่ื บอกสกุลยศ และอิสริยยศ ซง่ึ ในสยามไวยากรณ์ วจวี ิภาค(๑) ของพระยาอุปกิตศิลปสาร (น่ิม กาญจนาชีวะ) เรียกว่า สามานยนามบอกเครือญาติ กับ สามานยนามบอกช้ัน เจ้านาย ทม่ี กั ใช้ประกอบกันทงั้ สองอย่างเปน็ สว่ นมาก ดงั น้ี ๑.๓.๑ สามานยนามบอกเครือญาติ คือ คานาพระนามท่ีแสดงว่าเป็น พระประยูรญาติช้นั ใดกับพระมหากษัตรยิ ์ ๑.๓.๒ สามานยนามบอกชั้นเจ้านาย (สกุลยศ) มี ๓ ช้ัน คือ เจ้าฟ้า พระองค์เจ้า และ หม่อมเจ้า นอกจากนี้ เจ้านายช้ันเจ้าฟ้าและพระองค์เจ้ายังมีพระราช อิสริยยศ ต่างกรม อีก ๗ ช้ัน คือ กรมพระราชวังบวรสถานมงคล กรมพระราชวังบวร สถานพิมุข กรมพระยา กรมพระ กรมหลวง กรมขนุ และกรมหมืน่ (๑) หลกั ภาษาไทย (บริษทั โรงพิมพ์ ไทยวฒั นาพานชิ พทุ ธศักราช ๒๕๔๓) หนา้ ๑๕๗-๑๕๘ ๑๘ 18

เฉลมิ พระเกยี รติเนอ่ื งในโอกาสมหามงคลพระราชพิธีบรมราชาภเิ ษก พทุ ธศรกัารชาชาศ๒๕ัพ๖ท๒์ เฉลิมพระเกยี รติเนื่องในโอกาสมหามงคลพระราชพธิ ีบรมราชาภเิ ษก พุทธศักราช ๒๕๖๒ ตามหลักเกณฑ์ข้างต้น จึงเข้าใจได้ว่า เมื่อเขียนพระนามเจ้านาย จะต้องลง สามานยนามบอกเครือญาติ กับ สามานยนามบอกชั้น ก่อน แล้วจึงต่อด้วยพระนาม ซ่ึงอาจเป็นพระนามเดิม หรือพระนามกรม หรือทั้งสองอย่าง และถ้าทรงมียศทางทหาร หรอื พลเรือน จะลงสามานยนามบอกยศ ในเบ้อื งต้นด้วยก็ได้ ดังตวั อย่างต่อไปนี้ – พลเอก (หรือพลเรอื เอก หรือพลอากาศเอก) พระบาทสมเดจ็ พระปรเมนทร รามาธิบดีศรีสินทรมหาวชริ าลงกรณ พระวชิรเกลา้ เจา้ อยหู่ วั – พลเอกหญิง (หรือพลเรือเอกหญิง หรือพลอากาศเอกหญิง) สมเด็จ พระกนิษฐาธิราชเจา้ กรมสมเด็จพระเทพรตั นราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี – จอมพล สมเด็จพระราชปิตุลาบรมพงศาภิมุข เจ้าฟ้าภาณุรังษีสว่างวงศ์ กรมพระยาภาณพุ นั ธวุ งศวรเดช – สมเด็จพระเจ้าพ่ีนางเธอ เจ้าฟ้ากัลยาณิวัฒนา กรมหลวงนราธิวาส ราชนครนิ ทร์ – จอมพล สมเด็จพระเจ้าบรมวงศ์เธอ เจ้าฟา้ บรพิ ัตรสุขมุ พันธุ์ กรมพระนครสวรรคว์ รพินิต – สมเดจ็ พระเจา้ บรมวงศเ์ ธอ เจ้าฟา้ กรมพระยานริศรานุวดั ติวงศ์ – สมเด็จพระเจ้าบรมวงศเ์ ธอ พระองคเ์ จา้ รังสติ ประยรู ศักด์ิ กรมพระยาชยั นาทนเรนทร – มหาอามาตย์นายก สมเด็จพระเจ้าบรมวงศ์เธอ พระองค์เจ้าเทวัญอุไทยวงศ์ กรมพระยาเทวะวงศว์ โรปการ – พระเจา้ บรมวงศ์เธอ พระองค์เจ้าสวัสดิประวตั ิ กรมพระสมมตอมรพันธุ์ – พระเจา้ ราชวรวงศ์เธอ พระองคเ์ จา้ วรรตั น์ กรมหมื่นพศิ าลบวรศกั ดิ์ – พระราชวรวงศเ์ ธอ พระองคเ์ จ้ากัลยาณประวตั ิ กรมหม่ืนกวีพจนส์ ุปรชี า – พลตรี พระเจ้าวรวงศเ์ ธอ พระองคเ์ จ้าจมุ ภฎพงศ์บรพิ ัตร กรมหมืน่ นครสวรรคศ์ ักดพิ์ ินิต – พระวรวงศเ์ ธอ พระองคเ์ จา้ สิงหนาทราชดุรงคฤทธ์ิ ค า น า พ ร ะ น า ม ท่ี บ อ ก ใ ห้ ท ร า บ ว่ า เ ป็ น พ ร ะ ป ร ะ ยู ร ญ า ติ ชั้ น ใ ด ข อ ง พระมหากษัตริย์น้ัน มักจะมีการเปล่ียนแปลงตามรัชกาล เช่น ถ้าเป็น พระราชโอรส พระราชธิดา ก็เรียกว่า สมเด็จพระเจ้าลูกยาเธอ สมเด็จพระเจ้าลูกเธอ พระเจ้าลูกยาเธอ พระเจ้าลูกเธอ ถ้าเป็น พี่ น้อง ก็ใช้คานาพระนามว่า สมเด็จพระเจ้าพี่ยาเธอ สมเด็จพระเจ้าพี่นางเธอ สมเด็จพระเจ้าน้องนางเธอ พระเจ้าน้องนางเธอ เป็นต้น ถ้าเป็นพระประยูรญาติผู้ใหญ่ที่เป็นลูกชาย ลูกสาวของพระมหากษัตริย์พระองค์ก่อน ซึ่งนับลาดับพระประยูรญาติทรงเป็น ลุง ป้า น้า ของพระมหากษัตริย์พระองค์ที่ทรง 1๑๙9

รเฉาลชมิ พารศะัพเกยีทร์ตเิ นอ่ื งในโอกาสมหามงคลพระราชพธิ บี รมราชาภเิ ษก พุทธศักราช ๒๕๖๒ เฉลมิ พระเกยี รตเิ น่อื งในโอกาสมหามงคลพระราชพิธบี รมราชาภเิ ษก พทุ ธศกั ราช ๒๕๖๒ ครองราชย์อยู่ ก็ใช้คานาพระนามว่า สมเด็จพระเจ้าบรมวงศ์เธอ หรือ พระเจ้าบรมวงศ์เธอ ถ้าทรงเป็นพระประยูรญาติผู้ใหญ่ เช่น ปู่ ย่า ตา ยาย ก็ใช้คานาพระนามว่า สมเด็จพระบรมอัยกา สมเด็จพระบรมอัยยิกา เป็นต้น ส่วนพระประยูรญาติชั้นรองของ พระมหากษัตริย์เรียกว่า พระอนุวงศ์ ได้แก่ ช้ันหลาน และชั้นเหลน ก็ใช้คานาพระนามว่า พระเจ้าหลานเธอ พระหลานเธอ ถ้าสิ้นรัชกาลของพระมหากษัตริย์พระองค์ที่เป็น ปู่ แล้ว ก็มักจะใช้คานาพระนามวา่ พระเจา้ วรวงศเ์ ธอ หรือ พระวรวงศ์เธอ เจ้านายชั้นหม่อมเจ้าน้ัน ไม่มีสามานยนามบอกเครือญาติ แต่ต้องลง ราชสกุลต่อท้ายนามด้วย เช่น หม่อมเจ้าปิยะภักดีนาถ สุประดิษฐ พลเรือเอก หม่อมเจ้า กาฬวรรณดศิ ดศิ กลุ ๑.๔ คาที่ใช้แก่พระสงฆ์ พระสงฆ์มีหลายชั้น และมีสามานยนามบอก สมณศักด์ินานามต่างกนั ตามชัน้ ๑.๔.๑ เจ้านายท่ีทรงผนวชและทรงดารงสมณศักดิ์ เป็นสมเด็จ พระมหาสมณเจ้าก็ดี เป็นสมเด็จพระสังฆราชเจ้าก็ดี ให้ใช้ตามประกาศพระบรมราช โองการสถาปนา เช่น กรณีท่ีพระบาทสมเด็จพระมงกุฎเกล้าเจ้าอยู่หัวทรงพระกรุณา โปรดสถาปนาสมเด็จพระเจ้าบรมวงศ์เธอ กรมพระยาวชิรญาณวโรรส เป็น สมเด็จ พระมหาสมณเจ้า กรมพระยาวชิรญาณวโรรส ส่วนกรณีพระวรวงศ์เธอ พระองค์เจ้า พระสถาพรพิริยพรตนั้น พระบาทสมเด็จพระมงกุฎเกล้าเจ้าอยู่หัวทรงสถาปนาพระยศ ทางราชตระกูล เป็นพระเจ้าวรวงศ์เธอ กรมหม่ืนชินวรสิริวัฒน์ และ ทรงสถาปนา ให้ทรงดารงสมณศักดิ์เป็น สมเด็จพระสังฆราชเจ้า ต่อมาในรัชกาลพระบาทสมเด็จ พระปกเกล้าเจ้าอยู่หัว ทรงเลื่อนเป็นกรมหลวง ดังนั้นการออกพระนามทางราชการ จึงออกพระนามตามทางราชตระกูลก่อน แล้วต่อด้วยพระยศทางสงฆ์ไว้ท้ายพระนาม คือ พระเจ้าวรวงศ์เธอ กรมหลวงชินวรสิริวัฒน์ สมเด็จพระสังฆราชเจ้า ดังน้ีเป็นต้น แต่ สมเด็จพระสังฆราชเจ้า กรมหลวงวชิรญาณวงศ์ มิได้ทรงเป็นเจ้านายมาก่อน มีฐานันดรศักด์ิทางราชสกุลว่า หม่อมราชวงศ์ชื่น นพวงษ์ จึงไม่มีสามานยนามบอกเครือญาติ คงใช้พระนามแสดงสมณศักดิ์นั้นนาแทน รวมทั้งกรณีของสมเด็จพระสังฆราชเจ้า กรมหลวงชินวราลงกรณ และสมเด็จพระสังฆราชเจ้า กรมหลวงวชิรญาณสังวร ซึ่งมิได้มี ฐานะเป็นเจ้านายด้วยเช่นกัน ส่วนสมเด็จพระสังฆราชที่มิใช่เจ้านาย ใช้พระนามอย่างสมเด็จพระราชาคณะ แล้วเติมตาแหน่งไว้ท้าย เช่น สมเด็จพระอริยวงศาคตญาณ (อัมพร อมฺพโร) สมเดจ็ พระสังฆราช สกลมหาสังฆปรณิ ายก ๒๐ 20

