Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore กรมการศาสนา

Description: กรมการศาสนา

Search

Read the Text Version

กรมการศาสนา Department of Religious Affairs, Ministry of Culture

กรมการศาสนา กรมการศาสนา กระทรวงวฒั นธรรม

กรมการศาสนา กระทรวงวัฒนธรรม Department of Religious Affairs, Ministry of Culture ผูจ้ ัดพิมพ์ กรมการศาสนา กระทรวงวัฒนธรรม ปีทพ่ี ิมพ์ พ.ศ. ๒๕๕๗ จ�ำ นวนพิมพ์ ๑,๐๐๐ เล่ม ทป่ี รึกษา นายกฤษศญพงษ์ ศิริ อธิบดีกรมการศาสนา นายกฤษฎา คงคะจันทร์ รองอธบิ ดีกรมการศาสนา นายสเุ ทพ เกษมพรมณ ี ผอู้ �ำ นวยการส�ำ นกั พฒั นาคณุ ธรรมจรยิ ธรรม นายพิสทิ ธิ์ นริ ัตติวงศกรณ ์ ผู้อ�ำ นวยการกองศาสนูปถมั ภ์ นายชวลติ ศริ ภิ ริ มย์ เลขานกุ ารกรมการศาสนา กองบรรณาธกิ าร นายเกรยี งศกั ด์ิ บุญประสทิ ธิ์ นายชวลติ ศิรภิ ริ มย์ นางสุรีย์ เกาศล นายส�ำ รวย นกั การเรยี น นายศรัญ ล้มิ สกลุ นางสาวจริ ฐา ปนิ่ เวหา นางสาวดวงเด่น เดน็ หล ี นางอมรศรี หอมาลัยกุล นางสุปรยี า ฉลาดสุนทรวาท ี นางสาวศริ ิมา จาดคล้าย นายสุทิน ยางก้อน นางสาววรกร วัฒนวงศ์สกลุ พมิ พ์ท่ี โรงพิมพ์ชุมนุมสหกรณ์การเกษตรแหง่ ประเทศไทย จำ�กัด ๗๙ ถนนงามวงศว์ าน แขวงลาดยาว เขตจตุจกั ร กรุงเทพมหานคร ๑๐๙๐๐ โทร. ๐-๒๕๖๑-๔๕๖๗ โทรสาร ๐-๒๕๗๙-๕๑๐๑ นายโชคดี ออสุวรรณ ผพู้ มิ พผ์ ูโ้ ฆษณา

คำ�น�ำ พระมหากษตั รยิ ท์ รงพระกรณุ าโปรดเกลา้ ฯ มอบหมายภารกจิ เกย่ี วกบั งานดา้ นการ พระศาสนา มาตง้ั แตส่ มยั ตน้ รตั นโกสนิ ทร์ ในชอื่ ของกรมธรรมการบา้ ง กรมสงั ฆการบี า้ ง กรมสงั ฆการธี รรมการบา้ ง ซงึ่ เจา้ กรมมศี กั ดนิ าเทยี บชน้ั เสนาบดี ซงึ่ แตเ่ ดมิ มภี ารกจิ เกย่ี วกบั พระพทุ ธศาสนาเปน็ หลกั เนอ่ื งจากพระพทุ ธ ศาสนาเป็นศาสนาทพ่ี ลเมอื งสว่ นใหญน่ บั ถือ ต่อมาเม่ือวนั ที่ ๒๐ สงิ หาคม ๒๔๘๔ ได้มปี ระกาศใชพ้ ระราช บัญญตั ิปรบั ปรุงกระทรวง ทบวง กรม พ.ศ. ๒๔๘๔ มผี ลใหม้ กี ารเปลี่ยนชือ่ “กระทรวงธรรมการ” เปน็ “กระทรวงศกึ ษาธกิ าร” และ “กรมธรรมการ” เปลยี่ นชอื่ เปน็ “กรมการศาสนา” มภี ารกจิ สนองงานสถาบนั พระมหากษัตริย์เก่ียวกับงานด้านศาสนา และในปีพุทธศักราช ๒๕๐๕ กรมการศาสนาและผู้นำ�องค์กร ทางศาสนาเหน็ วา่ การท่ีสังคมไทยยังมีศาสนาเปน็ หลักในการนำ�หลักธรรมทางศาสนาไปสปู่ ระชาชน เพ่ือ เป็นการพัฒนาคุณธรรมจริยธรรมของคนในสังคมจนถึงปัจจุบันอยู่ได้ ก็เพราะศาสนาได้รับการท�ำ นุบำ�รุง สนบั สนนุ สง่ เสรมิ จากสถาบนั พระมหากษตั รยิ แ์ ละบรรพชนทไ่ี ดร้ ว่ มกนั สบื สานมาโดยไมข่ าดสาย สมควรที่ จะไดร้ ว่ มกันแสดงออกซ่ึงความกตญั ญูกตเวทีใหป้ รากฏแก่สงั คม โดยถือเอาวนั ที่ ๒๐ สงิ หาคม เปน็ วนั จดั กิจกรรมและใหช้ ื่องานว่า “วันศาสนปู ถมั ภ”์ ซ่ึงนับตงั้ แต่การจัดครง้ั แรกเม่อื ปพี ทุ ธศักราช ๒๕๐๕ จนถึง ปจั จุบันนับเปน็ ปที ี่ ๕๒ การจัดพิมพ์หนังสือ “กรมการศาสนา” น้ีเพ่ือเป็นบรรณาการเน่ืองในวันศาสนูปถัมภ์ และ ความภูมิใจในการท่ีกรมการศาสนาและองค์กรเครือข่ายได้ร่วมกันขับเคล่ือนชุมชนคุณธรรมภายใต้ ยทุ ธศาสตร์การดำ�เนินงาน ๓ เป้าหมายหลกั คอื ๑. การนอ้ มน�ำ หลกั ธรรมไปประพฤติปฏิบัติตามหลักค�ำ สอนของแตล่ ะศาสนา ๒. การนอ้ มน�ำ หลกั ปรชั ญาของเศรษฐกจิ พอเพยี งของพระบาทสมเดจ็ พระเจา้ อยหู่ วั มาเปน็ หลกั ในการพฒั นาคณุ ภาพชวี ติ ๓. การด�ำ เนินชีวติ แบบวิถีวัฒนธรรมไทย ด้วยการใชพ้ ้ืนท่ขี องศาสนสถานเปน็ แหลง่ เรยี นรทู้ าง ประวตั ศิ าสตร์ และจดั กจิ กรรมทางศาสนาและศิลปวัฒนธรรมร่วมกันของชุมชน

กรมการศาสนาเชื่อมั่นว่า ศาสนาในสังคมไทยเป็นสถาบันหลักคู่กับประเทศไทยมาโดยตลอด ศาสนาจึงเป็นพ้ืนฐานของชีวิตและสังคม เพราะคนไทยมีความเล่ือมใสเคารพศรัทธาในหลักธรรมคำ�สอน ของศาสนา โดยมศี าสนสถานเปน็ ศนู ยก์ ลางของชมุ ชน และมศี าสนบคุ คลทป่ี ระพฤตดิ ปี ฏบิ ตั ชิ อบเปน็ แบบ อยา่ ง ดังนนั้ พลงั ของศาสนาจงึ เป็นพลังแหง่ ความดที ี่สามารถสรา้ งความสขุ ให้แกค่ นและสงั คม หวงั เปน็ อยา่ งยง่ิ วา่ หนงั สอื กรมการศาสนาเลม่ นี้ จะอ�ำ นวยประโยชนใ์ หไ้ ดท้ ราบถงึ ความเปน็ มา ของกรมการศาสนาและยุทธศาสตร์ ในการร่วมกันขับเคล่ือนสังคมไทยให้เป็นสังคมคุณธรรมของ กรมการศาสนาและองคก์ รเครอื ขา่ ยในการท�ำ หนา้ ทร่ี ว่ มกนั เพอ่ื ใหเ้ กดิ สงั คมปรองดองอยรู่ ว่ มกนั ดว้ ยความสขุ (นายกฤษศญพงษ์ ศิร)ิ อธิบดีกรมการศาสนา

สารบัญ ๑ ๓ ความเปน็ มาแหง่ ศาสนูปถัมภ ์ ๑๔ ประวัติกรมการศาสนา ๑๙ สถานที่ต้ังกรมการศาสนาจากอดีตสปู่ จั จบุ นั ๒๑ รายพระนามและรายนามผ้ดู ำ�รงตำ�แหนง่ อธบิ ดีกรมการศาสนา ๒๔ ทำ�เนียบอธิบดกี รมการศาสนา กระทรวงวฒั นธรรม ตั้งแต่ พ.ศ. ๒๔๔๕-ปัจจบุ นั ๒๖ อ�ำ นาจหนา้ ที่ ภารกิจ กรมการศาสนา กระทรวงวัฒนธรรม ๒๗ การดำ�เนนิ งานตามหลกั ยุทธศาสตร์ ผลงานโครงการต่างๆ ของกรมการศาสนา



1 ความเปน็ มาแห่งศาสนูปถัมภ์ ศาสนปู ถมั ภ์ คอื การอปุ ถมั ภบ์ �ำ รงุ ศาสนา การอดุ หนนุ ชว่ ยเหลอื การเออ้ื เฟอ้ื เกอื้ กลู กจิ การ ในดา้ นตา่ งๆ ของศาสนา ศาสนูปถัมภก คือ ผู้อุปถัมภ์บำ�รุงศาสนา หมายถึงประชาชนทั่วไปท่ีนับถือศาสนามีที่ใช้ พิเศษ คอื เอกอคั รศาสนปู ถัมภก หมายถงึ พระเจา้ อยู่หัว ทรงเปน็ พทุ ธมามกะ ทรงอปุ ถมั ภ์บ�ำ รุง พระพุทธศาสนาและศาสนาอื่นท่ที างราชการรับรอง๑ นับเนอ่ื งแตค่ รัง้ โบราณกาลประวตั ศิ าสตรไ์ ทยแสดงใหเ้ ห็นว่า พระพทุ ธศาสนาเป็นศาสนา ที่คนไทยส่วนใหญ่กว่าร้อยละ ๙๐ นับถือกันมานานแล้ว ดังน้ัน กิจการศาสนูปถัมภ์แต่เดิมจึง เริ่มต้นท่ีศาสนาพุทธเป็นหลัก ดังปรากฏในศิลาจารึกสมัยสุโขทัยและหลักฐานทางประวัติศาสตร์ จากพงศาวดาร จดหมายเหตตุ า่ งๆ ในสมัยอยุธยาและรัตนโกสนิ ทร์ทีแ่ สดงวา่ กจิ การศาสนูปถัมภ์ ไดร้ บั การเอาใจใสจ่ ากพระมหากษตั รยิ แ์ ละราษฎร ตลอดเวลา อกี ทงั้ ผปู้ กครองและชาวเมอื งมคี วาม ตั้งม่ันอยู่ในศีลในธรรม เม่ือถึงฤดูเข้าพรรษาจะพากันประกอบศาสนกิจ รักษาศีล เจริญภาวนา จึงถือได้ว่ากิจการศาสนูปถัมภ์มีความสำ�คัญอย่างมากในการคํ้าจุนศาสนาให้มีความม่ันคงยั่งยืน สืบมา เพราะหากมีแต่ศาสนสถานโดยพุทธศาสนกิ ชนไมส่ นใจทจ่ี ะปฏิบตั ศิ าสนกจิ ไม่นำ�หลักธรรม ทางศาสนามาปฏิบัติให้เกิดประโยชน์ท้ังต่อตนเองและสังคม ศาสนสถานถูกปล่อยท้ิงร้าง ไมม่ เี หลา่ ศาสนิกชนเข้าไปบำ�รุงรักษา งานดา้ นพระศาสนากจ็ ะไม่เจริญรุ่งเรอื งมาจวบจนทกุ วนั นี้ สำ�หรับการศาสนูปถัมภ์ศาสนาอ่ืนๆ ในประเทศไทยได้รับการอุปถัมภ์บำ�รุงตลอดมาโดย สถาบนั พระมหากษตั รยิ แ์ ละศาสนกิ ชน ดงั ปรากฏบทบญั ญตั ขิ องบางศาสนาทม่ี ฐี านะเปน็ กฎหมาย ของชมุ ชน กฎหมายไทยไดบ้ ญั ญตั ิใหก้ ารรับรองไวอ้ ยา่ งชดั เจน จงึ อาจสรปุ ได้ว่า การศาสนูปถัมภ์ ในประเทศไทยมีลักษณะทีถ่ าวรและแผก่ วา้ งไปยังทุกศาสนาทรี่ าชการใหก้ ารรับรองดว้ ยดีเสมอมา ยากทจี่ ะหาประเทศอน่ื ใดในโลกทที่ กุ ศาสนาอยรู่ ว่ มกนั อยา่ งมคี วามสขุ เฉกเชน่ บนผนื แผน่ ดนิ ไทยนี้ ๑ พระธรรมกติ ตวิ งศ์ (ทองดี สุรเดโช ป.ธ. ๙, ราชบณั ฑิต) คำ�วดั

2 พระบาทสมเด็จพระเจา้ อย่หู วั ทรงเปน็ เอกอคั รศาสนูปถมั ภก ด้วยเหตุน้ี จงึ ไดม้ กี ารดำ�เนินงานวันศาสนูปถมั ภ์ขึ้นเป็นครง้ั แรก เมอื่ วนั ที่ ๒๖ กมุ ภาพันธ์ ๒๕๐๗ ณ หอ้ งประชุมกรมการศาสนา กระทรวงศึกษาธิการ โดยในครั้งน้ันไดแ้ ยกการด�ำ เนนิ งานออกเปน็ ๒ ตอน ตอนแรก เป็นการชุมนุมผู้แทนองค์การศาสนาต่างๆ โดยมีรัฐมนตรีว่าการกระทรวงศึกษาธิการ (ม.ล.ปนิ่ มาลากุล) เป็นประธาน ซงึ่ ทา่ นไดก้ ล่าวปราศรัยเป็นทปี่ ระทบั ใจย่ิง ดงั ความตอนหนึ่งว่า.... “เห็นใจเจา้ หน้าทีข่ ององค์การทางศาสนาทุกศาสนาซ่งึ ต้องดำ�เนินงานดว้ ยความรอบคอบ เพราะ การศาสนานั้น เกี่ยวข้องกับศรัทธาของประชาชนทุกระดับ มีข้อปัญหาและเหตุผลในการแก้ปัญหานั้นๆ พเิ ศษแตกตา่ งจากปญั หาทางธรุ กจิ อนื่ ๆ และเปน็ ปญั หาทจ่ี ะแกไ้ ขใหเ้ สรจ็ สน้ิ ไปโดยเบด็ เสรจ็ เดด็ ขาดทนั ที ทันใดไม่ได้ ผู้ทำ�งานด้านศาสนาจึงต้องมีความเสียสละและอดทนเป็นทุนอยู่ในใจ มุ่งกุศลเป็นกำ�ไร และ มคี วามสบายใจเมือ่ ไดเ้ ห็นความสขุ ของคนอ่ืน” ตอนสอง เป็นการบ�ำ เพญ็ กศุ ลอุทิศรำ�ลกึ ถงึ ศาสนูปถัมภ์ทางพุทธศาสนา เพราะบรรพชนเหลา่ นน้ั ส่วนมากเปน็ พุทธศาสนิกชน ซึง่ เปน็ ผูท้ �ำ ให้พระพทุ ธศาสนารวมถึงศาสนาตา่ งๆ อยรู่ ว่ มกันในสังคมไทยได้ อย่างย่ังยืนผาสุกมาถึงปัจจุบัน ด้วยหลักแห่งความเอ้ือเฟ้ือ เก้ือหนุน อนุเคราะห์ซึ่งกันและกัน ด้วยความสงบสุขและสันติ ความส�ำ เรจ็ ของการจดั งานในวนั นน้ั จงึ ท�ำ ใหม้ กี ารจดั งาน “วนั ศาสนปู ถมั ภ”์ ขน้ึ เปน็ ประจ�ำ ทกุ ปี แต่ได้กำ�หนดให้ใช้วันประกาศใช้พระราชบัญญัติปรับปรุงกระทรวง ทบวง กรม คือวันที่เปล่ียนช่ือกรม ตามพระราชบัญญัติปรับปรุงกระทรวง ทบวง กรม พุทธศักราช ๒๔๘๔ ในวันที่ ๒๐ สิงหาคม เปน็ วนั ศาสนูปถัมภ์ ตลอดมา

3 ประวัตกิ รมการศาสนา๒ ก รมการศาสนาเป็นหน่วยงานระดับกรมขึ้นกับกระทรวงวัฒนธรรม เป็นหน่วยงาน ราชการทร่ี บั ภารกจิ ดา้ นการพระศาสนา ในอดตี ทผ่ี า่ นมามไิ ดเ้ ปน็ หนว่ ยงานเดยี วกนั ดงั เชน่ ทเี่ ปน็ อยู่ ในปจั จบุ นั การมอบหมายภารกจิ ในดา้ นการศาสนาใหแ้ กผ่ ใู้ ดหรอื หนว่ ยงานใดเปน็ พระราชอำ�นาจ ของพระมหากษัตริย์แต่ละรัชสมัย เมื่อทรงเห็นว่าผู้ใดหรือหน่วยงานใดสามารถรับสนองภารกิจ ดงั กลา่ วไดด้ แี ละเปน็ ไปตามพระราชประสงค์ กท็ รงมอบภารกจิ งานการพระศาสนาใหแ้ กผ่ นู้ น้ั ปฏบิ ตั ิ บางสมยั พระมหากษตั รยิ ก์ ท็ รงรบั ภาระเอง บางสมยั กม็ อบหมายใหเ้ สนาบดหี รอื พระเถระผใู้ หญร่ บั ผดิ ชอบดำ�เนินการแทน ดังเช่นในสมัยกรงุ ศรีอยุธยา จากการค้นพบศลิ าจารกึ วัดจุฬามณี ทำ�ให้ทราบวา่ ในรัชสมยั สมเด็จพระบรมไตรโลกนาถ พระองค์ทรงสร้างพระวิหารวัดจุฬามณี และได้เสด็จออกทรงผนวช อยู่ที่วัดจุฬามณี ๘ เดือน คร้ันทรงลาผนวชแล้วมีพระราชโองการให้หม่ืนราชสังฆการีรับหมาย รับผ้าพระราชทานให้พระครูธรรมไตรโลกนารถ ราชมุนีสีลวิสุทธาจารย์ อธิการวัดจุฬามณีนำ�ไป ทาบรอยพระพุทธบาท จะเห็นได้ว่า ในสมัยกรุงสุโขทัยและในสมัยกรุงศรีอยุธยา มีราชบัณฑิตย์และหมื่น ราชสังฆการี ซ่ึงสันนิษฐานว่าเป็นช่ือตำ�แหน่งรับมอบหมายจากพระเจ้าแผ่นดินให้รับภารกิจ ดา้ นการพระศาสนาในการถวายความอุปถัมภก์ ิจการคณะสงฆก์ ็ดี พระภิกษุสามเณรก็ดี พระมหา กษตั รยิ ย์ อ่ มทรงจดั ใหม้ เี จา้ หนา้ ทฝ่ี า่ ยคฤหสั ถเ์ ปน็ ผดู้ �ำ เนนิ การแทนพระองค์ และทรงแตง่ ตงั้ ใหม้ ยี ศ มีตำ�แหน่งสูงตํ่าลดหล่ันกัน รวมท้ังให้มีหน่วยงานสังกัด ตลอดจนผู้บังคับบัญชา หน่วยงาน ที่ดูแลงานด้านพระศาสนาคงมีมาตั้งแต่สมัยกรุงสุโขทัยเป็นราชธานีแล้ว หากแต่ไม่อาจ หาหลักฐานได้แน่นอน แม้ในสมัยกรุงศรีอยุธยาตอนต้นก็เช่นกัน โดยเฉพาะก่อนแผ่นดินสมเด็จ พระบรมไตรโลกนาถ พระมหากษัตรยิ ์องคท์ ่ี ๘ แห่งกรงุ ศรีอยุธยา ๒ ประวตั กิ รมการศาสนาและการพระศาสนาในประเทศไทย. กรมการศาสนา จัดพมิ พ์เป็นทร่ี ะลกึ ในงาน พระกฐินพระราชทาน พ.ศ. ๒๕๑๖

