Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore การปลูกส้มโอ

Description: การปลูกส้มโอ

Search

Read the Text Version

ก า ร ป ลู ก ส ม โ อ เรียบเรียง: ทวีศักดิ์ ดว งทอง กองสง เสรมิ พชื สวน จดั ทํา : สนุ สิ า อธวิ งศธ นวฒั น กองเกษตรสมั พนั ธ ✽ คํานํา ✽ สภาพดนิ ฟา อากาศ ✽ การขยายพนั ธุ ✽ วธิ ตี อนกง่ิ ✽ การปฏบิ ตั บิ ํารงุ รกั ษากง่ิ ตอน ✽ การปลกู ✽ การปฏบิ ตั ดิ แู ลรกั ษา ✽ การกักนํ้าสม โอเพอ่ื ชว ยในการออกดอก ✽ การปอ งกนั น้ําเค็มและนํ้าเสยี ✽ ผลผลติ และการเกบ็ เกย่ี ว ✽ การปอ งกนั กําจดั ศตั รสู ม โอ ✽ ประโยชนข องสม โอ ✽ การแปรรปู สม โอ ✽ สม โอแกว สร่ี ส ✽ สม โอเชอ่ื ม

2 คาํ นํา สม โอเปน ไมผ ลเศรษฐกจิ อีกชนิดหนึ่งที่มีการปลูกกนั อยางแพรห ลาย เนอ่ื งจากมรี สชาตแิ ละเปน ที่นิยมบริโภคของคนทั่วไป นอกจากนี้ยังสงไปจาํ หนา ยยงั ตา งประเทศ สามารถนําเงนิ เขา ประเทศไดป  ละหลายสบิ ลา นบาท จนทาํ ใหมีการขยายพื้นที่ปลูกสมโอมากขึ้นทุกป พ้นื ทปี่ ลูกสมโอเดมิ อยูใ นเขตจงั หวัดทางภาคตะวนั ตกเชน นนทบุรี นครปฐม เปนตน ปจจุบัน พ้ืนท่ีปลูกสมโอไดกระจายอยูในจังหวัดตางๆ ท่ัวประเทศโดยมีแหลงผลิตท่ีสาํ คัญไดแก นครปฐม สมทุ รสาคร ราชบุรี ชัยนาท พิจิตร ปราจนี บรุ ี นครนายก ตราด ชุมพร สงขลา เปน ตน เอกสารเผยแพร ฉบับนี้จะเปนประโยชยแกผูที่สนใจในการปลูกสมโอไดเปนอยางมาก พนั ธุ พันธุสมโอที่ปลูกอยูในประเทศไทยมีหลายพันธุ บางพนั ธกุ ม็ ลี กั ษณะใกลเ คยี งกนั แตป ลกู คนละ ทองที่ จึงเรียกชื่อแตกตางกันไปพันธุสมโอที่ปลูกเพื่อการคาแบงออกไดดังนี้ 1. พนั ธกุ ารคา หลกั ไดแก ขาวพวง ขาว ทองดี ขาวนาํ้ ผ้ึง เปน ตน 2. พันธุการคาเฉพาแหง ไดแก ขาวแปน ขาวหอม ขาวแตงกวา ทา ขอ ย ขาวใหญ หอมหาด ใหญ เจาเสวย กรุน ขาวแกว เปน ตน พันธขุ าวพวง ผลมีขนาดโตปานกลาง ทรงผลกลม ทรงสงู เลก็ นอ ย มีจุกสูง มีจีบที่จุก ดา นกน ผลเวา เลก็ นอ ย ผิวเรียบ มสี เี ขยี วอมเหลอื ง ตอ มนา้ํ มันที่ผิวเปลือกคอนขางใหญอยูหางกันพอสมควร เปลือกหนาปานกลาง ผลหนง่ึ มกี ลบี ผลประมาณ 12-14 กลบี แยกออกจากกนั ไดง าย กุง (เนื้อ) มสี ี ขาวอมเหลอื ง คอ นขา งแขง็ เบยี ดกนั อยอู ยา งหลวมๆ มนี า้ํ มากแตไมแฉะนาํ้ รสหวานอมเปรย้ี ว มเี มลด็ ไมมาก เปนพันธุที่นิยมใชในเทศกาลไหวพระจันทร เนอ่ื งจากมรี ปู ทรงผลสวย (ทรงผลมีสกุล) จึง สามารถสง ไปจาํ หนายตางประเทศในชวงเทศกาลไหวพระจันทรไดปละเปนจาํ นวนมาก พนั ธขุ าวทองดี หรอื ทองดี ผลมขี นาดโตปานกลางทรงผลกลมแปน ไมม จี กุ ตนขั้วผลมีสีเขียว เขม ตอ มนา้ํ มันละเอียดอยูชิดกัน เปลอื กคอ นขา งบางดา นในของเปลอื กมสี ชี มพเู รอ่ื ๆ ผลหนึ่งมีกลีบผล ประมาณ 14-16 กลบี ผนงั กลบี มสี ชี มพอู อ น กงุ มสี ชี มพเู บยี ดกนั แนน นม่ิ ฉ่าํ นาํ้ รสหวานอมเปรย้ี ว เมล็ดมีขนาดเล็กเปนพันธุที่นิยมบริโภคโดยทั่วไปและสงไปจาํ หนา ยยังตางประเทศ พนั ธขุ าวน้าํ ผ้ึง ผลมขี นาดคอ นขางใหญ ทรงผลกลมสูงแตไมมีจุกเดนชัดเหมือนพันธุขาวพวง ดา นกน ผลเรยี บตอ มน้ํามันที่ผิวเปลือกมีขนาดใหญอยูกันหางๆ ผิวเปลือกมีสีเขียวเขม เปลอื กมสี เี ขยี ว เขม เปลือกคอนขา งหนาผลหนึ่งมกี ลบี ผลประมาณ 11-12 กลบี แยกออกจากกนั งาย กงุ มสี ขี าวอม