เฉลิมพระเกียรตเิ น่ืองในโอกาสมหามงคลพระราชพธิ ีบรมราชาภิเษก พทุ ธรศากั รชาาชศ๒ัพ๕๖ท๒์ เฉลิมพระเกียรติเนอื่ งในโอกาสมหามงคลพระราชพธิ บี รมราชาภเิ ษก พทุ ธศักราช ๒๕๖๒ ๑.๔.๒ ราชตระกูล ต้ังแต่เจ้าฟ้าท่ีทรงพระผนวช ลงไปจนถึง หม่อมหลวงท่ีบรรพชา อุปสมบท เรียกสกุลยศนาหน้าพระนามหรือนามด้วย เช่น สมเด็จพระเจ้าน้องยาเธอ เจ้าฟ้าพระประชาธิปกศักดิเดชน์ พระเจ้าน้องยาเธอ พระองค์เจ้าพระมนุษยนาคมานพ หม่อมเจ้าพระสถาพรพิริยพรต หม่อมเจ้าพระมหาเพลารถ หมอ่ มเจ้าพระภุชงค์ หม่อมเจ้าพระประภากร หม่อมเจ้าพระอรุณนิภาคุณากร หม่อมเจา้ สามเณรเพลารถ หมอ่ มราชวงศพ์ ระนนั ทวฒั น์ หมอ่ มหลวงพระควิ ปิด อนึ่ง พระมหากษัตริย์เม่ือทรงพระผนวช ไม่ใช้ว่า พระภิกษุ พระบาทสมเด็จพระเจา้ อย่หู วั ให้ใชว้ า่ พระบาทสมเดจ็ พระเจา้ อย่หู วั ซง่ึ ทรงพระผนวช ๑.๕ คานานามสตรีที่เป็นพระสนมและหม่อมห้าม ๑.๕.๑ เจ้าคุณพระ เป็นบรรดาศักดิ์เฉพาะของเจ้าคุณจอมมารดาแพ พระสนมเอกในรัชกาลที่ ๕ ซึ่งรัชกาลที่ ๖ ทรงสถาปนาเจ้าคุณจอมมารดาแพ ให้มี บรรดาศักดิแ์ ละราชทนิ นามข้นึ เปน็ เจ้าคณุ พระประยรุ วงศ์ ๑.๕.๒ พระ เป็นบรรดาศักดิ์เฉพาะของพระสนมเอกในรัชกาลท่ี 6 คือ พระสุจริตสุดา (เปรื่อง สุจริตกุล) และพระอินทราณี (ประไพ สุจริตกุล) ซ่ึงภายหลังทรงสถาปนาพระอินทราณีข้ึนเป็น สมเด็จพระนางเจ้าอินทรศักดิศจี พระวรราชชายาเธอ ๑.๕.๓ เจ้าคุณจอมมารดา เป็นบรรดาศักด์ิของเจ้าจอมมารดาท่ีมี เกยี รตยิ ศพเิ ศษ ในรัชกาลที่ ๕ ทรงสถาปนาเจา้ จอมมารดา เปน็ เจ้าคณุ จอมมารดา ๔ ท่าน คือ เจ้าคุณจอมมารดาสาลี ในรัชกาลที่ ๔ เจ้าคุณจอมมารดาเปี่ยม ในรัชกาลท่ี ๔ เจ้าคุณ จอมมารดาเอม ในพระบาทสมเด็จพระป่ินเกล้าเจ้าอยู่หัว และ เจ้าคุณจอมมารดาแพ ในรัชกาลท่ี ๕ ต่อมารัชกาลที่ ๖ ทรงสถาปนาเจ้าคุณจอมมารดาเป่ียม ขึ้นเป็น สมเด็จพระ ปยิ มาวดี ศรีพชั รนิ ทรมาตา ๑.๕.๔ เจ้าจอมมารดา เป็นคานานามพระสนมที่มีพระราชโอรส พระราชธิดา เช่น เจ้าจอมมารดาตานี ในรัชกาลที่ ๑ เจ้าจอมมารดาอ่อน ในรัชกาลท่ี ๕ เจา้ จอมมารดาน่วม ในสมเด็จพระบวรราชเจา้ มหาเสนานรุ กั ษ์ กรมพระราชวงั บวรสถานมงคล และมีบางกรณีท่ีทรงสถาปนาหม่อมห้ามของเจ้านายช้ันลูกหลวงข้ึนเป็น “เจา้ จอมมารดา” หากว่าหมอ่ มน้ันได้เปน็ ขรัวยายของเจ้าฟ้าพระราชโอรส พระราชธิดา ของพระมหากษัตริย์ เช่น หม่อมจีนในพระเจ้าบรมวงศ์เธอ กรมหม่ืนภูมินทรภักดี ได้รับ พระราชทานสถาปนาเป็นเจ้าจอมมารดาจีน เน่ืองจากได้เป็นขรัวยายของสมเด็จเจ้าฟ้า ยคุ ลฑิฆมั พร สมเด็จเจา้ ฟา้ มาลินีนพดารา และสมเดจ็ เจา้ ฟ้านิภานภดล ในรชั กาลท่ี ๕ ๒๑ 21

รเฉาลชิมาพศระัพเกทียร์ ติเนอื่ งในโอกาสมหามงคลพระราชพธิ บี รมราชาภเิ ษก พทุ ธศกั ราช ๒๕๖๒ เฉลมิ พระเกยี รตเิ น่ืองในโอกาสมหามงคลพระราชพธิ บี รมราชาภเิ ษก พทุ ธศักราช ๒๕๖๒ ๑.๕.๕ จอมมารดา เป็นคำนำนำมพระสนมในกรมพระรำชวังบวร วิไชยชำญ ที่มพี ระโอรส พระธดิ ำ เชน่ จอมมารดาป้อม(๑) ในกรมพระรำชวงั บวรวิไชยชำญ ๑.๕.๖ เจ้าจอม เป็นคำนำนำมพระสนม ใช้นำหน้ำช่ือตัว และต่อท้ำย ด้วยคำท่ีบ่งบอกว่ำเป็นพระสนมในรัชกำลใด เช่น เจ้าจอมสมบุญ ในรัชกำลท่ี ๕ เจา้ จอมแส ในรชั กำลที่ ๕ ๑.๕.๗ หม่อม เป็นคำนำนำมสตรี (สำมัญชน) ที่เป็นหม่อมห้ำม ของเจ้ำนำย ใช้นำหน้ำชื่อตัวและชื่อรำชสกุล เช่น หม่อมกอบแก้ว อำภำกร ณ อยุธยำ หม่อมประพำล จักรพันธ์ุ ณ อยุธยำ แต่ถ้ำเป็น หม่อมราชวงศ์ หรือ หม่อมหลวง ต้องใช้คำ หม่อมราชวงศ์ หรือ หม่อมหลวง นำหน้ำ เช่น หม่อมหลวงสร้อยระย้ำ ยุคล ห้ำมใช้คำ หมอ่ ม หรอื คำนำอน่ื ๆ นำหนำ้ เปน็ อันขำด ๒. วสิ ามานยนามอันเปน็ ชอื่ ของบุคคล อำจแบง่ ไดเ้ ปน็ ๒ อยำ่ ง คือ ช่อื ตัว กบั ราชทินนาม ๒.๑ ชื่อตวั หรอื นำมเดมิ ย่อมหมำยรวมถึงนำมสกลุ ที่บุคคลใชต้ ำมกฎหมำยด้วย เช่น สัญญำ สุเรนทรำนนท์ หรือ พรทิพย์ วัยกิจ ซึ่งเมื่อเติมสำมำนยนำมนำหน้ำชื่อเป็น นายสัญญำ สุเรนทรำนนท์ และ นางสาวพรทิพย์ วัยกิจ แล้วก็เป็นวิสำมำนยนำมที่ถูกต้อง สมบูรณ์ ส่วนสตรีที่ได้รับพระรำชทำนเครื่องรำชอิสริยำภรณ์จุลจอมเกล้ำ มีคำ สำมำนยนำมนำหน้ำช่ือ เช่น ท่านผู้หญิงสมโรจน์ สวัสดิกุล ณ อยุธยำ ศำสตรำจำรย์ พนั ตรหี ญิง คณุ หญิงผะอบ โปษะกฤษณะ ศำสตรำจำรย์ ดร.คุณบรรจบ พนั ธเุ มธำ ๒.๒ ราชทินนาม คือ นำมท่ีได้รับพระรำชทำนพร้อมกับยศ สมณศักด์ิ หรือ บรรดำศักด์ิ นำมใดที่บุคคลช้ันใดได้รับพระรำชทำนโดยนัยน้ีถือเป็น ราชทินนาม ทั้งส้ิน เช่น อุบาลีคุณูปมาจารย์ (พระภิกษุ) พหลพลพยุหเสนา (ขุนนำง) ซ่ึงเมื่อประกอบ สามานยนามเข้ำข้ำงหน้ำตำมระเบียบแล้วจะเป็นรำชทินนำมรำชำศัพท์ท่ีสมบูรณ์ ดังน้ี พระอุบำลีคุณูปมำจำรย์ พันเอก พระยาพหลพลพยุหเสนำ เมื่อทรำบลักษณะของ สามานยนามนาหน้าช่ือ และ วิสามานยนาม อันเป็นช่ือ ของบุคคลชั้นต่ำง ๆ แล้ว ก็พึงพิจำรณำใช้ประกอบกันให้เป็น วิสามานยนาม ราชาศัพท์ ให้ถกู ตอ้ ง ในทนี่ ไ้ี ดย้ กตัวอย่ำงไวเ้ ปน็ แบบเพอื่ สงั เกต ดงั นี้ จอมพล สมเด็จพระเจา้ บรมวงศ์เธอ เจา้ ฟา้ บรพิ ตั รสุขมุ พันธุ์ กรมพระนครสวรรคว์ รพนิ ติ มหาอามาตย์นายก สมเดจ็ พระเจ้าบรมวงศเ์ ธอ พระองคเ์ จา้ เทวัญอไุ ทยวงศ์ กรมพระยาเทวะวงศ์วโรปกำร (๑) จอมมำรดำปอ้ มเป็นพระมำรดำของพระรำชวรวงศเ์ ธอ พระองคเ์ จำ้ วรวุฒิอำภรณ์รำชกุมำร 2๒2๒

เฉลิมพระเกยี รติเนอ่ื งในโอกาสมหามงคลพระราชพธิ บี รมราชาภเิ ษก พทุ ธรศัการชาาชศ๒ัพ๕๖ท๒์ เฉลมิ พระเกยี รติเน่ืองในโอกาสมหามงคลพระราชพธิ บี รมราชาภเิ ษก พทุ ธศกั ราช ๒๕๖๒ พระราชวรวงศเ์ ธอ กรมหมื่นพิทยาลงกรณ์ พลเอก เจ้าพระยาวงศานุประพัทธ (หม่อมราชวงศส์ ทา้ น สนทิ วงศ์) มหาเสวกเอก เจา้ พระยาวรพงศ์พิพัฒน์ (หม่อมราชวงศเ์ ย็น อศิ รเสนา) ทา่ นผู้หญงิ สรุ ณรงค์ (จรวย โชติกเสถยี ร) ท้าวศรีสจั จา (สังวาลย์ บุณยรัตพันธ์ุ) หัวหมืน่ พระยาประสานดรุ ิยศพั ท์ (แปลก ประสานศพั ท์) พระยาประดับดุริยกิจ (แหยม วีณนิ ) หลวงไพเราะเสียงซอ (อ่นุ ดรู ยะชีวิน) นายจานงราชกิจ(๑) (จรัญ บณุ ยรตั พันธุ์) นายกวด ห้มุ แพร (โต สุจริตกุล) พลโท หมอ่ มหลวงจินดา สนิทวงศ์ พนั ตารวจโท ประวณิ เกษมสุข สมเด็จพระมหาวีรวงศ์ (อว้ น ตสิ ฺโส) พระพรหมมุนี (ผิน สุวโจ) พระครูไพโรจนโ์ พธิวฒั น์ (เจรญิ โิ ตภาโส) พระเจริญ ิตปญโฺ (ดอนจันทร์) น.ธ.เอก สามเณรสุโข สราญใจ ฯลฯ ๓. ลักษณนาม(๒) ที่ต้องเปลี่ยนแปลงใช้ตามระเบียบราชาศัพท์มีเฉพาะ ลักษณนามท่ีใช้แก่พระมหากษัตริย์และพระราชวงศ์เท่านั้น พระมหากษัตริย์ถึงพระองค์เจ้า ใช้ว่า พระองค์ เช่น สมเด็จบรมบพิตรพระราชสมภารเจ้าท้ังสองพระองค์ พระราชโอรส ทัง้ สพ่ี ระองค์ สาหรับพระราชวงศช์ ้ันหม่อมเจ้าให้ใช้ องค์ เช่น หม่อมเจ้า 5 องค์ อนง่ึ ส่วนของรา่ งกาย เครื่องใช้ เครอื่ งเสวย ทีเ่ ปน็ ของสาคัญของพระมหากษัตริย์ และพระราชวงศ์ ก็ใช้ลักษณนามว่า องค์ เช่น พระทนต์ 2 องค์ (ซี่) พระที่นั่ง 2 องค์ (หลัง) พระแสงปืน 2 องค์ (กระบอก) เสวยได้หลายองค์ (คา) ตรัสได้ไม่ก่ีองค์ (คา) (1) มีข้อสังเกตว่า คาว่า “นาย” ในที่นี้เป็นบรรดาศักดิ์ของข้าราชการในกรมมหาดเล็ก ใช้เป็นคานาหน้าราชทินนาม แต่ปัจจุบันคาวา่ “นาย” เป็นคานาหนา้ นามชายท่มี อี ายุตง้ั แต่ ๑๕ ปีบริบรู ณ์ขึน้ ไป (๒) ดบู ทที่ ๒ หมวดที่ ๓ ลักษณนาม ประกอบ ๒๓ 23