4 ครั้นถึงแผ่นดินสมเด็จพระบรมไตรโลกนาถ เร่ืองหน่วยราชการงานบริหารการ พระศาสนาจึงได้ความเป็นเค้าขึ้นว่า ได้มีการต้ังหน่วยงานนี้ในระดับท่ีพอจะเทียบกับ ยุครัตนโกสินทร์ว่า เป็นหน่วยงานระดับกรมใหญ่ ซึ่งเจ้ากรมมีศักดินาชั้นเสนาบดีกระทรวง หรือระดับกระทรวงข้ึนแล้ว ทั้งน้ีโดยอาศัยจากความในพระธรรมนูญกฎหมายว่าด้วยตำ�แหน่ง ศักดินาข้าราชการพลเรือน ซ่ึงเป็นกฎหมายที่สมเด็จพระบรมไตรโลกนาถทรงตราข้ึนเพื่อ แต่งต้ังขุนนาง ข้าราชการให้มีบรรดาศักด์ิ เป็นพระยา พระ หลวง ขุน หมื่น และให้ผู้มี บรรดาศักด์ิแต่ละช้ัน ถือศักดินาช้ันละเท่าน้ันเท่าน้ี และในกฎหมายฉบับน้ันก็ระบุให้มีกรม สังกัด มีช่ือกรมต่างๆ จัดการเรื่องราวต่างๆ ขึ้นพร้อมกัน หน่วยงาน เช่น กรมการศาสนา ในปัจจุบันน้ี ควรจะถือได้ว่าเร่ิมต้นมาแต่แผ่นดินสมเด็จพระบรมไตรโลกนาถเป็นต้นมา และเริ่มต้น ด้วยช่ือ กรมธรรมการ หรือ กรมสงั ฆการี มาแลว้ เจา้ หนา้ ทฝ่ี า่ ยคฤหสั ถ์ ซงึ่ ชว่ ยปฏบิ ตั ดิ แู ลกจิ การของคณะสงฆ์ สงั กดั กรมพระธรรมการ หวั หนา้ กรมมบี รรดาศกั ดเิ์ ปน็ พระยาพระเสดจ็ หรอื ออกญาพระเสดจ็ ต�ำ แหนง่ ออกญาพระเสดจ็ เปน็ ต�ำ แหนง่ สูงรบั พระบรมราชโองการโดยตรง และบังคับบัญชาราชการอยา่ งสิทธข์ิ าด ในพระธรรมนญู กฎหมายวา่ ด้วยตำ�แหนง่ ศักดนิ าข้าราชการพลเรือนมวี ่า ออกญาพระเสดจ็ สเุ รนทราธบิ ดี ศรสี ภุ ราชพิรยิ พาหุ ถอื ศักดนิ า ๑๐,๐๐๐ ไร่ ขุนธรรมเสนา ราชปลดั ทูลฉลอง ขนุ ศรีปรชี านนท์ ปลัดนั่งศาล กรมธรรมการ มีกรมสังฆการี เป็นกรมขึ้นอีกกรมหนึ่ง มีหลวงธรรมรักษาเป็นเจ้ากรม ขุนธรรมาธิบดี เปน็ ราชปลัดทลู ฉลอง ขุนศรีธรรมลังการ์ ปลดั น่งั ศาล ตำ�แหน่งออกญาพระเสด็จ ผู้บัญชาการกรมธรรมการนั้น ค้นได้จากพระราช พงศาวดารพบชื่อน้ีเป็นอย่างไกลท่ีสุดเพียงแผ่นดินสมเด็จพระมหาธรรมราชา (รัชกาลที่ ๑๗ แห่งกรุงศรีอยุธยา) เมื่อ พ.ศ. ๒๑๑๒ สมเด็จพระมหาธรรมราชา เสด็จเถลิงถวัลยราชสมบัติ ในปีแรก ตรัสเอาพระยาศรีธรรม เป็นพระยาพระเสด็จ ในจดหมายเหตุฝรั่งเศสว่า เม่ือ พ.ศ. ๒๒๒๘ ราชทูตฝร่ังเศสเข้ามาเจริญทางพระราชไมตรี สมเด็จพระนารายณ์ โปรดเกล้าฯ ให้ข้าราชการผู้ใหญ่สองนายเป็นผู้ต้อนรับ และนำ�ราชทูตเข้าเฝ้า ปรากฏว่าคนหนึ่งเป็น ออกญาพระเสด็จ๓ ๓ ประวัติกระทรวงศกึ ษาธกิ าร ฉบบั พมิ พเ์ ปน็ ทรี่ ะลึกในงานฉลองวันครบ ๖๑ ปี ของกระทรวง. โดย ศ.รอง ศยามานนท์

5 การดำ�เนินการดังกล่าวสืบเนื่องมาถึงสมัยต้นแห่งกรุงรัตนโกสินทร์ จึงได้มีการมอบหมาย ภารกิจเกี่ยวกับงานด้านการพระศาสนาให้แก่หน่วยงานที่ได้ทรงพระกรุณาโปรดเกล้าฯ ต้ังขึ้น รับผิดชอบแทนพระองค์ แบ่งเป็น ๓ กรม คือกรมธรรมการ กรมสังฆการี และกรมราช- บัณฑิตย์ ได้ทรงมอบหมายงานให้แต่ละกรมท่ีทรงพระกรุณาโปรดเกล้าฯ ต้ังข้ึนรับภารกิจ ด้านงานการพระศาสนาเป็นอย่างๆ ไป ดังจะเห็นจากแผนผังโครงสร้างงานการบริหารและ หนา้ ที่ของกรมตา่ งๆ ทที่ รงพระกรณุ าโปรดเกลา้ ฯ ตั้งขนึ้ ดงั ต่อไปน้ี กรมธรรมการ พระมหากษัตรยิ ์ กรมราชบัณฑิตย์ มหี น้าที่ กรมสังฆการี มีหนา้ ที่ รับภาระในการพจิ ารณา มหี นา้ ที่ เปน็ เจ้าพนกั งานบอก พิพากษาคดที ่พี ระภิกษุ เป็นเจ้าพนักงานเกยี่ วกับ หนังสือพระภิกษุสามเณร สามเณรกระทำ�กบั พิธีสงฆท์ ั้งปวง รวมทัง้ แปลพระปรยิ ตั ิธรรม ฆราวาส ภารกิจด้านการพระศาสนาที่ทรงพระกรุณาโปรดเกล้าฯ มอบหมายให้หน่วยงานต่าง ๆ ท่ีทรงต้ังขึ้นไปดำ�เนินการน้ัน ถือเสมือนมอบหมายให้ปฏิบัติแทนพระองค์ต่างพระเนตร พระกรรณ หากมีสิ่งใดท่ีสมควรกราบบังคมทูล หรือมีปัญหาที่ไม่สามารถวินิจฉัยได้ก็ต้อง นำ�ความขนึ้ กราบบงั คมทลู เพ่อื ทรงพระกรณุ าโปรดเกล้าฯ วนิ จิ ฉัยสง่ั การ เร่ืองของกรมสังฆการี หรือ สังฆการีธรรมการ หรือ ธรรมการสังฆการี ซ่ึงเจ้ากรม มีศักดินาเทียบช้ันเสนาบดีนี้ นอกจากจะเป็นกรมใหญ่แล้วยังเป็นกรมเก่าแก่กว่ากรมอื่นๆ ในสังกัดกระทรวงธรรมการ หรือกระทรวงศึกษาธิการท้ังหมด และมีอำ�นาจหน้าท่ีเก่ียวกับ การศาสนา การจัดการคณะสงฆ์มาแต่โบราณ ดังปรากฏหลักฐานตามที่ พระบาทสมเด็จ พระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว รัชกาลท่ี ๕ ทรงมีพระบรมราชาธิบายเก่ียวกับ กรมธรรมการสังฆการี ไว้ดงั น้ี

6 “กรมธรรมการสังฆการี น้ี ตามตำ�แหน่งเดิมเป็นกรมใหญ่ ได้ต้ังธรรมการหัวเมือง ว่าความพระสงฆ์ต่อพระสงฆ์ หรือพระสงฆ์เกี่ยวข้องกับคฤหัสถ์ ไม่ว่าความอย่างใด อำ�นาจของ กรมธรรมการท่ีเป็นอยู่บัดนี้ก็ไม่สู้ผิดกับแต่ก่อนมากนัก เป็นแต่ไม่มีอำ�นาจที่จะต้ังธรรมการ หัวเมือง ขาดไปพร้อมๆ กับกรมอ่ืนๆ แต่ธรรมการหัวเมืองก็ยังมีหนังสือบอกข่าวคราว เหตุการณ์ซ่ึงเกิดข้ึนในระหว่างพระสงฆ์หัวเมืองบ้างน้อยๆ ราย แต่กรมธรรมการมักจะได้ พูดจากับพระสงฆ์เจ้าคณะตามหัวเมืองน่ันเองเสียโดยมาก ถ้าเจ้าเมืองกรมธรรมการเมืองใด จะขอตั้งเจ้าคณะหัวเมือง ก็ยังมีใบบอกมาที่กรมธรรมการนั้นด้วย คงอยู่อย่างแต่ก่อน แต่ตำ�แหน่ง ใหญ่คือที่ พระยาพระเสด็จน้ันไม่ได้ต้ังมาเสียช้านาน ด้วยผู้ซึ่งจะเป็นขุนนางในตำ�แหน่ง ธรรมการนี้ ดูเหมือนจะใช้ผู้สนัดในทางวัดๆ ผู้ซ่ึงสนัดในทางวัดๆ เช่นน้ัน ก็คงต้องใช้ท่ีเป็น คนบวชอยู่นาน เร่อร่างุ่มง่ามไม่สมควรเป็นขุนนางผู้ใหญ่ จึงได้ลดตำ�แหน่งมีศักดินาน้อยลง คงใชเ้ จา้ นายไปก�ำ กบั อยเู่ สมอมา” ส่วนท่ีว่า กรมธรรมการสังฆการี ​เป็นกรมเก่านั้น ปรากฏตามพระราชนิพนธ์ของ สมเด็จพระเจ้าบรมวงศ์เธอ กรมพระยาดำ�รงราชานภุ าพ ทรงอธิบายไวใ้ นหนังสือประวตั ิสังเขป แห่งการจดั การศกึ ษาปรตั ยุบนั แหง่ ประเทศสยาม ภาค ๑ (พ.ศ. ๒๔๑๔-๒๔๓๖) ไวด้ ังนี้ “กระทรวงธรรมการตั้งเป็นกระทรวงเสนาบดี ในรัชกาลที่ ๕ เม่ือวันที่ ๑ เมษายน รัตนโกสินทร์ศก ๑๑๑ ตรงกับปีมะโรง พ.ศ. ๒๔๓๕ กรมต่างๆ ซ่ึงรวมเข้าเป็นกระทรวงธรรมการ คือ กรมศึกษาธิการ ๑ กรมพิพิธภัณฑ์ ๑ กรมพยาบาล ๑ กรมธรรมการสังฆการี ๑ ท้ัง ๔ กรมน้ีเดิมบังคบั บัญชาอยตู่ ่างกัน เป็นกรมเกา่ แตก่ รมธรรมการสงั ฆการี นอกจากนั้นมีขน้ึ เม่อื ใน รชั กาลท่ี ๕” ภารกิจด้านการพระศาสนาในประเทศไทย มีประวัติความเป็นมาดังแสดงไว้ในตอนต้น จนล่วงมาในสมัยรตั นโกสินทร์ ยังปรากฏความเปน็ มาทสี่ �ำ คัญโดยสงั เขป ดังน้ี สมัยพระบาทสมเด็จพระพุทธยอดฟา้ จุฬาโลก รัชกาลที่ ๑ (พ.ศ. ๒๓๒๕-๒๓๕๒) ๑. ยุคแรกเรียกช่ือว่า กรมสังฆการีขวา เจ้ากรมเป็นที่ หลวงธรรมรักษา ได้ความจาก พระราชพงศาวดารกรุงรัตนโกสินทร์รัชกาลที่ ๑ ว่า “เมื่อพระบาทสมเด็จพระพุทธยอดฟ้าจุฬาโลก เสวยราชย์แล้ว ทรงต้ังตำ�แหน่งพระราชาคณะ ปรากฏว่า หลวงธรรมรักษา เจ้ากรมสังฆการี ขวา ซ่ึงเป็นพระพิมลธรรมมาก่อน ต้องสึกในแผ่นดินกรุงธนบุรี ว่าต้องอธิกรณ์อทินนาทาน ทรงแคลงอยู่ จงึ ให้พิจารณาไลเ่ ลยี งดใู หม่ ก็บรสิ ุทธ์อิ ยู่ หาขาดสิกขาบทไม่ จึงทรงพระกรุณาโปรด ให้กลับบวชเข้าใหมใ่ หเ้ ปน็ พระญาณไตรโลก อยู่วดั สลกั (ปจั จุบนั คือวัดมหาธาตยุ ุวราชสังสฤษฎ)์ิ การคร้ังนใ้ี นปี พ.ศ. ๒๓๒๕ ปีแรกทเี่ สวยราชย์”

7 ๒. ยุคท่ีสอง เรียกช่ือว่า สังฆการีธรรมการ ไม่ปรากฏนามเจ้ากรม ได้นามน้ีจาก กฎหมายคณะสงฆ์ ฉบับท่ี ๑ ที่พระบาทสมเด็จพระพุทธยอดฟ้าจุฬาโลก ตราขึ้นหลังจาก เสวยราชย์ได้ ๕ เดือน ๓. ยุคท่สี าม เรยี กชื่อวา่ สงั กระรยี ธรรมการ ไมป่ รากฏนามเจา้ กรมเช่นกนั ไดน้ ามน้จี าก ประกาศกฎเกยี่ วกบั พระสงฆ์ เม่อื พ.ศ. ๒๓๔๔ ตามทกี่ ลา่ วมานี้ เข้าใจวา่ ชื่อกรมท้งั ๓ นี้ คงเป็นกรมเดียวกัน อาจเปล่ียนชือ่ กันบา้ งหรือ ไมก่ เ็ รยี กเพ้ียนกันบา้ ง หรอื หากเปน็ คนละกรม ก็คงจะเป็นกรมขน้ึ ตอ่ พระยาพระเสด็จ เจา้ กรม ธรรมการใหญ่ ตามแบบแผนกรงุ ศรอี ยุธยา สมัยพระบาทสมเด็จพระพุทธเลศิ หล้านภาลัย รัชกาลที่ ๒ (พ.ศ. ๒๓๕๒-๒๓๖๗) ต่อมาในแผ่นดินพระบาทสมเด็จพระพุทธเลิศหล้านภาลัย รัชกาลที่ ๒ นามกรม ได้เปล่ียนจากคำ�ว่า สังกะรียธรรมการ เป็นกรมสังฆการี อันเป็นการเริ่มต้นใช้ช่ือหน่วยงานน้ีว่า กรม เป็นการแน่นอนเป็นคร้ังแรก เจ้ากรมสังฆการีในแผ่นดินนี้ ได้ความจากหนังสือราชสกุลวงศ์ กรุงรัตนโกสินทร์ว่า พระบาทสมเด็จพระพุทธเลิศหล้านภาลัย ทรงสถาปนาพระเจ้าน้องยาเธอ พระองค์เจ้าชายไกรสร (พระราชโอรสองค์ที่ ๓ ของพระบาทสมเด็จพระพุทธยอดฟ้าจุฬาโลก) เป็น กรมหมนื่ รักษ์รณเรศ เป็นผกู้ ำ�กบั กรมสงั ฆการี เป็นพระองคแ์ รก สมยั พระบาทสมเดจ็ พระน่งั เกลา้ เจา้ อยหู่ ัว รัชกาลที่ ๓ (พ.ศ. ๒๓๖๗-๒๓๙๔) ครั้นมาถึงสมัยแผ่นดินพระบาทสมเด็จพระนั่งเกล้าเจ้าอยู่หัว รัชกาลท่ี ๓ กรมหมื่น รักษ์รณเรศซึ่งได้เล่ือนเป็น กรมหลวงรักษ์รณเรศ ผู้กำ�กับกรมสังฆการี ถูกลงพระอาญา สิ้นพระชนม์ จึงทรงสถาปนา พระองค์เจ้าชายสุทัศน์ (พระราชโอรสองค์ท่ี ๔๐ ของพระบาท สมเด็จพระพุทธยอดฟ้าจุฬาโลก) ซ่ึงเป็นพระราชปิตุลา ของพระองค์ขึ้นเป็น กรมหมื่นสร ไกรวิชิตซ่ึงเป็นต้นราชสกุลสุทัศน์ เป็นผู้กำ�กับกรมสังฆการีแทน นับเป็นผู้กำ�กับกรมสังฆการี องคท์ ี่ ๒ สมยั พระบาทสมเด็จพระจอมเกล้าเจ้าอยหู่ ัว รชั กาลที่ ๔ (พ.ศ. ๒๓๙๔-๒๔๑๑) ในรัชกาลท่ี ๔ มีการเพ่ิมช่ือต่อท้ายจากคำ�ว่า กรมสังฆการี เป็น กรมสังฆการีธรรมการ มผี กู้ �ำ กบั กรม ๑ ตำ�แหนง่ และตำ�แหนง่ อนื่ อีก ๓ ตำ�แหนง่ ดังน้ี

