Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore ป่าปุ่ง ป่าทาม ภาคอีสาน

Description: ป่าปุ่ง ป่าทาม ภาคอีสาน

Search

Read the Text Version

ส�ำนกั งานหอพรรณไม้ ส�ำนักวจิ ัยการอนุรกั ษป์ ่าไม้และพันธ์พุ ืช กรมอุทยานแห่งชาติ สตั ว์ปา่ และพันธ์พุ ชื

2 ป่าบุง่ ปา่ ทาม ภาคอสี าน ป่ าบุ่งป่ าทาม ภาคอีสาน จดั พมิ พโ์ ดย สำ� นักงานหอพรรณไม้ ส�ำนกั วจิ ยั การอนรุ กั ษ์ป่าไม้และพนั ธุพ์ ืช กรมอุทยานแหง่ ชาติ สัตว์ป่า และพนั ธพุ์ ืช ทีป่ รกึ ษา ธัญญา เนติธรรมกุล อธิบดกี รมอทุ ยานแห่งชาติ สัตวป์ ่า และพนั ธ์พุ ชื เฉลิมชยั ปาปะทา รองอธบิ ดกี รมอทุ ยานแห่งชาติ สตั วป์ า่ และพันธุพ์ ชื จงคลา้ ย วรพงศธร รองอธบิ ดีกรมอุทยานแห่งชาติ สตั วป์ า่ และพันธ์พุ ชื ปิ่นสกั ก์ สรุ สั วดี รองอธิบดกี รมอทุ ยานแหง่ ชาติ สตั วป์ า่ และพันธ์ุพชื ธนติ ย์ หนยู ิม้ ผอู้ �ำนวยการสำ� นักวจิ ัยการอนุรักษป์ ่าไมแ้ ละพันธุ์พืช พงษศ์ ักดิ์ พลเสนา หัวหนา้ ส�ำนกั งานหอพรรณไม้ ผู้เรียบเรียง มานพ ผพู้ ฒั น ์ ปรชี า การะเกตุ ขวัญใจ คำ� มงคล ศรณั ย์ จริ ะกร ภาพ ปรชี า การะเกต ุ นัยนา เทศนา มานพ ผพู้ ัฒน์ เสกสรร ไกรทองสุข วทิ วสั เขยี วบาง นนท์ เขยี วหวาน ออกแบบและจัดรูปเลม่ : ปรชี า การะเกตุ ภาพวาดปก : อรทัย เกิดแก้ว, ภาพวาดสีไม้ : ธญั ลักษณ์ สนุ ทรมฏั ฐ์ (ครูกงุ้ ) พมิ พ์ครั้งที่ 1 , ธันวาคม 2561, จำ� นวน 500 เล่ม (หนังสอื เผยแพร่ หา้ มจำ� หน่าย) พมิ พท์ ่ี : บริษัท ประชาชน จำ� กัด, 35 ซอยพพิ ฒั น์ ถนนสีลม แขวงสีลม เขตบางรัก กรงุ เทพฯ 10500 อา้ งองิ มานพ ผูพ้ ัฒน,์ ปรชี า การะเกต,ุ ขวัญใจ คำ� มงคล และศรณั ย์ จิระกร. 2561. ป่าบุง่ ปา่ ทาม ภาคอสี าน. สำ� นกั งานหอพรรณไม้, กรมอุทยานแหง่ ชาติ สตั ว์ป่า และพนั ธ์ุพชื , กรงุ เทพฯ. ดาวน์โหลดหนังสอื ไฟล์ PDF ได้ฟรีที่ : http://www.dnp.go.th/botany/detail.html?menu=herbariumThai_archives ขอ้ มลู ทางบรรณานกุ รมของหอสมดุ แห่งชาติ ปา่ บุ่งป่าทาม ภาคอสี าน.-- กรงุ เทพฯ : ส�ำนกั งานหอพรรณไม้, กรมอทุ ยานแห่งชาติ สัตวป์ ่า และพันธพ์ุ ืช, กระทรวง ทรัพยากรธรรมชาตแิ ละส่งิ แวดลอ้ ม, 2561. 500 หน้า. 634.9 ISBN : 978-616-316-493-3

ปา่ บุ่งปา่ ทาม ภาคอสี าน 3 ค�ำน�ำ ป่าบ่งุ ปา่ ทาม เป็นระบบนเิ วศธรรมชาตทิ ่หี าได้ยากในปจั จบุ นั ดว้ ยตง้ั อย่ใู กล้ชุมชนและเปน็ พื้นท่ี เหมาะสมตอ่ การทำ� นา ในอดีตคาดวา่ ประเทศไทยเคยมีปา่ ประเภทนป้ี ระมาณ 4 ลา้ นไร่ แตป่ จั จุบันเหลอื อยไู่ ม่เกิน 150,000 ไร่ โดยประมาณร้อยละ 90 พบอยู่ในภาคตะวันออกเฉียงเหนอื ส�ำหรับพน้ื ที่อนุรักษ์ ในความดูแลของกรมอทุ ยานแห่งชาติ สตั ว์ปา่ และพันธ์พุ ชื ท่มี พี นื้ ที่บางส่วนเปน็ ระบบนเิ วศป่าบุ่งป่าทาม ให้ได้ศึกษามอี ยู่น้อยมาก เพียง 5 แห่งเท่าน้ัน ไดแ้ ก่ เขตห้ามล่าสตั วป์ ่าหนองท่งุ ทอง จงั หวดั สุราษฎร์ธานี สวนพฤกษศาสตร์พนางตงุ จังหวัดพัทลงุ วนอุทยานนครไชยบวร จงั หวดั พิจิตร วนอุทยานชีหลง และวนอุท- ยานโกสัมพี จังหวัดมหาสารคาม ซึง่ การอนุรักษค์ วามหลากหลายทางชีวภาพตามหลกั วชิ าการน้นั ควรท่ี จะปกปอ้ งพน้ื ท่ีทางธรรมชาตไิ ว้เป็นแหลง่ พนั ธุกรรมพืชและสตั วส์ ายพนั ธท์ุ อ้ งถิ่นของไทย ให้กระจายท่วั ทุก เขตชีววทิ ยาภมู ิศาสตร์ (biogeographic regions) หรือกระจายใหค้ รอบคลุมตามลุม่ น�้ำท่ีพบระบบนิเวศนน้ั ระบบนิเวศปา่ บ่งุ ป่าทามจงึ ยงั มคี วามจ�ำเป็นต้องไดร้ ับการอนุรักษ์ไวอ้ กี จำ� นวนมาก สถานภาพของพน้ื ทปี่ า่ บงุ่ ป่าทามในปัจจบุ ันนัน้ ส่วนใหญ่อยูใ่ นสภาพเสอ่ื มโทรม มพี ื้นท่เี หลืออยู่น้อย มาก และอยกู่ ระจดั กระจายเปน็ หยอ่ มขนาดเลก็ ตามพ้ืนทีส่ าธารณะประโยชนห์ รอื ที่ดินรกร้างทีเ่ คยมกี ารเขา้ ครอบครองมากอ่ น จึงเปน็ เรือ่ งยากท่ีกรมอุทยานแหง่ ชาติ สตั วป์ ่า และพันธ์พุ ชื จะเข้าไปดูแลได้อย่างทัว่ ถงึ อยา่ งไรก็ตาม การท่จี ะอนรุ ักษ์พืน้ ทีป่ ่าบุ่งป่าทามท่เี หลืออยู่เพยี งนอ้ ยนดิ จงึ มคี วามจำ� เปน็ ทีจ่ ะตอ้ งอาศยั ความ ร่วมมอื จากประชาชนไดแ้ สดงความมสี ่วนร่วมตอ่ การดูแลพืน้ ทป่ี า่ ไม้ ซึ่งถือเป็นหัวใจส�ำคัญอย่างยิง่ ต่อการ อนุรักษป์ า่ ไมไ้ วไ้ ดอ้ ย่างย่ังยืน คณะผู้เรียบเรียงได้รวบรวมขอ้ มลู ด้านนิเวศวิทยา การใช้ประโยชน์ และพรรณไมท้ ส่ี �ำคัญของป่าบุ่ง ปา่ ทาม ท่ีไดศ้ กึ ษามาในพื้นทีภ่ าคตะวันออกเฉยี งเหนอื ระหวา่ งปี พ.ศ. 2558-2561 ถอื ได้วา่ เปน็ เอกสารที่ เป็นประโยชนอ์ ยา่ งมาก ส�ำนักวิจยั การอนุรักษป์ า่ ไมแ้ ละพันธ์พุ ืช จึงไดจ้ ัดพมิ พ์เปน็ หนังสอื ข้นึ มาเพือ่ เผยแพร่ ต่อประชาชน นักเรยี น นักศึกษา และชุมชนในทอ้ งถน่ิ ทยี่ ังเหลือพน้ื ที่ปา่ บงุ่ ปา่ ทามอยู่ ไดใ้ ช้ศกึ ษาด้านระบบ นเิ วศปา่ ด้านพรรณไม้ และด้านการใช้ประโยชนจ์ ากพรรณพืชทีส่ บื ทอดตอ่ กนั มาจากบรรพบรุ ษุ ให้เกดิ ความ เขา้ ใจต่อความเป็นไปของธรรมชาติ และทรัพยากรพรรณพืชที่มอี ยู่ได้เปน็ อยา่ งดี แลว้ สามารถน�ำไปใชด้ แู ล รักษาพื้นทีป่ ่าไมต้ ่อไปได้ (นายธนติ ย์ หนูยิม้ ) ผู้อำ� นวยการสำ� นักวิจยั การอนรุ ักษ์ป่าไม้และพนั ธพุ์ ชื กรมอุทยานแห่งชาติ สตั ว์ป่า และพนั ธพ์ุ ืช

4 ปา่ บุ่งป่าทาม ภาคอีสาน ค�ำปรารภ การต้งั ถน่ิ ฐานของบรรพบุรุษชาวไทยไมว่ า่ จะอยู่ในภูมภิ าคใดก็ตามนิยมเลือกพนื้ ทีร่ าบรมิ แมน่ ำ้� ล�ำธารในการตัง้ บ้านเรอื น ชุมชน แลว้ ขยายตัวจนเปน็ เมอื งขนาดใหญ่จนถงึ ทกุ วันนี้ เนื่องจาก ความอุดมสมบูรณ์ของทรัพยากรธรรมชาตติ ่างๆ อย่างมากมายต่อการดำ� รงชวี ิต อาทิ การสญั จรไป มาทางน้ำ� มีนำ�้ กนิ น้�ำใช้ อาหารจากสตั ว์น�้ำ พชื ผกั ยาสมนุ ไพร ไมใ้ ชส้ อยสร้างบ้านเรอื น ต่อเรอื ตอ่ รถ หรือต่อเกวยี น ลว้ นสามารถหาได้จากป่าตามรมิ น้ำ� นอกจากนีพ้ ้นื ทรี่ ิมน้�ำยังมีความอุดมสมบรู ณ์ของ ดินตะกอนท่ีถูกน้ำ� พัดพามาพรอ้ มกับแร่ธาตุอันเปน็ ปยุ๋ ทด่ี ีแกก่ ารเพาะปลูก ปา่ บุ่งป่าทามเปน็ ปา่ ไมป้ ระเภทหน่ึงในเขตท่รี าบล่มุ ใกล้แมน่ ำ้� ลำ� ธาร ทมี่ นี �้ำท่วมยาวนานเป็น ประจำ� ทุกปี ในอดตี ปรากฏอยทู่ ่ัวประเทศ พบมากในภาคกลางและภาคตะวันออกเฉียงเหนือ (ภาค อสี าน) ปจั จุบันในภาคกลางแทบจะไม่เหลอื ป่าชนิดน้ีอยู่อกี แล้ว สำ� หรบั ในภาคอสี านยังพบได้ แต่มี จำ� นวนนอ้ ยมากและขาดผเู้ หลียวแล ป่าบุ่งปา่ ทามเปน็ ปา่ ทอ่ี ย่ใู กลช้ มุ ชนทตี่ งั้ ถ่นิ ฐานอยู่ในเขตทีร่ าบลุ่ม มากทส่ี ุด ชาวอสี านในเขตนจ้ี ึงมคี วามคุ้นเคย รูจ้ กั ช่ือเรยี กพรรณไม้ต่างๆ และเรยี นรู้ประโยชน์และโทษ ของพืชสงั่ สม สืบต่อกนั มาหลายรนุ่ กระทง่ั สภาพเศรษฐกิจ-สังคมในชว่ งประมาณ 50 ปมี าน้ี มีการเปลย่ี นแปลงไปอยา่ งมาก ป่าไม้และพรรณพชื ทอ้ งถิ่นในธรรมชาตเิ รมิ่ ถกู ทำ� ลายกลายสภาพไปเปน็ พืน้ ทเ่ี กษตรกรรมและชุมชน คนไทยในยุคประเทศก�ำลงั พัฒนาลดการพึง่ พาการใช้ประโยชนจ์ ากพรรณพชื ทอ้ งถนิ่ ลง หันมาปลูกพืช เกษตร ใช้ยารกั ษาโรคจากสารเคมสี งั เคราะห์ หรอื เลอื กใชว้ สั ดอุ ปุ กรณ์ทท่ี �ำมาจากพลาสตกิ และโลหะ องค์ความรู้พ้ืนบ้านทสี่ บื ทอดต่อกนั มาแตโ่ บราณจงึ ก�ำลงั คอ่ ยเลือนหายไป ในฐานะทีเ่ ป็นนกั วิจัยภาย ใตห้ น่วยงานที่ดูแลความหลากหลายทางชีวภาพของพันธุพ์ ชื พนั ธส์ุ ตั วป์ า่ และระบบนิเวศธรรมชาติ จึงเปน็ ที่มาของโครงการวจิ ัยในช่อื เรอื่ ง “การใช้ประโยชน์พรรณไมจ้ ากระบบนิเวศปา่ บงุ่ ปา่ ทาม ใน ภาคตะวนั ออกเฉยี งเหนือของประเทศไทย” ท่ดี ำ� เนินการระหว่างปี พ.ศ. 2558-2561 โดยการเกบ็ ข้อมูลมงุ่ ส�ำรวจองค์ความรู้ด้านการใชป้ ระโยชน์จากพรรณไมใ้ นปา่ บุ่งปา่ ทามดว้ ยการสมั ภาษณจ์ าก ชาวบา้ นท่ีอาศัยอยู่รอบปา่ ไปพรอ้ มกับการศกึ ษาความหลากหลายของชนิดพนั ธพ์ุ ชื การศึกษานยี้ ังได้ ส�ำรวจข้อมลู นิเวศวทิ ยาบางอยา่ ง เพ่อื ท�ำการบรรยายสงั คมพชื ปา่ บ่งุ ปา่ ทาม ตลอดจนมีการเกบ็ ขอ้ มูล สภาพปญั หาและปจั จยั ที่กำ� ลังคกุ คามต่อความอุดมสมบูรณข์ องปา่ อกี ดว้ ย เพอื่ ทีจ่ ะทราบสาเหตแุ ละ เสนอแนวทางอนุรักษป์ า่ บงุ่ ปา่ ทามใหค้ งอยู่ และถกู ฟน้ื ฟูให้กลบั มาอุดมสมบูรณด์ งั เชน่ ในอดีต

ป่าบุ่งปา่ ทาม ภาคอีสาน 5 หนงั สือเล่มนีไ้ ดน้ ำ� ข้อมลู ส่วนหนง่ึ ของผลงานวจิ ยั เร่อื งดังกล่าวออกมาเผยแพร่ คณะผเู้ รยี บ- เรียงพยายามเลือกใชส้ �ำนวนการเขยี นท่ไี ม่เปน็ ทางการมาก พรอ้ มการยกตวั อย่าง และแสดงภาพ ประกอบ เพอื่ ให้ประชาชนท่วั ไปอา่ นเข้าใจได้งา่ ย จึงอาจจะมคี �ำศัพทห์ รือรปู แบบการเขยี นบางส่วน ไม่ตรงตามค�ำศพั ท์พฤกษศาสตรข์ องส�ำนักงานราชบณั ฑิตยสภา โดยเฉพาะในเนอ้ื หาการบรรยาย ลกั ษณะของพรรณพชื แตอ่ ย่างไรกต็ ามคณะผู้เรียบเรยี งต้องขออภัยทา่ นผูอ้ า่ นด้วย เนื่องจากลกั ษณะ ของพืชบางอย่างทจ่ี �ำเป็นตอ่ การจำ� แนกชนิด มรี ายละเอยี ดทีย่ ากต่อการเรยี บเรียงใหเ้ ข้าใจงา่ ย ในแบบกระชับ จงึ มคี วามจำ� เป็นตอ้ งคงค�ำศพั ทใ์ นแบบพฤกษศาสตร์ไว้ส�ำหรับบางคำ� ที่มคี วามหมาย ในตัวเองเขา้ ใจไดด้ แี ลว้ เชน่ ค�ำศัพท์ที่ใช้บรรยายสว่ นประกอบของดอกไม้ รูปรา่ งของใบไม้ และ ลักษณะของเสน้ ขนทขี่ น้ึ ปกคลุม เปน็ ต้น หากผู้อา่ นไมเ่ ข้าใจในเน้ือหาสามารถดูลกั ษณะต่างๆ จาก รูปภาพประกอบ ซงึ่ น่าจะสือ่ สารใหเ้ ข้าใจตรงกันไดด้ ีที่สุด และหวังเป็นอยา่ งยิ่งท่ผี อู้ ่านจะสามารถ ใช้หนังสือเลม่ นีอ้ อกไปเรียนร้พู รรณไม้ในป่าบงุ่ ปา่ ทาม รวมถงึ พรรณไม้บางชนดิ ในเขตที่ราบนำ้� ทว่ ม ถงึ ท่ัวประเทศไทยได้ด้วยตนเอง โดยเฉพาะอย่างยง่ิ ลูกหลานของชาวอีสานผู้ใกลช้ ิดกบั ปา่ บุ่งปา่ ทาม มากทส่ี ุด อาจจะมีผู้ทีส่ นใจนำ� ข้อมลู ในหนังสอื เล่มนไ้ี ปศกึ ษาหาความรูต้ อ่ หรืออาจจะนำ� ไปเปน็ แนวทางช่วยแกไ้ ขปญั หาความเสือ่ มโทรมของปา่ ในชุมชน นนั่ คือความปรารถนาอยา่ งยิ่งของคณะผู-้ เรียบเรยี งที่มีสว่ นร่วมรักษาภมู ิปัญญาท้องถิ่น และสือ่ คณุ ค่าของปา่ บุ่งปา่ ทามให้แก่ประชาชนไดเ้ หน็ ความส�ำคญั และช่วยกนั อนรุ กั ษป์ ่าสืบไป คณะผู้เรียบเรียง