3 เหลอื ง ขนาดกุงคอนขางใหญเบียดกันแนน มนี า้ํ มากแตไ มแ ฉะรสหวานอมเปรย้ี ว สามารถแกะเนอ้ื ออก มาไดง า ย เมลด็ มขี นาดใหญแ ตม เี มลด็ ไมม ากนกั เปนที่นิยมบริโภคโดยทั่วไป พันธุขาวพวง พนั ธขุ าวทองดี พนั ธขุ าวนา้ํ ผ้งึ สภาพดนิ ฟาอากาศ สมโอสามารถปลูกไดดีในดินเกือบทุกชนิดไมวาจะเปนดินเหนียว ดนิ ทราย ดนิ ปนทราย ที่ระบายนํา้ ไดด ี นา้ํ ไมทว มขังแฉะ แตค ณุ ภาพผลผลติ แตกตา งกนั ไป พื้นที่ปลูกที่ทาํ ใหส ม โอเจรญิ งอกงา มดีผลดก และมีคุณภาพดี ควรปลูกในพื้นที่ดินโปรง รวนซุย มี อนิ ทรยี วตั ถอุ ยมู าก ระบายนา้ํ ไดด ี ถา เปนดนิ เหนยี วตอ งยกรอง เพอ่ื ใหม กี ารระบายน้ําไดด ี ควรมรี ะดบั นา้ํ ไดด ี ถาเปนดินเหนียวตอ งยก รอ ง เพอ่ื ใหม กี ารระบายน้าํ ไดด ี ควรมรี ะดบั นา้ํ ใตดินเหนียวตองยกรอง เพอ่ื ใหม กี ารระบายน้ําไดด ี ควร มรี ะดบั นา้ํ ใตด นิ ไมน อ ยกวา 4 ฟุต นา้ํ ไมข งั แฉะ ดนิ มีความเปนกรด-ดา งประมาณ 5.5-6 นา้ํ ตอ งไดร บั สมา่ํ เสมอปรมิ าณนา้ํ ฝนเฉลี่ยปละ 1,500-2,000 มลิ ลเิ มตร และอุณหภูมิที่เหมาะสมเฉลี่ยประมาณ 25-30 องศาเซลเซยี ส การขยายพันธุ การขยายพันธุสมโอทาํ ไดหลายวิธีคือ 1. การเพาะเมลด็ 2. การตดิ ตา 3. การเสียบกิ่ง 4. การตอน แตท่ีชาวสวนนิยมทาํ อยูในปจจุบันคือการตอน ซึ่งเปนวิธีที่ชาวสวนสมโอมีความชํานาญมาก เนอ่ื งจากมขี อ ดหี ลายประการ เชนวิธีการทาํ งา ย อปุ กรณห าไดง า ย ราคาถกู ออกรากเรว็ ตน ทไ่ี ดไ ม กลายพนั ธุ ใหผ ลเร็ว ตนไมสูง ทรงตนเปนพุม สะดวกในการเขาไปดูแลรักษา แตกม็ ีขอ เสียคอื อายไุ ม ยืน และออ นแอตอ โรค อปุ กรณท ใ่ี ชใ นการตอนกง่ิ สม โอมดี งั น้ี