8 เจ้ากรมสังฆการีธรรมการองค์ท่ี ๑ รัชกาลท่ี ๔ ทรงแต่งต้ังให้ สมเด็จเจ้าฟ้ามหามาลา กรมพระยาบำ�ราบปรปักษ์ (สมเด็จเจ้าฟ้ากลาง) พระราชโอรสองค์ที่ ๖๕ ของพระบาทสมเด็จ พระพุทธเลิศหล้านภาลัย รัชกาลท่ี ๒ และเป็นพระเจ้าน้องยาเธอของพระองค์ซึ่งเป็น ต้นราชสกุล มาลากุล เป็นผู้กำ�กับกรมสังฆการีธรรมการองค์ท่ี ๑ เป็นองค์ท่ี ๓ ในสมัยกรุง รัตนโกสินทร์ (องคท์ ่ี ๑ กรมหลวงรกั ษ์รณเรศ องค์ที่ ๒ กรมหมืน่ สรไกรวิชติ ) เจ้ากรมสังฆการีธรรมการองค์ที่ ๒ (สมัยรัชกาลท่ี ๔) ครั้นเม่ือสมเด็จเจ้าฟ้ากรม พระยาบำ�ราบปรปักษ์ ทรงโปรดว่าการในตำ�แหน่งอื่นๆ โดยเฉพาะแล้ว พระบาทสมเด็จ พระจอมเกลา้ เจา้ อยหู่ วั ไดท้ รงสถาปนา พระองคเ์ จา้ อรรณพ (พระราชโอรสองคท์ ่ี ๓๒ ของพระบาท สมเด็จพระน่ังเกล้าเจ้าอยู่หัว รัชกาลที่ ๓ และเป็นพระภาคิไนยของพระองค์) ข้ึนเป็น กรมหมื่น อดุ มรตั นราษี ซงึ่ เปน็ ตน้ ราชสกลุ อรรณพ แลว้ โปรดใหเ้ ปน็ ผกู้ �ำ กบั กรมสงั ฆการธี รรมการองคท์ ่ี ๒ ต่อจากสมเด็จเจ้าฟ้า กรมพระยาบำ�ราบปรปักษ์ และเปน็ องคท์ ี่ ๔ ในสมัยกรุงรัตนโกสนิ ทร์ ส่วนต�ำ แหนง่ อน่ื อีก ๓ ตำ�แหน่งน้นั ไดแ้ ก่ ๑. ปลัดจางวาง ไดแ้ ก่ หลวงธรรมการาจารย์ ๒. ผู้ช่วย ได้แก่ ขุนซุกซนสังฆาธิกรณ์ (ราชทินนามบรรดาศักดิ์นี้ ต่อมาเปลี่ยนเป็น ขุนพสิ นทส์ งั ฆกิจ) ๓. จางวางกรมธรรมการ พระยาพระเสด็จสุเรนทราธิบดีศรีศุภราชพิริยพาหะ (เปลี่ยนเปน็ พระธรรมการบดศี รีวสิ ทุ ธศิ าสนวโรประการ) สมัยพระบาทสมเดจ็ พระจลุ จอมเกล้าเจ้าอยูห่ วั รัชกาลท่ี ๕ (พ.ศ. ๒๔๑๑-๒๔๕๓) ในรัชสมัยของพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว ซ่ึงเป็นรัชสมัยของการปฏิรูป การเศรษฐกิจและสังคมคร้ังแรกของเมืองไทยที่ปวงชนได้รับผลของการปรับปรุงจากพระบารมี มาจนตราบเท่าทุกวันน้ี งานด้านพระศาสนาก็ได้รับการปรับปรุงด้วย พระองค์ทรงมุ่งหวังท่ีจะ เร่งรัดปรับปรุงการศึกษาของประชาชนให้ทัดเทียมกับนานาประเทศ โดยจัดต้ังโรงเรียนข้ึนให้ แพร่หลาย แต่รากฐานการศึกษาของไทยน้ันมาจากวัดและพระสงฆ์ เมื่อต้องการท่ีจะปรับปรุง การศึกษาของประชาชน จึงจำ�เป็นต้องปรับปรุงงานของคณะสงฆ์ควบคู่กันไปด้วยจนถึงกับ มกี ระแสพระราชด�ำ รสั ว่า

9 โรงเรียนท่ีจัดต้ังขึ้น มีกิจเก่ียวข้องด้วยพระอารามและพระสงฆ์มากอยู่ ควรจะได้ รวมงานทเ่ี กย่ี วขอ้ งมาอย่ใู นบงั คบั เดียวกัน ดังน้ันในปี พ.ศ. ๒๔๓๒ จึงให้รวมกรมหลายกรมที่เก่ียวกับงานการจัดการศึกษา และงานที่เกี่ยวกับพระศาสนามาอยู่กรมเดียวกัน โปรดเกล้าฯ ให้เรียกชื่อว่า กรมธรรมการ (มีฐานะเทา่ กระทรวงแต่สมยั น้ันเรยี กวา่ กรม) ทรงพระกรุณาโปรดเกลา้ ฯ มอบหมายอำ�นาจหนา้ ที่ ใหก้ รมธรรมการ ดงั นี้ เป็นพนักงานที่จะบังคับบัญชาเกี่ยวข้องในพระสงฆ์ ตำ�แหน่งท่ีพระยาพระเสด็จ และ เปน็ ผบู้ งั คบั การโรงเรยี นและโรงพยาบาลทว่ั ราชอาณาเขต กรมสังฆการีธรรมการย้ายมาอยู่ในสังกัดกรมธรรมการโดยกลับชื่อเสียใหม่ว่า กรมธรรมการสังฆการี หนา้ ทข่ี องกรมธรรมการสงั ฆการที ที่ รงพระกรณุ าโปรดเกลา้ ฯ มอบหมายใหป้ ฏบิ ตั งิ าน ดงั น้ี ๑. พนกั งานบัญชพี ระสงฆ์ มหี นา้ ท่ีส�ำ รวจทำ�บัญชพี ระภิกษุสามเณรทัว่ ราชอาณาจักร ๒. พนักงานการพระอาราม มีหน้าท่ีเกี่ยวกับการสร้าง ซ่อมแซมบูรณะ และกิจการท่ี เกีย่ วขอ้ งกับวดั ๓. พนักงานจัดผลประโยชน์พระอาราม มีหน้าท่ีจัดการศาสนสมบัติของวัดและของการ พระศาสนา ๔. ตลุ าการศาลพระธรรมการ มหี น้าท่พี จิ ารณาคดีทีเ่ กีย่ วขอ้ งกบั พระภิกษุสามเณร ๕. พนกั งานการพระราชพธิ ี มหี นา้ ทเ่ี กย่ี วกบั พระราชพธิ แี ละพธิ ตี า่ งๆ ทพี่ ระสงฆเ์ กย่ี วขอ้ ง อยู่ดว้ ย กรมธรรมการได้รับการปรับปรุงระบบการบริหารงานอีกครั้งหนึ่ง หลังจากท่ีได้ปรับปรุง มาแลว้ เมื่อปี พ.ศ. ๒๔๓๒ ไม่นานนัก ทัง้ นเ้ี พราะ ๑. พระเจ้ายาเธอ กรมหม่ืนดำ�รงราชานุภาพ (พระยศขณะน้ัน) ได้เสด็จกลับจากการ ดูงานการศึกษาในภาคพื้นยุโรปในปลายปี พ.ศ. ๒๔๓๔ ได้ทรงถวายความเห็นในการปรับปรุง การศกึ ษาสำ�หรบั ประชาชนไวห้ ลายประการ และทรงเหน็ วา่ หากไดป้ รับปรุงระบบการบริหารของ กรมธรรมการให้ดีย่ิงขึ้นแล้ว การจัดการศึกษาสำ�หรับประชาชนก็จะบรรลุผลตามความเห็นของ กรมหมน่ื ดำ�รงราชานภุ าพ

10 ๒. ภาระหน้าท่ีของกรมธรรมการมีมากขึ้นจำ�ต้องขยายและปรับปรุงระบบบริหารให้ สามารถรับภาระได้เตม็ ท่ี พร้อมทั้งเป็นการเตรยี มโครงสร้างงานไวเ้ พอื่ การขยายในอนาคตดว้ ย ด้วยเหตุทั้งสองประการดังกล่าวแล้วจึงทรงพระกรุณาโปรดเกล้าฯ ประกาศต้ัง กรมธรรมการ เป็นกระทรวงธรรมการ เมอ่ื วนั ที่ ๑ เมษายน พ.ศ. ๒๔๓๕ การปรับปรุงกรมธรรมการเป็นกระทรวงธรรมการคร้ังน้ี เป็นการยกฐานะกรมซ่ึงมี งานมากขึ้นเป็นกระทรวงตามพระราชประสงค์และตัดเอากรมแผนท่ีซ่ึงมิได้มีส่วนเก่ียวข้องกับ การศึกษามากนักออกไปสังกัดอื่น ส่วนงานหลักของกรมใดที่เคยทำ�อยู่ก่อนก็ให้ทำ�ต่อไป กรมธรรมการสงั ฆการีไดร้ บั การเปลีย่ นชื่อเปน็ กรมสงั ฆการี ดงั นั้น งานของกรมสงั ฆการจี ึงเป็นงาน ทมี่ าจากงานของกรมธรรมการสงั ฆการเี ดมิ นนั่ เอง จะมเี ปลยี่ นแปลงกแ็ ตเ่ ฉพาะขยายปรมิ าณงานให้ ครอบคลมุ ท่วั ประเทศ กวา้ งขวางออกไปเทา่ นน้ั สมยั พระบาทสมเด็จพระมงกฎุ เกลา้ เจา้ อยหู่ วั รัชกาลที่ ๖ (พ.ศ. ๒๔๕๓-๒๔๖๘) ในสมยั รัชกาลท่ี ๖ ฐานะของกรมการศาสนาซ่ึงอยใู่ นนาม กรมสังฆการี มาแตส่ มยั รชั กาล ที่ ๕ นัน้ ครั้นถงึ สมยั รัชกาลท่ี ๖ ไดม้ ีการปรบั ปรงุ เปลย่ี นแปลงข้ึนอกี ๓ ครัง้ คอื คร้ังแรกในปี พ.ศ. ๒๔๕๔ อันเป็นปีที่ ๒ ในรัชกาลท่ี ๖ ได้ทรงพิจารณาเห็นว่า หน้าที่ ราชการในกระทรวงธรรมการแตเ่ ดมิ มกี รมขน้ึ ใหญบ่ า้ ง เลก็ บา้ ง มกี จิ การตอ้ งท�ำ ไมส่ มสว่ นกนั จงึ ทรง พระกรุณาโปรดเกล้าฯ ใหจ้ ัดระเบยี บใหม่ ออกเป็น ๕ กรม คอื กรมกลางหรอื แผนกบญั ชาการ ๑ กรมสังฆการี ๑ กรมธรรมการ ๑ กรมราชบัณฑิต ๑ กรมศึกษาธิการ ๑ โดยแยกกรมธรรมการ สงั ฆการีออกเป็น ๒ กรม คือ กรมสงั ฆการี กับ กรมธรรมการ สถานที่ตั้งกรมการศาสนาระหว่าง พ.ศ. ๒๔๕๒-๒๔๘๓ ต้งั อยูท่ ่ตี กึ กระทรวงธรรมการ ณ บา้ นเจ้าพระยารตั นาธิเบศร รมิ คลองโอง่ อา่ งใกล้ปากคลองตลาด ปจั จบุ ันเป็นที่ท�ำ การศาลรัฐธรรมนูญ

11 เม่ือได้มีการปรับปรุงกระทรวงธรรมการในปี พ.ศ. ๒๔๕๔ และพระบาทสมเด็จ พระมงกุฎเกล้าเจ้าอยู่หัว ทรงมีพระราชดำ�รัสว่าหน้าที่ของกระทรวงน้ันควรจะมีอยู่ ๒ อย่าง คือ หนา้ ทจี่ ดั การศกึ ษาใหแ้ กป่ วงชน และดแู ลสง่ เสรมิ การพระศาสนาเทา่ นนั้ การจดั ระบบบรหิ าร และ มอบหมายหน้าที่การงานก็ควรจะเป็นไปตามหนา้ ที่ดังกล่าว ดังน้ัน ในปีพ.ศ. ๒๔๕๙ จงึ ทรงพระ กรณุ าโปรดเกลา้ ฯ ให้จัดแบง่ สว่ นราชการ และหนา้ ทีก่ ารงานในกระทรวงธรรมการเสียใหม่ สำ�หรับการพระอารามตามจังหวัดช้ันนอกในปี พ.ศ. ๒๔๖๐ เป็นปีแรกท่ีโปรดเกล้า ให้จัดข้าราชการส่วนภูมิภาคของกระทรวงธรรมการเป็นเจ้าหน้าท่ีฝ่ายการศาสนาสมทบกับการ ศึกษา และในปี พ.ศ. ๒๔๖๑ โปรดเกล้าให้เปล่ียนช่ือกรมพระอารามเป็นกรมกัลปนา ต่อมาปี พ.ศ. ๒๔๖๒ พระบาทสมเด็จพระมงกฎุ เกล้าเจา้ อยหู่ ัว รชั กาลท่ี ๖ พระองคไ์ ดท้ รงด�ำ รวิ ่า “ราชการของกระทรวงธรรมการ และกรมศึกษาธิการน้ัน ต่างชนิดกันทีเดียว ยากทจี่ ะเลือกหาเจ้ากระทรวงผู้สามารถบัญชาการไดด้ ที ้ัง ๒ กรม คงได้ทางหน่ึง เสยี ทางหน่ึง มีพระบรมราชประสงค์จะให้ราชการเป็นไปสะดวก ท้ังจะให้สมแก่ทรงเป็นพุทธศาสนูปถัมภก โดยตรง จึงมีพระบรมราชโองการดำ�รัสเหนือเกล้าให้ย้ายกรมธรรมการมารวมอยู่ในพระราช ส�ำ นกั ตามประเพณเี ดมิ สว่ นกระทรวงธรรมการใหเ้ รยี กวา่ กระทรวงศกึ ษาธกิ าร มหี นา้ ทจี่ ดั การ ศึกษา” ดงั นน้ั ในปี พ.ศ. ๒๔๖๒ ไดม้ ีการเปลี่ยนแปลงที่ส�ำ คัญ ๒ อยา่ งคอื ๑. เปลยี่ นชื่อกระทรวงธรรมการ เปน็ กระทรวงศกึ ษาธิการ ๒. โปรดให้ย้ายกรมธรรมการไปรวมอยู่ในกระทรวงวัง โดยพระกรุณาโปรดเกล้าให้จัด ระเบยี บบริหารในกรมธรรมการใหม่ สำ�หรับกระทรวงศึกษาธิการในระยะนั้นคงเหลือหน่วยงานเพียง ๓ หน่วย คือ กองบญั ชาการ กรมศึกษาธกิ าร และกรมมหาวทิ ยาลยั สมัยพระบาทสมเดจ็ พระปกเกลา้ เจา้ อยู่หวั รชั กาลท่ี ๗ (พ.ศ. ๒๔๖๘-๒๔๗๗) ในปี พ.ศ.๒๔๖๙ ได้มีการเปลี่ยนแปลงงานของกรมธรรมการ กล่าวคือ พระบาทสมเด็จพระปกเกล้าเจ้าอยู่หัวทรงพระราชดำ�ริว่า การศึกษาไม่ควรจะแยกจากวัด โปรดใหเ้ ปลย่ี นชอ่ื กระทรวงศกึ ษาธกิ ารเปน็ กระทรวงธรรมการ และใหก้ รมธรรมการไดก้ ลบั มารวม กับกระทรวงศึกษาธกิ าร

12 การปรับปรุงครั้งนี้ยังคงให้กรมสังฆการีเป็นกรมหนึ่งอยู่ในกรมธรรมการตามเดิม แต่ได้แยกกรมกัลปนาซึ่งมีหน้าท่ีดูแลรักษาศาสนสมบัติไปขึ้นกับกรมพระคลังข้างท่ี กระทรวง พระคลังมหาสมบัติ หลังจากการเปลี่ยนแปลงการปกครองจากสมัยสมบูรณาญาสิทธิราชมาเป็นสมัย ประชาธิปไตยแล้ว ได้มีพระราชบัญญัติจัดต้ังกระทรวง ทบวง และกรม พ.ศ. ๒๔๗๖ แบ่งส่วน ราชการของแผน่ ดนิ ออกเปน็ ๗ กระทรวงคอื ๑. กระทรวงกลาโหม ๒. กระทรวงมหาดไทย ๓. กระทรวงเศรษฐการ ๔. กระทรวงยุตธิ รรม ๕. กระทรวงพระคลัง ๖. กระทรวงธรรมการ ๗. กระทรวงต่างประเทศ จากการประกาศใช้พระราชบัญญัติฉบับน้ีมีผลให้ยุบกรมกัลปนา สังกัดกระทรวง พระคลังมหาสมบัติ ลงเป็นกองศาสนสมบัติ โอนกลับมาสังกัดอยู่ในกรมธรรมการ กระทรวง ธรรมการ ต่อมา ในวนั ที่ ๙ ธนั วาคม พ.ศ. ๒๔๗๖ ไดม้ ีพระราชบญั ญตั วิ า่ ดว้ ยระเบียบราชการบรหิ าร แห่งราชอาณาจักรสยาม พ.ศ. ๒๔๗๖ จัดระเบียบการบริหารแห่งราชอาณาจักรสยาม ซึ่งใช้เป็น บรรทัดฐานสบื มาจนถึงปจั จบุ นั ดงั นี้ ราชการบริหารส่วนกลาง ราชการบริหารส่วนภมู ิภาค ราชการบริหารส่วนทอ้ งถ่ิน จากพระราชบัญญัติฉบับน้ี ได้มีพระราชบัญญัติปรับปรุงกระทรวง ทบวง กรม พ.ศ. ๒๔๗๖ อีกฉบับหน่ึง เพ่ิมสำ�นักนายกรัฐมนตรี และกระทรวงวังขึ้นใหม่ เปล่ียนชื่อ กระทรวงพระคลัง เป็นกระทรวงการคลัง กระทรวงธรรมการมีอำ�นาจและหน้าที่เกี่ยวกับ การศึกษา การธรรมการ และการศลิ ปากร