6 ป่าบุ่งป่าทาม ภาคอสี าน วธิ ีการใชห้ นังสือ หนังสือป่าบุ่งป่าทาม ภาคอีสาน แบง่ ออกเปน็ 5 สว่ น ดงั นี้ บทนำ� : ประกอบด้วยการให้ความรู้พืน้ ฐานเกยี่ วกบั ปา่ บุง่ ปา่ ทาม 5 ดา้ น คอื ความหมายและความสำ� คญั ขอ้ มลู พนื้ ฐานทางกายภาพล่มุ น�้ำ การกระจายตวั ของป่า สังคมพืช การใช้ประโยชน์พรรณไม้ (แบบสรปุ ) และการ อนรุ ักษ์ปา่ การบรรยายชอ่ื พชื ในสว่ นน้ีจะใช้ชอ่ื ท้องถิน่ อีสานเปน็ หลัก เนอื่ งจากพชื จ�ำนวนมากพบเฉพาะในภาค อีสาน และมกี ารเรยี กไดห้ ลายชื่อ ผู้อ่านสามารถคน้ หาชือ่ วิทยาศาสตรห์ รอื ชื่อราชการได้จากตารางบัญชีรายชอ่ื พชื ทพี่ บท้ังหมดในป่าบงุ่ ป่าทาม จากภาคผนวกทา้ ยเลม่ พรรณไม้ : เป็นสว่ นของการบรรยายรายละเอียดพรรณไมจ้ �ำนวน 167 ชนดิ ทค่ี ดั เลือกมาจากบญั ชี รายชือ่ ท้งั หมดท่ีศกึ ษาพบ 232 ชนิด โดยมเี กณฑ์การคดั เลือกจากพชื ท่ีพบได้ง่ายท่ัวไปและค่อนข้างขน้ึ ได้เฉพาะกบั ระบบนเิ วศปา่ บงุ่ ปา่ ทาม พชื ท่ีมกี ารใช้ประโยชน์ พชื หายาก และพชื ต่างถน่ิ ทมี่ นี สิ ัยเป็นวัชพชื แพร่ระบาดสร้างปญั หา ตามล�ำดบั โดยจดั เรียงลำ� ดับเลขหน้าตามช่อื วงศ์ (family) ชื่อสกลุ (genus) และช่อื ชนิด (species) ในเนอื้ หาแต่ละชนิดจะใช้ ช่อื ทอ้ งถนิ่ อีสาน ทมี่ ผี ้ใู ชเ้ ป็นจำ� นวนมาก เปน็ ช่ือแรกในการนำ� เสนอ (ผู้ท่ี ทราบชอ่ื ทอ้ งถนิ่ อ่นื หรือ ชือ่ ราชการ สามารถค้นหาเลขหนา้ ที่แสดงรายละเอียดไดจ้ ากดชั นีชอ่ื ท้องถนิ่ ในภาคผนวก ท้ายเล่ม พร้อมกบั ตรวจสอบเทยี บรูปภาพและคำ� บรรยายใหถ้ กู ต้องตรงกนั ) ตามด้วย ชื่อทอ้ งถิน่ อน่ื (ชอ่ื ท่ขี ดี เส้น ใตใ้ นหัวข้อน้ีหมายถงึ ช่ือทถ่ี กู ยกขน้ึ มาใช้เปน็ ชื่อราชการ) ชื่อวทิ ยาศาสตร์ ชื่อวงศ์ ชื่อพอ้ ง (ช่อื วทิ ยาศาสตร์เดิม) คำ� บรรยายลกั ษณะทางสณั ฐานวิทยาท่ีสำ� คญั (ตวั อกั ษรดำ� หนาคือลกั ษณะเดน่ ทีค่ วรจดจำ� และใช้ในการจ�ำแนก ความแตกตา่ ง) ถิ่นอาศยั (พรอ้ มฤดกู าลออกดอกติดผล) และ การกระจายพนั ธ์ุ (จะกล่าวถงึ การกระจายพนั ธ์ุพืช ตามภูมภิ าคในประเทศไทยทีแ่ บง่ แบบ 6 ภูมิภาคทางภมู ศิ าสตร)์ และสดุ ทา้ ยด้วยเนือ้ หา การใชป้ ระโยชน์ (มีการใส่ หมายเลขการอา้ งอิงไวใ้ นเคร่ืองหมายวงเล็บใหส้ ามารถสืบหาท่มี าของข้อมลู ไดจ้ ากทำ� เนียบผูใ้ ห้ขอ้ มูลที่ปรากฏอยูใ่ น สว่ นบรรณานุกรม) “ขอ้ มูลการใชป้ ระโยชน์ได้มาจากการสมั ภาษณช์ าวบา้ นในแตล่ ะท้องถ่นิ ผูอ้ ่านทีต่ ้องการน�ำ ไปใชป้ ระโยชน์ต่อควรศกึ ษาข้อมลู โดยละเอียดและใช้วจิ ารณญาณในการตดั สินใจดว้ ยตนเอง” ภาคผนวก : ประกอบด้วย ดัชนีช่ือท้องถิ่น ดัชนชี ่ือวทิ ยาศาสตร์ และตารางบัญชีรายชอ่ื พชื ทพี่ บทง้ั หมดใน ป่าบ่งุ ป่าทาม จำ� นวน 232 ชนดิ บรรณานกุ รม : ประกอบดว้ ย เอกสารอา้ งอิง และ ท�ำเนียบผใู้ หข้ ้อมลู (ผใู้ หข้ อ้ มลู จากการสมั ภาษณ์การ ใช้ประโยชนม์ ที งั้ สิ้น 27 ชมุ ชน จาก 88 คน) คำ� ขอบคณุ : แด่ผทู้ ี่มสี ่วนรว่ มส�ำคัญตอ่ การสนบั สนุนให้เกิดหนงั สอื เลม่ น้ขี ้นึ มา

ปา่ บุง่ ปา่ ทาม ภาคอสี าน 7 สารบญั บทน�ำ 9 ความหมายและความส�ำคัญ 11 ข้อมลู พน้ื ฐานทางกายภาพล่มุ น้ำ� 20 ภมู ิศาสตร์ 20 ฤดนู ำ�้ หลาก 24 การกระจายตวั ของป่าบ่งุ ป่าทาม 26 สงั คมพชื 38 ปัจจยั ส่ิงแวดลอ้ มท่ีมอี ิทธพิ ลต่อการกำ� หนดสงั คมพชื 39 ลักษณะพรรณไม้ 42 โครงสรา้ งป่า 47 การใช้ประโยชน์พรรณไม้ 59 การอนุรักษป์ า่ 66 สถานการณป์ ่าไม้ 66 ปจั จยั คุกคาม 67 ขอ้ เสนอแนะแนวทางการอนรุ กั ษ์ 71 77 พรรณไม้ (167 ชนดิ ) 429 ภาคผนวก ดชั นชี ่อื ท้องถ่นิ 430 ดชั นีช่อื วทิ ยาศาสตร์ 448 ดัชนกี ารใชป้ ระโยชน์ 452 ตารางบัญชีรายชอ่ื พชื ท้ังหมด 456 467 บรรณานุกรม เอกสารอา้ งองิ 468 ท�ำเนียบผ้ใู หข้ ้อมูล 476 499 ค�ำขอบคุณ

ปา่ บุ่งปา่ ทาม ลำ� เซบาย อำ� เภอค�ำเขื่อนแก้ว จงั หวัดยโสธร

บทนำ�

10 ปา่ บุ่งป่าทาม ภาคอสี าน

ป่าบ่งุ ปา่ ทาม ภาคอีสาน 11 ความหมายความสำ� คญั ปา่ บงุ่ ปา่ ทาม (Lowland floodplain forest) ) ทาม เป็นคำ� ในภาษาไทลาว ในภาคตะวนั ออก หรอื ในช่ือทางราชการวา่ ปา่ บงึ นำ้� จืด (Freshwater เฉียงเหนือ (ภาคอีสาน) ตรงกบั ค�ำวา่ “ระนาม” ใน swamp forest) เปน็ คำ� ในภาษาไทยถิ่นอีสาน นำ� มาใช้ ภาษาไทโคราช และ “ระเนยี ม” ในภาษาเขมรอีสานใต้ เรยี กสงั คมพืชชนิดหนึ่งท่ปี กคลมุ พน้ื ทีบ่ ุ่งทาม ซ่งึ มนี ้�ำ หมายถงึ บริเวณพ้นื ท่รี าบ-คอ่ นข้างราบ ทง้ั สองขา้ งล�ำน�ำ้ ท่วมซ�ำ้ ซากยาวนานทุกๆ ปี สังคมพืชนไ้ี มจ่ ำ� เป็นต้องมี ทมี่ นี ำ�้ ท่วมขงั ยาวนานเฉพาะในฤดูนำ้� หลาก พื้นท่ที ามจะ เฉพาะปา่ ไมป้ กคลมุ เทา่ น้นั แต่ยงั รวมถงึ สังคมพชื ในบงึ ถูกน�ำ้ ท่วมทกุ ปใี นช่วงฤดนู ้ำ� หลากลน้ ตล่งิ ยาวนาน 1-3 ทุ่งหญา้ หรอื ไม้พมุ่ ท่ขี ้ึนในพ้ืนที่ล่มุ ชื้นแฉะเข้าไวด้ ว้ ยกนั เดอื น ความสูงของระดบั นำ�้ ในทาม 1-5 เมตร น�้ำจะเรมิ่ โดยสภาพภมู ิประเทศแบบ พ้ืนท่บี งุ่ ทาม (lowland หลากในชว่ งกลาง-ปลายฤดูฝน และลดลงตำ่� กว่าตลิง่ floodplain) จัดวา่ เป็นภูมิประเทศหนึง่ ในเขต ที่ราบน�ำ้ ประมาณตน้ ฤดูหนาว หลงั จากนั้นทามจะแหง้ มเี พยี ง ทว่ มถงึ (floodplain) ที่มพี ้นื ท่ลี ุ่มต่�ำกว่าส่วนอน่ื ๆ และมี น�้ำขงั อยตู่ ามบงุ่ เทา่ น้นั บริเวณทามจะถกู ปกคลมุ ด้วย รอ่ งรอยทางน้ำ� เปลย่ี นทิศเปน็ จ�ำนวนมาก จึงเกิดน�้ำท่วม ปา่ ไมท้ ่ีเป็นพรรณไมต้ น้ ไม้พ่มุ และเถาวลั ย์ทที่ นทาน ได้งา่ ยเป็นประจ�ำมากกว่าทีร่ าบนำ้� ท่วมถงึ ส่วนอ่นื ๆ ทอ่ี ยู่ ตอ่ น�้ำทว่ มไดด้ ี เรียกว่า “ป่าทาม” “ปา่ ระนาม” หรอื ระดับสงู ขนึ้ ไป “ไปรระเนยี ม” สำ� หรบั รายละเอยี ดของระบบนเิ วศป่า บุง่ เป็นค�ำในภาษาไทลาวและไทกลางบางทอ้ งถ่ิน ชนดิ น้จี ะได้กล่าวในลำ� ดับตอ่ ไป หมายถงึ แหลง่ นำ้� ในพื้นทล่ี ุ่มต�ำ่ หรอื พ้นื ท่ีแอง่ กระทะทม่ี ี ปา่ บงุ่ ป่าทามมกี ระจายอยูท่ ัว่ ภาคอีสาน ตามรมิ น้�ำทว่ มขงั เกอื บตลอดปี หรือตลอดปกี ็ได้ ในความหมาย แม่น้�ำและลำ� ห้วยสาขาทีม่ นี ้�ำทว่ มซำ้� ซากและยาวนาน เดียวกันคือ บงึ หรือ หนอง พืน้ ทบ่ี งุ่ ในทางปา่ ไม้ยงั รวม เชน่ แม่น้ำ� มลู แม่น�้ำชี แม่นำ้� สงคราม ห้วยน้�ำโมง ห้วย ไปถึงแหลง่ นำ�้ ตามธรรมชาติชนดิ ต่างๆ ในเขตที่ราบนำ�้ นำ้� ก่ำ� ลำ� เซบาย เป็นต้น ในอดีตประมาณว่าเคยมปี า่ ท่วมถึง ซ่งึ จะถูกปกคลมุ ด้วยพืชนำ�้ ล้มลุก หญ้า และกก บ่งุ ปา่ ทามในภาคอีสานถงึ ประมาณ 4 ล้านไร่ แต่ เราเรียกว่า “สังคมพืชในบึง” หรอื “ป่าบุง่ ” ปัจจบุ ันเปลีย่ นสภาพไปเป็นพน้ื ที่ถูกจบั จองท�ำนา

12 ปา่ บุ่งปา่ ทาม ภาคอีสาน ปลูกยคู าลปิ ตสั เหมืองดดู ทราย ขุดบ่อดนิ จนเหลอื อยู่ กะสนิ /รวงผึง้ ประมาณ 1.5 แสนไร่ ป่าท่ีเหลืออยู่ส่วนใหญ่มีสภาพเป็น ป่าเส่ือมโทรม ถกู ตัดไมใ้ หญอ่ อกไป และมกี ารเล้ียงสัตว์ และ เขทาม (Maclura thorelii) พชื ท้งั 3 ชนดิ พบใน มากจนเกนิ ไป ขาดผูเ้ หลยี วแลเอาใจใส่ ดว้ ยสถานภาพ ลุม่ น�้ำสงคราม ซึง่ พบเพยี งไม่กต่ี น้ ยกเวน้ ยอพญาไม้ เปน็ ท่สี าธารณะประโยชน์ที่ใครๆ ก็เขา้ มาใช้ประโยชน์ (Morinda nana) พบมากแต่พบเฉพาะในลุ่มน�ำ้ สงคราม จนแทบจะไม่เคยเหน็ ว่าปา่ บุ่งป่าทามทีม่ ีสภาพอุดมสมบูรณ์ ตอนล่างเท่านัน้ พรรณไมบ้ างชนดิ ชาวอีสานพบเหน็ ที่แท้จริงเปน็ เชน่ ไร บางคนมองวา่ ป่าบงุ่ ป่าทามเปน็ ไดท้ ่ัวไป หรอื กนิ เปน็ อาหารได้ แตน่ า่ ประหลาดใจ เพียงพื้นท่ีรกร้างท่ีมีไมไ้ ผ่ ไมพ้ ่มุ เถาวัลย์รก หรอื เปน็ ท่งุ สำ� หรับนกั พฤกษศาสตร์ทชี่ นดิ เหล่าน้นั มีความสำ� คัญ หญ้าเล้ยี งสตั ว์ อกี ทั้งมีน้�ำท่วมซ้ำ� ซากยากที่ต้นไม้ใหญ่ เปน็ พชื ถนิ่ เดียวของภาคอสี าน (endemic species จะเจรญิ เติบโตข้ึนมาเป็นปา่ หนาแนน่ ไดเ้ ช่นปา่ บกทั่วๆ of Northeastern Thailand) หรืออาจพบเข้าไปใน ไป นน่ั ไม่ผิดอะไรสำ� หรับความเห็นของคนทีอ่ ายนุ อ้ ยกว่า ฝง่ั ลาวใกลช้ ายแดนไทยอีกด้วย เช่น เปอื ยนำ้� สงคราม 50 ปีลงมา ท่ีเหน็ สภาพปา่ เปน็ แบบน้ีมาตั้งแตจ่ ำ� ความ (Lagerstroemia spireana), มันแซง (Dioscorea ได้ แลว้ ความเปน็ จรงิ ปา่ บ่งุ ป่าทามท่สี มบรู ณค์ วรจะเป็น oryzetorum), อินถวานอ้ ย (Kailarsenia lineata), อยา่ งไร ในความเห็นของผ้เู ขียน ? ทา่ นผ้อู า่ นสามารถ และ ตนี จ�้ำ (Ardisia aprica) นอกจากนย้ี งั พบว่าตน้ คน้ หาความจรงิ ไดโ้ ดยลองเดินเขา้ ไปในป่าบุ่งปา่ ทามแล้วจะ แสงคำ� ทาม (Terminalia sp.) และ ปอทาม (Colona พบว่ามีกลา้ ไม้และตอไมต้ ้นท่แี ตกแขนงจ�ำนวนมากรอการ sp.) เป็นพืชชนิดใหม่ของโลกทรี่ อการตพี ิมพอ์ ย่างเปน็ ฟนื้ ฟขู ึ้นมาเป็นไม้ใหญ่ ต้นไมเ้ หล่านเ้ี ราเคยเห็นทว่ั ไปตาม ทางการ ซึง่ พบเฉพาะในเขตล่มุ น้ำ� สงครามเท่านนั้ อกี ดว้ ย ท้องทงุ่ นาในเขตท่ีราบนำ�้ ท่วมถงึ เกือบท่ัวประเทศไทย วา่ ธรรมชาตขิ องมนั มคี วามสูงและตน้ ใหญไ่ ด้แคไ่ หน หรือทา่ น การพบพืชส�ำคญั จ�ำนวนมากในปา่ บุ่งป่าทามเช่นนี้ ทเ่ี คยไปเทยี่ วโตนเลสาบ ประเทศกมั พูชา ก่อนทเี่ รือจะเขา้ แสดงให้เหน็ ความส�ำคัญของระบบนิเวศท่ีมคี วามเฉพาะ เขตพน้ื น�ำ้ กว้างใหญเ่ ราจะล่องเรอื ผา่ นป่าทีม่ ีเรือนยอดทบึ ตวั หากยังไมม่ กี ารอนรุ กั ษป์ า่ นไี้ ว้ ประเทศไทยคงต้อง หนาแนน่ สงู 7-15 ม สภาพคลา้ ยป่าชายเลน น่นั เองคือ สญู เสียความหลากหลายทางชีวภาพอีกเป็นจ�ำนวนมาก ป่าบงุ่ ป่าทามที่สมบรู ณ์ทปี่ ระเทศไทยเคยมี และตามมาดว้ ยการเสียความสมดุลของธรรมชาตติ อ่ ไป พรรณไม้ในปา่ บงุ่ ปา่ ทามมี 232 ชนดิ จากการศกึ ษาน้ี ประมาณ 30 % (ไมร่ วมพชื น้�ำ) เปน็ พืชที่มวี วิ ฒั นาการ มาค่กู บั ระบบนิเวศทม่ี ีน�้ำทว่ มซ�้ำซาก หรือเรยี กว่ามี ความเฉพาะตัวกบั ระบบนิเวศปา่ บุ่งป่าทาม สว่ นใหญ่ มีการเจริญเตบิ โตรวดเร็ว เพ่อื ยดื ล�ำต้นให้สูงพน้ ระดบั น้ำ� ท่วม ทนตอ่ น�ำ้ ท่วมขังไดน้ าน มผี ลสกุ และงอกต้นกล้าออก มาสมั พนั ธก์ ับฤดนู ้ำ� หลาก-นำ้� ลง กล้าไม้บางชนิดสามารถ ทนทานจมอยใู่ ตน้ ำ้� ได้นานตลอดฤดูกม็ ี พชื บางชนิดเปน็ พืชหายากใกลส้ ญู พนั ธุข์ องประเทศไทย เชน่ กะสนิ /รวงผ้งึ (Schoutenia glomerata subsp. peregrina) ทก่ี �ำลงั นยิ มปลูกกนั มาก แตแ่ ทบจะไมม่ ีใครทราบเลยวา่ เคยมีถน่ิ ก�ำเนิดอย่ใู นป่าบงุ่ ป่าทามในเขตภาคกลาง ท่ีในธรรมชาตไิ ด้ สูญพันธไ์ุ ปเกอื บหมดแลว้ แหน่ ้อย (Cynometra craibii)