4 1. มดี 2. ขยุ มะพรา ว 3. ถงุ พลาสตกิ 4. เชือกฟาง มีด มีดที่ใชในการตอนกิ่งควรเปนมีดทค่ี มและสะอาดใชใ นการควนั่ กง่ิ หลงั จากใชแ ลว ควรลับและทาํ ความสะอาดอยูเสมอ เปนการปองกันเช้ือโรคที่อาจติดมาจากการควั่นก่ิงสมโอที่อาจเปนโรคท่จี ะแพร ไปยังตนอื่นๆ ตอ ไปได ขยุ มะพรา ว เปนเศษเหลือของโรงงานทําเสนใยมะพราวซึ่งไดทุบกาบมะพราวเพื่อนําเสนใยไปทําเบาะน่ัง เศษเหลือเหลานี้เปนผงๆ มคี ณุ สมบตั เิ บาอมุ นา้ํ ไดด ี และเกบ็ ความชน้ื ไวไ ดน าน จึงเหมาะที่จะนาํ มาใช หมุ รอยควนั่ เมอ่ื จะใชต อ งพรมนา้ํ ใหข ุยมะพราวมคี วามช้นื พอเหมาะ ไมแฉะและไมแหงเกินไป สงั เกตได โดยกาํ ขุยมะพราวและบีบจะมนี าํ้ ซมึ ออกมาเลก็ นอ ย ถาใหขุยมะพราวแฉะเกินไปจะทาํ ใหรอยที่ควั่นเนา ไดห รอื ถา แหง ไปเมอ่ื นําไปหุมรอบควั่นจะทาํ หใขหุยมะพราวแหงกอนที่รากจะงอก นาํ ขุยมะพราวที่พรม นา้ํ แลว บรรจลุ งในถงุ พลาสตกิ ขนาด 5X8 นว้ิ อันใหแนนพรอมกับมัดปากถุงใหแนนเตรียมไวในการ ตอนตอ ไป ถงุ พลาสตกิ ใหสําหรับบรรจุขยุ มะพรา ว ควรใชข นาด 5X8 นว้ิ ซึ่งใหญพอที่จะใสขุยมะพราวไดมากพอเพียง สําหรบั การงอกของรากสม โอ ถงุ พลาสตกิ ทใ่ี ชค วรเปน แบบใส เพราะเมอ่ื รากงอกออกมาแลว จะเหน็ ได ชัด เชอื กฟาง ใชสาํ หรบั มดั ปากถงุ พลาสตกิ หลงั จากบรรจขุ ยุ มะพรา วแลว กนั ไมใ หข ยุ มะพรา วรว งออกมาจาก ถงุ และกนั การระเหบของน้ําทใ่ี สใ นขยุ มะพรา วเมอ่ื นําไปหุมรอยควั่นอีกดวย ฤดทู ท่ี าํ การตอนกง่ิ สม โอ ตามปกตแิ ลว การตอนกิ่งไมทุกชนิดจะทาํ การตอนในฤดฝู น คอื ตง้ั แตเ ดอื นพฤษภาคมไปจนถงึ เดอื นสงิ หาคม เพราะในระยะน้ันตนไมก าํ ลังอยูในระยะที่กําลังเจริญเติบโต ฝนตกบอ ยไมต อ งเสยี เวลา ในการรดนา้ํ ใหกับกิ่งตอน การคดั เลอื กกง่ิ ตอน กอนที่จะทาํ การคดั เลือกกิ่งสมโอท่จี ะตอน ตองพจิ ารณาเลือกตน กอน เพราะถาตนแมพันธุที่ใช ตอนไมด แี ลว กิ่งตอนที่จะทําไปปลกู ตอ ไปกจ็ ะไมด ดี ว ย ซึ่งมีหลักในการพิจารณาหลายประการ เชน • เลือกตนแมพันธุที่ใหผลแลว ซึ่งทาํ ใหเราสามารถจะพิจารณาลักษณะที่ดีๆ ตามมาไดอ กี เปน ตน ทใ่ี หผ ลดก ใหผ ลสม่ําเสมอ เปน พนั ธดุ แี ละมรี สดี • เลือกจากตนที่มีความเจริญเติบโต แข็งแรง สังเกตจากมีการเจริญเตบิ โตดีกวาตน อน่ื ๆ • เลือกจากตนทป่ี ราศจากโรคและแมลงรบกวน