13 สมยั พระบาทสมเดจ็ พระเจ้าอยหู่ วั อานนั ทมหิดล รชั กาลท่ี ๘ (พ.ศ. ๒๔๗๗-๒๔๘๙) ครั้นต่อมาเม่ือวันท่ี ๑ มิถุนายน พ.ศ. ๒๔๗๗ ได้มีการแบ่งส่วนราชการในกระทรวง ธรรมการใหม่ออกเป็น ๒ สำ�นักงาน ๕ กรม โดยเพ่ิม กรมมหาวิทยาลัย ข้ึนอีก ๑ กรม นอกน้ันคงเดิมแต่มีการกำ�หนดแน่ชัดในเร่ืองหัวหน้าส่วนราชการของกรมธรรมการและกรม ต่างๆ ให้เรียกวา่ อธิบดี มอี ตั ราเงนิ เดือนขึน้ ณ บดั นั้น ต่อมาเม่ือวันที่ ๑๘ สิงหาคม พ.ศ. ๒๔๘๔ ได้ประกาศใช้พระราชบัญญัติปรับปรุง กระทรวงทะบวง กรม พ.ศ. ๒๔๘๔ ใหใ้ ชบ้ ังคบั ตง้ั แตว่ ันที่ ๑๙ สงิ หาคม ๒๔๘๔ ซึ่งเปน็ วนั ประกาศ ในราชกิจจานเุ บกษามีผลให้เปล่ยี นช่อื กระทรวงธรรมการเปน็ “กระทรวงศึกษาธกิ าร” เปลย่ี นช่ือ กรมธรรมการเปน็ “กรมการสาสนา” โดยบญั ญตั ใิ หก้ ระทรวงศกึ ษาธกิ ารมอี �ำ นาจและหนา้ ทเ่ี กย่ี ว กับการศึกษา การศาสนา และการศลิ ปากร โดยแบง่ สว่ นราชการกระทรวงศึกษาธิการออกเป็น ๑. สำ�นกั งานเลขานุการรัฐมนตรี ๒. สำ�นักงานปลัดกระทรวง ๓. กรมการสาสนา ๔. กรมพลศึกษา ๕. กรมมหาวิทยาลยั ๖. กรมศลิ ปากร ๗. กรมสามญั ศกึ ษา ๘. กรมอาชวี ะศกึ ษา ผลจากการประกาศใช้พระราชบัญญัติฉบับน้ีมีสาระสำ�คัญต่อกระทรวงศึกษาธิการ และ กรมการศาสนา ดังนี้ ๑. เปลี่ยนชอ่ื กระทรวงธรรมการเปน็ กระทรวงศกึ ษาธกิ าร ๒. เปลี่ยนช่ือ กรมธรรมการ เปน็ กรมการสาสนา ๓. กำ�หนดอำ�นาจหน้าที่ให้กระทรวงศึกษาธิการมีอำ�นาจและหน้าที่เก่ียวกับการศึกษา การศาสนา และการศลิ ปากร ฉะน้ัน จึงนับได้ว่า กรมการศาสนา ได้ถือกำ�เนิดนามนี้มาตั้งแต่วันที่ ๑๙ สิงหาคม พ.ศ. ๒๔๘๔ เปน็ ต้นมา ส่วนการจัดระเบียบบริหารกรมการศาสนายังคงแบ่งส่วนราชการตามแบบเดิม ต่อมาได้มี ประกาศใช้พระราชบัญญตั ิคณะสงฆ์ เมือ่ วนั ท่ี ๑๔ ตลุ าคม พ.ศ. ๒๔๘๕ จึงไดม้ ีการปรบั ปรุงเพ่ิม ส่วนราชการ เป็นการรับสนองงานตามกฎหมายคณะสงฆฉ์ บบั น้ีอีก ปรากฏตามพระราชกฤษฎีกา จดั วางระเบียบราชการในกระทรวงศึกษาธกิ าร พทุ ธศักราช ๒๔๘๕ กรมการศาสนาแบง่ ส่วนราชการออกเป็น ๕ กอง ๑๑ แผนก คอื สำ�นกั งานเลขานุการกรม กองสาสนสมบัติ กองศาสนศึกษา กองสงั ฆการี กองเลขาธกิ ารคณะสงฆ์ ในปี พ.ศ. ๒๔๘๗ พระราชกฤษฎีกาจัดวางระเบียบราชการกรมการศาสนาในกระทรวง ศึกษาธิการ ใน พ.ศ. ๒๔๘๗ ได้เพ่ิม แผนกอนุสาสนาจารย์ ขึ้นใน สำ�นักงานเลขานุการกรม อกี ๑ แผนก

14 สมัยพระบาทสมเด็จพระเจา้ อย่หู วั ภูมิพลอดุลยเดช รชั กาลท่ี ๙ (พ.ศ. ๒๔๘๙-ปจั จบุ ัน) ในปี พ.ศ. ๒๔๙๔ ได้มกี ารปรับปรงุ สว่ นราชการกระทรวงศึกษาธกิ ารอกี ครง้ั หนง่ึ สำ�หรับ กรมการศาสนาไม่มีอะไรเปลี่ยนแปลง นอกจาก กรมการสาสนา เป็น กรมการศาสนา นอกนั้น คงเดมิ การปรับปรุงคร้ังนเ้ี ป็นไปตามพระราชบัญญตั ิปรับปรุงกระทรวง ทบวง กรม (ฉบับท่ี ๑๓) พ.ศ. ๒๔๙๔ ต่อมาเมื่อวันที่ ๑๒ มีนาคม พ.ศ. ๒๔๙๕ กรมการศาสนา ได้โอนไปสังกัด กระทรวง วฒั นธรรม อนั เป็นกระทรวงตงั้ ใหม่ ตามผังดังน้ี สำ�นักงาน ส�ำ นกั งาน กระทรวงวฒั นธรรม กรมการศาสนา กรมศลิ ปากร เลขานกุ ารรฐั มนตรี ปลดั กระทรวง กรมการวัฒนธรรม กรมการศาสนาในขณะสังกัดกระทรวงวัฒนธรรม ได้มีการปรับปรุงเพ่ือขยายงาน ด้านการอนุศาสนาจารย์ ซ่ึงเดิมมีฐานะเป็นเพียงแผนกอนุศาสนาจารย์ ข้ึนอยู่ในสำ�นักงาน เลขานุการกรมได้ยกฐานะให้เป็นกองอนุศาสนาจารย์ข้ึนในกรมการศาสนา เมื่อวันที่ ๑๓ สิงหาคม พุทธศักราช ๒๔๙๕ ตามพระราชกฤษฎีกาจัดวางระเบียบราชการกรมการศาสนา ในกระทรวงวัฒนธรรม พุทธศักราช ๒๔๙๕ แบ่งส่วนราชการกรมการศาสนาออกเป็น ๖ กอง ๑๑ แผนก หอสพนาาณมเิชสยือภ์ ปณั า่ ฑ์ สถานที่ตงั้ กรมการศาสนาระหวา่ ง พ.ศ. ๒๔๙๘-๒๕๐๑ ต้ังอยู่หอพาณชิ ยภ์ ณั ฑ์ สนามเสอื ป่า

15 กรมการศาสนาได้โอนจากกระทรวงศึกษาธิการมาสังกัดกระทรวงวัฒนธรรม เม่ือวัน ที่ ๑๒ มีนาคม พุทธศักราช ๒๔๙๕ อยู่ในสังกัดกระทรวงวัฒนธรรมได้ประมาณ ๖ ปี ๕ เดือน กโ็ อนกลบั ไปสงั กดั กระทรวงศกึ ษาธกิ ารตามเดมิ ทงั้ นี้ เปน็ ผลจากคณะรฐั บาลคณะปฏวิ ตั ชิ ดุ จอมพล ถนอม กิตติขจร เป็นนายกรัฐมนตรี ไดป้ ระกาศใชพ้ ระราชบญั ญัติปรบั ปรุงกระทรวง ทบวง กรม (ฉบับที่ ๖) พุทธศักราช ๒๕๐๑ เม่ือวันท่ี ๒๙ สิงหาคม พุทธศักราช ๒๕๐๑ ยุบเลิกกระทรวง วัฒนธรรม และสภาวัฒนธรรมแห่งชาติ เหลือลงเป็นกองๆ หน่ึง สังกัดสำ�นักงานปลัดกระทรวง ศกึ ษาธิการ สถานท่ตี ั้งกรมการศาสนาระหว่าง พ.ศ. ๒๕๐๒-๒๕๐๖ ต้ังอยใู่ นตึกกระทรวงวฒั นธรรม (เดิม) สนามเสือป่า ปัจจุบันเป็นทขี่ องสำ�นักพระราชวงั การโอนกรมการศาสนากลับคืนสังกัดกระทรวงศึกษาธิการครั้งน้ัน หน่วยราชการของ กรมการศาสนาคงแบ่งเป็นแผนกต่างๆ ตามท่ีได้สังกัดอยู่ในกระทรวงวัฒนธรรมตาม เดิมตลอดมาจนกระท่ังวันท่ี ๔ ตุลาคม พ.ศ. ๒๕๐๖ จึงได้มีการปรับปรุงส่วนราชการ กรมการศาสนาอีกครั้งหน่ึง ตามพระราชกฤษฎีกาแบ่งส่วนราชการกรมการศาสนา กระทรวงศึกษาธิการ พ.ศ. ๒๕๐๖ การปรับปรุงคร้ังน้ี นับเป็นการปรับปรุงครั้งใหญ่ เพื่อรับสนองงานตามนโยบายเร่งรัดพัฒนาประเทศของรัฐบาล และรับสนองงานให้สอดคล้องกับ การประกาศใช้พระราชบญั ญตั ิคณะสงฆ์ ฉบับใหม่ (พ.ศ. ๒๕๐๕) โดยเพ่มิ จาก ๖ กอง ๑๒ แผนก เปน็ ๗ กอง ๒๕ แผนก ในปี พ.ศ. ๒๕๑๕ ได้มีประกาศคณะปฏิวัติ ฉบับ ๒๑๗ ลงวันที่ ๒๙ กันยายน ๒๕๑๕ ให้โอนกองวัฒนธรรม สำ�นักงานปลัดกระทรวงศึกษาธิการมาสังกัดในกรมการศาสนา๔ ต่อมาเม่ือวนั ที่ ๑๗ พฤศจกิ ายน พ.ศ. ๒๕๑๕ ได้มีประกาศคณะปฏิวตั ฉิ บบั ที่ ๒๖๙ แบ่ง สว่ นราชการในกรมการศาสนาใหม่ ตามประกาศคณะปฏวิ ตั ิฉบบั น้ี ๔ ราชกจิ จานเุ บกษา เลม่ ท่ี ๑๔๕ วันที่ ๒๙ กันยายน พ.ศ. ๒๕๒๕ (ใหม้ ผี ลบงั คบั ใช้ ตงั้ แต่วนั ท่ี ๑ ตุลาคม พ.ศ. ๒๕๑๕ เปน็ ต้นไป)

16 โดยทป่ี ระกาศของคณะปฎวิ ตั ดิ งั กลา่ วขา้ งตน้ ใหแ้ บง่ สว่ นราชการกรมการศาสนาออกเปน็ ๕ กอง ๓ สำ�นักงาน และมอี ยู่ ๑ ส�ำ นกั งาน กับ ๑ กอง เทา่ นัน้ ทแ่ี บ่งออกเป็นแผนก คอื ส�ำ นกั งาน เลขานกุ ารกรม และกองศาสนปู ถมั ภ์ นอกนน้ั ไมไ่ ด้แบง่ ออกเป็นแผนก เร่ืองน้ี ต่อมากรมการศาสนาได้รับความเห็นชอบจากคณะกรรมการปรับปรุง หน่วยราชการของคณะปฏิวัติอนุมัติให้แบ่งส่วนราชการในกอง และในสำ�นักงาน ใน กรมการศาสนาออกเป็นฝ่ายต่างๆ แทนแผนก โดยพิจารณาจากกองนั้นๆ มีลักษณะงาน ฝ่ายวิชาการหรือจัดดำ�เนินการที่มิใช่งานบริหารทั่วไป ฉะนั้น โดยอาศัยความเห็นชอบใน หลกั การจากคณะกรรมการปรบั ปรุงหนว่ ยราชการของคณะปฏวิ ัตอิ นุมัติ ตอ่ มาเมอ่ื วนั ที่ ๒ กมุ ภาพนั ธ์ พ.ศ. ๒๕๑๘ คณะกรรมการทป่ี รกึ ษาระเบยี บบรหิ ารของนายก รัฐมนตรี โดยความเห็นชอบของคณะรัฐมนตรี อนุมัติให้แบ่งส่วนราชการในกองและในสำ�นักงาน ของกรมการศาสนาออกเปน็ งานต่างๆ ตามลกั ษณะของงาน ในปี พ.ศ. ๒๕๑๙ กรมการศาสนาไดป้ รบั ปรงุ แบง่ งานภายในกรมการศาสนาใหมต่ ามหนงั สอื สำ�นักงาน ก.พ. ท่ี สร ๐๕๐๕/๑๗๐๔๒๖ ลงวันท่ี ๒๗ ธนั วาคม พ.ศ. ๒๕๑๙ ในปี พ.ศ. ๒๕๒๒ ไดม้ พี ระราชกฤษฎกี าแบง่ สว่ นราชการส�ำ นกั งานคณะกรรมการวฒั นธรรม แหง่ ชาติ กระทรวงศกึ ษาธกิ าร พ.ศ. ๒๕๒๒ และได้มีพระราชกฤษฎีกาแบง่ ส่วนราชการกรมการ ศาสนา กระทรวงศกึ ษาธิการ พ.ศ. ๒๕๒๒ ในปีพ.ศ. ๒๕๓๒ ได้มีพระราชกฤษฎีกาแบ่งส่วนราชการกรมการศาสนา พ.ศ. ๒๕๓๒ ให้แยกฝ่ายพุทธมณฑล กองพุทธศาสนสถานมาจัดต้ังเป็นสำ�นักงานพุทธมณฑล มีฐานะเป็นส่วน ราชการเทยี บเทา่ กอง สถานท่ีตัง้ กรมการศาสนาระหวา่ ง พ.ศ. ๒๕๐๖-๒๕๔๖ ตงั้ อยทู่ ี่ตึกสรา้ งใหม่ ในบริเวณกระทรวงศึกษาธกิ าร ซ่งึ ร้ือเรือนไม้ทที่ ำ�การเดิมของกรม แล้วสร้างตกึ ข้นึ บรเิ วณนนั้ โดยเปดิ ตกึ ทท่ี ำ�การเมอ่ื วนั ท่ี ๒๔ ตุลาคม ๒๕๐๖

17 เนือ่ งจากพระราชบญั ญตั ริ ะเบียบบรหิ ารราชการแผ่นดิน พ.ศ. ๒๕๓๔ มาตรา ๖ วรรค ๔ บัญญัติให้ราชการภายในสำ�นักงานเลขานุการรัฐมนตรี กรมหรือส่วนราชการที่เรียกชื่ออย่างอ่ืน และมีฐานะเป็นกรม ให้ตราเป็นพระราชกฤษฎกี า และใหร้ ะบุอ�ำ นาจหน้าที่ของแตล่ ะสว่ นราชการ ไว้ในพระราชกฤษฎีกาด้วย ดังน้ัน ในพ.ศ. ๒๕๓๖ ได้มีพระราชกฤษฎีกาแบ่งส่วนราชการ กรม การศาสนา กระทรวงศึกษาธิการ พ.ศ. ๒๕๓๖ ไดก้ ำ�หนดหน้าทไี่ วด้ ังต่อไปนี้ ๑. ดำ�เนินการตามกฎหมายว่าด้วยคณะสงฆ์ กฎหมายว่าด้วยการกำ�หนดวิทยฐานะ ผู้สำ�เร็จวิชาการพระพุทธศาสนา กฎหมายว่าด้วยการส่งเสริมกิจการฮัจย์ รวมทั้งกฎหมายและ ระเบยี บอ่ืนเกีย่ วขอ้ ง ๒. จดั ท�ำ และประสานแผนงานของกรมใหเ้ ปน็ ไปตามนโยบาย และแผนแมบ่ ทของกระทรวง กำ�กับ เร่งรัด ติดตาม ประเมนิ ผล การปฏิบตั งิ านตามแผนงานของหน่วยงานในสังกดั และด�ำ เนิน การเก่ยี วกบั การฝึกอบรมและงานสถติ ขิ ้อมลู ทางด้านการศาสนา ๓. สง่ เสรมิ ดแู ล รกั ษา และทำ�นุบ�ำ รงุ ศาสนสถาน และศาสนวตั ถุ ๔. ท�ำ นุบ�ำ รงุ ส่งเสรมิ พระพุทธศาสนาเสริมสร้างศลี ธรรมปลูกฝังคณุ ธรรมและจรยิ ธรรม ๕. ควบคุมดูแลการจัดการศึกษาวิชาการพระพุทธศาสนา การจัดการศึกษา โรงเรียนพระปริยัติธรรมแผนกสามัญศึกษา ตลอดจนสนองงานคณะสงฆ์ด้านการปกครอง การศาสนศกึ ษา การศกึ ษาสงเคราะห์ การเผยแผพ่ ระพทุ ธศาสนา และการดแู ลรกั ษาสาธารณปู การ ๖. พัฒนาพทุ ธมณฑลใหเ้ ปน็ ศูนยก์ ลางทางพระพทุ ธศาสนา ๗. ให้การอุปถมั ภ์ศาสนาอืน่ ๆ ท่ที างราชการรับรอง ๘. ปฏบิ ตั กิ ารอน่ื ใดตามทก่ี ฎหมายก�ำ หนดใหเ้ ปน็ อ�ำ นาจหนา้ ทขี่ องกรมหรอื ตามทก่ี ระทรวง หรือคณะรฐั มนตรมี อบหมาย จนกระทงั่ ปี พ.ศ. ๒๕๔๕ ได้มีประกาศใชพ้ ระราชบัญญัติปรับปรุงกระทรวง ทบวง กรม พ.ศ. ๒๕๔๕ และพระราชบัญญัติระเบียบบริหารราชการแผน่ ดนิ (ฉบับที่ ๕) พ.ศ. ๒๕๔๕ ซึ่งมผี ล ใช้บังคับตงั้ แต่วันท่ี ๓ ตุลาคม ๒๕๔๕ ท�ำ ใหก้ รมการศาสนาถกู แบ่งออกเป็น ๒ หน่วยงาน ดงั น้ี ๑. กรมการศาสนา สังกดั กระทรวงวฒั นธรรม ๒. ส�ำ นกั งานพระพทุ ธศาสนาแหง่ ชาติ เปน็ หนว่ ยงานอสิ ระอยภู่ ายใตก้ ารก�ำ กบั ของนายก รัฐมนตรี สถานที่ตั้งกรมการศาสนาระหวา่ ง พ.ศ. ๒๕๔๖- สถานท่ตี ้งั กรมการศาสนาระหวา่ ง พ.ศ. ๒๕๔๘-ปจั จุบนั ๒๕๔๘ ตงั้ อยู่ท่ตี ึกที่ทำ�การส�ำ นักงานมหาวิทยาลยั ตัง้ อยทู่ ี่ตึกธนาลงกรณ์ ช้ัน ๑๒ และ ๑๕-๑๖ ถนนบรมราชชนนี มหดิ ล ชั้น ๕ เชงิ สะพานพระปนิ่ เกลา้ ฝัง่ ธนบุรี เขตบางพลดั รวมอยู่กับกระทรวงวฒั นธรรม