ป่าบงุ่ ปา่ ทาม ภาคอีสาน 13 ความเส่ือมถอยของทรัพยากรสัตวน์ ำ�้ และปัญหา สงิ่ แวดลอ้ มท่เี กดิ ขน้ึ ในระบบนเิ วศตามลำ� น้�ำตา่ งๆ ของ ภาคอสี านมหี ลายสาเหตทุ ่เี ก่ยี วพนั กนั อยู่ ทรัพยากร ดนิ น�ำ้ อากาศ ปา่ ไม้ สัตว์ และมนษุ ย์ ตา่ งพ่ึงพาอาศัย กัน การใชป้ ระโยชน์ของมนุษย์ทีม่ ากเกินพอดีตอ่ อตั รา การฟ้นื ฟูตัวเองตามธรรมชาตขิ องทรัพยากรทง้ั 5 ภายใน ลุ่มน้ำ� ภาคอสี าน จงึ แสดงออกมาให้เหน็ ในแบบทเี่ ป็น อยทู่ ุกวันนี้ อย่างน้อยปา่ บงุ่ ปา่ ทามที่เหลอื อยู่ในพื้นที่ สาธารณะประโยชนท์ ย่ี งั ไม่มีการจับจอง ก็ควรจะรกั ษา สภาพปา่ ไว้ แลว้ ดูแลให้ฟนื้ ฟูตัวเองกลบั มาสมบรู ณ์ เหมือนในอดีต เพือ่ ให้ป่าสามารถใหผ้ ลตอบแทนเปน็ บริการด้านสิง่ แวดลอ้ มทด่ี ีตอ่ มนษุ ย์ และยังสัตว์น้�ำได้ กลบั มาอดุ มสมบูรณข์ น้ึ เชน่ กุ้ง หอย ปู ปลา กบ เขยี ด ปอทาม ให้ชาวอสี านได้พ่ึงพาเปน็ อาหารพ้นื บ้านรสชาติถูกปาก ตลอดไปชั่วลูกชว่ั หลาน แสงคำ� ทาม

14 ปา่ บ่งุ ปา่ ทาม ภาคอสี าน ป่าบุ่งปา่ ทามท่ีสมบรู ณร์ อบโตนเลสาบ กมั พูชา, มตี น้ กระโดนนำ้� /จกิ นา ขึ้นอยา่ งหนาแนน่ และสงู ใหญ่

ป่าบุง่ ป่าทาม ภาคอสี าน 15 ปา่ บ่งุ ปา่ ทามในประเทศไทยเกอื บท้งั หมดเป็นปา่ ที่เสอื่ มโทรม ต้นไม้ใหญ่ถกู ตัดเปน็ จำ� นวนมาก เหลือแตไ่ ผ่ ไมพ้ ่มุ และเถาวัลย์ บางแห่งกลายสภาพเปน็ ทร่ี กรา้ ง หรอื พื้นทปี่ ลูกพชื เศรษฐกิจ

16 ป่าบงุ่ ปา่ ทาม ภาคอีสาน ประโยชน์ของปา่ บุ่งป่าทาม ประโยชนท์ างตรง ชาวอสี านจำ� นวนมากอาศยั อยใู่ นเขตที่ราบน�ำ้ ทว่ มถึง 1) อาหารของชุมชน พบพืชประมาณ 70 ชนิด ทใ่ี ช้ ซึง่ มนิ า่ จะมคี นไม่รู้จัก ป่าทามหรอื ป่าบุ่งปา่ ทามอยา่ ง เป็นผกั แนม, 40 ชนดิ ใช้ทำ� อาหารคาว-หวาน, และ 40 แนน่ อน คนทเ่ี คยเข้าไปท�ำมาหากนิ หรือเทยี่ วไปในป่า ชนิด เปน็ ผลไม้ป่า นอกจากนี้ยงั มแี หล่งโปรตีนจากสัตว์ แหง่ นี้ จะต้องได้อะไรติดไม้ติดมอื กลับออกมาทุกคน โดย น้ำ� และสตั ว์บกอีกมากมาย ซ่ึงเป็นทท่ี ราบกันดีอยู่แลว้ เฉพาะแม่บา้ นชาวอสี าน ป่าบงุ่ ป่าทามเปรียบเสมอื น ว่าแหลง่ น�ำ้ ในป่าบงุ่ ปา่ ทามเป็นแหล่งอาศัยของปลาและ ตลาดสดท้ายหม่บู า้ นเปิดรออยูต่ ลอดเวลา มีทง้ั ผกั ปา่ เป็นพนื้ ท่หี าปลาท่สี ำ� คญั มาก พ้ืนบ้านอนั ปลอดสารพิษ ผลไม้ป่ารสแซบ และก้งุ หอย ปู ปลา ทีห่ าไดต้ ลอดท้ังปี น้เี ปน็ สิ่งแรกทีค่ นส่วนใหญ่ 2) พืชสมนุ ไพร มพี ชื ท่ีใชเ้ ปน็ ยาสมุนไพรไดม้ าก นกึ ข้ึนมาได้ เม่อื คิดถงึ ประโยชน์จากการมีป่าบงุ่ ป่าทาม ถงึ 96 ชนิด (จากพืชท่นี ำ� มาสอบถามประมาณ 150 ประโยชน์ของปา่ ชนดิ น้ีมไิ ด้มีเพียงแนวกนิ แนวใชท้ เี่ รา ชนดิ ) ส่วนใหญ่เปน็ ยาในกลมุ่ อาการปวดเมื่อยกล้าม ไดร้ ับอยูเ่ ป็นประจำ� เท่านนั้ ยงั มีประโยชนท์ ่เี ห็นเปน็ เน้ือ เอน็ ข้อ และกระดกู , กลมุ่ ยาบ�ำรุงกำ� ลงั -ธาตุ แก้ รูปธรรมจบั ต้องได้จากขอ้ มลู การศึกษา และท่บี างทา่ น อ่อนเพลีย, กลุม่ ยาบ�ำรงุ น�้ำนมและการอยไู่ ฟ และ กลุ่ม ยงั มองไม่เห็นว่าสรรพส่ิงต่างๆ ลว้ นเก่ยี วพันกันในระบบ ยาแก้ท้องเสีย-ท้องร่วง ซึ่งกลมุ่ อาการเหล่านี้เป็นความ นเิ วศทรี่ าบน�้ำท่วมถึงแหง่ น้ี ลองอา่ นดูได้ต่อไป เจ็บป่วยท่ีเกิดขึน้ เป็นประจ�ำในวถิ ีชีวติ ของคนท้ังใน ชนบทและในเมือง

ปา่ บงุ่ ป่าทาม ภาคอีสาน 17 3) เชอ้ื เพลิง มีไมต้ ้น ไมพ้ ุ่ม หรอื ไม้เถาขนาดใหญ่ แรง หรือแขง็ แรงปานกลาง ท่ีใชใ้ นการกอ่ สรา้ งและท�ำ ประมาณ 50 ชนิด ท่ใี ชเ้ ปน็ ไมฟ้ ืนหรอื เผาถา่ นได้ เพราะ เครือ่ งมอื เครื่องใช้ในชีวิตประจำ� วัน และอกี ประมาณ มีไมโ้ ตเร็วเป็นจำ� นวนมากและหาง่าย การใชฟ้ นื และถา่ น 70 ชนดิ ให้วสั ดใุ นการทำ� งานหตั ถกรรม งานประดิษฐ์ ในการหงุ ตม้ อาหารหรือยอ้ มผา้ เป็นสิง่ จ�ำเปน็ ในชนบท เส้นใย สี และสารฟอกยอ้ ม นอกจากจะชว่ ยลดค่าใชจ้ า่ ยแลว้ ยังปฏิเสธไม่ไดว้ ่าให้ รสชาติอาหารทด่ี กี ว่าการใช้แกส๊ 5) พืน้ ทีเ่ ลีย้ งสตั ว์ พวกปศสุ ัตว์ววั ควาย แกะ หรอื เปด็ ได้เข้ามาหากนิ พชื หรือสัตว์ขนาดเล็ก ในพืน้ ทีป่ ่าบงุ่ 4) ไม้กอ่ สร้างหรอื ทำ� เครอ่ื งมือและวัสดุต่างๆ ไม้ ปา่ ทาม ช่วยลดต้นทุนคา่ อาหารสัตว์ ลดความเครยี ดของ ในปา่ บุง่ ป่าทาม มีประมาณ 30 ชนดิ ท่ีเป็นไมเ้ นื้อแข็ง สัตว์ และลดปัญหาการจัดการโรงเรือนเลยี้ ง ลอบจับปลา ปลาท่ฝี ายราษไี ศล ตัดผือไปทอเสอ่ื หัวมนั แซงต้ม อาหารพ้นื บ้านจากป่าบุ่งปา่ ทาม

18 ป่าบุ่งปา่ ทาม ภาคอสี าน ประโยชนท์ างออ้ ม ได้ดีข้ึน และชะลอการเปลย่ี นทศิ ของทางนำ้� เชน่ กก หญ้า ไมล้ ้มลุก ไม้พุม่ ไมเ้ ลอื้ ยจะคลมุ อยตู่ ามชายฝ่งั /ตลิง่ 6) ที่อาศัยและหากนิ ของสตั วป์ ่าตามธรรมชาติ ได้ ไม้ต้นและไมพ้ มุ่ จะปกคลมุ หนาแนน่ ตามคันดินธรรมชาติ เขา้ มาอาศยั หลบภยั หาอาหาร และผสมพนั ธุ์วางไข่ โดย ในเขตท่งุ หญ้าหรือหนองน�ำ้ พรรณไมน้ ้�ำต่างๆ จะช่วย เฉพาะพวกปลา ทเี่ ปน็ อาหารหลักอยา่ งหนึง่ ที่ชาวอีสาน จับตะกอนและชะลอกระแสน้ำ� ทำ� ให้น�ำ้ ตกตะกอนและ นิยมกิน ยามฤดนู ำ�้ หลากปลาจะเขา้ มาวางไขต่ ามพื้นที่ ใสเรว็ ขนึ้ น�ำ้ ท่วมในบ่งุ ทาม เพราะน�้ำจะอุ่นกวา่ และมีกระแสน้ำ� ไหลช้ากวา่ นำ้� ในแม่นำ�้ เหมาะสมตอ่ การวางไข่ เป็นที่ 8) พนื้ ทีร่ บั นำ้� หรือแก้มลิง พ้ืนทบ่ี ุ่งทามเป็นทีล่ ุ่มต่ำ� หลบภยั ของลูกปลาตามพมุ่ ไม้ กอหญ้า และได้รับอาหาร และแอ่งกระทะมากทส่ี ุดในเขตที่ราบน�ำ้ ทว่ มถงึ ดงั น้นั จึง จากพืชน้ำ� สาหร่าย ไม้พมุ่ และไมต้ น้ ทใี่ หผ้ ล/ใบรว่ งหล่น มพี ้นื ทีร่ องรบั น�ำ้ หลากไดเ้ ปน็ จำ� นวนมากกวา่ พ้นื ท่ีราบที่ หรอื แมลงต่างๆ ท่อี ยบู่ นต้นไม้เปน็ อาหารให้แกป่ ลาอีก อยู่สูงขนึ้ ไป นำ�้ ท่ีลน้ ตล่งิ จะเข้าทว่ ม กดุ ร่อง หนอง และ ด้วย การลดลงของปลาในแหลง่ น�้ำธรรมชาติจงึ มีสาเหตุ ทาม ตามลำ� ดบั ความลึก/ความจุของอ่างต่างๆ ก่อนท่ี หลกั สว่ นหนึง่ มาจากการทำ� ลายปา่ บ่งุ ป่าทามอย่าง จะล้นไปสทู่ ุ่งราบด้านบนซึ่งมักจะเป็นนาข้าว ดงั น้ันการ แน่นอน เขา้ ไปถมทีใ่ หส้ งู ข้ึนหรือการสรา้ งคนั กันน้ำ� ท่วมในเขตน้ี จึงเป็นการลดความจุของแก้มลิง และท�ำใหร้ ะดับนำ้� ใน นอกจากนีส้ ภาพแวดล้อมท่มี ีพร้อมทงั้ พรรณไมท้ ี่ ทุ่งเพม่ิ สงู ขน้ึ ไดห้ รอื ทว่ มสูงขน้ึ จนถงึ เขตทีอ่ ยอู่ าศยั หลากหลาย และมีพชื น้ำ� ลอ่ งลอยอยู่ในหนองบงึ ปา่ บ่งุ ป่าทามจึงเปน็ พืน้ ท่ที เ่ี หมาะสมตอ่ การท�ำรงั วางไข่ของนก 9) แหล่งฟอกอากาศและบำ� บดั น�้ำเสยี เปน็ ที่ทราบ และนกนำ้� อยา่ งย่ิง ซง่ึ มูลและเศษอาหารของนกก็จะเปน็ ชดั เจนแลว้ ส�ำหรบั การทำ� หน้าทข่ี องพชื ต่อการฟอก อาหารแก่ปลาตอ่ ไป หากนกไม่มีทอ่ี าศัยแล้วกจ็ ะไปท�ำรัง อากาศ ยงิ่ ปา่ ไมท้ ่ีมพี รรณพืชหนาแนน่ และโตเร็วดว้ ยย่งิ ในเขตบา้ นเรือนสร้างความร�ำคาญและเสี่ยงตอ่ การแพร่ แลว้ กจ็ ะทำ� ใหม้ อี ตั ราการฟอกอากาศเสียใหก้ ลับมาเปน็ กระจายของโรคระบาดต่อไปอีก อากาศดี และชว่ ยตรึงธาตุคารบ์ อนไว้ในเนื้อไม้ได้มากยง่ิ ข้นึ ส่วนพรรณไม้น้�ำนอกจากจะช่วยใหน้ �้ำขนุ่ ตกตะกอน 7) ปอ้ งกันการพงั ทลายและยดึ ตลิ่ง พชื ในปา่ บุ่ง เร็วแลว้ ยังชว่ ยเตมิ ออกซิเจนในน้�ำ และใช้ส่วนของราก ป่าทามมกี ารปรับตัวใหท้ นทานตอ่ ความรนุ แรงของ ล�ำตน้ และใบ ชว่ ยดดู สารเคมีและแรธ่ าตุตา่ งๆ ไวอ้ ีกดว้ ย กระแสน้�ำไดด้ ี มีการกระจายพันธุเ์ ขา้ ปกคลุมตามส่วน สำ� หรับตน้ ไมห้ รือพุ่มไม้ต่างๆ จะชว่ ยดักเศษซากพชื และ ตา่ งๆ ของพน้ื ทบ่ี ุง่ ทามอย่างรวดเรว็ ช่วยใหห้ นา้ ดนิ และ ขยะจากชุมชนุ ทีล่ อยตามน�ำ้ มาให้เกาะตดิ อยูต่ ามกิ่งก้าน ชายฝัง่ มคี วามแขง็ แรงตามธรรมชาติ เพมิ่ การตกตะกอน นอกจากน้กี ารเสียดสขี องกระแสน�้ำกบั กิง่ และลำ� ตน้ ยัง ชว่ ยเพ่ิมฟองอากาศเติมลงในน้ำ� อกี ด้วย กดุ พ้นื ท่แี ก้มลงิ ธรรมชาตทิ รี่ อรับน�้ำหลากและ เปน็ ทอี่ าศยั ของสัตวน์ ้�ำ

ปา่ บุ่งปา่ ทาม ภาคอีสาน 19 แม่น�ำ้ สงคราม มพี ชื ปกคลมุ ปกป้องตลง่ิ สวยงามตามธรรมชาติ