5 เมอ่ื เลอื กไดต น ทด่ี แี ลว จึงมาทาํ การคดั เลอื กกง่ิ ทจ่ี ะตอน ซ่งึ เปฯเรื่องที่สําคญั มาก แตส ว นมาก ชาวสวนมกั ไมค อ ยคาํ นึงถึงกันเห็นกิ่งใดพอที่จะตอนไดก็ตอนหมด ซง่ึ นบั วา ไมถ กู ตอ ง เพราะวา ตน ไมแ ต ละตนมีก่งิ ท่ีมีความเจรญิ เตบิ โตสมบรู ณไ มเ ทากัน บางกิ่งก็แข็งแรงดี บางกิ่งแคระแกนออนแอ บางกง่ิ ก็ แกเกินไปหรือออนเกินไปส่ิงเหลาน้ีจะทาํ หใไดกิ่งตอนทไ่ี มส มบรู ณแ ขง็ แรงทัง้ สิ้น ดังนั้นจึงควรเลือกกิ่ง ตอนดังนี้ 1. กิ่งที่จะใหตอนนั้น ตองเปนกิ่งเพสลาด คอื ไมแ ก ไมอ อ นเกนิ ไป มใี บยอดคลเ่ี ตม็ ท่ี และเจริญ เติบโตจนเปนใบแกแลว 2. ก่ิงท่ีจะตอนควรจะเปนก่ิงกระโดงตั้งตรง หรือเอียงเล็กนอยไมเปนก่ิงที่หอยเอายอดลงดิน เพราะจะทาํ หใรากทีง่ อกออกมางอเมอ่ื ตัดไปปลูกจะไดก ิ่งตอนทป่ี ลายรากช้ีฟา 3. เปน กง่ิ ทม่ี คี วามยาวประมาณ 50-70 เซนตเิ มตร มีกิ่งแขนงแยกออก 2-3 กิ่ง 4. เปนกิ่งที่เจริญเติบโตแข็งแรงปราศจากโรคและแมลง วธิ ตี อนกง่ิ 1. เม่ือเลือกไดกิ่งที่สมบูรณตามตองการแลวจึงทาํ การควั่นกิ่ง การ ควัน่ นั้นใหควัน่ ท่ีใตข อของกิง่ การควั่นนั้นใหควั่นที่ใตขอของกิ่ง เลก็ นอ ย เนอ่ื งจากบรเิ วณขอ ของรากเรว็ และไดรากจาํ นวนมาก รอยคว่ันดานลางหางจากรอยคว่ันบนเทากับความยาวของเสนวง ของกง่ิ 2. กรีดท่ีเปลือกระหวางรอยคว่ันทั้งสองลอกเปลือกตรงรอยควั่นออก สวนมากแลวก่ิงท่ีลอกเปลือกออกยาก ใชมีดขูดเย่ือเจริญซึ่งมี ลักษณะเปนเย่ือล่ืนๆ ออกใหหมดเพ่ือปองกันไมใหเยื่อเจริญมา ประสานกนั ตอ ไดอ กี ซึ่งจะทาํ ใหร ากไมง อก สงั เกตไดโ ดยใชม อื จบั ดู ถาหายลื่นแลวแสดงวาขูดเยื่อเจริญออกหมดแลว 3. นาํ ถุงขุยมะพราวที่เตรียมไวมาผาตรงกลาง จากดา นทม่ี เี ชอื กมดั จนถึงกนถุง 4. ใชมือแหวกขุยมะพราวใหแยกออกเปนรอง นาํ ไปหุมรอยควั่น 5. มัดดวยเชือกฟางใหแนนอยางใหถุงขุยมะพราวหมุนได