รเฉาลชิมาพศระพั เกทียร์ ติเนอ่ื งในโอกาสมหามงคลพระราชพิธีบรมราชาภเิ ษก พทุ ธศกั ราช ๒๕๖๒ เฉลิมพระเกยี รตเิ นือ่ งในโอกาสมหามงคลพระราชพธิ ีบรมราชาภิเษก พทุ ธศักราช ๒๕๖๒ ๓. คาสรรพนาม ในไวยากรณ์ สรรพนามหรือคาที่ใช้แทนชื่อท่ีจะต้องเปลี่ยนแปลงตามการใช้ ราชาศัพท์ มีแต่บุรุษสรรพนาม คือ สรรพนามแทนบุคคล และมีคาใช้แตกต่างกันตาม พระราชอิสริยยศของเจ้านาย และแตกต่างกันตามบุคคลที่เป็นผู้พูดและผู้ฟังท่ีใช้กัน เปน็ แบบแผนแต่เดมิ มามดี งั น้ี(๑) บรุ ุษที่ ๑ คาสรรพนาม ผพู้ ดู ผฟู้ ัง พระมหากษตั รยิ ์ ขา้ พระพทุ ธเจ้า ผนู้ อ้ ย(๒) พระบรมวงศ์(๓) พระบรมวงศ์ช้นั พระองค์เจา้ (ที่เป็นพระราชโอรส เกล้ากระหมอ่ ม ผู้นอ้ ย (ชาย) พระราชธดิ าของพระมหากษัตรยิ ์) เกลา้ กระหม่อมฉนั ผนู้ อ้ ย (หญิง) พระอนุวงศ(์ ๔) ชัน้ พระเจ้าวรวงศ์เธอ พระองค์เจ้า (ที่ทรงกรม)(๕) กระหมอ่ ม ผนู้ อ้ ย (ชาย) พระเจา้ วรวงศเ์ ธอ พระองค์เจา้ หมอ่ มฉนั ผนู้ ้อย (หญงิ ) (ทม่ี ิไดท้ รงกรม) พระอนวุ งศ์ชน้ั พระวรวงศ์เธอ พระองคเ์ จ้า (ท่ีมิได้ทรงกรม) หม่อมเจ้า (๑) ดูระเบียบสานักนายกรัฐมนตรี ว่าด้วยงานสารบรรณ พุทธศักราช ๒๕๒๖ ภาคผนวก (ฉบับแก้ไข พุทธศักราช ๒๕๓๙) ด้วย เพอื่ ใหท้ ราบคาท่ีราชการบญั ญตั ใิ หใ้ ชใ้ นปัจจุบัน (๒) ผูน้ อ้ ย ไดแ้ ก่ พระบรมวงศานุวงศ์ และบุคคลท่วั ไป (๓) ในรัชกาลปัจจุบัน พระบรมวงศ์ หมายถึง พระบาทสมเด็จพระบรมชนกาธิเบศร มหาภูมิพลอดุลยเดชมหาราช บรมนาถบพิตร สมเด็จพระนางเจ้าสิริกิต์ิ พระบรมราชินีนาถ พระบรมราชชนนีพันปีหลวง สมเด็จพระนางเจ้า สุทิดา พัชรสุธาพิมลลักษณ พระบรมราชินี สมเด็จพระกนิษฐาธิราชเจ้า กรมสมเด็จพระเทพรตั นราชสดุ า เจ้าฟา้ มหาจักรีสริ ินธร มหาวชิราลงกรณวรราชภกั ดี สิริกิจการณิ ีพีรยพัฒน รัฐสีมาคณุ ากรปิยชาติ สยามบรมราชกมุ ารี สมเด็จพระเจ้าน้องนางเธอ เจ้าฟ้าจุฬาภรณวลัยลักษณ์ อัครราชกุมารี กรมพระศรีสวางควัฒน วรขัติยราชนารี สมเด็จพระเจ้าลูกเธอ เจ้าฟ้าพัชรกิติยาภา นเรนทิราเทพยวดี กรมหลวงราชสาริณีสิริพัชร มหาวัชรราชธิดา สมเด็จพระเจ้าลูกเธอ เจ้าฟ้าสิริวัณณวรี นารีรัตนราชกัญญา สมเด็จพระเจ้าลูกยาเธอ เจ้าฟ้าทีปังกรรัศมีโชติ มหาวชโิ รตตมางกรู สริ ิวิบูลยราชกุมาร (๔) ในรัชกาลปัจจุบัน พระอนุวงศ์ ได้แก่ พระเจ้าวรวงศ์เธอ พระองค์เจ้าโสมสวลี กรมหมื่นสุทธนารีนาถ พระเจ้าวรวงศ์เธอ พระองค์เจ้าสิริภาจุฑาภรณ์ พระเจ้าวรวงศ์เธอ พระองค์เจ้าอทิตยาท รกิติคุณ เฉพาะพระเจ้าวรวงศ์เธอ พระองค์เจ้าโสมสวลี กรมหม่ืนสุทธนารีนาถ พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว มีพระบรมราชโองการ ประกาศ เร่ือง พระปรมาภิไธย พระนามาภิไธย คาอ่าน และสรรพนาม คาขึ้นต้น คาลงท้าย ในการกราบบังคมทูล กราบทูล เม่ือวันที่ ๙ พฤษภาคม พุทธศักราช ๒๕๖๒ ให้ใช้สรรพนาม บรุ ษุ ท่ี ๑–ขา้ พระพทุ ธเจ้า และสรรพนามบรุ ุษที่ ๒–ใต้ฝ่าพระบาท (๕) ทรงกรม หมายถึง พระราชวงศ์ต้ังแต่ชั้นพระองค์เจ้าขึ้นไป ท่ีทรงได้รับการสถาปนาเป็น กรมหมื่น กรมขุน กรมหลวง กรมพระ หรอื กรมสมเด็จพระ ซึ่งตอ่ มาในสมัยรชั กาลท่ี ๖ ทรงใชค้ าว่า สมเดจ็ กรมพระยา แทนกรมสมเด็จพระ 2๔ 24

เฉลมิ พระเกยี รติเนื่องในโอกาสมหามงคลพระราชพิธีบรมราชาภเิ ษก พุทธรศัการชาาชศ๒ัพ๕๖ท๒์ เฉลิมพระเกียรติเน่อื งในโอกาสมหามงคลพระราชพิธีบรมราชาภเิ ษก พทุ ธศกั ราช ๒๕๖๒ คาสรรพนาม ผพู้ ดู ผฟู้ ัง ข้าพระพุทธเจ้า ผนู้ อ้ ย สมเด็จพระมหาสมณเจา้ เกลา้ กระหม่อม ผนู้ ้อย (ชาย) สมเดจ็ พระสงั ฆราชเจ้า เกลา้ กระหม่อมฉัน ผู้นอ้ ย (หญิง) สมเดจ็ พระสงั ฆราช บรุ ษุ ท่ี ๒ คาสรรพนาม ผพู้ ดู ผฟู้ ัง ใตฝ้ า่ ละออง ผู้นอ้ ย พระมหากษัตรยิ ์ ธุลพี ระบาท สมเด็จพระบรมราชนิ นี าถ สมเด็จพระบรมราชินี ใต้ฝา่ ละออง ผนู้ ้อย สมเด็จพระบรมราชชนก พระบาท สมเด็จพระบรมราชชนนี สมเดจ็ พระยพุ ราช ใต้ฝา่ พระบาท ผนู้ ้อย สมเดจ็ พระบรมโอรสาธิราช สยามมกฎุ ราชกุมาร ฝ่าพระบาท ผนู้ อ้ ย สมเดจ็ พระกนิษฐาธริ าชเจ้า กรมสมเด็จพระเทพ รตั นราชสดุ าฯ สยามบรมราชกมุ ารี ฝ่าบาท ผนู้ อ้ ย พระบรมวงศ์ชั้นสมเด็จเจ้าฟา้ และพระองค์เจ้า สมเดจ็ บรมบพติ ร พระภิกษุ พระราชสมภารเจา้ (พระราชโอรส พระราชธดิ าของพระมหากษตั ริย์) บรมบพิตร พระภิกษุ พระอนวุ งศ์ชนั้ พระเจา้ วรวงศเ์ ธอ พระราชสมภารเจ้า, พระองค์เจ้า (ที่มิได้ทรงกรม) มหาบพิตร พระวรวงศเ์ ธอ พระองคเ์ จ้า (ทม่ี ไิ ด้ทรงกรม) หมอ่ มเจา้ พระมหากษตั ริย์ สมเด็จพระบรมราชินีนาถ สมเดจ็ พระบรมราชนิ ี สมเดจ็ พระบรมราชชนก สมเดจ็ พระบรมราชชนนี สมเดจ็ พระยพุ ราช สมเด็จพระบรมโอรสาธิราช สยามมกุฎราชกุมาร สมเดจ็ พระกนษิ ฐาธริ าชเจ้า กรมสมเดจ็ พระเทพ รัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกมุ ารี ๒2๕5

รเฉาลชิมาพศระพั เกทียร์ ติเนื่องในโอกาสมหามงคลพระราชพธิ ีบรมราชาภเิ ษก พทุ ธศกั ราช ๒๕๖๒ เฉลมิ พระเกียรตเิ น่ืองในโอกาสมหามงคลพระราชพิธีบรมราชาภิเษก พทุ ธศกั ราช ๒๕๖๒ คาสรรพนาม ผพู้ ูด ผฟู้ ัง บพิตร(๑) พระสงฆ์ พระราชวงศช์ นั้ สมเดจ็ เจ้าฟ้าถึงหมอ่ มเจ้า ใตฝ้ ่าพระบาท ผูน้ อ้ ย สมเดจ็ พระมหาสมณเจ้า ฝ่าพระบาท ผูน้ อ้ ย สมเด็จพระสังฆราชเจา้ สมเดจ็ พระสังฆราช บรุ ุษท่ี ๓ คาสรรพนาม แทนบคุ คล พระองค์ พระมหากษตั ริย์ถึงพระองคเ์ จา้ ทา่ น หม่อมเจ้า ๔. คากรยิ า ในไวยากรณ์ คากริยา คือ คาท่ีแสดงอาการของนามหรือสรรพนาม คากริยา ท่ีเปล่ียนแปลงใช้ตามระเบียบราชาศัพท์โดยมากมีอยู่แต่คากริยาที่ใช้แก่พระมหากษัตริย์ กับพระราชวงศ์ และมกั ใช้อย่างเดยี วกนั หรือคล้ายคลงึ กัน มลี ักษณะดงั นี้ ๑. เปน็ คาเฉพาะ ตา่ งจากคากริยาสามัญ เช่น ผทม, ประทม, บรรทม = นอน ทอดพระเนตร = ดู, มอง, แล เสวย = กนิ ประทบั = อย,ู่ อยกู่ ับที่ สรง = อาบน้า, ล้าง ตรสั , ดารสั = พดู กรวิ้ = โกรธ โปรด = รกั , ชอบ, เอ็นดู ประชวร = ป่วย, เจบ็ ๒. ใช้ ทรง นาหน้าคานามสามัญให้เป็นกริยาราชาศัพท์ เช่น ทรงม้า ทรงธรรม ทรงศีล ทรงดนตรี ทรงพระโอสถมวน ๓. ใช้ ทรง เป็นกริยานุเคราะห์ นาหน้ากริยา เช่น ทรงฟัง ทรงยินดี ทรงรับ ทรงชุบเล้ียง ทรงผนวช แต่ ทรง ใช้นาหน้ากริยาท่ีเป็นราชาศัพท์สาหรับพระมหากษัตริย์ และเจ้านายอยู่แล้ว (ตามข้อ ๑) ให้เป็น ทรงประชวร ทรงเสวย ทรงประทับ ทรงเสด็จ ไม่ได้เป็นอันขาด (๑) ดูตัวอย่างพระบรมราโชวาทในรัชกาลท่ี ๖ ที่พระราชทานแก่เสือป่า นักเรียนมหาดเล็กหลวง นักเรียน ในพระบรมราชูปถมั ภ์ ฯลฯ ๒2๖6