20 ป่าบุ่งป่าทาม ภาคอสี าน สภาพทางภมู ิศาสตร์ของภาคตะวันออกเฉียงเหนือ ปรบั ปรุ งมาจาก http://www.ginkgomaps.com ขอ้ มลู พ้นื ฐานทางกายภาพของลมุ่ น�้ำ ภูมศิ าสตร์ ภาคตะวันออกเฉยี งเหนือประกอบดว้ ย 3 ลุ่มน้ำ� ภาคตะวนั ออกเฉยี งเหนือต้ังอยูบ่ นที่ราบสูงโคราช หลกั ตามการแบ่งลุ่มน�ำ้ หลัก 25 ลุม่ น้ำ� ทั่วประเทศไทย (Khorat Plateau) โดยบริเวณทร่ี าบสว่ นใหญ่มคี วาม ไดแ้ ก่ ลมุ่ น้ำ� โขง ลุ่มน้ำ� ชี และลุ่มน�้ำมูล ส�ำหรบั การเก็บ สงู 100-250 เมตรจากระดับน้�ำทะเล เกอื บท้งั ภาคมี ข้อมลู งานวจิ ัยนี้ ไดม้ ุง่ เป้าท่กี ารศึกษาการใชป้ ระโยชน์ ธรณสี ัณฐานเปน็ หนิ ทราย ขอบของทรี่ าบสูงโคราชมชี ัน้ จากพรรณพืชและความหลากหลายของชนิดพันธุพ์ ืชใน หนิ ทรายยกตัวข้ึนเปน็ หน้าผาชนั ชดั เจน ด้านทิศตะวนั ป่าบงุ่ ป่าทาม จึงได้แบง่ พน้ื ที่การศกึ ษาเปน็ 4 ลุ่มน�้ำ ที่ ตกเป็นเทอื กเขาพงั เหย-เพชรบูรณ์ตะวนั ออก และด้าน พบป่าบงุ่ ปา่ ทามเปน็ จำ� นวนมาก ได้แก่ ลุ่มน้�ำมูล ลุ่มน�้ำชี ทิศใตเ้ ป็นเทือกเขาพนมดงรกั ตอนกลางค่อนไปทาง ลุม่ น้�ำสงคราม และ ลุม่ น้�ำโมง (ลุ่มน้ำ� สงครามและลุม่ น�้ำ ด้านเหนือมีเทอื กเขาภพู าน ขวางก้ันท่รี าบสงู โคราชให้ โมงจดั อยู่ในลมุ่ น้�ำย่อยของลุม่ น้�ำโขง) และเลือกสำ� รวจ แบ่งออกเป็น 2 ส่วน ทำ� ให้ทงั้ 2 สว่ นมพี ้นื ท่ีคล้ายแอง่ พรรณไม้และสมั ภาษณ์ข้อมูลการใชป้ ระโยชนจ์ ากชมุ ชน กระทะ ด้านบนเรยี ก แอ่งสกลนคร ดา้ นล่างเรยี ก แอง่ ที่เปน็ ตัวแทนของแตล่ ะชาตพิ ันธทุ์ พ่ี บในแตล่ ะลุ่มนำ้� โคราช ถัดจากขอบแอง่ ท่เี ปน็ ภูเขาลงมาพน้ื ที่สว่ นใหญ่ ในแอง่ ทั้งสองเปน็ เนนิ ลูกคล่ืนหรือท่รี าบลูกคลืน่ (un- dulating plains) เปน็ ภูมปิ ระเทศทมี่ ีการระบายน�้ำไดด้ ี

ภาพถ่ายทางอากาศพ้ืนทรี่ าบน้�ำทว่ มถงึ (floodplain) และพ้นื ที่บุง่ ทาม ใน ป่าบุ่งป่าทาม ภาคอสี าน 21 เขตจังหวัดนครราชสีมา-บุรรี ัมย์, ทม่ี า Google, Landsat/Copernicus, 2018. ไหลลงสู่ล�ำหว้ ยตา่ งๆ และแม่นำ�้ ที่อยูใ่ จกลางแอ่ง ซึ่งเปน็ ขึน้ เกอื บทุกปแี ตม่ ีช่วงน้�ำหลากเข้าไปท่วม ปกตไิ มเ่ กิน 1 พื้นทีร่ าบน้�ำท่วมถงึ และมคี วามลาดชันของลำ� น้ำ� ในเขต เดือน และระดับน้ำ� สงู ไมเ่ กินกว่า 1 เมตร หรอื บางทที่ ่มี ี ที่ราบมีคา่ น้อยมากเมอ่ื เทียบกับความยาวล�ำน้ำ� (5-15 ระดบั พืน้ ทสี่ งู และไกลทางนำ้� อาจมวี งรอบน�้ำท่วมทกุ ๆ เซนติเมตร/ความยาวล�ำน�ำ้ 1 กิโลเมตร) ประกอบกบั 10-12 ปีก็ได้ ตามวงรอบของสภาพภมู ิอากาศ พื้นทดี่ งั บรเิ วณปากแม่น้�ำตา่ งๆ ท่อี อกสูแ่ ม่นำ้� โขง หรอื บางชว่ ง กล่าวตามธรรมชาตแิ ล้ว จะถูกปกคลมุ ด้วย ป่าดงดิบ ของลำ� น�ำ้ มีเนินลกู คลืน่ ขวางก้ันคล้ายคอขวด น้�ำจึงไหล แล้ง ปา่ เต็งรงั หรือป่าเบญจพรรณ ข้ึนอย่กู ับสภาพดนิ ออกไม่สะดวก ล�ำน้�ำช่วงเหนือเขตคอขวดจงึ ไหลอยา่ ง แตป่ จั จุบนั ไดก้ ลายเปน็ ท่นี าไปเกือบทง้ั หมด ส�ำหรับพ้นื ท่ี เชอ่ื งชา้ คดเคีย้ วมาก เกดิ น�้ำล้นตลิ่งเปน็ ประจำ� สอง ราบทม่ี ีระดับความสงู มากกว่า ทตี่ ง้ั อยสู่ องฝงั่ ของที่ราบ ฝ่ังล�ำน�้ำท่มี ีนำ้� ทว่ มเขา้ ไปถึงมีตะกอนตกสะสมเป็นชน้ั น�้ำทว่ มถงึ จะเป็นทีร่ าบลกู คลื่น หรอื เป็นทรี่ าบที่เกดิ จาก ของ ดนิ ตะกอนน�้ำพดั พา (alluvial soil) ที่อดุ มสมบรู ณ์ ลานตะพักล�ำน้�ำเก่า (river terrace) มลี กั ษณะเป็นท่ี และมสี ภาพเปน็ พน้ื ที่ราบ ภูมิประเทศบริเวณนเี้ ราเรียก โคก/ดอน โดยปกตนิ �้ำจะทว่ มไมถ่ งึ ยกเวน้ ในปีท่นี ้ำ� ทว่ ม วา่ “ท่รี าบนำ้� ทว่ มถงึ ” (floodplains) ในเขตท่ลี ำ� น้ำ� คด รนุ แรง พ้ืนที่เหล่านี้เคยเป็นทร่ี าบน้�ำทว่ มถงึ ในอดีตมา เคย้ี วและโคง้ ตวัดไปมามาก เกดิ การกดั เซาะทางดา้ นข้าง ก่อน ต่อมาเกดิ การลดระดับลงของพนื้ ท้องนำ้� โดยการขุด และพน้ื ทอ้ งน้�ำ ท�ำให้บรเิ วณน้ีจะลมุ่ ตำ่� กวา่ ส่วนอืน่ ๆ เกดิ ทอ้ งน�้ำตวั เองตามธรรมชาติ หรอื ร่วมกับปรากฏการณ์ยก นำ�้ ท่วมได้ง่ายและระบายออกได้ชา้ เปน็ ประจ�ำทุกปี การ ตวั ของแผ่นดนิ เป็นเวลายาวนานหลายลา้ นปี ปจั จบุ ัน ท่วมแต่ละครั้งกนิ เวลายาวนาน 1-3 เดอื น พ้ืนทนี่ ้�ำท่วม เปน็ ทตี่ ้งั ชมุ ชนต่างๆ และพนื้ ที่เกษตรกรรม บางแหง่ ยงั ซำ�้ ซากนเ้ี องคอื “พ้นื ทีบ่ งุ่ ทาม” (lowland flood- คงมสี ภาพเป็น ปา่ ชุมชน ปา่ ดอนปตู่ า หรือปา่ สงวนแหง่ plain) ซ่ึงถกู ปกคลุมด้วย สงั คมพชื ป่าบงุ่ ป่าทาม หรอื ชาติ พดู งา่ ยๆ วา่ พน้ื ท่บี งุ่ ทามเปน็ เขตภมู ปิ ระเทศยอ่ ยของ ทร่ี าบนำ�้ ทว่ มถึงนน่ั เอง ตัวอย่างพื้นทีร่ าบนำ�้ ทว่ มถงึ นอกจากน้ีบรเิ วณพนื้ ท่ีราบนำ้� ท่วมถงึ ที่อย่ใู กล้เขต ของแมน่ ้�ำมลู ชว่ งที่ไหลผา่ น อ.เมอื ง จนถงึ อ.เมืองยาง ต้นน�ำ้ ซึง่ ปรมิ าณน�ำ้ ในแมน่ ้ำ� ลำ� ธารยังมีไมม่ ากพอทีจ่ ะ จ.นครราชสีมา มที ่รี าบน�้ำทว่ มถงึ กว้าง 10-20 กิโลเมตร ท�ำให้น้�ำล้นตลิง่ ท่วมขงั เป็นเวลานาน หรือเป็นท่รี าบที่มี แต่มพี ื้นทีบ่ งุ่ ทามกว้างเพียง 1-5 กโิ ลเมตรเทา่ นัน้ ความลาดเทมาก ทางนำ�้ จงึ ไหลได้สะดวกไม่ตวดั โคง้ ไป ปรากฏตามแนวใกล้แม่น�้ำมูล และลำ� สะแทด มามาก สังคมพชื ตามธรรมชาตบิ รเิ วณนจี้ ะเหมือนกบั เขต ท่ีราบน�้ำทว่ มถึงที่อยสู่ งู กว่าพื้นทบ่ี งุ่ ทามขึ้นไป ยกเวน้ ส่วนทีร่ าบน้ำ� ทว่ มถึงที่อยหู่ า่ งออกไปจากแนวเขต ตามพื้นทีล่ มุ่ ต่�ำริมตล่ิงล�ำน�้ำและขอบบงึ หรอื หนองน้�ำที่มี พน้ื ทีบ่ ุ่งทามมีโอกาสเกิดนำ�้ ท่วมนอ้ ยกว่า ซงึ่ อาจจะเกดิ ท่วมซ้�ำซากก็สามารถพบปา่ บุ่งปา่ ทามได้เช่นกนั

22 ป่าบุ่งปา่ ทาม ภาคอสี าน ภาพถา่ ยทางอากาศพื้นท่บี งุ่ ทามของแมน่ ำ�้ มูล บริเวณ อ.รตั นบรุ ี จ.สุรนิ ทร์ และ อ.โพนทราย จ. รอ้ ยเอ็ด, ท่ีมา Google, CNES/Airbus, 2018 พน้ื ทีบ่ งุ่ ทาม (lowland floodplains) ประกอบ เพียง รอยทางน�้ำกวดั แกวง่ /กดุ แห้ง/รอ่ ง (meandered scar/oxbow scar) สว่ นพน้ื ทร่ี ิมตลง่ิ ลำ� นำ�้ ปัจจบุ ัน ไปดว้ ยสภาพภมู ิประเทศย่อยหลายแบบ ได้แก่ ลำ� น�ำ้ ที่ และทางนำ�้ เก่าทัง้ สองข้างมกั เกิดเป็น คันดนิ ธรรมชาต/ิ โค้งตวดั ไปมา (meandering river) การไหลโคง้ ตวัดไป คุย (natural levee) ขนานไปกับลำ� นำ�้ เกิดจากการตก มาหลายพันปีขนึ้ ไปนี้เอง ไดก้ ดั เซาะตลิ่งท�ำใหท้ ร่ี าบนำ้� ตะกอนดินและทรายใกล้ริมฝ่ังแม่น้ำ� เม่อื นำ้� ลน้ ตลิง่ พอก ทว่ มถงึ และพน้ื ทีบ่ ่งุ ทามขยายตัวกว้างออกไป จะเห็นได้ ตวั สูงขน้ึ ไปเรอ่ื ยๆ ตามระดับน�ำ้ ทท่ี ่วมถงึ เป็นเนินดนิ ท่ี ว่ามรี ่อยรอยของทางนำ�้ เปลยี่ นทศิ ทางจ�ำนวนมาก บริเวณ นำ้� จะท่วมไมน่ านหรือไม่ท่วมทุกปี หลังจากแนวคนั ดนิ ตลิง่ ที่อยโู่ คง้ ด้านนอกจะถกู กัดเซาะเรยี กวา่ ชายฝ่งั ตลิง่ ชนั ธรรมชาติออกมามักจะเป็นท่รี าบล่มุ ต�่ำกวา่ ซง่ึ ถกู นำ�้ ท่วม (cut bank) ฝง่ั ตรงกันขา้ มหรอื โค้งดา้ นในจะมีการทบั ถม ในฤดูน�้ำหลากเป็นประจำ� ทุกปี บางส่วนบริเวณน้ีเปน็ ทลี่ มุ่ ของตะกอนดนิ และทรายย่นื ออกมาเรือ่ ยๆ ทกุ ปี เรยี ก แอง่ กระทะ มีนำ้� ท่วมขังยาวนานเกือบตลอดปี-ตลอดทงั้ ปี พ้ืนท่บี รเิ วณหัวหาดวา่ ชายฝงั่ ยน่ื ออก (point bar) พ้นื ท่ี กไ็ ด้ มีขนาดพืน้ ที่เล็ก-กว้างใหญ่ มคี ำ� เรียกแหล่งนำ�้ เหล่าน้ี ด้านบนขึ้นมาของหัวหาดเปน็ สว่ นที่มีการทบั ถมของ แตกตา่ งกันไปในแต่ละท้องถน่ิ ได้แก่ บุง่ /บงึ /หนอง/มาบ/ ตะกอนเป็นชนั้ ๆ ยน่ื ออกไปคลา้ ยลายเปลอื กหอยกาบ เลงิ (marsh/swamp) (scroll bar) ไดช้ ดั เจน พื้นทหี่ ลายแหง่ บรเิ วณนี้ส่วนใหญ่ ใชท้ �ำนาข้าวหรอื สวนยคู าลปิ ตัส ชาวบ้านมกั จะทำ� แปลง ลกั ษณะภมู ปิ ระเทศแบบบงุ่ ทาม แมจ้ ะจดั ให้เป็นพ้ืนท่ี นาใหโ้ คง้ ไปตามแนวการทบั ถมของชัน้ ดินตะกอนท่อี ดุ ม ราบ แต่ภูมปิ ระเทศภายในมิไดร้ าบเรยี บเสมอกันไปหมด สมบรู ณ์และที่ล่มุ ต�่ำ ในบรเิ วณโคง้ นำ�้ ทตี่ วดั มาเกอื บจะ บริเวณพน้ื ทีร่ าบทีม่ รี ะดบั ต่ำ� กวา่ คนั ดนิ ธรรมชาตลิ งมา ทะลตุ ดั ถงึ กัน เราเรยี กว่า คอคอด/กว่ิ (neck) เมือ่ ทางน�ำ้ และถกู น้�ำท่วมเฉพาะในฤดูนำ�้ หลาก ถกู เรียกว่า “ทาม” ตดั ทะลกุ ิว่ (chute cut-off/neck cut-off) จะกลายเป็น ส่วนพ้ืนทีล่ ่มุ ตำ�่ มากกวา่ ทามซง่ึ ถกู นำ�้ ท่วมขังเกอื บตลอด เกาะกลางแม่น้ำ� ต่อไป หลงั จากนั้นตะกอนจะทับถมปดิ ปี-ตลอดปีนนั้ จะถกู เรียกรวมกนั ทางนิเวศวิทยาปา่ ไม้ ว่า ทางเข้า-ออกของทางนำ�้ เดิมที่ไหลอ้อมเกิดเป็น ทะเลสาบ “บงุ่ ” นจ่ี ึงเป็นทมี่ าของการเรยี กพืน้ ทีบ่ ุ่งทามและสังคม รูปแอก/กดุ (oxbow lake) มนี ้�ำขงั ตลอดปเี ปน็ แหล่งหา พืชตามธรรมชาติทพ่ี บในบรเิ วณนวี้ ่า “ปา่ บงุ่ ปา่ ทาม” ปลาท่ีสำ� คญั นานวันผ่านไปตะกอนทับถมจนตน้ื เขนิ เหลือ น่นั เอง

ป่าบุง่ ปา่ ทาม ภาคอีสาน 23 ภาพสามมติ ิของภูมปิ ระเทศในเขตทีร่ าบน้ำ� ทว่ มถงึ (floodplains); ฤดูแล้งภาพบน, ฤดูนำ้� หลากภาพ ลา่ ง: A แม่น้�ำ (river), B คนั ดินธรรมชาติ (natural levee), C ชายฝ่งั ยน่ื ออก (point bar), D ทะเลสาบ รูปแอก/กดุ (oxbow lake), E บงุ่ /บึง/หนอง/มาบ/เลงิ (marsh/swamp), F รอยทางน�้ำกวดั แกว่ง (meander scars), G ลานตะพักล�ำนำ�้ เก่า (river terrace), H ทีร่ าบลกู คลื่น (undulating plains), I ช้ันดนิ ตะกอนน้�ำพัดพา (alluvial soil), J ช้นั หนิ (bedrock)