18 ตรากรม ระหวา่ ง พ.ศ. ๒๔๗๕ ถงึ พ.ศ. ๒๔๘๔ นนั้ กรมการศาสนายังมีช่อื วา่ กรมธรรมการ มหี นา้ ทจี่ ดั การ เกี่ยวกับเร่ืองศาสนา จนถึง พ.ศ. ๒๔๘๔ กรมธรรมการจึงได้เปลี่ยนช่ือใหม่เป็นกรมการศาสนา ตามพระราชบัญญัติ ปรับปรุงกระทรวงทบวงกรม พ.ศ. ๒๔๘๔ ตราประจ�ำ ต�ำ แหนง่ อธบิ ดกี รมการศาสนา ตราสำ�หรับตำ�แหน่งอธิบดีกรมการศาสนา เป็นตราประจำ�ตำ�แหน่ง ชาดรูปกลม ศูนย์กลาง กว้าง ๖ เซนติเมตร ลายกลางเป็นรูปเสมา มีอักษรตัว ท่ีเรียกกันว่าเธาะ ขัดสมาธิ ต้ังอยู่บนบัลลังก์สิงห์ ภายในกนกเปลว มีอักษรที่ขอบเบื้องล่างว่า “อธิบดีกรมการศาสนา” ตรานี้ได้ประกาศใช้เม่ือวันที่ ๙ ตลุ าคม พ.ศ. ๒๔๘๔ ตรากรมการศาสนา ตราของกรมการศาสนาเป็นแบบโบราณ คือมีตัวเธาะอยู่กลางใบเสมา ตัวเธาะน้ีนิยมใช้ในทาง เลขยันต์ ถือกันว่า ขลังดี โบราณาจารย์หมายเอารูปขององค์สมเด็จพระสัมมาสัมพุทธเจ้าประทับน่ังสมาธิ ณ ควงไม้พระศรีมหาโพธิจนสำ�เร็จพระอนุตรสัมมาสัมโพธิญาณ แต่บางท่านก็ว่าหมายถึงธรรม ตามเครื่องรางของขลังต่างนิยมใช้ตัวเธาะขัดสมาธิน้ีมาก ฉะนั้นการท่ีนำ�มาบรรจุไว้ในตรากรมจึงดูขลังดี ยงั ไม่ทราบวา่ ใครเป็นผอู้ อกแบบ ทมี่ า : หนงั สืออุเทศ เรื่อง ตราต่างๆ กรมวชิ าการ กระทรวงศึกษาธิการ พุทธศักราช ๒๕๒๔

19 รายพระนามและรายนามผูด้ ำ�รงต�ำ แหนง่ อธบิ ดีกรมการศาสนา ผู้ดำ�รงตำ�แหน่งอธิบดีกรมการศาสนา ในที่นี้ หมายถึงช่ือกรมที่เรียกอย่างอื่น และนามผ้ทู ดี่ ำ�รงต�ำ แหน่งท่ีเรยี กช่ืออยา่ งอนื่ มาแตค่ รง้ั สมัยรชั กาลท่ี ๑ เปน็ ต้นมาตามล�ำ ดับดังน้ี ยคุ เรียกชือ่ อยา่ งอ่นื ก่อนจดั ตั้งกระทรวง ทบวง กรม ๑. หลวงธรรมรกั ษา สมัยรชั กาลที่ ๑ ๒. กรมหลวงรกั ษร์ ณเรศ (พระองคเ์ จ้าไกรสร) สมัยรชั กาลท่ี ๒ ๓. กรมหม่ืนสรไกรวชิ ิต (พระองค์เจ้าสทุ ศั น) สมัยรัชกาลที่ ๓ ๔. สมเดจ็ เจา้ ฟา้ มหามาลา กรมพระยาบ�ำ ราบปรปกั ษ ์ สมัยรชั กาลที่ ๔ ๕. กรมหมื่นอุดมรัตนราษี (พระองค์เจ้าอรรณพ) สมยั รัชกาลที่ ๔ ยุคเรียกชอ่ื อยา่ งอ่ืนเม่อื จัดตัง้ กระทรวง ทบวง กรม แลว้ ๑. เจ้าพระยาวชิ ติ วงศว์ ุฒิไกร (ม.ร.ว.คล่ี สทุ ศั น)์ สมัยรัชกาลที่ ๕ ๒. พระศรีธรรมลังการ์ (เฟอ่ื ง พรหมจินดา) เจา้ กรมสงั ฆการี สมัยรชั กาลที่ ๖ ๓. พระธรรมการบดี (ช่วง รศั มทิ ัต) เจ้ากรมธรรมการ สมัยรัชกาลที่ ๖ ยุคเรยี กชอ่ื กรมธรรมการ ๑. เจา้ พระยาธรรมศักด์มิ นตรี (สน่ัน เทพหัสดิน ณ อยธุ ยา) สมยั รัชกาลท่ี ๖ ๒. พระยาเมธาธบิ ดี (สาตร์ สทุ ธเสถียร) สมยั รชั กาลท่ี ๗ ๓. พระพพิ ิธวรรณการ (ตาบ นาคธน) สมัยรชั กาลท่ี ๗ ๔. พระราชธรรมนเิ ทศ (เพยี ร (ไตติลานนท)์ ราชธรรมนิเทศ) สมัยรชั กาลที่ ๘ (พ.ศ. ๒๔๗๗-พ.ศ. ๒๔๗๘) ๕. พระช�ำ นาญอนศุ าสน์ (ทองคำ� โคปาลสตุ ) สมัยรชั กาลที่ ๘ (พ.ศ. ๒๔๗๘-พ.ศ. ๒๔๘๔) ยุคเปล่ยี นชอ่ื เป็นกรมการศาสนา ๑. พระช�ำ นาญอนศุ าสน์ (ทองคำ� โคปาลสุต) สมัยรัชกาลที่ ๘ (วนั ท่ี ๒๐ สิงหาคม ๒๔๘๔-๓๑ ตุลาคม ๒๔๘๕) ๒. พ.อ.หลวงสารานปุ ระพนั ธ์ (นวล (ปาจณิ พยคั ฆ)์ สารานุประพนั ธ)์ สมัยรัชกาลที่ ๘ (วนั ท่ี ๑ พฤศจกิ ายน ๒๔๘๕-๒๔๘๗) ๓. พระประชากรบริรกั ษ์ (ประชา (แอร่ม) สุนทรศารทูล) สมยั รัชกาลท่ี ๙ (วนั ที่ ๒๔ กรกฎาคม ๒๔๘๘-วันที่ ๑๑ กรกฏาคม ๒๔๙๔)

20 ๔. นายบญุ ช่วย สมพงษ์ (พ.ศ. ๒๔๙๔-พ.ศ. ๒๔๙๗) สมยั รชั กาลท่ี ๙ ๕. นายฟุง้ ศรวี จิ ารณ์ (พ.ศ. ๒๔๙๗-พ.ศ. ๒๕๐๖) สมัยรชั กาลที่ ๙ ๖. พ.อ.ป่ิน มุทุกันต ์ (พ.ศ. ๒๕๐๖-พ.ศ. ๒๕๑๕) สมยั รัชกาลที่ ๙ ๗. นายหล่อ รีละชาติ (พ.ศ. ๒๕๑๕-พ.ศ. ๒๕๑๕) สมัยรัชกาลท่ี ๙ ๘. นายเชอื้ สารมิ าน (พ.ศ. ๒๕๑๖-พ.ศ. ๒๕๑๖) สมัยรัชกาลที่ ๙ ๙. นายวชั ระ เอ่ียมโชติ (พ.ศ. ๒๕๑๖-พ.ศ. ๒๕๑๘) สมัยรชั กาลท่ี ๙ ๑๐. นายประจวบ คำ�บญุ รัตน์ (พ.ศ. ๒๕๑๘-พ.ศ. ๒๕๑๙) สมัยรชั กาลท่ี ๙ ๑๑. นายพินิจ สมบตั ิศริ ิ (พ.ศ. ๒๕๑๙-พ.ศ. ๒๕๒๓) สมยั รชั กาลที่ ๙ ๑๒. นายธนู แสวงศกั ด์ิ (พ.ศ. ๒๕๒๓-พ.ศ. ๒๕๒๕) สมัยรัชกาลที่ ๙ ๑๓. นายช�ำ เลือง วฒุ ิจันทร ์ (พ.ศ. ๒๕๒๕-พ.ศ. ๒๕๒๗) สมัยรชั กาลท่ี ๙ ๑๔. นายมงคล ศรไี พรวรรณ (พ.ศ. ๒๕๒๗-พ.ศ. ๒๕๓๐) สมยั รชั กาลท่ี ๙ ๑๕. ร.อ.อดลุ ย์ รตั ตานนท ์ (พ.ศ. ๒๕๓๐-พ.ศ. ๒๕๓๒) สมัยรัชกาลท่ี ๙ ๑๖. นายเสมอ นาคพงศ์ (พ.ศ. ๒๕๓๒-พ.ศ. ๒๕๓๕) สมัยรัชกาลที่ ๙ ๑๗. นายจำ�เรญิ เสกธีระ (พ.ศ. ๒๕๓๕-พ.ศ. ๒๕๓๗) สมยั รชั กาลท่ี ๙ ๑๘. นายพนม พงษไ์ พบลู ย์ (พ.ศ. ๒๕๓๗-พ.ศ. ๒๕๓๘) สมัยรัชกาลท่ี ๙ ๑๙. นายถวลั ย์ ทองมี (พ.ศ. ๒๕๓๘-พ.ศ.๒๕๔๐) สมยั รชั กาลท่ี ๙ ๒๐. นายสมานจิต ภริ มยร์ ืน่ (พ.ศ. ๒๕๔๐-พ.ศ.๒๕๔๑) สมัยรชั กาลที่ ๙ ๒๑. นายพิภพ กาญจนะ (พ.ศ. ๒๕๔๑-พ.ศ. ๒๕๔๒) สมัยรชั กาลท่ี ๙ ๒๒. นายไพบลู ย์ เสยี งก้อง (พ.ศ. ๒๕๔๒-พ.ศ. ๒๕๔๔) สมัยรัชกาลที่ ๙ ๒๓. นายสมานจติ ภิรมยร์ ื่น (พ.ศ. ๒๕๔๔-พ.ศ. ๒๕๔๕) สมัยรชั กาลที่ ๙ (พ.ศ. ๒๕๔๕-พ.ศ. ๒๕๔๖) สมยั รัชกาลท่ี ๙ ยคุ สังกัดกระทรวงวัฒนธรรม (พ.ศ. ๒๕๔๖-พ.ศ. ๒๕๕๐) สมัยรัชกาลที่ ๙ (พ.ศ. ๒๕๕๐-พ.ศ. ๒๕๕๔) สมยั รัชกาลท่ี ๙ ๑. นายกล้า สมตระกลู (พ.ศ. ๒๕๕๔-พ.ศ. ๒๕๕๖) สมยั รชั กาลท่ี ๙ ๒. นายปรชี า กนั ธิยะ (พ.ศ. ๒๕๕๖-ปจั จบุ ัน) สมยั รัชกาลท่ี ๙ ๓. นายสด แดงเอียด ๔. นายปรชี า กนั ธิยะ ๕. นายกฤษศญพงษ์ ศิร ิ

21 ท�ำ เนยี บอธบิ ดกี รมการศาสนา กระทรวงวัฒนธรรม ตัง้ แต่ พ.ศ. ๒๕๔๕-ปัจจบุ ัน ดร.กล้า สมตระกลู นายปรชี า กนั ธิยะ นายสด แดงเอยี ด พ.ศ. ๒๕๔๕-๒๕๔๖ พ.ศ. ๒๕๔๖-๒๕๕๐ พ.ศ. ๒๕๕๐-พ.ศ. ๒๕๕๔ ดร.ปรีชา กนั ธยิ ะ นายกฤษศญพงษ์ ศริ ิ พ.ศ. ๒๕๕๔-๒๕๕๖ พ.ศ. ๒๕๕๖-ปจั จุบนั

22 ท�ำ เนยี บผ้บู รหิ ารกรมการศาสนา ปจั จบุ นั (พ.ศ. ๒๕๕๗) นายกฤษศญพงษ์ ศิริ อธิบดีกรมการศาสนา นายกฤษฎา คงคะจันทร์ รองอธิบดกี รมการศาสนา นายชวลิต ศริ ภิ ิรมย์ นายพิสทิ ธิ์ นริ ัตตวิ งศกรณ์ นายสุเทพ เกษมพรมณี เลขานุการกรมการศาสนา ผอู้ �ำ นวยการกองศาสนูปถมั ภ์ ผอู้ ำ�นวยการสำ�นกั พฒั นาคุณธรรมจรยิ ธรรม

23 แผนภมู ิโครงสร้างการบรหิ ารงานของกรมการศาสนา อธิบดีกรมการศาสนา กลุม่ พฒั นาระบบบรหิ าร รองอธิบดีกรมการศาสนา นักวิชาการศาสนา กล่มุ ตรวจสอบภายใน เชีย่ วชาญ สำ�นักงานเลขานุการกรม กองศาสนูปภัมภ์ ส�ำ นักพัฒนาคณุ ธรรมจริยธรรม นิตกิ าร งานบรหิ ารทว่ั ไป งานธุรการ ฝา่ ยพธิ ี กลมุ่ วชิ าการ งานบริหารทว่ั ไป ฝ่ายศาสนสงเคราะห ์ กลุ่มเผยแผศ่ าสนา และส่งเสริมกจิ การ กลุ่มจรยิ ศกึ ษา งานแผนงาน พระพทุ ธศาสนา ฝ่ายศาสนสมั พันธ์ งานบริหารบุคคล ฝ่ายประสานงานกิจการ งานการคลงั ศาสนาอิสลาม

24 อำ�นาจหน้าที่ ภารกิจ กรมการศาสนา กระทรวงวัฒนธรรม ก ระทรวงวัฒนธรรม เป็น ๑ ใน ๒๐ กระทรวงหลัก เป็น ๑ ใน ๖ กระทรวงใหม่ ท่ีได้รับการสถาปนาข้ึนจากการปฏิรูประบบราชการ ในปี พ.ศ. ๒๕๔๕ มีหน่วยงานที่ สังกัดกระทรวงวัฒนธรรม ได้แก่ สำ�นักงานปลัดกระทรวงวัฒนธรรม กรมการศาสนา กรมศลิ ปากร กรมสง่ เสริมวัฒนธรรม สำ�นกั งานศลิ ปวัฒนธรรมร่วมสมัย สถาบนั บัณฑติ พัฒนศลิ ป ์ หอภาพยนตร์ (องค์การมหาชน) ศูนย์มานุษยวิทยาสิรินธร (องค์การมหาชน) ศูนย์คุณธรรม (องคก์ ารมหาชน) กระทรวงวัฒนธรรม ได้ออกกฎกระทรวง แบ่งส่วนราชการกรมการศาสนา กระทรวง วฒั นธรรม พ.ศ. ๒๕๔๕ กำ�หนดอ�ำ นาจหน้าที่ ภารกิจ ดังนี้ ให้กรมการศาสนา มีภารกิจเก่ียวกับการดำ�เนินงานของรัฐด้านศาสนา โดยการ ทำ�นุบำ�รุงส่งเสริมและให้การอุปถัมภ์คุ้มครองกิจการด้านพระพุทธศาสนาและศาสนาอื่นๆ ที่ทางราชการรับรองตลอดจนส่งเสริม พัฒนาความรู้คู่คุณธรรม ส่งเสริมความเข้าใจอันดี และ สร้างความสมานฉันท์ระหว่างศาสนิกชนของทุกศาสนา รวมทั้งดำ�เนินการเพ่ือให้คนไทยนำ� หลกั ธรรมของศาสนามาใชใ้ นการพฒั นาคณุ ภาพชวี ติ ใหเ้ ป็นคนดีมีคณุ ธรรม โดยให้มอี �ำ นาจหน้าท่ี ดังตอ่ ไปน้ี ๑. ทำ�นุบ�ำ รุง สง่ เสริมเพอ่ื พัฒนาความรคู้ ูค่ ุณธรรม ๒. เสรมิ สรา้ งศีลธรรม ปลูกฝังคุณธรรมและจริยธรรม ๓. ดำ�เนินการตามกฎหมายว่าด้วยการส่งเสริมกิจการฮัจย์ รวมทั้งกฎหมายและระเบียบ อืน่ ที่เกี่ยวข้อง ๔. ส่งเสริม ดูแล รกั ษาและท�ำ นุบ�ำ รุงศาสนสถาน และศาสนวตั ถุ ๕. ให้การอุปถัมภ์พระพุทธศาสนาและศาสนาอ่ืนๆ ที่ทางราชการรับรอง และสนับสนุน การดำ�เนนิ การขององค์การศาสนา ๖. ปฏบิ ตั กิ ารอนื่ ใดตามทก่ี ฎหมายก�ำ หนดใหเ้ ปน็ อ�ำ นาจหนา้ ทข่ี องกรมหรอื ตามทกี่ ระทรวง หรอื คณะรฐั มนตรีมอบหมาย