เฉลิมพระเกียรติเนอื่ งในโอกาสมหามงคลพระราชพิธบี รมราชาภเิ ษก พุทธรศัการชาชาศ๒พั๕๖ท๒์ เฉลมิ พระเกียรติเนื่องในโอกาสมหามงคลพระราชพิธีบรมราชาภิเษก พทุ ธศกั ราช ๒๕๖๒ ๔. ใช้ ทรง นาหน้านามราชาศัพท์ให้เป็นกริยาราชาศัพท์ เช่น ทรงพระกรุณา ทรงพระประชวร ทรงพระดาริ ทรงพระผนวช (เจ้านายประชวร พระบาทสมเด็จ พระเจ้าอยู่หัวทรงพระประชวร เจ้านายทรงผนวช พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว ทรงพระผนวช) ๕. คา ทรง จะใช้นากริยาที่มีนามราชาศัพท์ต่อท้ายมิได้ และคาว่า เป็น กับ มี ถ้าใช้นาหน้าคาที่เป็นราชาศัพท์ไม่ใช้ว่า ทรงเป็น ทรงมี เช่น ไม่ใช้ว่า ทรงมีพระมหากรุณา ทรงมีพระราชดาริ ทรงมีพระบรมราชโองการ ทรงเป็นพระราช โอรส ทรงทราบฝ่าละอองธุลีพระบาท ใหใ้ ช้ว่า ทรงพระมหากรุณา (ตามข้อ ๓) หรือ มีพระมหากรุณา ทรงพระราชดาริ หรือมีพระราชดาริ มีพระบรมราชโองการ เป็นพระราชโอรส ซูบพระองค์ ทอดพระเนตร สิ้นพระชนม์ เสียพระทัย ทราบฝ่าละออง ธุลีพระบาท(๑) ต่อเม่ือใช้นาหน้าคาธรรมดา จึงจะใช้ ทรงเป็น ทรงมี เช่น ทรงเป็นทหาร ทรงเป็นครู ทรงเป็นนักปราชญ์ ทรงมีเหตุผล ทรงมีเครื่องมือสื่อสาร ทรงมีแผนท่ี คพู่ ระหัตถ์ ๖. ใช้คา เสด็จ นาหน้ากริยาบางคา ทานองเดียวกับใช้ ทรง นาก็ได้ และ ความหมายสาคัญจะอยู่ที่กริยาท่ีอยู่ข้างหลัง เช่น เสด็จไป เสด็จกลับ เสด็จมา เสด็จข้ึน เสด็จลง เสด็จเข้า เสด็จออก เสด็จประพาส เสด็จผ่านพิภพ เสด็จดารงราชย์ เสด็จสถิต เสด็จเถลิงถวัลยราชสมบัติ เสด็จสวรรคต คาวา่ เสด็จไป เสด็จกลับ เสดจ็ มา หากเปน็ คาราชาศัพท์สาหรบั พระมหากษัตริย์ แ ล ะ พ ระ บ ร ม วง ศ์ ท่ี ไ ด้ รับ พ ระ ร า ช ท า น พ ระ สั ป ต ปฎ ล เศ วต ฉั ต ร เ ป็น เค รื่ อ ง ป ร ะ ก อ บ พระราชอิสริยยศ ใช้คาว่า เสด็จพระราชดาเนินไป เสด็จพระราชดาเนินกลับ เสดจ็ พระราชดาเนนิ มา (๑) พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว มีพระบรมราชโองการ ประกาศ เรื่อง พระ ปรมาภิไธย พระนามาภิไธย คาอา่ น และสรรพนาม คาข้นึ ต้น คาลงทา้ ย ในการกราบบงั คมทลู กราบทูล เมอ่ื วันที่ ๙ พฤษภาคม พทุ ธศกั ราช ๒๕๖๒ ในการเขยี นหนังสือกราบบงั คมทลู พระบาทสมเดจ็ พระบรมชนกาธเิ บศร มหาภูมิพลอดุลยเดชมหาราช บรมนาถบพิตร และ พระบาทสมเดจ็ พระเจ้าอยู่หัว ใช้ว่า ขอเดชะฝ่าละอองธุลีพระบาทปกเกล้าปกกระหม่อม ข้าพระพุทธเจ้า (ชื่อเจ้าของหนังสือ) ขอพระราชทานพระบรมราชวโรกาส กราบบังคมทูลพระกรณุ าทรงทราบ ฝ่าละอองธุลีพระบาท ส่วนการเขียนหนังสือกราบบังคมทูลสมเด็จพระนางเจ้าสุทิดา พัชรสุธาพิมลลักษณ พระบรมราชินี ใช้ว่า ขอพระราชทานกราบบังคมทลู พระกรณุ าทรงทราบฝ่าละอองธุลีพระบาท ข้าพระพุทธเจา้ (ช่อื เจ้าของหนังสือ) ขอพระราชทานพระราชวโรกาส กราบบงั คมทลู พระกรุณาทรงทราบฝา่ ละอองธลุ ีพระบาท และในการกราบบังคมทูลสมเด็จพระนางเจ้าสุทิดา พัชรสุธาพิมลลักษณ พระบรมราชินี ด้วยวาจา ใช้ว่า ขอพระราชทานกราบบังคมทูลพระกรุณาทรงทราบฝ่าละอองธุลีพระบาท ส่วนการเขียนหนังสือกราบบังคมทูล สมเด็จพระกนิษฐาธิราชเจ้า กรมสมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี ใช้ว่า ขอพระราชทาน กราบบังคมทูลสมเด็จพระกนิษฐาธิราชเจ้า กรมสมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี ทรงทราบ ฝ่าละอองพระบาท และในการกราบบังคมทูลด้วยวาจา ใช้ว่า ขอพระราชทานกราบบังคมทูล ทรงทราบ ฝ่าละอองพระบาท ๒๗ 27

บทที่ ๒ ราชาศพั ทห์ มวดตา่ ง ๆ คาศัพท์เนื่องในพระมหากษัตริย์และพระราชวงศ์แต่ละลาดับช้ัน ได้จาแนก หมวดของคาราชาศัพทไ์ วแ้ ต่ละประเภท ดงั นี้ หมวดท่ี ๑ คานาม ๑.๑ ขตั ติยตระกูล ๑.๒ ร่างกาย ๑.๓ คานามอนื่ ๆ หมวดที่ ๒ คากรยิ า หมวดที่ ๓ ลักษณนาม หมวดที่ ๔ เคร่ืองแต่งกาย เครือ่ งประดบั ภาชนะใช้สอย อาหาร และ เคร่ืองใช้ทั่วไป หมวดท่ี ๕ ศพั ทท์ ่ใี ช้ในการพระราชพิธีและการพระราชกศุ ล หมวดท่ี ๖ เคร่อื งราชกกธุ ภัณฑ์และเครอื่ งราชปู โภค หมวดที่ ๗ พระราชนิเวศน์มณเฑียรสถาน หมวดที่ ๘ พระราชพาหนะ ๒๘ 28

หมวดที่ ๑ คานาม ๑.๑ ขัตตยิ ตระกูล ขัตติยตระกูล แปลว่า ตระกูลของพระมหากษัตริย์ หมายถึงพระมหากษัตริย์และ พระราชวงศ์ทุกช้ัน(๑) หม่อมราชวงศ์ หม่อมหลวง ตลอดจนผู้ที่เป็นราชสกุลโดยกาเนิด ขัตตยิ ตระกูลของไทย มีคาใช้เปน็ ทางการวา่ ราชตระกูล ราชสกลุ ราชนกิ ลุ หรือราชนิกลู ราชาศัพท์ ความหมาย พระบาทสมเดจ็ พระปรเมนทร, – คานาพระปรมาภิไธยของพระมหากษตั ริยท์ ที่ รงรับ พระบาทสมเดจ็ พระปรมินทร บรมราชาภเิ ษกแลว้ เริม่ ใช้ตัง้ แตร่ ชั กาล พระบาทสมเดจ็ พระจอมเกลา้ เจ้าอยหู่ วั เปน็ ครัง้ แรก โดยใช้ พระบาทสมเดจ็ พระปรเมนทร สาหรับพระองค์เอง และโปรดให้ใช้ พระบาทสมเดจ็ พระปรมนิ ทร สาหรับรชั กาลตอ่ ไป และสลบั กนั ในรชั กาลตอ่ ไป พระบาทสมเด็จพระเจา้ อยู่หวั – คาเรียกพระมหากษตั รยิ ์อย่างไมอ่ อกพระนาม เฉพาะพระมหากษัตรยิ ท์ ที่ รงรบั บรมราชาภิเษกแล้ว พระบรมอรรคราชบรรพบรุ ุษ(๒) – บรรพบรุ ุษของพระมหากษตั ริย์ สมเดจ็ พระปฐมบรมมหาชนก – สมเด็จพระบรมชนกาธิบดีแห่งพระบาท สมเดจ็ พระพุทธยอดฟา้ จฬุ าโลกมหาราช สมเดจ็ พระบรมปยั กาธิราช, – ปทู่ วด ตาทวด ทีเ่ ปน็ พระมหากษตั รยิ ์ สมเด็จพระบรมมหาปยั กาธิบดี, สมเดจ็ พระมหาปยั กาธิบดี(๓), สมเดจ็ พระบรมปยั กา, พระบรมไปยกา พระปยั กา, พระไปยกา – ปทู่ วด พระบาทสมเดจ็ พระจอมเกล้าเจ้าอยูห่ วั ทรงใชค้ าน้ี หมายถึง สมเดจ็ พระปฐม บรมมหาชนก(๔) (๑) พระบรมวงศ์ช้ันสูง ได้แก่ สมเด็จพระบรมราชินีนาถ สมเด็จพระบรมราชินี สมเด็จพระบรมราชชนก สมเด็จ พระบรมราชชนนี สมเด็จพระยุพราช สมเด็จพระบรมโอรสาธิราช สยามมกุฎราชกุมาร สมเด็จพระกนิษฐาธิราชเจ้า กรมสมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี พระบรมวงศ์ชั้นรอง ได้แก่ สมเด็จเจ้าฟ้า พระองค์เจ้า ท่เี ปน็ พระราชโอรส พระราชธดิ าของพระมหากษตั ริย์ พระอนุวงศ์ ได้แก่ พระองค์เจ้าถงึ หมอ่ มเจา้ (๒), (๔) ดูประชมุ ประกาศรชั กาลที่ ๔ ภาค ๖ พุทธศักราช ๒๔๐๔-๒๔๐๗ (๓) ศัพท์บาลวี ่า ปยฺยก เขียนตามแบบโบราณเปน็ ไปยกา และยงั มคี าอ่นื ๆ เช่น มหัยกา มไหยกิ า อยั กา ๒2๙9

รเฉาลชมิ าพศระพัเกทียร์ ติเนอ่ื งในโอกาสมหามงคลพระราชพธิ บี รมราชาภเิ ษก พทุ ธศักราช ๒๕๖๒ เฉลิมพระเกยี รตเิ นื่องในโอกาสมหามงคลพระราชพิธีบรมราชาภเิ ษก พทุ ธศักราช ๒๕๖๒ ราชาศพั ท์ ความหมาย พระเปตามหยั กา, – ปทู่ วด ของพระบรมวงศ์และพระอนุวงศ์ พระเปตามไหยกา พระมาตามหยั กา, – ตาทวด ของพระบรมวงศ์และพระอนุวงศ์ พระมาตามไหยกา สมเด็จพระบรมราชมาตามหัยกาเธอ – ตา ใชเ้ ฉพาะสมเดจ็ พระบรมราชมาตามหัยกาเธอ กรมหม่ืนมาตยาพิทักษ์ เป็นพระบิดาของ สมเด็จพระเทพศริ ินทราบรมราชนิ ี ในพระบาทสมเด็จพระจอมเกล้าเจ้าอยู่หวั ซ่ึงเปน็ สมเดจ็ พระบรมราชมาตามหัยกาเธอ ของพระบาทสมเดจ็ พระจุลจอมเกล้าเจา้ อยหู่ ัว สมเด็จพระบรมราชมาตามหัยยิกาเธอ – ปรากฏการใช้คาว่า สมเด็จพระบรมราชมาตา มหยั ยกิ าเธอ ในรชั สมัยพระบาทสมเด็จ พระบรมชนกาธเิ บศร มหาภมู พิ ลอดุลยเดช มหาราช บรมนาถบพติ ร ใช้เฉพาะสมเด็จ พระบรมราชมาตามหัยยิกาเธอ กรมพระยา สดุ ารัตนราชประยรู สมเด็จพระเจ้าบรมปัยยิกาเธอ – ยา่ ทวด ยายทวด ของพระมหากษตั รยิ ์ ใช้เฉพาะ สมเดจ็ เจ้าฟา้ กรมพระยาเทพสุดาวดี และ สมเด็จเจา้ ฟ้ากรมพระศรีสดุ ารกั ษ์ สมเด็จพระเจ้าพี่นางเธอในพระบาทสมเด็จ พระพุทธยอดฟ้าจฬุ าโลกมหาราช ซึ่งเปน็ สมเด็จพระเจ้าบรมปยั ยิกาเธอของ พระบาทสมเดจ็ พระจลุ จอมเกลา้ เจ้าอยหู่ ัว สมเด็จพระบรมราชปัยยกิ า – ยา่ ทวด ยายทวด ของพระมหากษตั ริย์ ใช้เฉพาะ สมเด็จพระอมรินทราบรมราชนิ ี ในพระบาทสมเดจ็ พระพุทธยอดฟ้าจฬุ าโลก มหาราช ซง่ึ เป็นสมเด็จพระบรมราชปัยยิกา ของพระบาทสมเด็จพระจลุ จอมเกลา้ เจ้าอย่หู วั 3๓๐0