24 ป่าบงุ่ ป่าทาม ภาคอสี าน ฤดนู ำ�้ หลาก 1-3 เมตร ส่วนในเขตแม่นำ�้ ชีตอนล่าง ต้ังแต่ จ.รอ้ ยเอ็ด ลงไปรวมกบั แมน่ ้�ำมลู ฤดูน�้ำหลากจะเร่มิ กอ่ น ประมาณ หรือน�้ำท่วมลน้ ตลงิ่ เข้าสูพ่ นื้ ที่บงุ่ ทาม จะเกดิ ขนึ้ ตน้ เดอื นสิงหาคม เพราะฝนที่เริม่ ตกชกุ ก่อนบนเทือก ตง้ั แต่ชว่ งกลางฤดูฝนไปจนถึงตน้ ฤดหู นาว 1-3 เดอื น น้�ำ เขาภพู านพร้อมกับเขตแอ่งสกลนครระบายลงมาตาม จึงจะลงตำ�่ กวา่ ตลิ่ง พนื้ ทน่ี ำ้� ทว่ มมีระดบั ความลึกของนำ้� ล�ำน�้ำปาวและลำ� นำ้� ยงั และน�้ำจะลงล่าชา้ ออกไปจนถึง 1-5 เมตร ในแต่ละพื้นทรี่ ะดับความสูงของน้�ำไมเ่ ท่ากัน ต้นเดอื นพฤศจกิ ายน เพราะรอการระบายจากพ้ืนท่ีต้นนำ้� ขนึ้ กับสภาพความลุม่ ต�ำ่ และปรมิ าณนำ้� ในแตล่ ะปี โดย ช่วงเวลาท่วมประมาณ 30-90 วนั ระดับน�ำ้ ท่วมสูง 1-4 ชว่ งเวลาฤดนู �ำ้ หลาก ในแตล่ ะปอี าจจะเรมิ่ เรว็ -ชา้ ขึ้น เมตร ส�ำหรบั พื้นที่ปลายนำ้� ของแม่น้ำ� มูลท่ีรองรบั น้ำ� จาก อยู่กบั พายหุ มนุ เขตร้อนจากทะเลจีนใต้ หยอ่ มความกด ทอ้ งทุ่งทงั้ หมดทร่ี อการระบายลงสูแ่ ม่นำ้� ทั้งสองมาพบกัน อากาศตำ�่ รอ่ งมรสมุ ทีพ่ าดผ่านเขา้ มา และปรากฏการณ์ บรเิ วณ อ.กนั ทรารมย์ จ.ศรสี ะเกษ และ อ.วารนิ ช�ำราบ เอลนโี ญ-ลานีญา ที่ทำ� ใหเ้ กดิ ฝนตกหนกั -ฝนแล้งเปน็ และ อ.เมอื ง จ.อบุ ลราชธานี ลงไปจนถงึ อ.โขงเจยี ม จะ ปัจจัยสำ� คญั ได้รับอทิ ธพิ ลโดยรวมจากพน้ื ท่ตี น้ น้�ำขนึ้ ไป สง่ ผลใหฤ้ ดู น้ำ� หลากเริ่มตง้ั แต่ช่วงต้นเดือนสงิ หาคม และน�้ำจะลง ฤดนู �้ำหลากของแมน่ ำ้� สงคราม ซงึ่ อยู่ในเขตแอง่ ล่าช้าที่สุด ประมาณตน้ -ปลายเดอื นพฤศจิกายน ชว่ ง สกลนคร (ตั้งแตเ่ ทือกเขาภูพานขึน้ ไป) ปกติจะเรม่ิ ขน้ึ เวลาทว่ มประมาณ 30-90 วนั 1 ระดับน�ำ้ ทว่ มสงู 1-5 ประมาณกลางเดือนกรกฎาคม และนำ้� จะลงประมาณ เมตร ปริมาณน้�ำฝนเฉลีย่ ของพ้นื ท่ลี ุม่ น�ำ้ ท้ังสองอยู่ กลางเดอื นตุลาคม เพราะเป็นเขตทีม่ ฝี นตกชกุ มากกว่า ระหวา่ ง 1,100-1,600 มลิ ลเิ มตร/ปี โดยปรมิ าณน�้ำฝน สว่ นอนื่ ๆ ของภาคอีสาน (1,600-2,400 มลิ ลิเมตร/ป)ี ในเขตพน้ื ที่ต้นนำ�้ ด้านตะวนั ตกจะนอ้ ยทส่ี ดุ และตกมาก โดยมรี ่องมรสมุ และแนวพายุจากทะเลจนี ใตพ้ ดั เขา้ แนว ท่ีสดุ ในเขตเทอื กเขาภพู านและจงั หวดั อบุ ลราชธานี น้ีก่อนในชว่ งเดือนกรกฎาคม-กันยายน ชว่ งเวลาทว่ ม ประมาณ 30-90 วนั ระดบั น�ำ้ ท่วมสงู 1-5 เมตร เชงิ อรรถ 1 ฤดูนำ้� หลากของหว้ ยนำ�้ โมง (ลมุ่ นำ�้ โมง) ซง่ึ อยใู่ นเขต ในอดีตท่ยี ังไมม่ ีเข่ือนกกั เกบ็ น้�ำขนาดใหญ่ในพืน้ ท่ตี น้ น้ำ� ชาวบา้ น ภาคอสี านตอนบนฝัง่ ตะวนั ตก ปกตจิ ะเร่ิมประมาณตน้ เล่าว่านำ้� จะท่วมบ่อยและยาวนานกวา่ ในปัจจุบัน โดยเร่มิ ล้นตล่งิ ท่วม เดอื นสงิ หาคม และนำ้� ลงประมาณปลายเดือนกนั ยายน เรว็ กว่า หรือลดลงต�ำ่ กวา่ ตล่ิงช้าออกไปประมาณ 15 วนั ถงึ 1 เดอื น ช่วงเวลาท่วมประมาณ 30-60 วนั ระดับน้ำ� ทว่ มสูง 1-2 เมตร จะล่าชา้ กวา่ และทว่ มขงั คอ่ นขา้ งสัน้ กวา่ ลมุ่ น้�ำ สงครามเพราะมปี ริมาณน�ำ้ ฝนน้อยกว่า (1,200-1,600 มิลลิเมตร/ป)ี และเป็นลุ่มน้�ำทีม่ พี น้ื ท่ขี นาดเล็ก ฤดูน�ำ้ หลากของแม่นำ้� มลู และชตี อนบน จะเร่ิม ประมาณ ตน้ เดอื นกันยายน และน�ำ้ ลงประมาณ ปลายเดือนตุลาคม โดยแมน่ ้�ำมลู ชว่ งท่ไี หลผ่าน จ.นครราชสีมา และแมน่ �้ำชชี ว่ งท่ไี หลผา่ นจงั หวัด ขอนแกน่ และมหาสารคาม ปกติจะทว่ มประมาณ 15-30 วนั ระดบั นำ้� ทว่ มสูง 1-2 เมตร ถัดมาในเขต แมน่ �ำ้ มูล ตอนกลาง ช่วงไหลผ่านจงั หวัดบุรรี มั ย์ สุรินทร์ และ ศรสี ะเกษ ฤดนู ้ำ� หลากจะเหมือนกบั ช่วงตอบบน แตจ่ ะ ท่วมยาวนานขนึ้ ประมาณ 30-60 วนั ระดบั น�้ำท่วมสูง

ปา่ บงุ่ ปา่ ทาม ภาคอีสาน 25 ฤดูนำ้� หลากของแมน่ ำ�้ สงคราม บริเวณ อ.อากาศอำ� นวย จ.สกลนคร (บรเิ วณเดยี วกบั ภาพด้านลา่ ง), น้�ำลน้ ตลง่ิ เข้าสพู่ น้ื ทีร่ าบท้งั สองฝง่ั ด้านขวาเปน็ ปา่ บุ่งปา่ ทาม ดา้ นซา้ นกลายเป็นทีน่ าไปแล้ว เหลือให้เห็นแนวตนั ไมร้ ิมฝั่งแม่นำ�้ ท่ีขน้ึ อยู่บนคนั ดินธรรมชาติ ระดับนำ้� ในฤดแู ลง้ (16 พฤษภาคม 2560) และฤดูนำ้� หลาก (16 กรกฎาคม 2560) แตกตา่ งกันไดถ้ ึง 7-12 เมตร, แม่นำ้� สงคราม อ.อากาศอำ� นวย จ.สกลนคร และ อ. นาทม จ.นครพนม

26 ปา่ บงุ่ ป่าทาม ภาคอสี าน การกระจายตวั ของปา่ บุ่งป่าทาม มูลมีประมาณ 75,000 ไร่ นับวา่ มมี ากที่สุดกว่าล่มุ น้�ำ - ลุ่มน้ำ� มูล มีพน้ื ท่ลี มุ่ นำ้� ขนาดใหญท่ ่สี ดุ ของ อ่ืนๆ เพราะเป็นลำ� น�ำ้ ขนาดใหญแ่ ละมีภูมิประเทศสองฝ่ัง แมน่ ำ้� เป็นพืน้ ท่บี ุ่งทามเปน็ จ�ำนวนมาก รวมถึงยังพบป่า ภาคอีสาน ประมาณ 44.4 ลา้ นไร่ จงั หวัดทอี่ ยใู่ นลมุ่ น้�ำ บงุ่ ป่าทามในเขตล�ำน�้ำสาขาอีกด้วย เช่น ล�ำสะแทด ล�ำ น้มี ที ง้ั หมด 13 จงั หวดั ได้แก่ นครราชสีมา ปราจนี บรุ ี เสยี วใหญ่ ลำ� ชี ห้วยทับทนั และล�ำเซบาย นครนายก ชัยภมู ิ ขอนแกน่ มหาสารคาม รอ้ ยเอ็ด บุรีรมั ย์ สรุ นิ ทร์ ศรสี ะเกษ ยโสธร อ�ำนาจเจรญิ และ บริเวณทพี่ บป่าบุง่ ปา่ ทาม จะขนานไปตามล�ำนำ้� อบุ ลราชธานี แมน่ ้ำ� มูลมคี วามยาว 641 กโิ ลเมตร ไหล กว้าง 1-7 กโิ ลเมตร ป่าบงุ่ ปา่ ทามเริม่ มใี ห้เห็นชัดเจนที่ จากทศิ ตะวนั ตกไปทศิ ตะวนั ออกลงสูแ่ ม่นำ้� โขง ล�ำนำ�้ อ.เฉลมิ พระเกยี รติ จ.นครราชสมี า และพบตลอดลำ� นำ้� สาขาไหลลงส่แู ม่น้ำ� มูลทอ่ี ยู่ตรงกลางคลา้ ยก้างปลา ไปจนถึง อ.สว่างวรี ะวงศ์ จ.อบุ ลราชธานี ส่วนใหญ่มี ล�ำนำ้� สาขาที่สำ� คญั เชน่ ล�ำตะคอง ลำ� เชิงไกร ล�ำพระ- สภาพเปน็ ป่าเสอื่ มโทรม เป็นหย่อมปา่ ขนาดเล็กแทรก เพลิง ลำ� สะแทด ล�ำปลายมาศ ลำ� ชี หว้ ยทบั ทนั ลำ� โดม- ใหญ่ ลำ� เซบาย ลำ� เซบก เปน็ ต้น ป่าบงุ่ ป่าทามในลมุ่ น�้ำ

ป่าบุ่งป่าทาม ภาคอีสาน 27 ตวั อยูก่ ับนาข้าว สวนยูคาลปิ ตสั ป่าบุ่งป่าทามจะข้ึน บุ่งป่าทามทเี่ ปน็ ผืนต่อเนือ่ งและมขี นาดใหญท่ ่สี ุดของ ปกคลุมตามริมแม่น้ำ� ริมกุด รมิ หนอง และตามนาขา้ ว ประเทศไทย อยู่ในบริเวณ ต.ดอนแรด ต.หนองบวั ทอง ทง้ิ ร้าง บรเิ วณที่พบปา่ จำ� นวนมาก เชน่ อ.ชมุ พวง อ.ล�ำ อ.รตั นบุรี จ.สุรนิ ทร์ และ ต.ด่าน ต.หนองแค อ.ราษไี ศล ทะเมนชัย อ.เมอื งยาง จ.นครราชสีมา, อ.สตกึ จ.บรุ รี มั ย์, จ.ศรสี ะเกษ แมน่ ้ำ� มูลทไ่ี หลต่อไปจาก อ.ราษีไศล ไป อ.ท่าตมู อ.ชมุ พลบุรี อ.รตั นบุรี จ.สุรินทร,์ อ.โพนทราย จนถึง อ.โขงเจียม จ.อุบลราชธานี สองฝ่ังแมน่ ำ�้ ถูกบีบ จ.รอ้ ยเอ็ด และ อ.ราษีไศล จ.ศรสี ะเกษ บรเิ วณทีม่ ีปา่ เป็นคอขวดดว้ ยเนนิ ลูกคลื่นและทรี่ าบลานตะพกั ล�ำน้�ำ บ่งุ ปา่ ทามปกคลมุ อย่คู ่อนข้างหนาแนน่ และตอ่ เน่อื งเปน็ เก่า ซง่ึ มีระดบั พน้ื ทสี่ งู ไม่ลมุ่ ต�่ำมาก ทางน้ำ� ช่วงนไ้ี ม่คด ผนื ใหญพ่ บเพียงแหง่ เดยี วคือ พืน้ ที่ทา้ ยเขือ่ นราษไี ศล เค้ียวมาก ป่าบุง่ ป่าทามจะปรากฏเปน็ บางชว่ ง และมี เน้ือทีป่ ระมาณ 30,000 ไร่ (รวมพ้ืนทน่ี ำ้� ) จัดว่าเปน็ ปา่ พ้ืนท่ขี นาดเล็ก ภาพถา่ ยทางอากาศพืน้ ทปี่ า่ บุ่งปา่ ทามบริเวณท้ายเข่อื นราษไี ศล จงั หวัดศรสี ะเกษ สรุ ินทร์ และรอ้ ยเอด็ ที่มา : Google, CNES/Airbus, 2017.

28 ปา่ บุ่งป่าทาม ภาคอสี าน

ป่าบงุ่ ป่าทาม ภาคอีสาน 29 พ้ืนท่ีลุ่มต่�ำคล้ายแอ่งกระทะขนาดใหญ่ บริเวณท่ีห้วยทับทัน และลำ� เสยี วใหญ่ ไหลมาบรรจบกบั แมน่ ำ้� มลู ทอี่ ำ� เภอราษไี ศล จงั หวดั ศรีสะเกษ แตเ่ ดมิ เป็นป่าบงุ่ ป่าทามตามธรรมชาติ เม่ือปี พ.ศ. 2535-36 เขือ่ นราษีไศล ไดส้ รา้ งขวางกันแมน่ �้ำมลู ช่วงบรเิ วณคอขวดใตป้ ากห้วยทบั ทนั ลงมา จงึ เกิดอ่างเกบ็ นำ้� ขนาด ใหญ่ในพื้นท่ีเหนือน้�ำข้ึนไป แม้ว่าป่าบุ่งป่าทามดั่งเดิมในพ้ืนที่ลุ่ม ต่�ำมากบางส่วนจะถูกท�ำลายกลายเป็นอ่างเก็บน้�ำ แต่การเวนคืน ท่ีดนิ ในเขตนำ้� ท่วมถงึ ท้ายอา่ งเกบ็ นำ�้ ขึ้นไปจนถงึ ขอบอ่างหรือคนั กันน้�ำโดยรอบ ท�ำให้พื้นท่ีบุ่งทามไม่ถูกบุกรุกและมีการขยายตัว กว้างออกไป ป่าจึงมีการฟื้นฟูตัวเองตามธรรมชาติ เกิดเป็นป่าบุ่ง ป่าทามทีค่ อ่ นขา้ งสมบูรณแ์ ละมีขนาดใหญท่ ี่สดุ ของประเทศไทย ประมาณ 30,000 ไร่

30 ปา่ บุ่งป่าทาม ภาคอสี าน ภาพถา่ ยทางอากาศพ้นื ท่ปี า่ บุ่งปา่ ทามบริเวณปากแมน่ ำ้� ชีสบมลู จ.อุบลราชธานี และ ศรสี ะเกษ ท่มี า : Google, CNES/Airbus, 2017.

ป่าบุ่งปา่ ทาม ภาคอีสาน 31 ปากแม่นำ�้ ชีสบแม่นำ้� มูล มองจากริมฝัง่ แมน่ ำ้� มลู อ.วารินชำ� ราบ จ.อบุ ลราชธานี ฝง่ั ตรงกนั ขา้ มคอื ผนื ปา่ บงุ่ ปา่ ทามทย่ี งั คอ่ นขา้ งสมบรู ณ์ มตี น้ ไมใ้ หญข่ นึ้ เปน็ จำ� นวนมาก - ลมุ่ น้�ำชี มีพนื้ ทล่ี ่มุ น้�ำขนาดใหญ่รองจากลมุ่ บริเวณที่ปรากฏป่าบงุ่ ปา่ ทามชดั เจนเรมิ่ ตั้งแต่ อ.โคกโพธไ์ิ ชย จ.ขอนแกน่ เปน็ ตน้ มาจนถงึ อ.จังหาร น�้ำมูล ประมาณ 30.7 ล้านไร่ จังหวัดทีอ่ ยู่ในลุม่ น�้ำ จ.ร้อยเอด็ มีปา่ บุ่งปา่ ทามนอ้ ยมาก เป็นหย่อมขนาด น้ีมีทง้ั หมด 16 จังหวัด ได้แก่ ขอนแกน่ เลย ชัยภมู ิ เล็ก ไม่เกิน 1,000 ไร่ และสว่ นใหญ่ขึ้นอยู่ตามขอบ เพชรบูรณ์ ลพบรุ ี นครราชสีมา หนองบัวล�ำภู อุดรธานี พนื้ ทคี่ นั ดนิ ธรรมชาติ ตามชายฝั่งยน่ื ออก และเกาะ ซึ่ง สกลนคร กาฬสนิ ธ์ุ มหาสารคาม รอ้ ยเอ็ด มกุ ดาหาร มีชนดิ พนั ธ์ุพชื ปา่ ดงดบิ แลง้ /ปา่ ผลัดใบเขา้ มาปะปนอยู่ ยโสธร และอบุ ลราชธานี แม่น้�ำชมี คี วามยาว 765 มาก เน่ืองจากระยะเวลานำ�้ ทว่ มขงั ไมน่ านนกั ยกเว้นใน กิโลเมตร (เปน็ แม่น้�ำทยี่ าวมากท่ีสดุ ของประเทศไทย) ทลี่ ุ่มตำ�่ ขอบบึงจะเปน็ สังคมพืชป่าบงุ่ ปา่ ทามทแ่ี ทจ้ รงิ ไหลจากทศิ ตะวนั ตกไปทิศตะวันออกบรรจบกับแมน่ �ำ้ แม่น้ำ� ชชี ว่ งต้งั แต่ อ.เชยี งขวญั จ.รอ้ ยเอด็ ลงมา สังคม มลู ที่ จ.อบุ ลราชธานี ลำ� นำ้� สาขาท่ีส�ำคัญเชน่ ล�ำน้ำ� พืชปา่ บุง่ ปา่ ทามจะชัดเจนมากขึ้น มีชนิดพันธขุ์ องป่าบงุ่ พอง ล�ำน�้ำพรม ล�ำปาว ล�ำนำ�้ ยัง ป่าบ่งุ ปา่ ทามในลุม่ ปา่ ทามในสดั ส่วนทมี่ าก พบพ้ืนทปี่ า่ ค่อนขา้ งมากอยูใ่ น น�้ำชี มปี ระมาณ 19,000 ไร่ นับวา่ เป็นลมุ่ น�้ำทม่ี ขี นาด อ.เสลภมู ิ จ.รอ้ ยเอ็ด บรเิ วณปากลำ� นำ้� ยงั สบชี เรอื่ ยลง ใหญ่แตพ่ บปา่ บุ่งปา่ ทามไดน้ ้อยเม่ือเทียบกับขนาดลมุ่ น้ำ� มาใน อ.มหาชนะชยั จ. ยโสธร โดยเฉพาะบรเิ วณรอย เน่ืองจากมีพ้นื ท่บี งุ่ ทามปรากฏนอ้ ย เพียงขนานไปตาม ตอ่ ระหว่าง อ.เมือง จ. อบุ ลราชธานี และ อ.กนั ทรารมย์ ลำ� นำ้� ช่วงแคบๆ ประมาณ 1-2 กโิ ลเมตร จ.ศรีสะเกษ ลงมาถึง ปากแม่น้�ำชสี บมูล มีปา่ บ่งุ ปา่ ทามเป็นผนื ค่อนขา้ งใหญต่ อ่ เน่ืองกันประมาณ 4,400 ไร่ ลำ� นำ้� ช่วงนจ้ี ะตวัดโคง้ มาก เกดิ เปน็ พ้นื ท่ีบ่งุ ทามกว้าง 1-5 กโิ ลเมตร