25 กรมการศาสนา กระทรวงวฒั นธรรม Department of Religious Affairs, Ministry of Culture ปฏิบัติภารกิจภายใต้วิสัยทัศน์ : องค์กรหลักในการขับเคลื่อนเครือข่ายทางศาสนา ส่งเสริมธรรมะทงั้ แผน่ ดนิ สร้างความสมานฉันท์ และคนดสี ่สู ังคมภายใต้หลักธรรมทางศาสนา และหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพยี ง ชาติ สังคมปรองดอง สมานฉันท์ ศาสนา พระมหากษตั รยิ ์ วัด/ น�ำ วถิ ี ศาสนสถาน วัฒนธรรมไทย ชมุ ชน ชุมชน/องค์กร/ คุณธรรม น้อมน�ำ สงั คม/ประเทศ น้อมนำ� บ้าน โรงเรยี น หลกั ธรรมค�ำ สอน หลกั ปรัชญาของ ไปประพฤตปิ ฏิบตั ิ เศรษฐกจิ พอเพยี ง กรมการศาสนามภี ารกจิ หลกั ในดา้ นตา่ งๆ ไดแ้ ก่ สนองงานพระราชพธิ ี พระราชกศุ ล รฐั พธิ ี และ ศาสนพธิ ี การด�ำ รง สบื สาน และเผยแพรห่ ลกั ธรรมทางศาสนาสสู่ งั คมเพอ่ื น�ำ มาเปน็ พนื้ ฐานใน การดำ�เนนิ ชวี ิต อย่างเปน็ รูปธรรม รวมถึงใหค้ วามอุปถัมภ์ค้มุ ครองกิจการศาสนาพุทธและศาสนา อื่นๆ ทีท่ างราชการรับรอง (ศาสนาอสิ ลาม ศาสนาคริสต์ ศาสนาพราหมณ-์ ฮนิ ดู และศาสนาซิกข์) เพ่ือความสมานฉนั ท์ระหว่างศาสนกิ ชนของทุกศาสนา ทงั้ นี้ โดยยดึ หลกั การท�ำ งานในเชงิ บรู ณาการเพอื่ ลดปญั หาการท�ำ งานทซ่ี า้ํ ซอ้ นมกี ารก�ำ หนด พนื้ ทเี่ ปา้ หมายในการด�ำ เนนิ งานทช่ี ดั เจนเพอื่ ขบั เคลอ่ื นภารกจิ ผา่ นโครงการและกจิ กรรมตา่ งๆ ดว้ ย การประสาน กลไกลภาคี ทงั้ ในสว่ นองคก์ ารทางศาสนา ภาครฐั /เอกชน/สถานศกึ ษา สอ่ื มวลชน และ ประชาชน ร่วมกัน สนบั สนนุ ใหท้ ุกภาคส่วนในสงั คมมีส่วนรว่ มกนั เปน็ องค์กรเครอื ข่ายทส่ี ำ�คัญโดย ดำ�เนินการตามบทบาทภาระหนา้ ที่ของแตล่ ะหน่วยงานเพ่อื ปลกู จติ สำ�นึก ของคนในชาติ ส่งเสริม คณุ ธรรมจรยิ ธรรมใหเ้ กดิ ขน้ึ รว่ มกนั พฒั นาประเทศใหม้ คี วามสามคั คี สงบสขุ รม่ เยน็ ถาวรตลอดไป

26 แสดงการขบั เคลอ่ื นการด�ำ เนินงานของกรมการศาสนาตามหลกั ยุทธศาสตร์ วสิ ัยทศั น์ องค์กรหลักในการส่งเสริมและสร้างความสมานฉันทท์ งั้ แผน่ ดนิ ภายใต้หลกั ธรรม ทางศาสนาและปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง พันธกจิ ๑. สนองงานพระราชพิธี ๒. ปลูกฝังและเสรมิ ๓. ส่งเสรมิ และสาน ๔. อุปถัมภ์ ทำ�นบุ ำ�รุง พระราชกศุ ล รัฐพิธี สร้างคุณธรรมจริยธรรม สมั พันธ์กิจกรรมทาง คุม้ ครองกจิ การ และศาสนพธิ ี เพอ่ื พัฒนาคุณภาพชีวิต ศาสนา ดา้ นศาสนา ยุทธศาสตร์ ยุทธศาสตรท์ ่ี ๑ ยทุ ธศาสตร์ที่ ๒ ยทุ ธศาสตรท์ ี่ ๓ ยุทธศาสตร์ท่ี ๔ รักษาสบื ทอดสถาบนั สง่ เสริม สบื สาน ปลูกฝงั บูรณาการการท�ำ งาน นอ้ มนำ�หลกั ปรัชญาของ หลักของประเทศให้ จิตวญิ ญาณให้เกดิ ความ เครือข่าย เพ่ือขบั เคลือ่ น เศรษฐกิจพอเพียง ประชาชนเกดิ ความ เล่อื มใสศรัทธาในสาม หลักธรรม ทางศาสนาสู่ บูรณาการงานศาสนา ภาคภูมิใจ ความรักและ สถาบนั หลกั ของชาติ ประชาชน หวงแหน กรมการศาสนา ขับเคล่ือนหลักธรรมทางศาสนา และหลักปรัชญาของเศรษฐกิจ พอเพยี งสู่สงั คมตามวิถที างวัฒนธรรม โดยบรู ณาการทุกภาคส่วนรว่ มกันจดั โครงการ/กจิ กรรม ภายใต้หลักยทุ ธศาสตรท์ ่ีสำ�คญั ดังน้ี ยุทธศาสตร์ท่ี ๑ รกั ษาสืบทอดสถาบนั หลักของประเทศ ใหป้ ระชาชนเกิดความภาคภูมิใจ ความรกั และหวงแหน กรมการศาสนา ปฏิบัติภารกิจในการรับสนองและสืบสานงานพระราชพิธี พระราชกุศล พระบรมราชูปถัมภ์ พระบรมราชานุเคราะห์ และงานศาสนพิธี ให้มีความถูกต้องตามโบราณ ราชประเพณี ซึ่งถือเป็นภารกิจอันทรงเกียรติ ในการปฏิบัติหน้าที่สนองงานรับใช้สถาบันศาสนา สถาบนั พระมหากษตั รยิ ์ และสบื สานความเปน็ ปกึ แผน่ ในชาตดิ ว้ ยการปฏบิ ตั หิ นา้ ทถี่ กู ตอ้ งตรงตาม แบบแผนสรา้ งความเชอ่ื มนั่ และศรทั ธาในหมปู่ ระชาชน พรอ้ มทง้ั เผยแพรอ่ งคค์ วามรโู้ ดยขบั เคลอื่ น ภารกจิ ในรูปแบบของโครงการ สำ�คัญ ดงั น้ี

27 โครงการส่งเสริมการเรียนรู้ศาสนพธิ ี กรมการศาสนา จัดกิจกรรมส่งเสริมการเรียนรู้ศาสนพิธีร่วมกับเครือข่ายทั้งใน ส่วนกลางและส่วนภูมิภาคเพื่อส่งเสริมให้กลุ่มเป้าหมายมีความรู้ ความเข้าใจ เกิดทักษะ เกี่ยวกับงานศาสนพิธีเพ่ือปฏิบัติกิจกรรมด้านศาสนพิธีถูกต้องตามแบบแผนของกรม การศาสนา เพื่อเป็นแนวทางเดียวกันในการนำ�ไปถ่ายทอดและขยายผลในสังคมได้อย่าง ถกู ต้องต่อไป รวมถงึ กระบวนการในการประชาสัมพันธ์ ตดิ ตามประเมนิ ผล และสรุปผลการดำ�เนินงาน อย่างครบวงจรในภารกิจงานดงั กลา่ ว โครงการฝกึ หัดนักสวดมหาชาตคิ �ำ หลวง กรมการศาสนา จัดกิจกรรมส่งเสริมการฝึกหัด ฝึกซ้อมการสวดมหาชาติคำ�หลวง โดยจัดทำ�หลักสูตรการสวดและประสานวิทยากรผู้มีความรู้ความสามารถเพื่อฝึกอบรม บุคลากรจากส่วนราชการต่างๆ ได้แก่ สำ�นักงานวัฒนธรรมจังหวัด เจ้าหน้าท่ีเขตพื้นที่การ ศึกษากรุงเทพมหานครและปริมณฑล และเจ้าหน้าที่กรมการศาสนา ให้ผู้ได้รับการอบรมได้ รับความรู้ตลอดถึงเพิ่มทักษะ โดยผ่านการทดสอบ และประเมินผลจากวิทยากร ผู้มีความรู้ ความสามารถ เพอ่ื น�ำ ความรทู้ ไ่ี ดไ้ ปพฒั นาตอ่ ยอดสบื ทอดงานพระศาสนา สนองงานรบั ใชส้ ถาบนั ชาต ิ ศาสนาและพระมหากษตั รยิ ์ โครงการสวดโอเ้ อ้วหิ ารราย กรมการศาสนาบรู ณาการงานโดยประสานความรว่ มมอื กบั องคก์ รเครอื ขา่ ย ภาคคณะสงฆ์ ภาครฐั และเอกชน ได้แก่ สำ�นักพระราชวัง กรมศิลปากร ส�ำ นกั งานวัฒนธรรมจงั หวดั และสถาน ศึกษา มีวัตถุประสงค์เพ่ือสืบทอดงานพระพุทธศาสนาตามโบราณราชประเพณีพร้อมกับปลูกฝัง ศีลธรรมและสร้างความภาคภูมิใจในวัฒนธรรมอันดีงามให้กับเยาวชนด้วยการถ่ายทอดคุณธรรม

28 ผ่านภูมิปัญญาไทยทางด้านวรรณกรรมและหลักภาษาไทยอันทรงคุณค่า โดยร่วมกับผู้ทรงคุณวุฒิ จดั ท�ำ หลักสูตร และเตรยี มความพรอ้ มให้กบั ครูผ้ฝู กึ สอนและนักเรียนในสถานศกึ ษา อ�ำ นวยความ สะดวกใหแ้ กอ่ งคก์ รเครอื ขา่ ย ผลติ เอกสารและสอื่ ส�ำ หรบั ใชใ้ นการฝกึ หดั สวดโอเ้ อว้ หิ ารราย เผยแพร ่ ไปยงั สถานศกึ ษาตา่ งๆ ตลอดถงึ สว่ นราชการ หนว่ ยงาน และประชาชนผสู้ นใจไดน้ �ำ ไปศกึ ษา รวมถงึ การประชาสมั พนั ธ์ผา่ นสอื่ ต่างๆ เพอ่ื กระตุน้ สง่ เสริม ให้ทุกภาคสว่ นตระหนกั ถงึ ความส�ำ คญั และมี สว่ นรว่ มในการสบื สานธรรมเนยี มการสวดโอเ้ อว้ หิ ารราย ทก่ี �ำ ลงั จะเลอื นหายไปจากสงั คมไทยใหค้ ง อย่เู ป็นมรดกทางศาสนาและศิลปวฒั นธรรมท่ที รงคุณค่าสบื ตอ่ ไป ยทุ ธศาสตร์ที่ ๒ สง่ เสรมิ สบื สาน ปลกู ฝงั จติ วญิ ญาณใหเ้ กดิ ความเลอื่ มใสศรทั ธาในสามสถาบนั หลกั ของชาติ กรมการศาสนา ด�ำ เนนิ บทบาทในการเปน็ องคก์ รหลกั ทส่ี ง่ เสรมิ สนบั สนนุ ใหอ้ งคก์ รเครอื ขา่ ย ทัง้ ภาคคณะสงฆ์ ภาครัฐ ภาคเอกชน สถานศึกษา และประชาชนทงั้ ในส่วนกลาง และสว่ นภมู ิภาค รว่ มกัน จดั กิจกรรมเนื่องในวันส�ำ คญั ทางศาสนาและวนั สำ�คัญในสถาบันพระมหากษัตรยิ ์ เพือ่ ปลกู ฝังความรัก ความศรัทธา ให้คนในชาตเิ กดิ ความสามัคคี และรว่ มเทดิ ทูน ๓ สถาบันหลกั ของชาตใิ ห้ ถาวรมัน่ คงตลอดไป ปรากฏเปน็ โครงการสำ�คญั ตา่ งๆ ดังนี้ โครงการจัดกิจกรรมเนือ่ งในวนั สำ�คญั ทางพระพุทธศาสนา กรมการศาสนาจัดกิจกรรมเน่ืองในวันสำ�คัญทางพระพุทธศาสนาร่วมกับเครือข่ายต่างๆ ทวั่ ประเทศเปน็ ประจ�ำ ทกุ ปี ไดแ้ ก่ วนั มาฆบชู า วนั วสิ าขบชู า วนั อาสาฬหบชู า เทศกาลวนั เขา้ พรรษา และวนั ธรรมสวนะ โดยประชาสมั พันธ์ เชิญชวน และสนับสนุนให้ทกุ ภาคสว่ น กระตุ้นส่งเสรมิ ให้ องคก์ รเครอื ขา่ ยของตน เหน็ ความส�ำ คญั รว่ มกนั จดั กจิ กรรมทเี่ นน้ การนอ้ มน�ำ หลกั ธรรมในพระพทุ ธ ศาสนาและแนวปรัชญาของเศรษฐกจิ พอเพียงมาเป็นหลกั ในการขับเคลอ่ื นกิจกรรมลงสู่สงั คม

29 ประชาสัมพันธใ์ ห้ศาสนสถาน หนว่ ยงานราชการ เอกชน สถานศึกษาทว่ั ประเทศพร้อมใจ กนั ประดับธงธรรมจกั รแสดงสัญลกั ษณ์ในวนั สำ�คญั ทางพระพทุ ธศาสนา และเชญิ ชวนทกุ ภาคสว่ น รว่ มกนั รณรงคใ์ หพ้ ทุ ธศาสนกิ ชน “นงุ่ ขาว หม่ ขาว เขา้ วดั ปฏบิ ตั ธิ รรม” ในวนั ส�ำ คญั ทางพทุ ธศาสนา และวนั ธรรมสวนะตลอดเทศกาลเขา้ พรรษา เพอ่ื ปลกู ฝงั รากแกว้ แหง่ ศลี ธรรมใหม้ นั่ คงถาวรในสงั คมไทย โครงการพธิ ีเจริญพระพทุ ธมนตน์ พเคราะห์ และพิธีสบื ดวงพระชาตาเฉลมิ พระเกียรติ กรมการศาสนา จัดพิธีเจริญพระพุทธมนต์นพเคราะห์ และพิธีสืบดวงพระชาตา เฉลิมพระเกียรติ เนื่องในวันสำ�คัญในสถาบันพระมหากษัตริย์ โดยประสานความร่วมมือกับภาค คณะสงฆ์ องค์กรหน่วยงานท้ังในส่วนกลางและส่วนภูมิภาค เพ่ือให้พุทธศาสนิกชนได้ประกอบ คณุ งามความดถี วายเปน็ พทุ ธบชู า และสบื ทอดโบราณราชประเพณี ถวายเปน็ พระราชกศุ ลพระบาท สมเด็จพระเจ้าอยู่หัว และพระบรมวงศานุวงศ์ทุกพระองค์ เป็นการแสดงออกถึงความจงรักภักดี ความรกั และเทดิ ทนู ในสถาบนั ชาติ ศาสนา และพระมหากษัตริยข์ องเหลา่ พสกนิกรท่ัวประเทศ โครงการเทศนม์ หาชาติ กรมการศาสนาจดั โครงการเทศนม์ หาชาตเิ นอื่ งในวนั ส�ำ คญั ทางศาสนาและเฉลมิ พระเกยี รติ ในสถาบนั พระมหากษตั รยิ โ์ ดยประสานความรว่ มมอื กบั ภาคคณะสงฆต์ ลอดถงึ องคก์ ร หนว่ ยงาน ทงั้ ภาครัฐ เอกชน สถานศึกษาและประชาชนจดั กจิ กรรมการเทศนม์ หาชาติ

30 นอกจากนี้ กรมการศาสนา ได้ดำ�เนินนโยบายสำ�คัญ เพื่อเปน็ การสืบทอดประเพณีการเทศนม์ หาชาติทถ่ี กู ต้องเหมาะสม โดยการรวบรวมองค์ความรู้ เพ่ือจัดทำ�ฐานข้อมูลเก่ียวกับ การเทศน์มหาชาติ ประวตั ิพระนกั เทศน์ ท่ีมีความรู้ ความสามารถ ในการเทศน/์ แหล่ ในแตล่ ะกัณฑ์ แตล่ ะภูมิภาคทว่ั ประเทศ ส�ำ หรบั เป็นต้นแบบในการสืบค้นและเผยแพร่การเทศน์มหาชาติท่ีถูกต้อง พรอ้ มกบั จดั กจิ กรรมสง่ เสรมิ พระนกั เทศนร์ นุ่ ใหม่ ดว้ ยการถวายความรทู้ ตี่ รงตามแบบแผนและหลกั ธรรม เปน็ การส่งเสรมิ ภารกิจในการเผยแผพ่ ระพุทธศาสนาและจารีตประเพณใี ห้ถูกตอ้ งดงี ามสืบไป โครงการจดั งานรวมพลงั ทางศาสนาเสรมิ สรา้ งความสมานฉันทเ์ ฉลิมพระเกียรติ กรมการศาสนา ดำ�เนินงานตามหลักยุทธศาสตร์ที่มุ่งสร้างความสามัคคีปรองดอง สมานฉันทใ์ ห้เกิดขึ้นในสังคมไทย โดยบูรณาการงานร่วมกับทุกองค์การศาสนาในประเทศไทย เพื่อขับเคล่ือน หลักธรรมทางศาสนา และหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงไปสู่การประพฤติปฏิบัติ ในชีวิตประจำ�วันและร่วมจัดกิจกรรม เพื่อเทิดทูนสถาบันพระมหากษัตริย์ในฐานะองค์เอก อคั รศาสนูปถัมภพ์ รอ้ มกนั ทว่ั ประเทศ

31 ยุทธศาสตร์ที่ ๓ บรู ณาการการท�ำ งานเครอื ขา่ ย เพอ่ื ขบั เคลอื่ นหลกั ธรรมทางศาสนาสปู่ ระชาชน กรมการศาสนาตระหนักดีว่าสภาพปัญหาสังคมไทยในทุกวันนี้เกิดขึ้นเน่ืองจากคนในชาติ ขาดศรัทธา และเพิกเฉยต่อการประพฤติปฏิบัติตนตามหลักธรรมของศาสนา จึงเห็นความสำ�คัญ ในการนอ้ มนำ�หลักธรรมทางศาสนามาเปน็ เคร่อื งมือในการปลกู ฝงั คณุ ธรรม จริยธรรม ให้เขม้ แขง็ เพอ่ื เปน็ แนวทางในการแกไ้ ขปญั หาจากสถานการณต์ า่ งๆ ใหล้ ลุ ว่ งไปไดด้ ว้ ยดี โดยขบั เคลอื่ นนโยบาย ดำ�เนินการตามหลักบูรณาการท่ีถือเป็นหัวใจของการทำ�งานเผยแพร่หลักธรรมสู่สังคมอย่างกว้าง ขวางและท่วั ถงึ ผ่านโครงการส�ำ คญั ตา่ งๆ ดังนี้ โครงการหมู่บา้ นรกั ษาศีล ๕ : ชาวประชาเปน็ สุข กรมการศาสนา กระทรวงวัฒนธรรม ดำ�เนนิ การขบั เคลอ่ื นโครงการหมูบ่ า้ นรักษา ศลี ๕ : ชาวประชาเป็นสุข เพ่ือสนองในดำ�ริสมเด็จพระมหารัชมังคลาจารย์ ผู้ปฏิบัติหน้าท่ีสมเด็จพระ สังฆราช โดยการส่งเสริม สนับสนุน และสร้างความตระหนักให้พุทธศาสนิกชนเห็นความสำ�คัญ ในการน�ำ หลกั ศลี ๕ ในพระพุทธศาสนามาเป็นแนวทางในการด�ำ เนนิ ชวี ติ เพ่อื สรา้ งความสขุ ให้แก่ ตนเอง ชมุ ชน สังคม และประเทศชาติ สอดคล้องกับเจตนารมณ์ของคณะรักษาความสงบแห่งชาติ (คสช) ที่ต้องการขับเคล่ือนหลักธรรมสู่สังคมเพื่อสร้างความปรองดองสมานฉันท์และคืนความสุข ให้กบั คนในชาติ กรมการศาสนาไดจ้ ดั ท�ำ “แนวทางการด�ำ เนนิ งานโครงการหมบู่ า้ นรกั ษาศลี ๕ : ชาวประชา เปน็ สขุ ในดำ�รขิ องสมเดจ็ พระมหารัชมังคลาจารย์ ผปู้ ฏบิ ตั ิหนา้ ทสี่ มเด็จพระสังฆราช” เพอื่ น�ำ ออก เผยแพร่ไปยังทุกภาคส่วนของสังคมตลอดจนทำ�หน้าท่ีในฐานะเป็นองค์กรหลักของภาครัฐนำ�การ