เฉลมิ พระเกียรติเนอื่ งในโอกาสมหามงคลพระราชพิธีบรมราชาภิเษก พรุทาธชศกั ารศาชัพ๒ท๕์๖๒ เฉลมิ พระเกียรติเนอ่ื งในโอกาสมหามงคลพระราชพธิ ีบรมราชาภิเษก พทุ ธศกั ราช ๒๕๖๒ ราชาศพั ท์ ความหมาย สมเดจ็ พระราชมหาปัยยกิ าเธอ – ย่าทวด ยายทวด ของพระมหากษตั ริย์ ใชเ้ ฉพาะ สมเดจ็ พระศรีสุลาลัย พระบรมราชชนนี ในพระบาทสมเดจ็ พระนง่ั เกล้าเจ้าอยูห่ ัว ซ่ึงเป็นสมเด็จพระราชมหาปยั ยิกาเธอ ของพระบาทสมเดจ็ พระจลุ จอมเกลา้ เจ้าอยู่หัว สมเดจ็ พระบรมปัยยกิ า – ยา่ ทวด ยายทวด ที่เป็นสมเด็จพระบรมราชินี หรอื พระบรมวงศท์ ่ีทรงศักดิ์สงู เป็นพิเศษ สมเดจ็ พระปยั ยกิ า – ยา่ ทวด ยายทวด ทเี่ ป็นสมเด็จพระเจา้ บรมวงศเ์ ธอ พระปัยยิกา, พระไปยิกา(๑) – ยา่ ทวด ยายทวด ของพระบรมวงศ์และ พระอนุวงศ์ ท่ีมิได้เป็นพระราชวงศ์ พระเปตามหยั ยิกา, – ย่าทวด ของพระมหากษตั รยิ ์ พระเปตามไหยกิ า(๒) พระมาตามหัยยิกา, – ยายทวด ของพระมหากษตั ริย์ พระมาตามไหยกิ า สมเด็จพระบรมอยั กาธริ าช(๓), – ปู่ ตา ของพระมหากษตั ริย์ สมเด็จพระบรมอัยกาธิบดี, ท่เี ป็นพระมหากษัตริย์ สมเดจ็ พระบรมอัยกา, พระบรมอัยกา สมเด็จพระเจา้ อัยกาเธอ – ปู่ ของพระมหากษตั รยิ ์ ใช้เฉพาะสมเดจ็ พระมหาสมณเจ้า กรมพระปรมานชุ ิตชิโนรส ซ่ึงเปน็ สมเด็จพระเจา้ อัยกาเธอของ พระบาทสมเดจ็ พระจลุ จอมเกลา้ เจ้าอย่หู ัว พระอยั กา, พระไอยกา – ปู่ ตา ของพระบรมวงศแ์ ละพระอนวุ งศ์ ทม่ี ไิ ด้เป็นพระราชวงศ์ (๑) ศัพท์บาลวี า่ ปยฺยกิ า เขียนตามแบบโบราณเป็น ไปยกิ า จ พร ะบร มอัยก าธิร า ชขอ งพ ระ บ าท ส ม เด็จ (๒) ดูประชมุ ประกาศรัชกาลท่ี ๔ ภาค ๖ พุทธศักราช ๒๔๐๔-๒๔๐๗ (๓) เช่น พระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว เป็นสมเด็ พระบรมชนกาธิเบศร มหาภูมิพลอดลุ ยเดชมหาราช บรมนาถบพติ ร ๓๑31

รเฉาลชมิ าพศระัพเกทียร์ ตเิ นื่องในโอกาสมหามงคลพระราชพธิ บี รมราชาภเิ ษก พุทธศกั ราช ๒๕๖๒ เฉลมิ พระเกยี รตเิ นือ่ งในโอกาสมหามงคลพระราชพธิ บี รมราชาภเิ ษก พุทธศกั ราช ๒๕๖๒ ราชาศัพท์ ความหมาย สมเดจ็ พระบรมราชอัยยิกา – ย่า ของพระมหากษตั ริย์ ใช้เฉพาะ สมเด็จพระศรสี รุ ิเยนทราบรมราชินี ซึง่ เปน็ สมเด็จพระบรมราชอัยยิกาของ พระบาทสมเดจ็ พระจลุ จอมเกล้าเจ้าอย่หู วั สมเดจ็ พระบรมอัยยิกา, – ย่า ยาย ของพระมหากษัตรยิ ์ สมเดจ็ พระอยั ยิกา พระเจา้ บรมมหัยยกิ าเธอ – ยาย (น้องสาวของตา) ใช้เฉพาะพระเจา้ บรม มหยั ยิกาเธอ กรมสมเด็จพระสุดา รตั นราชประยูร ในรัชสมัยพระบาทสมเด็จ พระจุลจอมเกล้าเจ้าอยูห่ ัว ซง่ึ เปน็ นอ้ งสาว ของสมเดจ็ พระบรมราชมาตามหัยกาเธอ กรมหมืน่ มาตยาพิทักษ์ พระบรมอัยยิกา – ยา่ ยาย ของพระมหากษตั รยิ ์ พระอัยยกิ า (หรือ พระไอยกิ า – ยา่ ยาย ของพระบรมวงศแ์ ละพระอนวุ งศ์ และพระไอยกที ่ีใช้ตามแบบเกา่ ) ทมี่ ไิ ด้เป็นพระราชวงศ์ สมเดจ็ พระบรมชนกนาถ, – พ่อ ของพระมหากษตั รยิ ์ ทเ่ี ป็น สมเด็จพระบรมชนกาธิราช, พระมหากษตั รยิ ์ หรือมไิ ด้เปน็ สมเด็จพระบรมราชชนก, พระมหากษตั ริย์ แต่ได้รับสถาปนาให้ สมเดจ็ พระบรมราชบิดา, ทรงพระราชอิสริยยศสงู สมเดจ็ พระบรมชนกาธิบดี สมเด็จพระราชบดิ า, – พอ่ ของพระมหากษตั ริย์ท่ีมไิ ดเ้ ป็น พระราชบดิ า พระมหากษัตรยิ ์ พระบิดา, พระบดิ ร – พ่อทเ่ี ปน็ เจ้าฟา้ หรือพระองคเ์ จ้า พระชนก(๑) – พอ่ ของพระบรมวงศแ์ ละพระอนวุ งศ์ ทมี่ ไิ ดเ้ ป็นพระราชวงศ์ สมเด็จพระบรมราชชนนีพันปหี ลวง – แม่ ของพระมหากษตั รยิ ์ ท่ีเปน็ พระมเหสีของ พระมหากษัตริย์ สมเดจ็ พระบรมราชชนนี, – แม่ ของพระมหากษัตริย์ ท่ไี ด้รบั สถาปนา สมเด็จพระราชชนนี ให้ทรงพระราชอสิ ริยยศสงู พระราชชนนี, พระราชมารดา – แม่ ของพระมหากษัตริย์ และพระราชวงศ์ ชั้นสมเด็จเจา้ ฟ้า (๑) เช่น พระชนกของสมเดจ็ พระอมรนิ ทราบรมราชินี ในรัชกาลที่ ๑ มีนามว่า ทอง 332๒

เฉลิมพระเกียรติเนือ่ งในโอกาสมหามงคลพระราชพธิ บี รมราชาภเิ ษก พทุ รธศากั ชราาชศ๒ัพ๕ท๖๒์ เฉลิมพระเกียรติเนอ่ื งในโอกาสมหามงคลพระราชพิธบี รมราชาภเิ ษก พุทธศกั ราช ๒๕๖๒ ราชาศพั ท์ ความหมาย พระชนนี(๑), พระมารดา – แม่ ของพระบรมวงศแ์ ละพระอนุวงศ์ สมเด็จพระบรมราชปติ ลุ า, – ลงุ อา (พ่ีชาย น้องชายของพ่อ) ที่เป็น สมเดจ็ พระปติ ลุ าธิราช, พระมหากษตั รยิ ์ สมเด็จพระราชปิตลุ าธิบดี สมเดจ็ พระราชปติ ุลาบรมพงศาภิมุข – อา ทเี่ ป็นสมเดจ็ พระเจ้าบรมวงศ์เธอ ทที่ รงศกั ดิ์สูง เปน็ พิเศษ พระบาทสมเด็จพระปกเกลา้ เจ้าอย่หู ัว ทรงสถาปนาและใชค้ านีเ้ ป็นคานาพระนาม เฉพาะสมเด็จพระราชปิตุลาบรมพงศาภมิ ขุ เจ้าฟา้ ภาณุรังษสี ว่างวงศ์ กรมพระยา ภาณุพันธุวงศ์วรเดช พระองค์เดยี ว สมเดจ็ พระราชปิตุลา – ลงุ อา ของพระมหากษตั รยิ ์ ทเ่ี ปน็ สมเด็จ พระเจ้าบรมวงศ์เธอ พระราชปิตลุ า – ลงุ อา ของพระมหากษัตรยิ ์ พระปิตุลา – ลุง อา ของพระบรมวงศ์และพระอนุวงศ์ สมเด็จพระปิตจุ ฉาเจ้า, – ปา้ อา (พส่ี าว น้องสาวของพอ่ ) ของ สมเด็จพระราชปิตจุ ฉา, พระมหากษตั ริย์ หมายถงึ ปา้ อา สมเดจ็ พระปิตุจฉา ท่เี ปน็ พระมเหสี หรือเปน็ สมเด็จ พระเจ้าบรมวงศ์เธอที่ทรงศกั ดสิ์ งู พระราชปิตุจฉา – ปา้ อา ของพระมหากษตั ริย์ พระปติ จุ ฉา – ปา้ อา ของพระบรมวงศ์และพระอนวุ งศ์ พระอาว์(๒), พระอา – นอ้ งของพอ่ ทีเ่ ป็นพระราชวงศ์ พระมาตุลา – ลุง น้า (พชี่ าย นอ้ งชายของแม่) ของพระบรมวงศ์และพระอนวุ งศ์ สมเดจ็ พระมาตจุ ฉาเจ้า, – ปา้ น้า (พี่สาว นอ้ งสาวของแม)่ ของ สมเด็จพระราชมาตจุ ฉา, พระมหากษตั ริย์ หมายถึง ป้า น้า ทเ่ี ปน็ สมเด็จพระมาตุจฉา พระมเหสี หรอื เป็นสมเดจ็ พระเจ้าบรมวงศเ์ ธอ ท่ีทรงศักดิ์สูง (๑) เชน่ สมเดจ็ พระรูปสริ โิ สภาคยม์ หานาคนารี พระชนนขี องสมเดจ็ พระอมรนิ ทราบรมราชินี ในรัชกาลท่ี ๑ มีพระนามเดมิ วา่ สน้ั (๒) “อาว์” เป็นคาราชาศพั ท์เกา่ หมายถงึ อาผชู้ าย รวมถึง อาเขย “อา” หมายถึง อาผหู้ ญิง รวมถึง อาสะใภ้ 3๓33

รเฉาลชมิ าพศระัพเกทียร์ ตเิ นอื่ งในโอกาสมหามงคลพระราชพธิ บี รมราชาภิเษก พุทธศักราช ๒๕๖๒ เฉลิมพระเกียรตเิ น่อื งในโอกาสมหามงคลพระราชพธิ ีบรมราชาภิเษก พุทธศักราช ๒๕๖๒ ราชาศัพท์ ความหมาย พระมาตุจฉา – ปา้ นา้ (พีส่ าว น้องสาวของแม)่ ของพระบรมวงศ์และพระอนวุ งศ์ พระมาตุลานี – ปา้ สะใภ้ นา้ สะใภ้(ภรรยาของพ่ีชายหรือ น้องชายของแม่) ของพระมหากษัตรยิ ์ สมเดจ็ พระบรมเชษฐาธิราช, – พช่ี าย ของพระมหากษัตรยิ ์ ที่เป็น สมเดจ็ พระบรมเชษฐาธิบดี(๑) พระมหากษัตริย์ สมเด็จพระโสทรเชษฐภาดา, – พ่ชี ายร่วมอุทร ของพระมหากษัตรยิ ์ สมเด็จพระโสทรเชษฐา สมเด็จพระเจ้าพยี่ าเธอ, – พี่ชาย ของพระมหากษัตรยิ ์ สมเด็จพระเชษฐา ทเ่ี ปน็ สมเดจ็ เจ้าฟ้า พระเจ้าพยี่ าเธอ – พีช่ าย ของพระมหากษัตรยิ ์ ที่เป็นพระองคเ์ จ้า พระเชษฐา(๒), พระเชษฐภาดา, – พี่ชาย ของพระบรมวงศ์หรือพระอนุวงศ์ พระเชษฐภาตา สมเดจ็ พระอนุชาธริ าช – นอ้ งชาย ของพระมหากษตั รยิ ์ ทเ่ี ป็น สมเดจ็ เจ้าฟา้ ซึ่งไดร้ ับเฉลิมพระยศพิเศษ(๓) สมเดจ็ พระราชโสทรานชุ า – นอ้ งชายรว่ มอุทร ของพระมหากษตั ริย์ สมเดจ็ พระเจา้ น้องยาเธอ, – น้องชาย ของพระมหากษัตริย์ ทีเ่ ป็น สมเดจ็ พระราชอนุชา, สมเด็จเจ้าฟา้ สมเด็จพระอนุชา พระเจ้าน้องยาเธอ, พระราชอนชุ า – นอ้ งชาย ของพระมหากษัตรยิ ์ ท่ีเป็นพระองค์เจา้ (๑) เช่น พระบาทสมเด็จพระนั่งเกล้าเจ้าอยู่หัว เป็นสมเด็จพระบรมเชษฐาธิบดีของพระบาทสมเด็จพระจอมเกล้า เจ้าอยู่หัว พระบาทสมเด็จพระมงกุฎเกล้าเจ้าอยู่หัว เป็นสมเด็จพระบรมเชษฐาธิบดีของพระบาทสมเด็จ พระปกเกล้าเจ้าอยู่หัว พระบาทสมเด็จพระปรเมนทรมหาอานันทมหิดล พระอัฐมรามาธิบดินทร เป็นสมเด็จ พระบรมเชษฐาธิบดขี องพระบาทสมเดจ็ พระบรมชนกาธเิ บศร มหาภูมพิ ลอดุลยเดชมหาราช บรมนาถบพติ ร (๒) เชษฐา เป็นคาทไ่ี ทยใช้ หมายถึง พช่ี าย ในภาษาบาลแี ละสันสกฤตมิได้หมายความวา่ พ่ชี าย แต่หมายถึงผเู้ ปน็ ใหญ่ (๓) ได้แก่ สมเด็จพระอนุชาธิราช เจ้าฟ้าจักรพงษ์ภูวนาถ กรมหลวงพิษณุโลกประชานาถ และ สมเด็จพระอนุชาธิราช เจา้ ฟ้าอัษฎางคเ์ ดชาวุธ กรมหลวงนครราชสีมา ๓๔ 34