32 ป่าบงุ่ ป่าทาม ภาคอีสาน - ลุ่มน้�ำสงคราม มีพื้นทลี่ ุ่มน้�ำประมาณ 8.2 พืน้ ทเ่ี นนิ ลูกคล่ืนหรอื ลานตะพกั ลำ� น�ำ้ เก่าขวางกันเป็น ช่วงๆ เกดิ เปน็ คอขวดและพน้ื ท่ีแอง่ กระทะด้านหลงั ลา้ นไร่ ขนาดล่มุ น�ำ้ ใหญท่ ่ีสุดและเป็นแมน่ ้ำ� ท่ยี าวท่ีสุด เปน็ ระยะตลอดลำ� น�้ำ ซ่ึงพบป่าบุง่ ปา่ ทามได้ชัดเจนใน ในแอ่งสกลนคร พนื้ ทีจ่ ังหวดั ทีอ่ ยู่ในล่มุ นำ�้ น้มี ที ัง้ หมด บรเิ วณดังกล่าวตงั้ แต่ อ.บา้ นดงุ จ.อดุ รธานี, อ.เจรญิ ศลิ ป์ 5 จังหวดั ได้แก่ อุดรธานี หนองคาย สกลนคร บงึ กาฬ จ.สกลนคร, อ.โซพ่ สิ ัย อ.พรเจริญ จ.บึงกาฬ โดยเฉพาะ และนครพนม แมน่ ้ำ� สงครามมคี วามยาว 420 กิโลเมตร บริเวณใกลป้ ากนำ�้ ท่ี อ.ท่าอุเทน มพี ื้นทเี่ นินขวางกัน ล�ำนำ้� สาขาท่ีสำ� คญั เช่น หว้ ยน้�ำอูน และห้วยน้ำ� ยาม ชว่ ง ท�ำให้การระบายน้�ำลงสูแ่ ม่นำ้� โขงไม่สะดวก เกิดพ้นื ทีแ่ อง่ ต้นน�ำ้ แม่นำ้� สงคราม จะไหลจากทศิ ใตจ้ าก อ.สอ่ งดาว กระทะขนาดใหญด่ ้านหลงั เป็นท่ีราบนำ้� ทว่ มถึงกว้าง ขึ้นทางทศิ เหนอื ถึง อ.บ้านม่วง จ.สกลนคร (แม่น�ำ้ ประมาณ 30 กโิ ลเมตร ครอบคลมุ เขต อ.ศรีสงคราม สงครามตอนบน) แลว้ หกั ลงทศิ ตะวนั ออกเฉยี งใต้ สู่ อ.นาทม อ. นาหวา้ จ.นครพนม และ อ.อากาศอ�ำนวย อ.ศรสี งคราม กอ่ นจะไหลไปทศิ ตะวันออกลงสู่แม่น�้ำโขง จ. สกลนคร ซ่ึงมีปา่ บงุ่ ปา่ ทามปรากฏเป็นจำ� นวนมาก ที่ อ.ทา่ อเุ ทน จ.นครพนม (แม่น�้ำสงครามตอนลา่ ง) เป็น นอกจากน้บี างชว่ งเวลาท่รี ะดบั น�้ำในแม่นำ้� โขงสงู กว่าก็ ล�ำน�้ำท่ีดสู ั้นในระยะขจดั (ประมาณ 250 กิโลเมตร) แต่ จะหนนุ เข้ามาในแม่นำ้� สงครามได้ไกลถงึ 200 กิโลเมตร เนือ่ งจากลำ� นำ้� มคี วามคดเคี้ยวมากจึงทำ� ให้มีความยาว ยิ่งเป็นปัจจัยสนับสนุนใหน้ ้�ำท่วมขงั ไดย้ าวนานยิ่งขึน้ ผดิ ปกติ แม่น้�ำสงครามมคี วามลาดเทของลำ� น้�ำในเขต อกี ส�ำหรบั ในล�ำน�้ำสาขาทพี่ บปา่ บุ่งปา่ ทาม ได้แก่ ห้วย ที่ราบ มีค่านอ้ ยกว่าแมน่ ำ้� อน่ื ๆ ในภาคอีสาน (ประมาณ น้�ำอนู หว้ ยน้ำ� ยาม ห้วยคอง และหว้ ยฮ้ี พนื้ ท่ลี ุ่มนำ้� 5 เซนตเิ มตร/ความยาวล�ำนำ้� 1 กโิ ลเมตร) แม่นำ้� จงึ สงครามมีพื้นทีป่ า่ บุ่งปา่ ทามประมาณ 59,000 ไร่ ตวัดโค้งไปมาเกดิ พื้นที่บุ่งทามจ�ำนวนมาก และยงั มี

ปา่ บุ่งปา่ ทาม ภาคอสี าน 33 ปา่ บุ่งปา่ ทามแมน่ �ำ้ สงครามตอนลา่ ง ถ่ายจากมมุ มองเหนือ บา้ นปากยาม อ.อากาศอ�ำนวย จ.สกลนคร (ก.ค. 2560) ภาพถา่ ยทางอากาศป่าบงุ่ ป่าทามบริเวณแม่น�้ำสงครามตอนล่าง จ.นครพนม และสกลนคร, ทม่ี า : Google, CNES/Airbus, 2017.

34 ป่าบงุ่ ป่าทาม ภาคอีสาน บรเิ วณท่ีพบปา่ บงุ่ ปา่ ทามเป็นผนื ต่อเน่อื งค่อนข้าง เนื้อที่ประมาณ 3,200 ไร่ ระหว่างรอยตอ่ อ.บ้านดงุ ใหญ่ ไดแ้ ก่ ป่าบุ่งปา่ ทามแมน่ ำ้� สงครามตอนลา่ ง เนอ้ื ท่ี จ.อดุ รธานี กบั อ.เจริญศิลป์ จ.สกลนคร และ ป่าบุง่ ประมาณ 16,000 ไร่ ตัง้ อยูบ่ ริเวณรอยตอ่ ระหวา่ ง อ.นา ป่าทามห้วยน�้ำอนู เนอื้ ที่ประมาณ 3,800 ไร่ ตงั้ อยู่ ทม อ.ศรีสงคราม จ.นครพนม และ อ.อากาศอ�ำนวย บริเวณฝ่งั ตรงข้ามบา้ นพอกใหญส่ ามคั คี อ.พรรณานคิ ม จ.สกลนคร, และ ปา่ บุง่ ปา่ ทามแม่น�้ำสงครามตอนบน จ.สกลนคร

ป่าบุง่ ปา่ ทาม ภาคอีสาน 35 สภาพป่าบรเิ วณห้วยนำ้� อูน อ.พรรณานคิ ม จ.สกลนคร (ก.ค. 2560) ภาพถา่ ยทางอากาศปา่ บงุ่ ป่าทามหว้ ยน�ำ้ อนู อ.พรรณานคิ ม จ.สกลนคร ทม่ี า : Google, CNES/Airbus, 2017.

36 ป่าบุ่งปา่ ทาม ภาคอีสาน - ล่มุ น�้ำโมง (ห้วยน้�ำโมง) มีพื้นทล่ี มุ่ น�้ำ (natural levee) ริมฝง่ั แมน่ �้ำโขงขวางกัน้ ท่ปี ากนำ้� หว้ ย นำ้� โมงบริเวณ อ.ท่าบ่อ และ อ.ศรีเชียงใหม่ จึงทำ� ให้ ประมาณ 1.6 ลา้ นไร่ พนื้ ท่จี ังหวัดที่อย่ใู นลุ่มน�ำ้ น้มี ี เกิดพ้ืนท่แี อ่งกระทะประมาณ 30,000 ไร่ บริเวณรอย ท้งั หมด 4 จงั หวัด ได้แก่ อดุ รธานี เลย หนองบัวลำ� ภู ต่อระหว่าง อ.โพธ์ติ าก อ.ท่อบอ่ และ อ.ศรีเชียงใหม่ และหนองคาย ห้วยน�้ำโมงมีความยาวประมาณ 110 จ.หนองคาย เกดิ เปน็ พื้นทบ่ี งุ่ ทามสองขา้ งหว้ ยน�้ำโมง กโิ ลเมตร พ้ืนทต่ี น้ น้�ำอยูใ่ นเขต อ.นาด้วง จ.เลย และ ประมาณ 4,000 ไร่ พน้ื ท่ที ี่เปน็ ป่าสว่ นใหญอ่ ยใู่ นความ อ.สุวรรณคหู า จ. หนองบวั ลำ� ภู ไหลจากทศิ ตะวัน ดแู ลของกรมชลประทาน ตกเฉยี งใตข้ ้นึ ทศิ ตะวนั ออกเฉียงเหนือ ลงสู่แม่นำ้� โขง ที่ อ.ท่าบ่อ จ.หนองคาย เนื่องจากมเี นินดนิ ธรรมชาติ

ปา่ บงุ่ ปา่ ทาม ภาคอีสาน 37 สภาพป่าบุ่งปา่ ทามรมิ หว้ ยนำ�้ โมง จ.หนองคาย ภาพถ่ายทางอากาศปา่ บงุ่ ป่าทามหว้ ยนำ�้ โมง จ.หนองคาย ทีม่ า : Google, CNES/Airbus, 2017.

38 ป่าบงุ่ ป่าทาม ภาคอสี าน สังคมพืช ของซากพชื แบบ พตี /สนุ่น (peat) บนผิวดิน เหลอื เพียง นำ�้ ทข่ี ังอยูต่ ามพน้ื ท่ีบุ่งเท่าน้ัน ปา่ บงุ่ ป่าทาม (Lowland floodplain forest) เป็น สงั คมพืชท่ไี ม่ผลดั ใบหรือกึ่งผลัดใบ ในเขตทร่ี าบนำ้� ท่วม ความหมายของปา่ บุ่งปา่ ทามจึงไมจ่ �ำกดั เฉพาะ ถงึ เฉพาะในเขตพนื้ ทลี่ ุ่มต�ำ่ หรือพน้ื ท่ีบ่งุ ทาม (lowland สังคมพชื ทเี่ ปน็ เพียงปา่ ไมข้ องไม้ยืนตน้ ขน้ึ ปกคลุม floodplain) เทา่ นน้ั แบง่ ออกเป็น 2 สงั คมพืชย่อย ในพ้ืนทีท่ ามเท่าน้นั แต่พืน้ ทแ่ี หลง่ นำ้� และขอบบงึ ที่ ไดแ้ ก่ สงั คมพชื ในบึง/ปา่ บ่งุ (pond vegetation) ที่ ปกคลมุ ด้วยพชื น้�ำลม้ ลกุ ทงุ่ หญา้ และไม้พ่มุ ก็ถือว่า มีพรรณไมน้ �้ำลม้ ลุกเปน็ พืชเด่นปกคลมุ อยูต่ ามแหล่งน�ำ้ เปน็ อกี สังคมพชื ย่อยชนดิ หน่ึงทอ่ี ยู่ในระบบนเิ วศอันตอ่ หรอื พื้นทบ่ี ุ่ง และ สงั คมพืชป่าทาม/ปา่ ทาม (lowland เนือ่ งกัน พ้นื ท่บี ุง่ ทามจะเกิดการผลดั เปลีย่ นหมุนเวยี น floodplain forest) ทเ่ี ปน็ ป่าไมม้ พี รรณไมต้ ้น ไมพ้ ุ่ม ของภูมปิ ระเทศระหว่างเสน้ ทางน้�ำ ท่ลี ุ่มต่ำ� ทรี่ าบ และเถาวลั ยเ์ ปน็ พชื เดน่ ปกคลมุ อยตู่ ามพน้ื ท่ีทาม ทัง้ และเนนิ ดนิ สลบั กนั ไปมาตลอดเวลา ลว้ นแต่ทำ� ให้ สองสงั คมพืชมรี ะบบนิเวศท่ีเชอ่ื มตอ่ กนั โดยมีปัจจยั สง่ิ สงั คมพชื ทัง้ หลายมกี ารเคลอ่ื นย้ายทดแทนกนั ได้อยา่ ง แวดล้อมทีส่ �ำคัญต่อการตั้งอยู่ไดข้ องสังคมพืช คอื การมี รวดเร็ว ส่งผลใหส้ ังคมพชื ยอ่ ยท้ังสองขนึ้ ปะปนสลับ น�้ำท่วมซำ�้ ซากเป็นประจ�ำทกุ ปี ปกตยิ าวนานมากกว่า 1 กนั ไปมา ยากตอ่ การจำ� แนก เดอื น ในฤดแู ล้งน้�ำในพืน้ ที่ทามจะแหง้ ไม่มีการสะสมตัว

ปา่ บุ่งปา่ ทาม ภาคอสี าน 39 ส�ำหรบั สังคมพชื อกี สองชนดิ ทส่ี ามารถพบไดใ้ นเขต 2) มีฤดกู าลนำ้� หลากสลับกับฤดแู ล้งนำ้� ลงท่ีชัด ทีร่ าบน�้ำท่วมถงึ ด้วยเช่นกัน จดั วา่ เป็นสงั คมพืชปา่ บก เจนทุกๆ ปี โดยฤดูน้ำ� หลากลน้ ตล่งิ ปกตจิ ะยาวนาน อยา่ งแทจ้ ริง (ไม่ใช่ป่าบ่งุ ป่าทาม) ได้แก่ ปา่ ดงดิบแลง้ มากกวา่ 1 เดอื น (ในประเทศไทย 1-4 เดอื น และทว่ ม และปา่ เตง็ รัง จะพบในพ้นื ท่รี ะดบั สูงข้นึ ไปท�ำใหน้ ้�ำท่วม สูง 1-5 เมตร) น�ำ้ จะพดั พาซากพืชใหห้ ลดุ ลอยไปบาง ได้ไมน่ าน หรือมเี นื้อดินหยาบไปทางดินทราย อุ้มนำ้� ไม่ ส่วน และทเี่ หลือสามารถย่อยสลายไดอ้ ยา่ งรวดเร็วเมือ่ ดี โดย เขตเชอื่ มต่อระหว่างสงั คมพืช (transition zone) น้�ำลดลงจนพื้นดินแห้งในชว่ งฤดแู ลง้ ระหวา่ งปา่ บกกับปา่ บุ่งป่าทาม เรามักจะพบมกี ารขนึ้ ผสมกนั ของชนิดพนั ธ์พุ ชื ระหวา่ งกนั โดยเฉพาะอย่างยิ่ง หากเปน็ พื้นท่ีที่มีนำ้� ท่วมขงั ตลอดปีซากพชื จะแช่ ในพน้ื ที่ทีค่ ่อยๆ ลาดเทเขา้ หากนั นำ�้ ยอ่ ยสลายได้ชา้ จนมีการสะสมตวั เปน็ ชนั้ หนาและ มีไมต้ ้นเข้ามาปกคลมุ เกิดเปน็ สังคมพืชอกี ชนิดหนึ่งคือ ปจั จยั สง่ิ แวดล้อมท่มี ีอทิ ธพิ ลตอ่ การก�ำหนด ป่าพรุ (peat swamp forest) ดังเช่น ปา่ พรคุ �ำชะโนด สังคมพชื ป่าบ่งุ ป่าทาม จ.อดุ รธานี หรอื ปา่ พรุโต๊ะแดง จ.นราธิวาส ส�ำหรบั พ้นื ทท่ี ่มี นี ำ้� ท่วมยาวนานน้อยกวา่ 1 เดือน สงั คมพชื ป่า ในภาคตะวันออกเฉียงเหนือ ของประเทศไทย มดี งั น้ี บงุ่ ปา่ ทามจะไมช่ ัดเจน คือมชี นดิ พนั ธไุ์ มข้ องป่าดงดบิ 1) อย่ใู นสภาพภูมิประเทศแบบที่ราบน�้ำท่วมถงึ แล้งหรือปา่ ผลดั ใบเข้ามาผสม จะผสมนอ้ ยหรือมาก ยัง (floodplain) มลี ำ� น�้ำไหลผา่ น เฉพาะในเขตพน้ื ที่บงุ่ ข้ึนอยู่กับความถ่ใี นการทว่ มทุกปีหรอื ไม่ ระดบั น�้ำใตด้ ิน ทาม/พนื้ ท่ีราบน้ำ� ท่วมถงึ ระดบั ต�ำ่ (lowland flood- และคณุ สมบัติของดนิ อกี ดว้ ย plain) เท่านน้ั ซึ่งในเขตนี้มักจะเปน็ บรเิ วณที่มีความ ลาดเทของทอ้ งลำ� น�ำ้ น้อยมากจนท�ำให้ล�ำน้ำ� เกดิ ลักษณะ 3) เปน็ ดินตะกอนน้�ำพดั พา (alluvial soil) ทม่ี ี การตวัดโค้งไปมา (meander river) กัดเซาะพ้ืนท่ใี หเ้ กิด เน้ือดนิ (soil texture) เปน็ ดินเหนยี ว (clay) ดนิ รว่ น ทล่ี ุ่มต�ำ่ หนองน้ำ� และเนนิ ดินจำ� นวนมาก หรือหากมไิ ด้ (loam) จนถงึ ดนิ รว่ นเหนยี วปนทราย (sandy clay อย่ใู นเขตนกี้ ส็ ามารถพบป่าบุ่งปา่ ทามได้ตามพืน้ ท่รี าบ loam) หากพิจารณาท่ีอนุภาคของดนิ (soil particles) ลุ่มแอง่ กระทะ มีบงึ หรอื หนองน�ำ้ ทม่ี ีน้�ำทว่ มสูงข้ึนมาใน ปกตจิ ะมีอนุภาคดินทล่ี ะเอียดมากกว่า คอื มอี นภุ าคดิน ช่วงฤดูฝน เหนยี ว (clay) มากกวา่ อนุภาคทรายแปง้ (silt) และ อนุภาคทราย (sand) ตามล�ำดับ ท่รี าบนำ้� ทว่ มถึง ในเขตพนื้ ทบี่ ุง่ ทาม มักจะ มีล�ำนำ้� ตวดั โคง้ น้�ำท่ีท่วมพดั พาดินตะกอนเข้ามา ในทางกลบั กัน หากเป็นดนิ ทมี่ ีอนุภาคของทราย ทบั ถมเป็นประจำ� ทกุ ป,ี หว้ ยน�ำ้ อูน อ.พรรณานคิ ม มากกว่าทรายแป้ง และดินเหนยี ว ตามลำ� ดับ เนื้อดนิ จ.สกลนคร (สาขาหนงึ่ ของแม่นำ�้ สงคราม) ยงั เหลอื จะอย่ใู นกลุม่ ดนิ ทราย (sand) ดนิ ร่วนปนทราย (sandy ปา่ บงุ่ ปา่ ทามท่คี อ่ นขา้ งสมบูรณ์ loam) หรือเป็นดนิ ลูกรังที่ผสมกรวดจ�ำนวนมาก ซง่ึ มกั จะพบอยู่ในเขตเนนิ ดินเก่าของลานตะพักลำ� น้ำ� (river terrace) และบริเวณนี้โดยปกติมักจะถูกน�ำ้ ทว่ มยาวนาน นอ้ ยกว่า 1 เดือนอีกดว้ ย เราจะพบสงั คมพืชป่าเตง็ รัง โดยมี ไมซ้ าด/ยางเหียง (Dipterocarpus obtusifolius) หรือ สะแบง/ยางกราด (Dipterocarpus intricatus) เปน็ ไม้เดน่ หรอื ไมก่ ็เปน็ สังคมพชื ป่าดงดิบแล้งท่ีมี ไม้ยางนา (Dipterocarpus alatus) เปน็ ไมเ้ ด่น