32 ขบั เคลอ่ื นกจิ กรรมใหเ้ กิดเป็นรปู ธรรม โดยการประสานความร่วมมือไปยงั ภาคสว่ นตา่ งๆ ตามหลกั ๓ ประสาน “บวร” (วดั บา้ น (ชมุ ชน) โรงเรยี น) ประกอบไปดว้ ยภาคคณะสงฆ์ องคก์ รภาครฐั เอกชน สอ่ื มวลชน และภาคประชาชน โดยใหท้ กุ กลมุ่ สงั คมมสี ว่ นรว่ มสนบั สนนุ ตามบทบาทภาระหนา้ ทขี่ อง แตล่ ะองคก์ ร โดยในสว่ นภมู ภิ าคไดป้ ระสาน ขอความรว่ มมอื ไปยงั ส�ำ นกั งานวฒั นธรรมจงั หวดั ตา่ งๆ ท�ำ หนา้ ทบี่ รู ณาการงานรว่ มกบั องคก์ รภาครฐั ในสว่ นภมู ภิ าค ไดแ้ ก่ ผวู้ า่ ราชการจงั หวดั นายอ�ำ เภอ หนว่ ยงานราชการ และชมุ ชนในทอ้ งท่ี สนบั สนนุ ใหเ้ กดิ การปฏบิ ตั อิ ยา่ งเปน็ รปู ธรรมในพนื้ ทจี่ งั หวดั ต่างๆ ซ่ึงได้รับความร่วมมือเป็นอย่างดีย่ิงจากเครือข่ายทุกภาคส่วนของสังคมร่วมกันขับเคลื่อนให้ คนในชุมชนรกั ษาศีล ๕ และประพฤตติ นตามหลักปรัชญาของเศรษฐกจิ พอเพยี งตามแบบอย่างวถิ ี วัฒนธรรมไทย นอกจากนี้ กรมการศาสนา ได้ประสานให้เกิดการดำ�เนินงานขึ้นภายในจังหวัดต้นแบบ นำ�รอ่ งรวม ๑๑ จงั หวัด ไดแ้ ก่ กาญจนบรุ ี บงึ กาฬ หนองคาย แพร่ ชัยนาท ยโสธร ปทุมธานี เลย ราชบุรี สมุทรสงคราม และสระบุรี ซ่งึ กระบวนการในการบริหารงานของจงั หวัดตน้ แบบน�ำ ร่องจะ ประสบความส�ำ เรจ็ ไดน้ น้ั จะตอ้ งมกี ารประสานความรว่ มมอื กนั โดยมี ผวู้ า่ ราชการจงั หวดั วฒั นธรรม จงั หวัด ผนู้ ำ�ชมุ ชน ผูน้ �ำ ทอ้ งถนิ่ เขา้ มาดำ�เนนิ การในฐานะบทบาทผู้น�ำ การขับเคลื่อนท่ีมีศกั ยภาพ และมีภาวะผู้นำ�สูง ท�ำ งานดว้ ยความเสียสละ เพ่อื เชิญชวน ส่งเสรมิ สนบั สนนุ ใหผ้ ู้เก่ียวขอ้ งตลอด ถงึ เครอื ขา่ ยองคก์ รทกุ ภาคสว่ น ซงึ่ ลว้ นมสี ว่ นส�ำ คญั เปน็ อยา่ งยงิ่ ตอ่ การขบั เคลอื่ นโครงการน้ี รว่ มกนั จดั ตง้ั เป็นคณะทำ�งานตา่ งๆ อาทิ คณะกรรมการ/คณะทีมงาน ร่วมกันวางแผน ร่วมปฏบิ ัตดิ �ำ เนิน งาน รว่ มกนั ตรวจสอบ และรว่ มกนั ปรบั ปรงุ สรา้ งพลงั ชมุ ชนทเี่ ขม้ แขง็ เพอ่ื ขบั เคลอ่ื นการด�ำ เนนิ งาน ไปยงั ระดบั ชมุ ชนตา่ งๆ อยา่ งทวั่ ถงึ ตามหลกั การ “ระเบดิ ออกมาจากภายใน” ของแตล่ ะครอบครวั แตล่ ะหมบู่ า้ น เนอ่ื งจาก ความส�ำ เรจ็ ของโครงการรกั ษาศลี ๕ : ชาวประชาเปน็ สขุ จะตอ้ งเกดิ ขน้ึ มา จากความศรัทธา เล่ือมใส เหน็ คณุ คา่ และประโยชนจ์ ากการรกั ษาศีล ๕ ของสมาชิกในชุมชนทุกระดบั

33 ตวั อย่างแผนภมู ิการขบั เคล่ือนโครงการหมบู่ า้ นรักษาศีล ๕ : ชาวประชาเปน็ สุข ในด�ำ ริของสมเด็จพระมหารัชมังคลาจารย์ ผูป้ ฏบิ ัติหนา้ ทีส่ มเด็จพระสังฆราช ของสำ�นักงานวฒั นธรรมจงั หวดั รักษาศีล ๕ ต้นแบบ ๑๑ จังหวดั กรมการศาสนา ส�ำนกั งานวฒั นธรรมจังหวัดตน้ แบบ (คณะกรรมการบริหารฯ ระดบั จงั หวดั ) - ทมี บรรยายนิเทศงาน - ทมี ประสานงาน - ทมี ประชาสัมพันธ์ - ทมี ประเมนิ หมู่บ้านรักษาศีล ๕ - ทีมประเมินจงั หวัดรักษาศลี ๕ คณะท�ำงานฯ ระดับอ�ำเภอที่ ๑ คณะท�ำงานฯ ระดับอ�ำเภอที่ ๒ คณะท�ำงานฯ ระดบั อ�ำเภอท่ี ๓-๑๔ - ทีมนิเทศ/ตดิ ตามงาน - ทมี นิเทศ/ตดิ ตามงาน - ทีมนเิ ทศ/ตดิ ตามงาน - ทมี ผู้ใหญบ่ ้าน/ทมี ผ้นู �ำตามธรรมชาติ - ทมี ผู้ใหญบ่ ้าน/ทีมผนู้ �ำตามธรรมชาติ - ทีมผใู้ หญ่บา้ น/ทมี ผนู้ �ำตามธรรมชาติ - ทีมประเมนิ ผลระดบั อ�ำเภอ - ทมี ประเมินผลระดบั อ�ำเภอ - ทมี ประเมนิ ผลระดับอ�ำเภอ คณะท�ำงานฯ ระดบั หมู่บ้านท่ี ๑ คณะท�ำงานฯ ระดบั หมบู่ ้านที่ ๒ คณะท�ำงานฯ ระดบั หมู่บ้านที่ ๓-๑๐๐ - ทีมผทู้ รงคุณวฒุ ิ - ทมี ผู้ทรงคณุ วฒุ ิ - ทีมผทู้ รงคุณวฒุ ิ - ทมี ผู้น�ำธรรมชาติ - ทมี ผนู้ �ำธรรมชาติ - ทีมผู้น�ำธรรมชาติ - ทีมผใู้ หญ่บ้าน/ทมี ผ้สู งู อายุ - ทมี ผใู้ หญ่บ้าน/ทมี ผ้สู ูงอายุ - ทีมผู้ใหญ่บ้าน/ทีมผูส้ งู อายุ - ทีมประเมินผลครอบครวั รักษาศีล ๕ - ทีมประเมนิ ผลครอบครัวรกั ษาศลี ๕ - ทีมประเมนิ ผลครอบครัวรกั ษาศีล ๕ ประเมินคนในครอบครวั ไมน่ อ้ ยกวา่ ๕๐% ในครอบครวั ทผ่ี า่ นเกณฑ์ เป็น “ครอบครัวรกั ษาศลี ๕” ประเมิน “ครอบครวั รักษาศลี ๕” ไม่น้อยกวา่ ๕๐% ทผ่ี ่านเกณฑ์ เป็น “หมบู่ ้านรักษาศีล ๕” ประเมินหมบู่ ้านรกั ษาศีล ๕ ไมน่ ้อยกวา่ ๕๐% ท่ีผา่ นเกณฑ์ ในแตล่ ะอ�ำเภอเปน็ “อ�ำเภอรกั ษาศีล ๕” ทุกอ�ำเภอในจังหวัดเป็น “อ�ำเภอรักษาศลี ๕” เท่ากบั เปน็ “จงั หวัดรกั ษาศลี ๕”

34 กรมการศาสนารว่ มกับเครอื ข่ายขบั เคล่ือนคุณธรรมจริยธรรมสำ�หรับเยาวชน ประกอบด้วย โครงการคลนิ กิ คณุ ธรรมในสถานศกึ ษา กรมการศาสนา จัดโครงการคลินิกคุณธรรมในสถานศึกษาเพื่ออบรมคุณธรรม จริยธรรม โดยใช้สถานศึกษาเป็นที่ต้ังคลินิกคุณธรรมทั้งในส่วนกลางและส่วนภูมิภาค ประสาน การทำ�งานร่วมกันระหว่างพระธรรมวิทยากร วัฒนธรรมจังหวัด ผู้บริหาร ครูอาจารย์ตลอดถึง เจ้าหนา้ ทท่ี ุกฝ่ายในสถานศกึ ษา เพอ่ื ปลกู ฝังคุณธรรมใหแ้ ก่เยาวชนในสถานศึกษา โครงการคา่ ยคณุ ธรรมส�ำ หรับเด็กและเยาวชนทถ่ี ูกกล่าวหาว่ากระทำ�ความผดิ กรมการศาสนา ร่วมกับศาลเยาวชนและครอบครัวจัดกิจกรรมนำ�เยาวชนท่ีถูกกล่าวหา ว่ากระทำ�ความผิดและอยู่ในการดูแลของศาลเยาวชนและครอบครัวเข้าค่ายอบรมจริยธรรมเพ่ือ เปิดโอกาสให้เยาวชนเหล่าน้ีได้ศึกษาและปฏิบัติหลักธรรมทางศาสนาผ่านการเรียนรู้ชีวิตชาวพุทธ ตามหลักวิถีชุมชนท่ีเน้นการอยู่ร่วมกันด้วยหลักเมตตาธรรม กล่อมเกลาจิตใจเยาวชนให้เป็นพลัง ทด่ี ีกลับสู่สงั คม สร้างความภาคภูมใิ จให้ แก่ เยาวชน ครอบครวั สงั คม และประเทศชาติ โครงการบรรพชาอปุ สมบทพระภิกษสุ ามเณรและบวชศลี จารณิ ภี าคฤดูร้อน กรมการศาสนารว่ มกบั เครอื ขา่ ยภาคคณะสงฆแ์ ละองคก์ รภาครฐั และ เอกชนจัดโครงการบรรพชาอุปสมบทพระภิกษุ สามเณรและบวชศีลจาริณี ภาคฤดรู อ้ น เพือ่ เฉลิมพระเกียรติฯ เทดิ ทูนสถาบนั พระมหากษัตรยิ ์ เปิดโอกาส ใหเ้ ดก็ เยาวชนทงั้ หญงิ และชายไดศ้ กึ ษาหลกั ธรรมทางพทุ ธศาสนา น�ำ ความรทู้ ไี่ ด ้ ไปประพฤติปฏิบัติในชีวิตประจำ�วัน โดยในส่วนกลางจัดขึ้นที่วัดยานนาวา

35 และในต่างจังหวัดประสาน ความร่วมมือกับภาคคณะสงฆ์ สำ�นักงานวัฒนธรรมจังหวัด องค์กร ปกครองส่วนท้องถ่ิน สถานศึกษา ประชาสัมพันธ์ความสำ�คัญของกิจกรรมผ่านสื่อต่างๆ เพ่ือเชิญชวนให้ทกุ ภาคส่วนรว่ มกนั จดั กิจกรรม โครงการเยาวชนสมานฉันท์ กรมการศาสนา กระทรวงวัฒนธรรม ร่วมกับผู้นำ�องค์กรศาสนา พุทธ อิสลาม คริสต์ พราหมณ-์ ฮนิ ดู และซกิ ข์ จัดโครงการค่ายเยาวชนสมานฉันทต์ ามพันธกิจส่งเสริมและสานสัมพนั ธ์ กิจกรรมทางศาสนาเพอ่ื ความเขา้ ใจอันดรี ะหวา่ งศาสนกิ ชน ส่งเสรมิ ใหเ้ ยาวชน ทั้ง ๕ ศาสนา ได้ แลกเปลี่ยนเรียนรู้การอยู่ร่วมกันอย่างสันติบนความเชื่อทางศาสนาที่ต้ังอยู่บนพื้นฐานแห่งความ รักและเมตตาธรรมและการดำ�เนินชีวิตตามหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงในพระบาทสมเด็จ พระเจ้าอยู่หัว โครงการสง่ เสรมิ “ธรรมะเพือ่ คนท้งั มวล” ศาสนามีพลังท่ีจะสนับสนุน เป็นกำ�ลังใจ และเยียวยาคนพิการให้ออกจากความทุกข์ ทางรา่ งกาย สกู่ ารพฒั นา พง่ึ พาตนเองได้ ดงั นน้ั กรมการศาสนา กระทรวงวฒั นธรรม จงึ ไดด้ �ำ เนนิ การ จัดกิจกรรม “ธรรมะเพ่ือคนท้ังมวล” ภายใต้โครงการธรรมะสู่คนพิการ เพ่ือส่งเสริมให้กลุ่ม คนพิการ ทุพลภาพ ผู้ด้อยโอกาสพร้อมผู้ดูแลทั้งในระดับเยาวชนและบุคคลท่ัวไป ได้เรียนรู้ หลักธรรมทางพระพุทธศาสนาและนำ�ไปปรับใช้ในการพัฒนาตนเองท้ังทางร่างกายและจิตใจ ใหเ้ กดิ ความเขม้ แขง็ ในการด�ำ รงชวี ติ รวมทงั้ สง่ เสรมิ ใหท้ กุ ภาคสว่ นไดม้ สี ว่ นรว่ มเปดิ พนื้ ท่ี สนบั สนนุ ให้กลมุ่ คนพิการ ทพุ ลภาพ ผดู้ ้อยโอกาส ได้เข้าถงึ และเรยี นรหู้ ลกั ธรรมทางศาสนาอย่างเทา่ เทียม และเสมอภาค

36 โครงการการด�ำ เนนิ กิจการฮัจย์ ฮจั ย์ เปน็ หนง่ึ ในห้าของข้อปฏบิ ตั ิท่มี ุสลมิ ตอ้ งปฏบิ ัติ (ขอ้ ปฏิบตั ิ ๕ ข้อ คอื การปฏญิ าณ ตน การละหมาด การบรจิ าคหรอื จา่ ยซากาต การถือศีลอด และการประกอบพธิ ีฮัจย์) เป็นศาสน กิจของศาสนาอิสลามที่กำ�หนดให้มุสลิมที่มีความพร้อมต้องเดินทางไปประกอบพิธีฮัจย์อย่างน้อย หนง่ึ ครง้ั ในชวี ติ ความพรอ้ มตอ้ งพรอ้ มทงั้ ดา้ นทรพั ยส์ นิ และดา้ นรา่ งกาย รฐั บาลไดต้ ระหนกั เสมอถงึ ความส�ำ คญั ดงั กลา่ วและไดส้ ง่ เสรมิ กจิ การฮจั ยด์ ว้ ยดตี ลอดมา เพอ่ื แสดงถงึ ความแนว่ แนข่ องรฐั บาล ในการส่งเสรมิ กิจการฮจั ย์ รัฐบาลจงึ ไดต้ ราพระราชบัญญัติส่งเสริมกิจการฮัจย์ พ.ศ. ๒๕๒๔ โดยมี คณะกรรมการส่งเสรมิ กจิ การฮัจย์แหง่ ประเทศไทย เปน็ ผ้กู �ำ หนดระเบยี บ ขอ้ บังคับ เงือ่ นไข หรือ มาตรการใด ๆ เพื่อเป็นแนวปฏิบัติในอันท่ีจะให้ความคุ้มครองผู้ที่ประสงค์จะเดินทางไปประกอบ พิธีฮัจย์ให้ได้รับความสะดวก ปลอดภัย และมีหลักประกัน โดยมีกรมการศาสนา ทำ�หน้าท่ีสำ�นัก เลขาธกิ ารคณะกรรมการส่งเสริมกิจการฮัจยแ์ หง่ ประเทศไทย ในเทศกาลฮัจย์ทุกปีจะมีพ่ีน้องมุสลิมท่ัวโลกต่างมุ่งสู่ดินแดนต้นกำ�เนิดศาสนาอิสลาม เพอ่ื ประกอบพธิ ีฮัจยอ์ นั ยง่ิ ใหญต่ ามบทบญั ญตั ขิ องศาสนาอสิ ลาม ตามความเชื่อและศรัทธา กรมการศาสนาในฐานะสำ�นักเลขาธิการส่งเสริมกิจการฮัจย์แห่งประเทศไทย ไดต้ ระหนกั และใหค้ วามสำ�คัญเรือ่ งนต้ี ลอดมา โดยในทกุ ๆ ปี กรมการศาสนาและหน่วยงานเครอื ข่ายได้ดำ�เนินการส่งเสริมและอำ�นวยความสะดวกในด้านต่าง ๆ เพื่อให้พ่ีน้องมุสลิมชาวไทยได้ไป ประกอบพิธฮี จั ย์ครบถ้วน สมบรู ณต์ ามหลกั ศาสนา เดินทางปลอดภัย ไรข้ ้อกงั วล