เฉลมิ พระเกยี รติเนอื่ งในโอกาสมหามงคลพระราชพธิ บี รมราชาภเิ ษก พรทุ าธชศกัารศาชพั ๒ท๕์ ๖๒ เฉลิมพระเกยี รติเนือ่ งในโอกาสมหามงคลพระราชพธิ บี รมราชาภิเษก พุทธศักราช ๒๕๖๒ ราชาศัพท์ ความหมาย พระกนษิ ฐภาดา, พระอนชุ า – นอ้ งชาย ของพระบรมวงศ์หรือพระอนุวงศ์ พระราชภาดา – พ่ีชาย น้องชาย ทีเ่ ป็นลูกพล่ี ูกน้องของ พระมหากษัตรยิ ์ พระภาดา – พชี่ าย น้องชาย ทีเ่ ป็นลูกพี่ลกู น้อง ของพระบรมวงศ์หรือพระอนุวงศ์ สมเดจ็ พระโสทรเชษฐภคินี – พ่สี าวรว่ มอุทร ของพระมหากษตั รยิ ์ ท่ีเปน็ สมเดจ็ เจา้ ฟ้า สมเดจ็ พระเจ้าพี่นางเธอ – พ่สี าว ของพระมหากษตั รยิ ์ ท่เี ป็นสมเด็จเจา้ ฟา้ พระเจ้าพ่ีนางเธอ – พสี่ าว ของพระมหากษัตรยิ ์ ทีเ่ ปน็ พระองค์เจ้า สมเด็จพระกนษิ ฐาธริ าชเจ้า – น้องสาว ของพระมหากษัตริย์ ท่ีเปน็ สมเด็จ เจ้าฟ้า ซ่งึ ไดร้ ับเฉลมิ พระยศพิเศษ(๑) สมเดจ็ พระเจา้ นอ้ งนางเธอ – นอ้ งสาว ของพระมหากษัตรยิ ์ ทีเ่ ป็น สมเด็จเจ้าฟ้า พระเจา้ น้องนางเธอ – น้องสาว ของพระมหากษตั รยิ ์ ที่เปน็ พระองค์เจ้า สมเดจ็ พระเจา้ ภคินเี ธอ – พส่ี าว น้องสาวท่เี ปน็ ลูกพี่ลกู นอ้ ง ของพระมหากษัตรยิ ์ ท่เี ป็นสมเดจ็ เจ้าฟ้า พระภคนิ ี(๒) – พ่สี าว น้องสาวทเ่ี ป็นลูกพ่ีลกู นอ้ ง ของพระมหากษตั ริย์ และพระบรมวงศ์ หรอื พระอนวุ งศ์ สมเด็จพระบรมโอรสาธิราช – ลกู ชาย ของพระมหากษตั ริย์ ทท่ี รงสถาปนา สยามมกฎุ ราชกมุ าร ขึ้นเป็นสยามมกฎุ ราชกมุ าร พระรชั ทายาท สืบสนองพระองค์ ทรงพระเศวตฉัตร ๗ ช้ัน เปน็ ตาแหน่งที่มีครง้ั แรกในรชั กาล พระบาทสมเดจ็ พระจุลจอมเกล้าเจ้าอยหู่ วั สมเด็จพระยพุ ราช – ผู้สบื ราชสมบตั ิ เป็นพระมหากษตั รยิ ต์ อ่ ไป (๑) ไดแ้ ก่ สมเด็จพระกนษิ ฐาธิราชเจา้ กรมสมเดจ็ พระเทพรัตนราชสดุ าฯ สยามบรมราชกุมารี (๒) ถ้าต้องการเขียนให้ชัดเจน พส่ี าว ใช้ เชษฐภคินี นอ้ งสาว ใช้ กนิษฐภคนิ ี ถา้ เปน็ พน่ี อ้ งรว่ มอุทร เตมิ คาว่า โสทร ขา้ งหนา้ ๓๕ 35

รเาฉลชมิ าพศระัพเกทยี ร์ ตเิ นือ่ งในโอกาสมหามงคลพระราชพธิ บี รมราชาภเิ ษก พุทธศกั ราช ๒๕๖๒ เฉลมิ พระเกียรตเิ นื่องในโอกาสมหามงคลพระราชพธิ ีบรมราชาภเิ ษก พุทธศกั ราช ๒๕๖๒ ราชาศัพท์ ความหมาย สมเด็จหน่อพระพทุ ธเจา้ (๑) – ลูกชาย ของพระมหากษัตรยิ ์ ท่ปี ระสตู แิ ต่ สมเดจ็ พระอคั รมเหสี และเป็นผู้สืบราชสมบตั ิ สนองพระองคต์ ่อไป สมเดจ็ พระเจ้าลูกยาเธอ – ลูกชาย ของพระมหากษตั ริย์ ทเี่ ปน็ สมเดจ็ เจา้ ฟา้ พระราชโอรส, พระราชบุตร – ลกู ชาย ของพระมหากษตั รยิ ์ ทเี่ ป็นสมเดจ็ เจา้ ฟ้า หรอื พระองคเ์ จา้ พระเจ้าลกู ยาเธอ – ลกู ชาย ของพระมหากษตั รยิ ์ ท่ีเป็นพระองค์เจา้ สมเดจ็ พระเจา้ ลกู เธอ – ลูกสาว ของพระมหากษตั ริย์ ที่เปน็ สมเด็จเจ้าฟ้า นอกจากนี้ ยงั มีความหมายเดิมเป็นคาเรียกรวม พระราชโอรส พระราชธิดาท่ียังทรงพระเยาว์ ภาษาปากใช้วา่ ลกู หลวง พระราชธิดา, พระราชบตุ รี – ลูกสาว ของพระมหากษัตรยิ ์ ทเ่ี ปน็ สมเด็จเจา้ ฟ้า และพระองคเ์ จา้ พระเจา้ ลูกเธอ – ลูกสาว ของพระมหากษตั ริย์ ทีเ่ ป็นพระองคเ์ จ้า นอกจากนี้ ยงั มีความหมายเดมิ เป็นคาเรียก รวมพระราชโอรส พระราชธิดาทย่ี งั ทรงพระเยาว์ ภาษาปากใชว้ ่า ลกู หลวง สมเด็จพระเจา้ บรมวงศเ์ ธอ – คานาพระนามสมเด็จเจ้าฟ้าท่ีเป็นลูกชาย ลกู สาวของพระมหากษัตริย์รชั กาลกอ่ น นอกจากนี้ ยงั หมายถงึ คานาพระนาม พระองค์เจ้า ทีท่ รงสถาปนาขน้ึ เป็น สมเด็จพระเจา้ บรมวงศเ์ ธอ และทรงกรม เปน็ กรมพระยาหรอื กรมพระ พระเจา้ บรมวงศเ์ ธอ – ลูกชาย ลกู สาว ของพระมหากษัตรยิ ์รัชกาลก่อน ท่ีเป็นพระองค์เจ้า (๑) เปน็ คาดงั้ เดิมในกฎมณเฑียรบาลครัง้ กรงุ ศรีอยธุ ยา 3๓๖6

ราชาศพั ท์ เฉลมิ พระเกียรตเิ นือ่ งในโอกาสมหามงคลพระราชพิธบี รมราชาภิเษก พรทุ าธชศัการศาชพั ๒ท๕์ ๖๒ พระประพันธวงศ์เธอ(๑) เฉลิมพระเกียรติเน่ืองในโอกาสมหามงคลพระราชพิธบี รมราชาภิเษก พุทธศกั ราช ๒๕๖๒ พระเจา้ บวรราชวงศ์เธอ(๒) ความหมาย พระสมั พันธวงศเ์ ธอ(๓) – ลูกชาย ลูกสาว ของพระบาทสมเด็จ พระโอรส, พระบุตร พระปิน่ เกล้าเจ้าอย่หู ัว ท่ีอายุสงู กว่า พระธดิ า, พระบุตรี พระบาทสมเดจ็ พระจุลจอมเกลา้ เจ้าอยู่หวั โอรส, บตุ ร นอกจากน้ี พระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกลา้ ธดิ า, บตุ รี เจ้าอยู่หัวโปรดให้ใชเ้ ปน็ คานาพระนาม สมเด็จพระเจา้ หลานเธอ พระราชวงศท์ ่ีเปน็ พระประยูรญาติขา้ งฝา่ ย สมเด็จพระบรมราชชนนี คอื ลูกชาย (๑)-(๓) ปัจจุบันเลกิ ใช้ ลูกสาวของสมเด็จพระบรมราชมาตามหยั กาเธอ กรมหม่ืนมาตยาพิทักษ์ ทไี่ ด้รับสถาปนา พระยศขึ้นเป็นพระองค์เจา้ และต่อมาโปรด ใหใ้ ช้ว่า พระสัมพันธวงศเ์ ธอ – ลูกชาย ลูกสาว ของสมเด็จพระบวรราชเจา้ กรมพระราชวงั บวรสถานมงคล ยกเว้น กรมพระราชวงั บวรวิไชยชาญ ตอ่ มาใช้ พระเจ้าบวรวงศเ์ ธอ และ พระบวรวงศ์เธอ พระบาทสมเด็จพระมงกุฎเกลา้ เจ้าอยหู่ วั โปรดให้เปล่ยี นเป็น พระราชวรวงศเ์ ธอ – ลูกชาย ลูกสาว ของกรมพระราชวังบวร สถานพมิ ุข พระบาทสมเดจ็ พระพุทธยอดฟ้า จฬุ าโลกมหาราชโปรดให้ใช้คานาพระนามวา่ พระเจา้ หลานเธอ – ลูกชาย ของสมเด็จเจา้ ฟา้ และพระองค์เจา้ (คือ หม่อมเจ้า) – ลกู สาว ของสมเด็จเจ้าฟา้ และพระองค์เจ้า (คอื หมอ่ มเจ้า) – ลกู ชาย ของหม่อมเจ้า (คือ หมอ่ มราชวงศ์) – ลกู สาว ของหม่อมเจา้ (คือ หม่อมราชวงศ์) – หลานชาย หลานสาว ของพระมหากษัตรยิ ์ ที่เป็นสมเดจ็ เจ้าฟ้า ๓๗37