40 ปา่ บ่งุ ปา่ ทาม ภาคอีสาน ส�ำหรบั ค่าความเป็นกรด-ด่าง และปริมาณอนิ ทรีย ถกู น้ำ� แชข่ ังนานและวัสดตุ ้นก�ำเนดิ ของดนิ สว่ นปริมาณ วัตถุของดิน ยงั ไม่พบขอ้ มลู ทีช่ ดั เจนวา่ เปน็ ปจั จัยสงิ่ อนิ ทรยี วตั ถุในเนือ้ ดินมีรอ้ ยละ 2-3.5 (ระดบั ปานกลาง- แวดล้อมทส่ี ำ� คญั ตอ่ การเกิดป่าบุ่งป่าทาม (สังคมพืชย่อย สงู ) ถือว่ามมี ากกว่าดินทพ่ี บในเขตท่ีดอนทัว่ ไปเนอื่ งจาก ป่าทาม ) แต่พบวา่ ดนิ ท่ีพบในป่าบุ่งป่าทามในภาคอสี าน ไดร้ บั อนิ ทรียวัตถทุ ถี่ ูกนำ้� พดั พามาตกตะกอนและพรรณ มคี า่ pH 4-7 (เปน็ กรดรุนแรงมาก-เป็นกลาง) โดยสว่ น พชื ท่ีปกคลมุ อยู่ โดยเฉพาะดนิ ทก่ี ้นบึงทม่ี นี ้ำ� ทว่ มขงั ใหญอ่ ยใู่ นชว่ ง pH 4.5-6 (กรดรนุ แรงมาก-กรดปาน ยาวนานมากข้นึ ดินจะมอี นิ ทรียวตั ถแุ ละความเปน็ กรด กลาง) ซง่ึ สาเหตทุ ดี่ ินมคี วามเปน็ กรด ส่วนหนึง่ มาจากดิน เพิ่มขึ้นตามดว้ ย ดนิ ตะกอนทเ่ี พิ่งตกตะกอนในฤดูนำ�้ หลากท่ี ผา่ นมามคี วามหนาประมาณ 1 เซนติเมตร เปน็ ดนิ รว่ น-ดินเหนียว สร้างความอุดมสมบรู ณแ์ ก่ พรรณพชื ต่างๆ (ซา้ ย), หนา้ ตดั ของช้นั ดนิ ตะกอน รมิ แม่น�้ำ ชดุ ดินศรีสงคราม เป็นกรดจดั มาก-กรด ปานกลาง (pH 4.5-6.0) (ขวา)

ป่าบุ่งปา่ ทาม ภาคอีสาน 41 ปา่ คำ� ชะโนด อ.บา้ นดงุ จ.อุดรธานี (บน), และ ปา่ พรุโตะ๊ แดง จ.นราธิวาส (ล่าง) เปน็ ปา่ พรุ (peat swamp forest) มนี ้�ำทว่ มขังและดินทชี่ ้นื แฉะตลอด ปี ชัน้ ดนิ มีซากพืชแบบพตี /สนุ่น (peat) เป็นช้นั หนา (ขวา) ไมจ่ ดั วา่ เปน็ ปา่ บงุ่ ปา่ ทาม

42 ป่าบงุ่ ป่าทาม ภาคอสี าน ลกั ษณะพรรณไม้ ชนดิ , ไมล้ ้มลุก 40 ชนดิ และไม้น�ำ้ ล้มลุก 38 ชนิด ใน จำ� นวนน้ีเกอื บทุกชนดิ เป็น พชื พื้นเมอื งของประเทศไทย พรรณไม้ทงั้ หมดทสี่ �ำรวจพบในปา่ บงุ่ ป่าทาม (รวม (native species), มี 7 ชนิดทเี่ ป็น พืชต่างถนิ่ (alien เขตปา่ บกกง่ึ ป่าทามดว้ ย) เฉพาะจากการศึกษาคร้ังน้ีมี species) โดยเฉพาะอย่างยิ่ง พชื ต่างถนิ่ ท่ีมีนิสัยรุกราน ทง้ั สิน้ 232 ชนดิ (175 สกลุ ใน 79 วงศ)์ ซ่งึ ผู้เขยี น แบบวชั พชื (invasive alien species) ท่คี ุกคามพืชพนื้ ประมาณการว่าความหลากหลายของชนิดพันธ์ุพชื ในป่า เมอื ง สร้างปัญหาอยา่ งมากตามพื้นท่ีชุ่มน้�ำต่างๆ ท่ัว บุ่งป่าทาม ในภาคตะวันออกเฉียงเหนอื น่าจะมไี มต่ ่ำ� กว่า ประเทศ คอื ไมยราบยกั ษ์ กระเฉดต้น จอกหหู นูยักษ์ 400 ชนดิ หากมีการส�ำรวจโดยละเอียดกวา่ นี้ โดยเฉพาะ และผักตบชวา สงั คมพชื ในบึงและพรรณไม้ล้มลกุ อีกเปน็ จำ� นวนมาก ใน การส�ำรวจครง้ั นี้แบง่ กล่มุ พืชทพ่ี บตามวิสยั (habit) เปน็ 5 กลมุ่ แต่ละกลุ่มมจี ำ� นวนดงั น้ี ไม้ตน้ 55 ชนิด, ไม้ พมุ่ หรอื ไมพ้ ุ่มรอเลือ้ ย 73 ชนิด, ไมเ้ ลื้อย/เถาวัลย์ 26 นิเวศวทิ ยาของพรรณไมใ้ นป่าบุ่งป่าทาม ท่ม/กระทุ่มนา, เปือยน้�ำ/ตะแบกนา, แก/สะแกนา, 1. เป็นพชื ที่ทนต่อน�ำ้ ท่วมขงั ไดด้ ี บางชนดิ ทั้งต้น คางฮงุ /คาง, ฝ้ายน�้ำ, กระโดนน้�ำ/จิก, ไผ่กะซะ, ตานา, สามารถจมอยู่ใตน้ ำ้� ตลอดฤดูนำ�้ ท่วม โดยทใี่ บยงั มีสีเขยี ว เบ็นน้�ำ, อำ� ไอ่ และ เครือตาปลา/เถาวัลยเ์ ปรียง เป็นต้น อยู่จนน้ำ� ลง หลังนำ้� ลดจะแตกใบใหมเ่ จรญิ เตบิ โตได้ตอ่ เน่ืองจากชว่ งเวลาในการเจรญิ เติบโตจำ� กัด เฉพาะหลงั ไป โดยเฉพาะชนิดพนั ธทุ์ มี่ ี ระดบั ความซอ่ื สัตย์ (fidel- นำ�้ ลดประมาณ 2 เดอื นท่ียังพอมคี วามช้ืนในดนิ และ ity) สูงตอ่ ระบบนเิ วศปา่ ทาม ซ่งึ จะกล่าวต่อไปในหวั ข้อ 2-4 เดือน ในชว่ งต้นฤดูฝนกอ่ นนำ้� หลาก เร่ือง สังคมพืชปา่ ทาม 2. สว่ นใหญ่เปน็ พืชโตเรว็ เจริญเติบโตไดด้ ีในท่โี ล่ง 3. ทกุ ชนิดมกี ารปรับตวั ในการออกดอก-ผล (ชพี แจ้ง สามารถออกดอกและติดผลเม่ืออายุยงั น้อย 3-4 ลักษณ,์ phenology) ท่สี ัมพนั ธ์กับฤดูกาลต่างๆ ไดแ้ ก่ ปี ซง่ึ จัดว่าเปน็ คุณสมบตั ขิ อง พรรณไม้เบิกน�ำ (pi- ฤดฝู น ฤดูนำ้� หลาก ฤดนู ำ�้ ลงดนิ ช้นื ฤดแู ลง้ ดินแห้ง ซึ่ง oneer species) มที ้ังไมต้ น้ ไมพ้ มุ่ และเถาวัลย์ เชน่ แบ่งเปน็ 5 กล่มุ ตามตารางท่จี ะกล่าวต่อไป

ปา่ บงุ่ ปา่ ทาม ภาคอีสาน 43 พชื อกี กลมุ่ ทีป่ กติเป็นพชื ท่ีมกั พบในสังคมพชื ป่าดง ดิบแล้งหรอื ปา่ ผลดั ใบ แตเ่ ป็นพชื ที่สามารถพบได้บอ่ ย ในปา่ บ่งุ ปา่ ทามบรเิ วณแนวเชอ่ื มตอ่ ระหวา่ งสังคมพชื ที่ มีปจั จัยแวดล้อมค่อยๆ เปล่ยี นไปทำ� ให้มกี ารปะปนกัน ของระหว่างสองสังคมพชื เช่น บรเิ วณคนั ดินธรรมชาติ (natural levee) ขอบพ้นื ที่บ่งุ ทามทต่ี ดิ ตอ่ กบั เนนิ ดินลานตะพกั ล�ำน้�ำเกา่ (river terrace) หรือแม้แต่ ตามจอมปลวกท่งี อกอย่ใู นเขตพ้ืนทบ่ี ุ่งทาม กส็ ามารถ พบได้เชน่ กนั ชนดิ พนั ธไุ์ ม้ท่พี บบอ่ ย เชน่ ยางนา, ตะเคยี น, พะยอม, ซาด/ยางเหยี ง, หมี่/หมีเหมน็ , แคปา่ , หมากพบั , บักเกีย/มะเกลอื , หนามพมิ าน/กระถนิ พมิ าน, กะหนวน/ฉนวน, อะราง, ประดู่, สะเดา, เหมือด/ เหมอื ดหอม เปน็ ต้น ชื่อราชการและชอื่ วทิ ยาศาสตรส์ ามารถคน้ หาจาก ตารางบัญชีรายชือ่ พืชทง้ั หมดในสว่ นภาคผนวก และ บางชนดิ ทม่ี ีการใช้ประโยชน์บอ่ ยหรอื เปน็ พืชสำ� คัญ หายากจำ� นวน 167 ชนิด ได้บรรยายไว้ในสว่ นของ พรรณไม้อีกด้วย ไม้พมุ่ เตย้ี และกลา้ ไม้ จำ� นวนมากสามารถจมอย่ใู ตน้ �ำ้ ได้กว่า 2 เดือน ยังคงมใี บเกา่ สีเขยี วพรอ้ มรอยคราบน้�ำเกาะ กรัง กลบั มาแตกใบอ่อนเติบโต อกี คร้งั ในชว่ งฤดูร้อน เดอื น มนี าคม (ซ้าย), กลา้ ไม้ท่ีงอกใหม่ หลังนำ้� ลด (บน)

44 ป่าบุ่งป่าทาม ภาคอีสาน ทม่ /กระทมุ่ นา (Mitragyna diversifolia) แก/สะแกนา (Combretum quadrangulare) ฝ้ายน�้ำ (Mallotus thorelii) ไม้เบิกน�ำ (pioneer species) ของป่า บุ่งป่าทาม จะเข้ามางอกและเติบโตได้อย่าง รวดเร็วตามชายป่า ที่โล่งแจ้ง ป่าเส่ือมโทรม หรอื ตามพ้ืนทีเ่ กษตรในพน้ื ท่บี งุ่ ทามทปี่ ลอ่ ย ท้งิ ร้าง ไผก่ ะซะ (Bambusa cf. flexuosa)

ป่าบงุ่ ปา่ ทาม ภาคอีสาน 45 กลุม่ ของพรรณไมต้ ามการออกดอกออกผล ประเภทของพืชตามชีพลักษณ์ ชนดิ พืช ไขแ่ ข้, มะดนั , นาวน�้ำ, หำ� อีป,ู่ แสง, หมากแซว, ฝา้ ยน้�ำ 1 ไมต้ น้ ไม้พ่มุ หรอื ไมเ้ ลื้อย ทผ่ี ลแกร่ ่วง , คนั กอ้ ง, แห,่ เครอื กระพ้ี, เครอื ทะมอง, เขทาม, หลู งิ , หลน่ เฉพาะในฤดูนำ้� หลาก ส่วนใหญผ่ ลลอยน้ำ� ดปี ลาขอ่ , เง่ยี งดุก, ก้านเหลอื ง, ไชยวาน, ขก้ี ะลุย, หนาม- ได้ เมลด็ งอกหลังฤดนู ำ้� ลด ทัง้ ต้นสามารถจม พงุ ดอ, คล้า ใตน้ ้�ำได้ อาศยั กระแสน้�ำเป็นหลักในการขยาย พันธ์ุ กระเบาน�้ำ, ก่มุ นำ�้ , ก่าม, แหน่ อ้ ย, ทะลอก, น้�ำจอ้ ย , โก, ช้องแมว, กระโดนน้�ำ, เครอื กระจับ, คอมน้�ำ, 2 ไมต้ น้ ไม้พุ่ม หรือไมเ้ ลอื้ ย ท่ผี ลแกใ่ นชว่ งตน้ เด่อื ใหญ่, ขอ่ ย, ผักอที ก, เครอื ใส้ไก,่ หมากเม่าทาม, ฤดูฝน-ฤดนู ้�ำหลาก เมลด็ งอกหลังฤดูนำ�้ ลด ทงั้ เสยี วน้อย, เครอื ตายดิบ, อนิ ถวาน้อย, ยอน�้ำ, ยอเบย้ี , ต้นสามารถจมใตน้ �้ำได้ อาจไม่จำ� เปน็ ต้องอาศัย ยอพญาไม,้ เหมือดกุง้ , เหมือดแอ, คดั เคา้ , ขา้ วสาร, กระแสน้�ำในการขยายพันธ ุ์ เครอื หุนแป, ตงั บ,ี้ มนั ปลา 3 ไมต้ น้ ไม้พุ่ม หรอื ไมเ้ ลือ้ ย ท่ผี ลแกใ่ นชว่ งฤดู เปลา้ ทาม, ผ้าฮา้ ย, หนามชายช้,ู หนามกระทงิ , หนาว-ฤดูร้อน-ต้นฤดฝู น เมลด็ งอกตน้ ฤดฝู นแลว้ คางฮงุ , ถ่อน, จาน, ขามแป, เปอื ยกระแดง้ , เบ็นน�้ำ , รีบเจริญเตบิ โตให้พน้ ระดับนำ้� หรอื ทัง้ ตน้ สามารถ กระดกู อ่ึง, เครือตาปลา, ตนี ซนิ่ เหีย้ น, เปือยน้�ำ, จมใตน้ ้ำ� ได้ อาจไมจ่ ำ� เปน็ ตอ้ งอาศยั กระแสนำ้� ใน เปอื ยน�้ำสงคราม, หมากขี้อ้น, ปอทาม, ข้าวจ่,ี กะสิน การขยายพันธุ์ , แดงสะแง, เด่ือใหญ่, ข่อย, ข่อยน้�ำ, หว้า, หว้านา, ส่าเหลา้ , เสียว, ตีนจ�้ำ, ค�ำไก,่ หมากเล็บแมว, หนามคอง , สะมงั , หนามแท่ง, ทม่ , ยอน้�ำ, ยอเบยี้ , ยอพญาไม,้ ตดหมา, ตดหมานอ้ ย, เกยี งปืน, ก้ามป,ู ช�ำมะเลยี ง, หวดข่า, หมาวอ้ , เครอื หุนแป, ตานหม่อน 4 พชื ลม้ ลุก เริ่มงอก/เจริญเติบโตในช่วงฤดูฝน- มนั แซง, ฝกั พรา้ , โสนน้อย, โหบเหบ, หญ้าฮ้นิ ไก่, ฤดูน้�ำหลาก ออกดอกติดผลกลางฤดูฝนจนถงึ ฤดู ต่างไก่, กระจบั เล็ก, ผักพพี วย, แฝก, แซง, ผักฮิน้ , ฮาก- ร้อนหรอื จนน�้ำแห้ง กจ็ ะตายหรอื จำ� ศลี สามสิบ 5 พชื ทีอ่ อกดอกและติดผลตลอดทงั้ ปี หรอื หยุด ไมยราบยักษ,์ กระเฉดต้น, จอกหูหนยู ักษ,์ ผักตบชวา, เติบโต/ตาย เมอ่ื ความช้นื ในดนิ แห้งไป แลว้ จะ ผักกันจ้อง, แก, บวั แบ, บัวหลวง, บวั สาย, บัวผัน, ผกั ข้ขี ม งอกมาใหมเ่ มื่อมีความชื้นในดินเพียงพอ , บักนอดน้�ำ, ผักปอดตน้ , ตานา, อ�ำไอ,่ พงั โพดใหญ,่ แหนปากเปด็ , ผกั กาดนา, เทยี นนา, เครอื ตมู กา, กะเม็ง, หญ้างวงช้าง, หญ้าตบี กบั แก้, ผกั ฮ้อนแฮ้น, ผกั กาดฮ้อ, ผกั บอ่ , บกั ลุมพุก, สงั