6 การปฏบิ ตั บิ ํารุงรักษากิ่งตอน หลังจากทาํ การตอนก่ิงเสร็จแลว ตอยคอยสังเกตตุมตอนมีมดหรือปลวกเขาไปทํารังอาศัยอยู หรอื ไม ถามีใหรีบทาํ การกําจดั โดยใชย าเคมฉี ีดพนทีตมุ ตอน หรอื ถา ตมุ ตอนมกี ารชาํ รดุ เนอ่ื งจากมสี ตั ว มาทําลาย ก็ใหทําการซอ มแซมใหม การตดั กง่ิ ตอน ในสภาพปกติแลว สมโอจะงอกรากหลังจากทําการตอนประมาณ 1 เดอื น สวนการตัดกิ่งนั้นจะ ตัดเม่ือไรใหสังเกตจากรากที่งอกอกมา โดยจะทาํ การตดั ไดเ มอ่ื รากทง่ี อกออกจากกง่ิ ตอนเปน สนี ้ําตาล และมรี ากสขี าวแตกออกมาอกี ทจี งึ จะตดั ได เพราะรากฝอยหรอื รากสขี าวนน้ั เปน รากดดู อาหาร ควรตดั กิ่งตอนในตอนเย็นเพราะเปนระยะที่ใบหยุดการคายนํ้า กิ่งจะไมเหี่ยวหรือเฉาไดงาย ควรตัดใบและกิ่งที่ มมี ากเกนิ ไปทง้ิ บา ง เพอ่ื ปอ งกนั การระเหยของน้ําแชกง่ิ ตอนในน้าํ ใหนา้ํ ทว มตมุ ตอน สัก 1-2 ชั่วโมง จึง ไปชาํ ตอไป ระยะปลกู เนื่องจากตนสมโอที่ใชปลูกกันสวนมากไดจากกิ่งตอน จงึ มที รงพมุ ไมก วา งมากนกั ดังนั้นถาปลูก ในสภาพที่ดินมีความอุดมสมบูรณดีก็อาจจะมีระยะระหวางตนและระหวางแถว ประมาณ 8X8 เมตร แต ถาปลูกในสภาพท่ีดินไมสูจะอุดมสมบูรณเทาไรนัก หรือท่ีท่ีมีระดันนาํ้ ใตดินสูงก็อาจจะปลูกใหมีระยะ ระหวา งตน และระหวา งแถวประมาณ 6X6 เมตร ดังนั้นในพื้นที่ 1 ไร จะสามารถปลกู สม โอไดป ระมาณ 25 – 40 ตน การปลูก ดงั ทก่ี ลา วมาแลว สม โอสามารถปลกู ไดใ นดนิ เกอื บทกุ ชนดิ เชน ดินเหนียว ดนิ ทราย ดนิ ปน ทราย การปลกู สม โอในดนิ แตละชนิดจงึ ตอ งมกี ารเตรยี มพนื้ ที่ไมเ หมือนกนั เพื่อเปนการปรับสภาพพื้นที่ ใหเ หมาะสมในการปลกู จงึ แยกการปลูกสม ออกได 2 วิธคี อื 1. การปลูกสมโอในดินเหนียวซึ่งมีนาํ้ ทว มถงึ เชน ในสภาพพื้นที่ของเขตอําเภอสามพราน อาํ เภอนครชัยศรี จังหวัดนครปฐม เปนตน สภาพทั่วไปจะเปนที่ราบลุมริมฝงแมนาํ้ ดินเหนียวจัด ระบายนา้ํ ยาก มรี ะดบั นา้ํ ใตด นิ สงู สว นมากจะดดั แปลงมาจากทอ งนา สวนผักและยกรองใหเปน แปลง ขน้ึ ใหระดับดินสูงกวาพื้นที่ราบทั่วไป เพ่ือรากสมโอกระจายไดลกึ กวา ปกติ ระหวางแปลงดินจะมีทางนาํ้ สามารถเกบ็ กกั น้าํ ไวใ ชใ นฤดแู ลง และชวยระบายนาํ้ ออกในฤดฝู น ขนาดของแปลงดนิ กวา งประมาณ 6 เมตร รอ งนา้ํ กวา งประมาณ 1.5 เมตร และทก่ี น รอ งน้ํากวาง ประมาณ 50-70 เซนตเิ มตร และลึก ประมาณ 1 เมตร สว นความยาวของแปลงดนิ ไมจ าํ กดั แลว แตค วามตอ งการของเจา ของสวน