รเฉาลชมิ พารศะพัเกทียร์ตเิ นื่องในโอกาสมหามงคลพระราชพิธบี รมราชาภเิ ษก พทุ ธศกั ราช ๒๕๖๒ เฉลมิ พระเกียรตเิ นอื่ งในโอกาสมหามงคลพระราชพิธีบรมราชาภเิ ษก พทุ ธศกั ราช ๒๕๖๒ ราชาศัพท์ ความหมาย พระเจา้ หลานเธอ – หลานชาย หลานสาว ของพระมหากษัตริย์ ท่ีเป็นพระองคเ์ จ้า (เทียบพระเจา้ วรวงศเ์ ธอ) พระหลานเธอ – หลานชาย หลานสาว ของพระมหากษัตรยิ ์ ที่เป็นพระองค์เจ้า (เทยี บพระวรวงศเ์ ธอ) พระราชนดั ดา – หลานชาย หลานสาว (ลกู ของลูก) ของพระมหากษตั ริย์ ภาษาปากใช้ว่า หลานหลวง พระนัดดา – หลานชาย หลานสาว ของสมเด็จเจ้าฟ้า และพระองค์เจา้ นดั ดา – หลานชาย หลานสาว ของหม่อมเจ้า พระราชปนดั ดา – เหลนชาย เหลนหญงิ ของพระมหากษตั รยิ ์ พระปนดั ดา – เหลนชาย เหลนหญงิ ของสมเดจ็ เจ้าฟ้าและ พระองคเ์ จ้า ปนัดดา – เหลนชาย เหลนหญงิ ของหมอ่ มเจา้ พระภาคไิ นย – หลานชาย หลานสาว ของพระมหากษตั ริย์ พระภาติยะ ที่เป็นลกู ของพ่สี าวหรอื น้องสาว – หลานชาย หลานสาว ของพระมหากษัตริย์ ที่เป็นลูกของพ่ชี ายหรอื น้องชาย พระภาตกิ ะ(๑) – หลานชาย ของพระมหากษัตริย์ ท่เี ปน็ ลูกของ พ่ีชายหรือน้องชาย พระภาติกา(๒) – หลานสาว ของพระมหากษัตริย์ ท่ีเป็นลูก ของพชี่ ายหรอื น้องชาย ในรชั กาล พระบาทสมเด็จพระปกเกล้าเจ้าอยู่หัว โปรดเกล้าโปรดกระหมอ่ มให้ใช้คานา พระนาม สมเด็จเจ้าฟ้าเพชรรตั นราชสุดา สิริโสภาพัณณวดี ว่า สมเดจ็ พระเจา้ ภาตกิ าเธอ (๑)-(๒) ดูหนังสือเรื่องราชาศัพท์ ฉบับของกรรมารบุตร พิมพ์แจกในงานพระราชทานเพลิงศพหลวงสรรสารกิจ (เคลา้ คชนันทน์) วนั ที่ ๑๒ พฤษภาคม พุทธศักราช ๒๕๐๓ 3๓๘8

ราชาศพั ท์ เฉลิมพระเกียรติเน่ืองในโอกาสมหามงคลพระราชพิธีบรมราชาภเิ ษก พรุทาธชศาักรศาพัช ๒ท๕์ ๖๒ พระบรมราชสวามี พระสวามี เฉลิมพระเกยี รติเนื่องในโอกาสมหามงคลพระราชพธิ ีบรมราชาภเิ ษก พุทธศักราช ๒๕๖๒ พระสาม,ี พระภสั ดา(๑) สมเด็จพระบรมราชนิ นี าถ ความหมาย – สามีทีเ่ ป็นพระมหากษัตริย์ สมเด็จพระบรมราชนิ ี – สามี ของพระบรมวงศ์หรือพระอนุวงศ์ สมเด็จพระนางเจ้า ที่เป็นพระราชวงศ์ พระนางเจ้า พระนางเธอ – สามี ของพระบรมวงศ์หรอื พระอนุวงศ์ สมเด็จพระบรมราชเทวี ที่มิได้เปน็ พระราชวงศ์ พระบรมอัครราชเทวี – ภรรยาเอกหรือพระอัครมเหสี ของพระมหากษัตริย์ ซ่งึ ไดร้ บั สถาปนาเปน็ ผูส้ าเรจ็ ราชการแทนพระองค์(๒) – ภรรยาเอกหรอื พระอัครมเหสี ของพระมหากษตั รยิ ์ – ภรรยาเอกหรือพระอัครมเหสี ของพระมหากษัตริย์ เคยใช้สาหรับ สมเด็จพระนางเธอสุนันทากุมารีรัตน์ เมื่อแรกส้ินพระชนม์ – ภรรยาเอกหรือพระมเหสี ของพระมหากษัตริย์ – ภรรยาหรือพระมเหสีรอง ของพระมหากษัตริย์ – ภรรยาเอกหรือพระอัครมเหสี ของพระมหากษัตริย์ท่เี ป็นพระราชวงศ์ – ภรรยาเอกหรือพระอัครมเหสี ของพระมหากษัตริย์ เป็นคาเรียกเฉพาะ พระอัครมเหสีของพระบาทสมเด็จ พระจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว เทียบได้กับ ตาแหน่งสมเดจ็ พระบรมราชินี คือ (๑) พบในพระราชพงศาวดาร เช่น หม่อมเสม พระภัสดาของสมเด็จพระเจ้าพ่ีนางเธอ เจ้าฟ้ากรมพระยาเทพสุดาวดี เป็นทีพ่ ระอนิ ทรรกั ษา เจ้ากรมพระตารวจฝา่ ยพระราชวังบวรสถานมงคล สมัยอยธุ ยา (๒) ในสมยั รชั กาลที่ ๕ ใชค้ าวา่ ผู้สาเรจ็ ราชการแผน่ ดนิ ต่างพระองค์ หรือ ผสู้ าเร็จราชการแผน่ ดินแทนพระองค์ ๓๙39

รเฉาลชมิ าพศระพัเกทยี ร์ ตเิ น่ืองในโอกาสมหามงคลพระราชพิธบี รมราชาภเิ ษก พทุ ธศกั ราช ๒๕๖๒ เฉลิมพระเกยี รตเิ นอื่ งในโอกาสมหามงคลพระราชพธิ บี รมราชาภเิ ษก พทุ ธศกั ราช ๒๕๖๒ ราชาศัพท์ ความหมาย สมเด็จพระนางเจ้าโสมนัสวัฒนาวดี ซ่ึงพระบาทสมเดจ็ พระจอมเกล้าเจ้าอยหู่ ัว โปรดเกล้าโปรดกระหม่อม สถาปนา พระราชอิสริยยศเป็นสมเด็จพระนางนาฏ บรมอัครราชเทวี(๑) พระบรมราชเทวี – ภรรยาเอกหรือพระอัครมเหสี ของพระมหากษัตริย์ เป็นคาเรยี กเฉพาะ พระอัครมเหสีของพระบาทสมเด็จ พระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว คือ สมเด็จ พระนางเจ้าสว่างวัฒนา พระบรมราชเทวี ต่อมาในรัชกาลพระบาทสมเด็จ พระปรเมนทรมหาอานันทมหิดล พระอัฐมรามาธิบดินทร ทรงสถาปนาข้ึน เป็นสมเด็จพระศรีสวรินทิรา บรมราชเทวี พระพันวัสสาอัยยิกาเจ้า สมเด็จพระราชนิ ี(๒), พระอัครราชเทวี, – ภรรยาเอกหรอื พระมเหสี พระอคั รชายาเธอ ของพระมหากษัตรยิ ์ ที่เป็นพระราชวงศ์ พระวรราชเทวี – ภรรยาหรือพระมเหสี ของพระมหากษัตริย์ เป็นคาเรียกเฉพาะ พระราชเทวี พระมเหสีของพระบาทสมเด็จ พระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว คือ พระนางเจ้าเสาวภาผ่องศรี พระวรราชเทวี และพระมเหสีของพระบาทสมเด็จ พระมงกุฎเกล้าเจ้าอยู่หัว คือ พระนางเจ้าสุวัทนา พระวรราชเทวี – ภรรยาหรอื พระมเหสรี องลงมาจากพระอคั รมเหสี และพระอคั รเทวี ของพระมหากษตั รยิ ์ ในรัชสมัยพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกลา้ เจ้าอยู่หวั ทรงสถาปนาพระนางเธอ พระองคเ์ จ้าสุขุมาลมารศรี เปน็ พระนางเจ้า สขุ มุ าลมารศรี พระราชเทวี (๑) อ้างถึงในประกาศสถาปนาหม่อมเจ้าราเพยภมราภิรมย์ เป็นพระองค์เจ้า สะกดว่า สมเด็จพระนางนาฏ บรมอรรคราชเทวี (๒) ภรรยาเอกหรือพระอัครมเหสีของพระมหากษัตริย์ท่ียังมิได้รับบรมราชาภิเษก มีเป็นคร้ังแรกในรัชกาล พระบาทสมเดจ็ พระบรมชนกาธเิ บศร มหาภูมพิ ลอดุลยเดชมหาราช บรมนาถบพิตร 4๔๐0

ราชาศพั ท์ เฉลิมพระเกยี รตเิ นื่องในโอกาสมหามงคลพระราชพิธีบรมราชาภิเษก พุทธศรกั ารชาชาศ๒๕พั ๖ท๒์ พระอัครมเหสี พระอคั รชายาเธอ เฉลิมพระเกียรติเนอื่ งในโอกาสมหามงคลพระราชพิธีบรมราชาภิเษก พุทธศกั ราช ๒๕๖๒ พระอัครชายา ความหมาย พระวรราชชายาเธอ – ภรรยาเอก ของพระมหากษตั รยิ ์ ทเ่ี ป็น พระราชชายา(๑) พระมเหสี พระราชวงศ์ พระวรราชชายา(๒) – คาเรียกพระมเหสขี องพระบาทสมเด็จ เจ้าคณุ พระ พระจลุ จอมเกลา้ เจา้ อยหู่ ัว ซึ่งเป็นพระราช (๑) มใี นรัชกาลท่ี ๕ นัดดาของพระบาทสมเด็จพระนง่ั เกลา้ (๒) มีในรัชกาลท่ี ๖ เจ้าอยู่หัว ไดแ้ ก่ พระอัครชายาเธอ พระองค์เจ้า อบุ ลรตั นนารีนาค กรมขุนอรรควรราชกลั ยา พระอัครชายาเธอ พระองค์เจ้าสายสวลีภริ มย์ กรมขุนสุทธาสนิ นี าฏ และพระอคั รชายาเธอ พระองค์เจ้าเสาวภาคยน์ ารีรัตน – คาเรียกพระมเหสีรองลงมาจาก พระอัครมเหสี พระอคั รเทวี และ พระราชเทวี – คาเรยี กพระมเหสขี องพระบาทสมเดจ็ พระมงกุฎ เกลา้ เจา้ อยู่หวั คือ พระวรราชชายาเธอ พระอนิ ทรศกั ดิศจี เมอ่ื พุทธศกั ราช ๒๔๖๕ – ภรรยาหรือพระมเหสี ของพระมหากษัตรยิ ์ – ภรรยา ของพระมหากษัตริย์ ที่เปน็ พระราชวงศ์ – ภรรยา ของพระมหากษตั ริย์ ท่ีเป็น พระราชวงศ์ – เปน็ บรรดาศักดเิ์ ฉพาะของเจ้าคุณจอมมารดาแพ พระสนมเอกในรัชกาลท่ี ๕ ซ่งึ รัชกาลท่ี ๖ ทรงสถาปนาเจา้ คุณจอมมารดาแพ ให้มี บรรดาศกั ดิ์และราชทินนามขึ้นเป็น เจ้าคุณพระประยุรวงศ์ ๔๑ 41

รเฉาลชมิ าพศระพั เกทียร์ ติเน่อื งในโอกาสมหามงคลพระราชพธิ ีบรมราชาภิเษก พทุ ธศกั ราช ๒๕๖๒ เฉลมิ พระเกียรตเิ นือ่ งในโอกาสมหามงคลพระราชพิธบี รมราชาภเิ ษก พุทธศกั ราช ๒๕๖๒ ราชาศัพท์ ความหมาย เจา้ คุณจอมมารดา – เปน็ บรรดาศกั ดิข์ องเจา้ จอมมารดาทีม่ ีเกยี รติยศ พเิ ศษ มี ๔ ท่าน คอื เจ้าคณุ จอมมารดาสาลี เจา้ คุณจอมมารดาเปีย่ ม เจา้ คุณจอมมารดาเอม และเจ้าคุณจอมมารดาแพ เจ้าจอมมารดา – ภรรยา ของพระมหากษัตริย์ ทเี่ ป็นสามัญชน ซงึ่ มลี กู ชายหรือลกู สาว เจา้ จอม, เจา้ จอมอยงู่ าน – ภรรยา ของพระมหากษัตริย์หรือ กรมพระราชวังบวรสถานมงคล ท่ีเปน็ สามญั ชน และไมม่ ลี ูกชายหรอื ลกู สาว จอมมารดา – พระสนม ของกรมพระราชวังบวรวไิ ชยชาญ ที่มีพระโอรส พระธดิ า พระวรชายา – ภรรยา ของสมเด็จพระบรมโอรสาธิราช สยามมกุฎราชกมุ าร(๑) ทเ่ี ปน็ พระราชวงศ์ พระชายา – สมเด็จเจ้าฟา้ หรอื พระองคเ์ จา้ ทเี่ ป็นภรรยาเอก ของสมเด็จเจา้ ฟ้าหรอื พระองคเ์ จ้า ชายา – หม่อมเจ้าที่เป็นภรรยาเอก ของพระองค์เจ้า หรือหมอ่ มเจา้ หมอ่ ม, หมอ่ มห้าม – ภรรยา ของสมเด็จเจา้ ฟ้าถึงหม่อมเจ้าที่เป็น สามัญชน สะใภห้ ลวง, สะใภ้หลวงพระราชทาน – ภรรยา ของลูกพระมหากษัตริย์ บางแห่ง เรียกว่า พระชายาพระราชทาน พระสณุ ิสา – ลูกสะใภ้ ของพระมหากษัตริยถ์ งึ พระองค์เจา้ พระชามาดา – ลกู เขย ของพระมหากษตั ริย์ถึงพระองค์เจ้า พระสสุระ, พระสสั สุระ – พอ่ สามีพ่อภรรยา พระสสั สุ – แม่สามีแม่ภรรยา พระบรมวงศานุวงศ์(๒) – พระราชวงศต์ ง้ั แต่สมเดจ็ พระบรมราชินนี าถ ลงมาถงึ หมอ่ มเจ้า (๑) มีในรชั กาลพระบาทสมเด็จพระบรมชนกาธิเบศร มหาภมู ิพลอดลุ ยเดชมหาราช บรมนาถบพิตร (๒) ประกอบดว้ ย พระบรมวงศ์ กับ พระอนุวงศ์ ๔๒ 42