46 ป่าบ่งุ ปา่ ทาม ภาคอสี าน หลู งิ (Hymenocardia punctata) หมากกะดนั /มะดัน (Garcinia schomburgkiana) เบ็นนำ้� (Combretum trifoliatum) ผกั กาดฮอ้ (Sphaeranthus indicus) กลมุ่ ของพรรณไม้ตามการออกดอก-ผล, หูลงิ และ มะดัน เป็นกลุม่ ท่ผี ลแก่ ร่วงหล่น ลอยน�้ำ ในฤดูน�ำ้ หลาก เมลด็ งอกหลังฤดูนำ้� ลด, เบน็ น�้ำ เปน็ กลุ่มทผี่ ลแก่ ในชว่ งฤดูร้อน-ต้นฤดูฝน เมลด็ งอกตน้ ฤดูฝนแลว้ รบี เจรญิ เตบิ โตให้พ้นระดับนำ้� หรอื จมน้�ำได้, ผักกาดฮ้อ เป็นกลุ่มที่เจริญเติบโตได้ตลอดปี ถ้าดินมีความชื้นเพียงพอ เช่น หลังน้�ำลดหรอื ตน้ ฤดฝู น ใชเ้ วลาเตบิ โตเพียง 1-2 เดอื นก็ออกดอก-ตดิ ผลแลว้

ป่าบงุ่ ปา่ ทาม ภาคอีสาน 47 โครงสร้างป่า ระยะเวลาท่วมขงั สนั้ คอื สงั คมพืชในบึง และ สังคมพืช ปา่ ทาม สว่ นสังคมพืชปา่ บกทีพ่ บในเขตที่ราบน้�ำทว่ ม โครงสร้างทางแนวราบ หรือ การเรยี งตัวของ ถงึ และพื้นทตี่ ิดตอ่ ไดแ้ ก่ สังคมพชื ปา่ ดงดบิ แลง้ และ สังคมพชื ตามแนวราบ (zonation) เกดิ ขึ้นจากสภาพ สังคมพืชปา่ เตง็ รัง หรอื บางครง้ั อาจพบสังคมพืชป่า ภูมปิ ระเทศภายในเขตที่ราบนำ้� ทว่ มถงึ มรี ะดบั ความสูง เบญจพรรณอกี ดว้ ย และรปู ร่างของพน้ื ผิวทีแ่ ตกต่างกัน ท�ำใหม้ รี ะยะเวลา การแช่ขงั น�ำ้ ไมเ่ ท่ากัน จึงมีอทิ ธพิ ลต่อการจัดเรียงตวั สำ� หรับเขตแนวเชอ่ื มตอ่ ระหว่างปา่ บกกบั ปา่ บงุ่ ของชนดิ พันธพุ์ ืช ใหม้ ีการกระจายพนั ธุ์ในพนื้ ท่ีทแ่ี ตก ปา่ ทาม ได้นำ� มากล่าวไว้เปรียบเทยี บท่ดี ้านท้ายหวั ข้อ ตา่ ง ตามความต้องการปัจจยั สงิ่ แวดลอ้ มที่แตกต่างกันใน โครงสร้างปา่ เพ่ือปอ้ งกันความสบั สนดา้ นการจำ� แนก แต่ละชนดิ เฉพาะในพืน้ ทบ่ี ่งุ ทาม (lowland flood- สงั คมพชื มรี ายละเอียดดงั ตอ่ ไปนี้ plain) เกดิ เปน็ สังคมพืชยอ่ ย 2 สังคมพชื เรียงล�ำดบั จากสงั คมพชื ท่ีมีน�ำ้ ทว่ มขงั ยาวนานไปหาสงั คมพืชที่มี ทอ่ี ยอู่ าศยั (urban) สังคมพืชปา่ ดงดิบแล้ง สังคมพชื ปา่ ทาม สงั คมพืชในบึง สังคมพืชป่าเต็งรัง ท่งุ นา (field) (semi-evergreen (lowland floodplain forest) (pond vegetation) (deciduous dipterocarp forest) forest) ลานตะพกั ลำ� น้ำ� เก่า คันดนิ ธรรมชาติ คนั ดินธรรมชาติ บึง/หนอง ระดับน้�ำทว่ มครั้งใหญ่ (river terrace) (natural levee) (marsh) ระดบั น้�ำท่วมปกติ แม่นำ้� กุด (oxbow lake)/ ระดบั น้ำ� ในฤดแู ล้ง ทร่ี าบน�้ำทว่ มถงึ (river) ทางนำ�้ เก่า (abandoned channel) (floodplain) ลานตะพักลำ� น�ำ้ เกา่ พ้นื ท่ีบงุ่ ทาม (river terrace)/ (lowland floodplain) ที่ราบลกู คล่นื (undulating plain) การเรยี งตวั ของสงั คมพืชในที่ราบนำ้� ทว่ มถึง

48 ป่าบุ่งปา่ ทาม ภาคอีสาน 1. สงั คมพชื ในบงึ (pond vegetation) ลำ� ต้นข้ึนมาเหนอื นำ้� แต่มีรากแชใ่ นน�้ำหรือดนิ ท่ีชน้ื แฉะ หรือ “ปา่ บุ่ง” พนื้ ทเ่ี ขตน้ีไม่ได้มสี ภาพเปน็ ป่าไม้ พชื กลุม่ นีจ้ ะชอบข้ึนตามเขตใกล้ขอบบึงหรือท่งุ นาทีม่ ี ท่ีปกคลมุ ไปดว้ ยต้นไม้ใหญ่ แต่มีพรรณไม้นำ้� ล้มลกุ ระดบั น้ำ� ลึกปกตไิ มเ่ กนิ 50 เซนติเมตร จงึ เรียกไดอ้ ีกชอื่ เปน็ พืชเดน่ ขึ้นปกคลุมอย่ตู ามแหล่งนำ้� ที่มนี �ำ้ ขังเกือบ ว่า กลุม่ พชื รมิ บึง เชน่ บอน, บัวหลวง, โสนนอ้ ย, คล้า, ตลอดปี-ตลอดปี เช่น บงุ่ บงึ หนอง มาบ เลิง กดุ รอ่ ง หญ้าขดั แดง, ผกั ปอดต้น, ผักฮ้นิ , ผักพพี วย, พงั โพดใหญ่ เป็นตน้ น�้ำท่ีทว่ มขังอยู่ยาวนาน (ปกตมิ ากกว่า 6 เดือน) ผักบุ้ง, ผอื , กก และหญ้านำ้� ชนิดต่างๆ เป็นตน้ และ ทำ� ใหพ้ ืชในกลมุ่ ไมต้ น้ ไม้พมุ่ ไม้เล้ือย ไมส่ ามารถเข้ามา ไม้พุ่มอกี ชนิดที่หายากมากในปจั จุบนั คือ ต้นไชยวาน ท่ี ตั้งตัวอย่ไู ด้ สงั คมพืชในบงึ จะก่อตัวขึ้นมาได้ดใี นแหลง่ ชอบขนึ้ ในบึงน�ำ้ ต้ืนหรอื ริมบึง ท่มี ีระดับนำ้� ลกึ ปกติไม่เกนิ น้�ำท่ไี มม่ กี ารรบกวนมากจากกระแสน�้ำที่ไหลแรงจัด และ 2 เมตร พบท่หี นองไชยวาน อ.ศรสี งคราม จ.นครพนม มีแสงสอ่ งลงไปถึงพน้ื ท้องน�ำ้ ในบางช่วง เช่น แหล่งน�้ำ นิ่งที่มคี วามลกึ ในฤดนู ำ�้ หลากไม่เกิน 4 เมตร และมีพ้ืน ท้ังนี้พชื ในกลุ่มที่ 1-2 อาจกระจายตัวเข้ามาข้ึน ผิวนำ้� ไม่กว้างมากจนท�ำใหม้ ีลมพัดแรงรบกวนการตง้ั ตวั ปะปนกับพชื ในกลุ่มท่ี 3 กไ็ ด้ สำ� หรับตามล�ำน�้ำท่มี ี ของพืชน�้ำ ไดแ้ ก่ บึง หนอง กุดตืน้ เป็นตน้ ดินในเขตท่ี กระแสน้ำ� ไหลแรงและท่วมสูง เช่น แม่น้ำ� มเี พยี งกลมุ่ ลุ่มต�่ำส่วนใหญเ่ ปน็ ดนิ ตะกอนเน้อื ละเอยี ดกลุ่มดินเหนยี ว พชื ลอยนำ้� เท่าน้ันทีป่ รากฏได้ทกุ ฤดกู าล พืชในกลุ่มท่ี (clay) และมีการสะสมซากของพชื นำ้� ทีก่ น้ บึงจำ� นวน 2-3 จะต้ังตัวได้เฉพาะในฤดแู ล้งทกี่ ระแสน้�ำไหลช้า น้�ำใส มาก เรยี กว่า “พีต/สนุ่น/ขีส้ น่นุ ” (peat) ในฤดูแลง้ บาง มีระดบั น้�ำคอ่ นข้างทรงตวั และตามตล่ิงท่มี คี วามลาดชนั แห่งมีนำ�้ แหง้ และเกดิ ไฟไหม้ทรี่ ุนแรงได้ ในบึงทม่ี ีน�ำ้ ทว่ ม น้อย เชน่ ชายฝ่ังยน่ื ออก (point bar) ขังตลอดปขี ี้สนนุ่ ทเี่ กดิ จากซากพชื ใตน้ ำ้� (ชาวบ้านเรยี ก พืชใตน้ �ำ้ โดยรวมว่าแหน/สาหรา่ ย) จะรวมตวั กนั หนา เม่อื เขา้ สู่ฤดูนำ�้ หลาก ในบึงทอ่ี ย่ใู กล้แมน่ ้�ำและมีทาง แนน่ ลอยข้นึ มาอยูท่ ่ีผวิ นำ�้ เรียกวา่ “แพขีส้ นุ่น” บางแห่ง นำ้� เก่าเชือ่ มตอ่ น้�ำจากแม่นำ้� จะไหลผ่านรอ่ งน�ำ้ เหล่าน้ี จะมี ตน้ สน่นุ (Salix tetrasperma) กก หญ้า หรือเฟนิ เข้ามาถงึ บงึ และเขตพน้ื ท่ีล่มุ ต่ำ� กอ่ น ไมจ่ �ำเป็นต้องรอ ข้ึนหนาแนน่ สามารถถกู ลมพดั เคลอ่ื นที่ได้ เช่น ในบึง ให้น้ำ� ล้นตลิ่ง เม่อื ระดับน�ำ้ สงู ขึ้นและไหลแรงพืชลอยน้�ำ หนองหาน จ.สกลนคร สงั คมพชื ในบงึ พรรณไมน้ ้ำ� จะมี จะถกู พัดพากระจายออกไปบ้าง เป็นการชว่ ยทำ� ความ การจดั เรยี งตัวเปน็ กล่มุ ตามระดบั ความลึกของน�ำ้ จนถึง สะอาดเปดิ ผวิ น�ำ้ ให้แสงส่องลงถงึ ใต้ท้องน้�ำ แลว้ พชื ชายฝ่ัง ไดด้ งั นี้ ใต้นำ้� ไดส้ ังเคราะห์แสงเตมิ อากาศให้แก่น้ำ� ระดับน้�ำที่ 1) กลมุ่ พชื ลอยนำ�้ เปน็ พืชทเ่ี กอื บทกุ สว่ นลอย คอ่ ยๆ เพ่มิ สูงขน้ึ จะช่วยท�ำใหก้ ลุ่มพชื ใบอยปู่ ริม่ น้�ำไดย้ ดื อยทู่ ี่ผวิ นำ�้ หรือใกลผ้ วิ นำ�้ ไม่มีรากยึดติดกับพนื้ ดนิ ทอ้ ง กิ่ง-ก้านใบยาวตามระดับความลกึ ของน้ำ� เช่น บวั สาย น�ำ้ ลอยไปมาได้อยา่ งอิสระ เชน่ จอก, จอกหหู นู, จอก- แหนปากเป็ด บวั ผนั กระจบั เลก็ หากเปน็ ปีที่ระดับน้�ำขนึ้ หหู นยู ักษ์, สาหร่ายขา้ วเหนียว/แหน, แหนแดง, บัวแบ, สงู มากกวา่ ปกติ กลุ่มพืชริมบึงจะไม่สามารถยดื ใบให้สงู ผักตบชวา เปน็ ตน้ ได้ จงึ จมน�้ำตาย ถ้านำ�้ ทว่ มเป็นเวลานาน เช่น บวั หลวง 2) กลุ่มพืชใบอยู่ปร่ิมนำ�้ พืชกลุ่มนมี้ ีรากและลำ� ตน้ บอน กก และหญา้ ต่างๆ เป็นต้น ยึดติดพนื้ ดนิ ทอ้ งน�้ำ ชกู งิ่ กา้ นใบ และใบข้นึ มาปริ่มนำ�้ ไดแ้ ก่ บวั สาย, แหนปากเป็ด, กระจับเลก็ สว่ นพื้นที่ เม่อื ฤดูน้�ำลงจนขอบบึงแหง้ กลุ่มพชื รมิ บงึ จะรกั ษา ระดบั น้ำ� ลกึ ไมเ่ กิน 50 เมตร และผิวนำ�้ เปดิ รบั แสงจะพบ หวั ใต้ดินไว้ หรือบางชนิดทิ้งเมล็ดใหจ้ มอย่ใู นดนิ โคลนท่ี ผกั โหบเหบ, ผักคะนองม้า, แหนไผ,่ หญ้าฮน้ิ ไก่ เปน็ ตน้ แห้ง รอนำ�้ มาในปีตอ่ ไป แต่ในช่วงฤดูแลง้ ตามแหลง่ น้ำ� ท่ี 3) กลมุ่ พืชใบอยูเ่ หนอื น้ำ� เป็นพชื ที่ชูใบ กา้ น และ มีน้�ำขงั ตลอดปี กลมุ่ พืชลอยน�ำ้ หรอื กลมุ่ พืชใบอยูป่ ร่ิมนำ้� สามารถเจริญเติบโตไดด้ ตี อ่ ไป บางชนิดเจริญเติบโตอย่าง รวดเร็วจนสร้างปญั หา และท�ำใหน้ ้ำ� เน่าเสยี เชน่ ผกั ตบ- ชวา จอกหูหนู จอกหูหนูยักษ์ กระจบั เลก็ เปน็ ต้น

ปา่ บุง่ ปา่ ทาม ภาคอีสาน 49 ซากพืชใต้นำ้� จ�ำพวกสาหรา่ ย/แหน เมือ่ ตายจะลอยข้นึ มารวมตัว สะสมกนั จนหนาแน่น แลว้ มกี ลมุ่ พชื นำ้� รมิ บงึ และหญา้ ต่างๆ เข้ามาข้ึน ทด่ี า้ นบน รวมถงึ ต้นสนนุ่ (Salix tetrasperma) สามารถลงไปเดินได้, ถ่ายจาก หนองหาน อ.เมือง จ.สกลนคร ตน้ ไชยวาน (Cephalanthus tetrandra) ไม้พุม่ หายาก ท่สี ามารถขึ้นในบงึ น�้ำต้นื ได,้ หนองไชยวาน อ.ศรสี งคราม จ.นครพนม สงั คมพชื ในบงึ ทมี่ รี ะดบั นำ้� ไมล่ กึ น�้ำน่ิง และมี ระดับนำ�้ ข้ึน-ลงเพยี งเล็กนอ้ ย เชน่ บงึ หนอง จะมีกล่มุ พืชนำ้� ครบทั้ง 3 กลมุ่ (บน), กดุ เป็นแหล่งนำ�้ ท่ีลกึ และ มนี ำ�้ ไหลแรงในฤดูน�ำ้ หลาก หรือยกระดบั นำ�้ ขน้ึ -ลง รวดเร็ว ท�ำใหม้ ีกลุ่มพชื รมิ บงึ ตง้ั ตวั ได้ยาก ส่วนใหญพ่ บ แต่กลุ่มพืชลอยนำ้� (ซา้ ย) (อ.กันทรารมย์ จ.ศรีสะเกษ)

50 ปา่ บุ่งป่าทาม ภาคอสี าน แหลง่ นำ้� นิ่งชว่ งในฤดู แลง้ กระจบั เลก็ (Trapa incisa) นอกจะขึ้นหนาแน่น แลว้ ผลทีม่ หี นามแหลมคม ตกลงสู่ท้องนำ�้ เปน็ อุปสรรค แกช่ าวประมงทล่ี งไปหาปลา (อ.ชมุ พวง จ.นครราชสีมา) ในฤดแู ลง้ กดุ ทีต่ ื้น นำ้� จะแห้งจนซากพืชทก่ี น้ บึง แหง้ ไปด้วย เม่อื เกดิ ไฟป่า ไหมล้ กุ ลามเขา้ ไปจะดบั ยาก และทำ� ลายเช้อื พันธ์ุของพืช ทีพ่ กั ตัว (อ.สว่างวีระวงศ์ จ.อบุ ลราชธานี)