37 ยทุ ธศาสตร์ที่ ๔ น้อมน�ำ หลกั ปรชั ญาของเศรษฐกิจพอเพยี งบูรณาการงานศาสนา ทุกภารกิจของกรมการศาสนาขับเคล่ือนและบูรณาการลงสู่ทุกองค์กรเครือข่าย เพื่อรวม พลงั ทกุ ศาสนาสรา้ งสงั คม “คณุ ธรรม” แกไ้ ขวกิ ฤตใิ นปญั หาสงั คมดว้ ยการน�ำ หลกั ธรรมทางศาสนา และหลักปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงมาเป็นแนวทางในการดำ�เนินชีวิตที่ยั่งยืนสำ�หรับเด็ก เยาวชน และประชาชนทุกกลมุ่ สงั คม โครงการชมุ ชนคณุ ธรรมน้อมน�ำ ปรชั ญาของเศรษฐกจิ พอเพยี ง กรมการศาสนา ขับเคล่ือนภารกิจงานตามนโนบายสร้างความปรองดองให้แก่คนในชาติ โดยนำ�หลักธรรมทงั้ ๕ ศาสนา (ศาสนาพุทธ อสิ ลาม คริสต์ พราหมณ์-ฮนิ ดู และ ซกิ ข)์ และหลกั ปรชั ญาของเศรษฐกจิ พอเพียงมาขบั เคลอ่ื นลงสู่ชุมชนตา่ งๆ ทว่ั ประเทศโดยให้มีความกลมกลืนกับ วถิ ที างวัฒนธรรมของแตล่ ะชุมชน ศาสนา บา้ น ชาติ วัด/ศาสนสถาน โรงเรียน/ชมุ ชน/อปท. กษัตรยิ ์ ชมุ ชนคณุ ธรรมเกิดความผาสกุ รม่ เยน็ และเขม้ แขง้ อย่างย่งั ยืน

38 โครงการ“ชมุ ชนคณุ ธรรม” หมายถงึ ชมุ ชนทพ่ี ง่ึ ตนเองไดใ้ นมติ ทิ างศาสนายดึ หลกั คณุ ธรรม ทางศาสนามาบูรณาการกับการดำ�เนินชีวิตเพ่ือเป็นแนวทางในการประพฤติปฏิบัติตนได้อย่างถูก ตอ้ งตามวถิ ีชวี ติ และภูมปิ ญั ญาทอ้ งถ่นิ ในชมุ ชน มหี ลกั การด�ำ เนินงาน ดงั น้ี ๑. การนอ้ มนำ�หลกั ธรรมไปประพฤติปฏิบัตติ ามค�ำ สอนของแตล่ ะศาสนา ๒. การน้อมนำ�หลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงของพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว มาเปน็ หลักในการพัฒนาคณุ ภาพชีวิตของประชาชน ๓. การดำ�เนินชีวิตแบบวิถีวัฒนธรรมไทย โดยเปิดพ้ืนที่วัด/ศาสนสถาน ให้เป็นพ้ืนที่ สรา้ งสรรคแ์ หลง่ เรยี นรทู้ างประวตั ศิ าสตรแ์ ละจดั กจิ กรรมดา้ นศาสนาและศลิ ปวฒั นธรรมของชมุ ชน ปัจจุบนั ชุมชนคณุ ธรรม มจี �ำ นวน ๖,๐๑๖ แหง่ ประกอบด้วย ศูนย์ศึกษาพระพุทธศาสนาวันอาทิตย์ (ศพอ.) ต้ังอยู่ภายในวัดต่างๆ ทั่วประเทศเพื่อ เป็นศูนย์ปลูกฝังศีลธรรมให้กับเด็ก เยาวชนและประชาชน ต้ังแต่ระดับครอบครัว ชุมชน สังคม โดยส่งเสริมให้ได้มีการศึกษาเรียนรู้หลักธรรม คำ�สอนทางศาสนา และวิชาชีพตามหลักปรัชญา ของเศรษฐกจิ พอเพียง ปัจจบุ นั มีจำ�นวน ๔,๑๗๑ แห่ง ทวั่ ประเทศ ลานธรรม ลานวิถีไทย เป็นศูนย์พัฒนาจิตใจและคุณภาพชีวิตของประชาชนโดยใช้พ้ืนที่ ของศาสนสถานในศาสนาต่างๆ จัดกิจกรรมส่งเสริมคุณธรรมจริยธรรม และอาชีพให้คนในชุมชน ให้รู้จักพ่ึงพาตนเองได้ตามหลักธรรมทางศาสนา และหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง ปัจจุบัน มจี �ำ นวน ๙๒๙ แหง่

39 ศูนย์อบรมศาสนาอิสลามและ จริยธรรมประจำ�มสั ยิด (ศอม.) ตั้งอยูใ่ น มัสยิดท่ัวประเทศ มีวัตถุประสงค์เพ่ือเป็น สถานทจ่ี ดั กจิ กรรมในมติ ศิ าสนาสรา้ งสรรค์ คุณธรรมและภมู ิคุม้ กันใหก้ บั เดก็ เยาวชน และสรา้ งงาน สรา้ งอาชพี ให้กับผปู้ กครอง โดยใช้หลักธรรมในศาสนาอิสลาม และ หลักปรัชญา ของเศรษฐกิจพอเพียง มาเปน็ หลกั ในการด�ำ เนินงาน ปัจจุบันมี จ�ำ นวน ๙๑๖ แห่ง “ชุมชนคุณธรรม” ต่างๆ จะมีผู้นำ�ชุมชนเป็นแบบอย่างนำ�ชาวชุมชนในทุกกลุ่มร่วมกัน ประพฤตปิ ฏบิ ตั ติ นตามหลกั ธรรมทช่ี มุ ชนนบั ถอื สรา้ งความสขุ ในแบบชมุ ชนคณุ ธรรมทพี่ งึ่ พาตนเอง ได้ด้วยการน้อมนำ�หลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงมาใช้เป็นแนวดำ�เนินชีวิตประจำ�วันตามแบบ วถิ วี ฒั นธรรมไทยทเ่ี ปยี่ มไปดว้ ยความรกั ความสามคั คี มกี ารรว่ มมอื รว่ มใจประสานสมั พนั ธก์ นั โดย เปิดพื้นที่ วัด/ศาสนสถาน ให้เป็นศูนย์กลางในการเรียนรู้ของชุมชนและร่วมกันจัดกิจกรรมในมิติ ทางศาสนาและวัฒนธรรมตามความต้องการของคนในชุมชนท่ีหลากหลายรูปแบบ และต่อเน่ือง ตลอดเวลา ดังตัวอยา่ งการดำ�เนินงานของ “ชุมชนคุณธรรมต้นแบบ” อาทิ ชมุ ชนบางกะสี จงั หวัด สมุทรปราการ และชมุ ชนกฎุ จี นี กรุงเทพฯ

40 ด�ำ เนนิ งานกิจกรรมบนหลักพ้ืนฐาน ๓ ประการ ได้แก่ การน้อมน�ำ หลกั ธรรมไปประพฤติ ปฏิบัติตามคำ�สอนของแต่ละชุมชน และน้อมนำ�หลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงมาพัฒนาให้ เกิดเศรษฐกิจชุมชนที่ย่ังยืน ภายใต้กรอบการดำ�เนินชีวิตตามแบบอย่างวิถีวัฒนธรรมไทย และ ภูมิปัญญาท้องถ่ินท่ีควรค่าแก่การธำ�รงรักษาและสืบทอด โดยมีศาสนสถานเป็นแหล่งบ่มเพาะ คณุ ธรรมจริยธรรมใหแ้ กค่ นในชุมชน ภายใตม้ ิติทางศาสนาและปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง ท้ังน้ี โดยกรมการศาสนา ได้ดำ�เนินงานภายใต้หลักบูรณาการร่วมกับองค์กรเครือข่าย ทกุ ภาคสว่ น ทงั้ ในสว่ นขององคก์ ารทางศาสนาทกุ ศาสนา โดยประสานความรว่ มมอื ไปยงั ผนู้ �ำ ศาสนา ในชุมชนนั้นๆ เจ้าหน้าท่ีภาครัฐ เอกชน และประชาชนร่วมกันวางแผนเพื่อกำ�หนดเป้าหมาย การดำ�เนินงานในพ้ืนท่ี จัดกิจกรรมในศาสนสถาน ร่วมมือประสานส่ือมวลชนประชาสัมพันธ์เพื่อ สานตอ่ กจิ กรรม หรอื โครงการ สรา้ งความปรองดองสมานฉนั ทใ์ หแ้ กค่ นในชาตดิ ว้ ยมติ ศิ าสนาทเ่ี นน้ หลักความสามคั คี และการชว่ ยเหลอื เก้อื กลู กัน นอกจากนี้ ยงั ประสานความร่วมมือให้ทกุ ศาสนา จดั กิจกรรมชมุ ชนคณุ ธรรมนอ้ มนำ�เศรษฐกจิ พอเพียงใหเ้ ข้มขน้ ยิ่งขึน้ ซ่ึงหากพืน้ ท่ีใดที่มีชาวชุมชน นบั ถือศาสนาเดยี วกนั ก็ดำ�เนินการได้ตามความเหมาะสม และหากพืน้ ที่ใดอยู่รว่ มกันหลายศาสนา กน็ �ำ มิตศิ าสนกิ สมั พันธ์ด�ำ เนนิ งานร่วมกนั บนหลักของการเรยี นรูเ้ พอ่ื สรา้ งความเขา้ ใจ กรมการศาสนา มีความเช่ือมั่นว่าการดำ�เนินงานขับเคล่ือน “ชุมชนคุณธรรม” ตามหลัก ยุทธศาสตร์ดังกล่าวข้างต้นด้วยการยกย่องชุมชนคุณธรรมเพ่ือเสริมสร้างพลังศาสนิกสัมพันธ์ให้ ประชาชนรว่ มกนั ประพฤตปิ ฏบิ ตั ติ นตามหลกั ธรรมและด�ำ เนนิ ชวี ติ ตามหลกั เศรษฐกจิ พอเพยี งตาม วิถีวัฒนธรรมดังกล่าว จะสามารถสร้างความปรองดองให้เกิดแก่ประชาชนในทุกพื้นท่ีชุมชนและ ขยายอยา่ งมัน่ คงสรู่ ะดับประเทศต่อไป

41 แนวทางด�ำ เนินงานชมุ ชนคณุ ธรรมนอ้ มนำ�ปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพยี ง กรมการศาสนา กระทรวงวัฒนธรรม ๑. ขัน้ ตอนประกาศชุมชนคณุ ธรรมน้อมน�ำ ปรัชญาของเศรษฐกจิ พอเพียง ๑. เครอื ข่ายจดั กจิ กรรมทางศาสนาในพ้นื ทีข่ องกรมการศาสนา ๑. กรมการศาสนามีเครอื ข่ายจดั กิจกรรมทางพระพทุ ธศาสนาในพน้ิ ทก่ี ระจายท่ัวประเทศ ๒. ศาสนาเปน็ เรือ่ งของคณุ ธรรมจริยธรรม ดงั นน้ั ทกุ ศาสนสถาน จึงเป็นชุมชนคุณธรรมนอ้ มนำ�ปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง ๒. ชมุ ชนคุณธรรมนอ้ มนำ�ปรชั ญาของเศรษฐกจิ พอเพียง ๓. ชุมชนคณุ ธรรมน้อมนำ�ปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพยี ง จำ�นวน ๖,๐๑๖ ศนู ย์ ดำ�เนนิ การ ๓ เร่ือง ๑. ศนู ยศ์ ึกษาพระพุทธศาสนาวันอาทติ ย์ ๔,๑๗๑ ศูนย์ ๑. การน้อมน�ำ หลักธรรมไปประพฤติปฏิบตั ิตามคำ�สอน ๒. ศาสนสถานท่ีเป็นลานธรรม ลานวิถีไทย ๙๒๙ ศูนย์ - ศาสนาพทุ ธ เนน้ การรักษาศีล ๕ ๓. ศูนยอ์ บรมศาสนาอิสลามประจ�ำ มสั ยิด ๙๑๖ ศูนย์ - ศาสนาอืน่ ให้ปฏิบตั ติ ามหลกั ศาสนาท่ีนบั ถือ ๒. การนอ้ มน�ำ ปรชั ญาเศรษฐกิจพอเพียงมาปฏบิ ตั ิ กรมการศาสนา : สว่ นกลาง - เป็นหลักในการพัฒนาคุณภาพชีวิตประชาชนให้สามารถ ส�ำ นกั งานวฒั นธรรมจังหวัด : สว่ นภมู ภิ าค ด�ำ เนนิ ชวี ติ อยา่ งมนั่ คงบนพน้ื ฐานของการพง่ึ พาตนเอง ความพอ มพี อกิน การรู้จกั พอประมาณ และการคำ�นึงถึงความมีเหตุผล จัดท�ำ ประกาศใหท้ ุกศาสนสถานทุกแห่ง ๓. การด�ำ เนนิ ชีวติ แบบวิถวี ัฒนธรรมไทย เปน็ ชมุ ชนคุณธรรมนอ้ มนำ�ปรัชญาของเศรษฐกจิ - เปิดพื้นที่วัด/ศาสนสถานให้เป็นพ้ืนที่สร้างสรรค์แหล่ง เรียนรู้ทางประวัติศาสตร์ เป็นแหล่งเรียนรู้ สืบสานวัฒนธรรม พอเพียง จ�ำ นวน ๖,๐๑๖ แหง่ ทว่ั ประเทศ ประเพณแี ละภูมปิ ัญญาของทอ้ งถิ่น ๒. ขัน้ ตอนค้นหาชมุ ชนคณุ ธรรมน้อมนำ�ปรชั ญาของเศรษฐกิจพอเพียง ตน้ แบบ ชุมชนคณุ ธรรมนอ้ มนำ�ปรัชญาของ การมสี ว่ นรว่ มของ ๓ ประสาน ชมุ ชนคณุ ธรรมนอ้ มนำ� เศรษฐกจิ พอเพยี ง วดั โรงเรียน อปท. ปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง ต้นแบบ จำ�นวน ๖,๐๑๖ แห่ง ชมุ ชนที่มคี วามพรอ้ มในการพัฒนา พรอ้ มท่จี ะถ่ายทอดใหแ้ ก่ชุมชนอนื่ ๓. ข้นั ตอนยกยอ่ งชุมชนคณุ ธรรมน้อมน�ำ ปรัชญาของเศรษฐกจิ พอเพยี ง ตน้ แบบ ชุมชนคณุ ธรรมนอ้ มนำ�ปรัชญาของเศรษฐกจิ พอเพยี ง วางรากฐานคุณธรรมทย่ี ่ังยืนในสังคมไทย

42 บรรณานกุ รม การศาสนา, กรม. กฐินพระราชทาน กรมการศาสนา พทุ ธศักราช ๒๕๑๖, กรุงเทพฯ : โรงพมิ พ์ การศาสนา, ๒๕๑๖. การศาสนา, กรม. กฐินพระราชทาน กรมการศาสนา พุทธศักราช ๒๕๑๘, กรงุ เทพฯ : โรงพมิ พ์ การศาสนา, ๒๕๑๘. การศาสนา, กรม. ใบลาน ฉบบั พิเศษ ครบรอบ ๖๐ ปี กรมการศาสนา, กรงุ เทพฯ : โรงพพิ ม์การ ศาสนา, ๒๕๔๔. การศาสนา, กรม. ประวตั พิ ระพทุ ธศาสนาแหง่ กรงุ รตั นโกสนิ ทร์ ๒๐๐ ปี ภาค ๒, โรงพมิ พก์ ารศาสนา, พ.ศ. ๒๕๒๕. การศาสนา, กรม. พระบาทสมเดจ็ พระจอมเกลา้ เจา้ อยหู่ วั กบั งานพระพทุ ธศาสนา, กรมการศาสนา กรุงเทพฯ : โรงพมิ พ์องคก์ ารคา้ และพัสดภุ ณั ฑ์ (ร.ส.พ.), ๒๕๔๘. ________.วนั ศาสนปู ถมั ภ์ ครงั้ ท่ี ๓๗, กรุงเทพฯ : โรงพมิ พก์ ารศาสนา, ๒๕๔๔. ________.ศาสนาอสิ ลามในประเทศไทย, กรุงเทพฯ : โรงพิมพ์การศาสนา, ๒๕๔๕. ________.เอกสารเผยแพรเ่ กย่ี วกบั องค์การศาสนาตา่ ง ๆ, กรงุ เทพฯ : โรงพมิ พก์ ารศาสนา. ขา่ วกรองแห่งชาติ, สำ�นกั . ทศพิธราชธรรม, กรงุ เทพฯ : โรงพมิ พส์ ำ�นกั งานพระพทุ ธศาสนาแห่งชาติ, ๒๕๕๐. คณะกรรมการพฒั นาระบบราชการ, ส�ำ นกั งาน. ๙ แผน่ ดนิ ของการปฏริ ปู ระบบราชการ, กรงุ เทพฯ : บรษิ ทั วชิ นั่ แอนด์ มเี ดีย จ�ำ กัด, ๒๕๕๐. ธ�ำ รงศกั ดิ์อายวุ ฒั นะ,นาย.ประวตั กิ รมการศาสนาและการพระศาสนาในประเทศไทยทร่ี ะลกึ ในงาน พระกฐนิ พระราชทาน, กรงุ เทพฯ : โรงพิมพก์ ารศาสนา, ๒๕๑๖. ประชุมประกาศตราประจำ�ตำ�แหน่ง ในรัชสมัยพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว, กรงุ เทพฯ : โรงพมิ พ์ครุ ุสภาลาดพรา้ ว, ๒๕๔๖. ศลิ ปากร, กรม. นามานกุ รมขนบประเพณีไทย หมวดประเพณีราษฎร์ เลม่ ๒, กรงุ เทพฯ : บริษัท แอดวานซ์ วิชนั่ เซอรว์ สิ จำ�กดั , ๒๕๕๐. ศลิ ปากร, กรม. ประมวลข้อมูลเกย่ี วกบั จารึกพอ่ ขุนรามค�ำ แหง, กรงุ เทพฯ : บริษัท รงุ่ ศลิ ปก์ าร พิมพ์ (๑๙๗๗) จ�ำ กดั , ๒๕๔๗ อนกุ รรมการเฉพาะกจิ จดั ท�ำ หนงั สอื เฉลมิ พระเกยี รตพิ ระบาทสมเดจ็ พระเจา้ อยหู่ วั ในคณะกรรมการ เอกลกั ษณข์ องชาติ ส�ำ นักนายกรฐั มนตรี, คณะ. พลังแห่งแผน่ ดิน นวมินทรมหาราชา, กรงุ เทพฯ : บริษทั อมรนิ ทรพ์ ริน้ ต้งิ แอนดพ์ บั ลชิ ช่ิง จ�ำ กดั (มหาชน), ๒๕๔๘.

ยทุ ธศาสตรก์ ารขบั เคลอื่ นภารกจิ กรมการศาสนา กรมการศาสนา กระทรวงวฒั นธรรม www.dra.go.th