เฉลมิ พระเกยี รตเิ นือ่ งในโอกาสมหามงคลพระราชพธิ บี รมราชาภเิ ษก พรุทาธชศกั ารศาชพั ๒ท๕์๖๒ เฉลิมพระเกยี รติเนือ่ งในโอกาสมหามงคลพระราชพธิ ีบรมราชาภเิ ษก พทุ ธศกั ราช ๒๕๖๒ ราชาศพั ท์ ความหมาย ราชตระกูล, ราชสกุล, ราชนกิ ุล, – บุคคลผู้อยู่ในราชสกุลทุกมหาสาขาซึ่งสืบสาย ราชนกิ ูล มาแต่พระปฐมวงศ์ พระมหากษัตริย์ กรมพระราชวงั บวรสถานมงคล และกรมพระราชวังบวรสถานพิมุข ในพระบรมราชจักรีวงศ์ ราชินกิ ลุ , ราชนิ กิ ูล – บุคคลผู้อยู่ในราชสกุลทุกมหาสาขา ที่เป็นพระญาติขา้ งสมเด็จพระบรมราชินี เจ้าครอก – คาโบราณเรียกพระราชวงศ์ผู้ใหญฝ่ ่ายใน เมอ่ื ครง้ั ต้นกรุงรัตนโกสินทร์ เชน่ เจ้าครอก วัดโพธิ์ (พระเจา้ วรวงศ์เธอ กรมหลวง นรินทรเทวี) เจ้าครอกทองอยู่ (พระชายาทองอยู่ ในกรมพระราชวัง บวรสถานพมิ ขุ ) และเจ้าครอกศรีอโนชา (เจ้าศิริรดจา) – คาโบราณเรยี กผู้มีเชือ้ สายพระราชวงศ์ โดยกาเนดิ ทงั้ ฝา่ ยพอ่ และแม่ ตั้งแต่สมเด็จเจา้ ฟา้ ถงึ หมอ่ มเจา้ เจา้ ขรวั , ขรัวตา, ขรัวยาย – สามัญชน ท่เี ปน็ ตา ยาย ของสมเด็จเจ้าฟ้า และพระองค์เจา้ ท่ีเปน็ ลูกชาย ลกู สาว ของพระมหากษัตริย์ ลกู หลวง – ลูกชาย ลูกสาว ของพระมหากษัตริย์ หลานหลวง – หลานชาย หลานสาว ท่ีปหู่ รือตาเป็น พระมหากษตั ริย์ พระเจา้ วรวงศเ์ ธอ – คานาหน้าสกลุ ยศของพระราชวงศ์ซ่ึงเป็น หลานของพระมหากษตั รยิ ์รัชกาลก่อน ท่ีมพี ระบดิ าชนั้ เจา้ ฟ้า พระมารดาเป็น พระราชวงศต์ ้ังแตช่ ้ันหมอ่ มเจ้าข้นึ ไป พระวรวงศเ์ ธอ – คานาหน้าสกุลยศของพระราชวงศ์ซง่ึ เป็น หลานของพระมหากษัตรยิ ร์ ชั กาลกอ่ น ที่มีพระบดิ าช้ันเจา้ ฟ้า พระมารดาเป็นสามญั ชน ๔๓43

รเฉาลชิมาพศระพัเกทยี ร์ ตเิ นื่องในโอกาสมหามงคลพระราชพิธบี รมราชาภิเษก พทุ ธศกั ราช ๒๕๖๒ เฉลมิ พระเกียรตเิ นอ่ื งในโอกาสมหามงคลพระราชพธิ ีบรมราชาภเิ ษก พุทธศกั ราช ๒๕๖๒ ราชาศพั ท์ ความหมาย พระองค์เจา้ – สกลุ ยศของพระราชวงศ์ทีม่ พี ระบิดาเปน็ พระมหากษตั รยิ ์ พระมารดาเป็นสามญั ชน หรือสกุลยศของพระราชวงศท์ ี่มี พระบิดาชนั้ เจ้าฟา้ พระมารดาเป็น พระราชวงศ์ชนั้ หม่อมเจ้าขน้ึ ไป หมอ่ มเจา้ – สกุลยศของพระราชวงศ์ท่มี พี ระบิดา เป็นเจ้าฟ้าหรอื พระองคเ์ จ้า พระมารดาเปน็ หมอ่ มเจ้าหรือสามญั ชน หมอ่ มราชวงศ์ – สกุลยศของผู้ทเี่ น่ืองในพระราชวงศ์ ทีม่ ีบดิ าเปน็ หมอ่ มเจ้า หมอ่ มหลวง – สกุลยศของผู้ทีเ่ นือ่ งในพระราชวงศ์ ทีม่ ีบิดาเปน็ หมอ่ มราชวงศ์ ๔๔ 44

เฉเลฉมิ ลพมิ รพะรเกะียเกรยีตริเนตื่อเิ นงใอ่ื นงโใอนกโาอสกมาหสามมหงาคมลงพครละพรารชะพราิธชบี พรธิมีบรารชมารภาชเิ ษากภเิ พษทุกธรพศาักุทรชธาศชากั ศ๒รา๕ัพช๖ท๒๒์๕๖๒ ๑.๒ รา่ งกาย(๑) ราชาศัพท์ ความหมาย พระองคาพยพ – ส่วนต่าง ๆ ของรา่ งกาย พระฉายา – เงา พระเจา้ – หวั , ศรี ษะ, ผม (บางทีเรียกเส้นพระเจา้ ) ของพระมหากษตั รยิ ์ พระเศียร – หัว, ศีรษะ พระสริ ฐั ิ,(๒) พระสีสกฏาหะ(๓) – กะโหลกศีรษะ เสน้ พระเจ้า – เส้นผมของพระมหากษัตริย์ พระเกศา, พระเกศ, พระศก – เสน้ ผม ไรพระเกศา, ไรพระเกศ, ไรพระศก – ไรผม ขมวดพระเกศา, ขมวดพระศก – ขมวดผมท่ีเปน็ ก้นหอย พระโมฬี, พระเมาฬี – จกุ , มวยผม พระจุไร – ไรจกุ , ไรผม พระจุฑามาศ – มวยผม, ทา้ ยทอย พระเวณิ – เปียผม, ช้องผม พระพักตร์ – ดวงหน้า ผิวพระพกั ตร์, พระราศี – ผวิ หน้า พระนลาฏ – หนา้ ผาก พระขนง, พระภมู – ค้ิว พระอุณาโลม – ขนหว่างค้ิว พระเนตร, พระนยั นะ, พระจักษุ – ดวงตา พระเนตรดา, ดวงพระเนตรดา – ตาดา พระเนตรขาว – ตาขาว (๑) ราชาศัพท์ขอ้ ๑.๒ น้ี ตดั คาว่า พระ ออก หากใช้กบั หม่อมเจ้า (๒) อา่ นวา่ พรฺ ะ-ส-ิ รดั -ถิ มาจากพระบาลมี หาสติปัฏฐานสตู ร คาทลี่ งทา้ ย ฐิ ต้องอา่ นออกเสยี งว่า ถิ ทกุ คา (๓) อ่านว่า พรฺ ะ-สี-สะ-กะ-ตา-หะ ๔๕ 45

รเฉาลชิมาพศระพั เกทียร์ ตเิ นื่องในโอกาสมหามงคลพระราชพธิ ีบรมราชาภิเษก พทุ ธศกั ราช ๒๕๖๒ เฉลมิ พระเกียรตเิ นือ่ งในโอกาสมหามงคลพระราชพธิ บี รมราชาภิเษก พุทธศักราช ๒๕๖๒ ราชาศพั ท์ ความหมาย พระกนนี ิกา, พระเนตรดารา – แก้วตา หนังพระเนตร, หลังพระเนตร – หนงั ตา, เปลือกตา, หลงั ตา พระโลมจักษุ(๑), ขนพระเนตร – ขนตา ขอบพระเนตร – ขอบตา มา่ นพระเนตร – ม่านตา ต่อมพระเนตร – ต่อมนา้ ตา, ท่อน้าตา พระอสั สุธารา, พระอสั สุชล, น้าพระเนตร – นา้ ตา พระนาสกิ , พระนาสา – จมกู สนั พระนาสกิ , สันพระนาสา – สนั จมูก ช่องพระนาสกิ – ชอ่ งจมูก พระโลมนาสิก(๒), ขนพระนาสกิ – ขนจมูก พระปราง – แกม้ พระกาโบล, กระพงุ้ พระปราง – กระพุ้งแกม้ พระมัสสุ – หนวด พระทาฐิกะ, พระทาฒิกะ – เครา, หนวดทค่ี าง พระโอษฐ์ – ปาก พระตาลุ, เพดานพระโอษฐ์ – เพดานปาก พระทนต์ – ฟนั พระทนั ตมงั สะ, พระทนั ตมังสา – เหงือก ไรพระทนต์ – ไรฟนั พระทาฐะ, พระทาฒะ – เขี้ยว พระกราม(๓) – ฟันกราม (๑) (๒) อ่านวา่ พฺระ-โล-มะ-จัก-สุ ฟันกราม ในหนังสือ สสกฤต-ไท-อังกฤษ ของร้อยเอก หลวงบวรบรรณรักษ์ (๓) อา่ นวา่ พรฺ ะ-โล-มะ-นา-สิก พบคาว่า พระทังษฎรา หมายถึง (นยิ ม รักไทย) ๔๖ 46

ราชาศัพท์ เฉลมิ พระเกยี รติเนอื่ งในโอกาสมหามงคลพระราชพิธีบรมราชาภิเษก รพาทุ ชธศาักศราัพชท๒์๕๖๒ พระชวิ หา เฉลิมพระเกียรติเนอ่ื งในโอกาสมหามงคลพระราชพธิ ีบรมราชาภเิ ษก พุทธศักราช ๒๕๖๒ ความหมาย – ลิ้น – ตน้ ลิ้น,(๑) ล้นิ ไก่,(๒) โคนล้นิ ต้นพระชิวหา, มลู พระชิวหา พระหนุ(๓) – คาง ต้นพระหนุ – ขากรรไกร, ขากรรไตร, ขาตะไกร พระกรรณ – หู, ใบหู ชอ่ งพระโสต, ชอ่ งพระกรรณ – ช่องหู พระศอ – คอ ลาพระศอ – ลาคอ พระกณั ฐมณี – ลกู กระเดือก พระชตั ต(ุ ๔) – คอต่อ พระรากขวญั – ไหปลาร้า พระอังสา – บา่ , ไหล่ พระอังสกุฏ – จะงอยบา่ พระพาหา, พระพาหุ – แขน (ตั้งแตไ่ หลถ่ งึ ขอ้ ศอก) พระกร – ปลายแขน (ตั้งแต่ขอ้ ศอกถงึ ข้อมอื ) พระกปั ระ(๕), พระกโประ – ศอก, ข้อศอก พระกัจฉะ – รักแร้ พระกัจฉโลมะ(๖), พระโลมกจั ฉะ(๗) – ขนรกั แร้ พระหัตถ์ – มอื ข้อพระกร, ขอ้ พระหัตถ์ – ข้อมอื ฝา่ พระหตั ถ์ – ฝา่ มอื หลังพระหัตถ์ – หลังมือ (๑)-(๒) จดหมายเหตุรัชกาลท่ี ๒ เล่ม ๓ จุลศักราช ๑๑๗๑-๑๑๗๔ หน้า ๖๑ ระบุว่า “พระบุพพชิวหา” ว่า “ต้นลิ้น คือ ล้ินไก่” (๓) อา่ นวา่ พรฺ ะ-หะ-นุ (๔) จาก อภิธานัปปทปี ิกาฯ หรือพจนานุกรมภาษาบาลแี ปลเปน็ ไทย ของพระเจา้ วรวงศ์เธอ กรมหลวงชินวรสริ วิ ฒั น์ สมเด็จพระสังฆราชเจา้ (๕) อา่ นว่า พรฺ ะ-กบั -ปะ-ระ (๖) อ่านวา่ พฺระ-กดั -ฉะ-โล-มะ (๗) อา่ นวา่ พรฺ ะ-โล-มะ-กดั -ฉะ 4๗ 47