7 หนว ย : เมตร สวนสมโอแบบยกรอง ลกั ษณะของการยกรอ งปลกู สม โอใน ภาคกลางทน่ี า้ํ ทา วถงึ 2. การปลกู สม โอในทด่ี อน ที่นาํ้ ทว มไมถ งึ การปลูกสมโอในพื้นที่แบบที่ไมตองยกรอง ควรปรับพื้น ใหเรียบทาํ ลายวัชพืชและไถกลบดินใหลึกสัก 2 ครง้ั ถา เปน ดนิ เกา ทไ่ี มส จู ะอดุ มสมบรู ณก ค็ วรหวา นพชื ตระ กูลถั่วลง แลวไถกลบเพื่อเปนการเพิ่มปุยสดใหกับดิน สวนสมโอแบบที่ดอน วธิ ปี ลกู ถาเปนการปลูกสมโอแบบยกรอง จะปลูกเปนแถวเดียวใชระยะปลูกระหวางตนประมาณ 6 เมตรโดยขุดหลุมปลูกกลางแปลงดินสวนการปลูกในพ้ืนท่ีโดยใหมีระยะระหวางตนและระหวางแถว ประมาณ 6X6 เมตร หลมุ ปลกู ควรมขี นาดความกวา งประมาณ 0.5 เมตร ขดุ หลมุ แยกดนิ บนและดนิ ลา ง กองทป่ี าก หลุม แลวตากดินทิ้งไว ประมาณ 1-2 เดอื น เพอ่ื ใหแ สงแดดฆา เชอ้ื ราตา งๆ ที่อาศัยอยูในดิน ผสมดิน ปนกบั ปยุ คอก ปุยหมัก เศษใบไม หญาแหง และบางสวนของดินชั้นลาง แลว กลบลงไปในหลมุ จนเตม็ ปากหลุม นาํ กง่ิ พนั ธสุ ม โอทเ่ี ตรยี มไวป ลกู ตรงกลางหลมุ โดยใหร ะดบั ของดนิ อยเู หนอื ตมุ กาบมะพรา วกง่ิ ตอนเลก็ นอ ย หรือถาเปนกิ่งตอนที่ชําแลว ใหร ะดบั ของดนิ พอดกี บั ระดบั ดนิ ทช่ี ํา แลวใชไมหลักปกใหถึง กนหลุมเพื่อกันลมโยก รดน้าํ ใหชุม หาวัสดุพรางแสดงแดด เชน ทางมะพราว หรือกิ่งไมที่มีใบใหญ พรางแสงแดดทางทิศตะวันออกและทิศตะวันตก วิธีปลูกสมโอ

การปฏิบัติดูแลรักษา 1. การใหน า้ํ ในระยะที่ปลูกสมโอใหมๆตองหมั่นใหนํ้าสม่ําเสมอจนกวาจะต้ังตัวได เม่ือสมโอเจริญเติบโตดี แลว ใหน ําเปน ครง้ั คราวเมอ่ื จาํ เปน 2. การใสป ยุ สมโอควรใสทั้งปุยเคมีและปุยคอกควบคูกันไปในระยะที่สมโออายุ 1-3 ป หรือยังไมใหผล ใหใส ปุยคอกเกาผสมกับปุยเคมีสูตร 15-15-15 ปยุ เคมใี ชอ ตั รา 300-500 กรมั ตอ ตน ตอ ครง้ั โดยใส 3-4 ครง้ั ตอ ปเ มอ่ื สม โอใหผ ลแลว เมอ่ื อายุ 4 ปข น้ึ ไป การใสป ยุ จะแตกตา งกนั ไปตามชว งของการออกดอกตดิ ผล กลา วคอื หลังจากเก็บเกี่ยวผลแลวจะใหปุยสูตร 15-15-15 เพอ่ื ชว ยใหก ารเจรญิ เตบิ โตของผลดี ขน้ึ จนระทั่งผลมีอายุได 5-6 เดอื น ใหใสปุยสูตร 13-13-21 เพื่อชวยใหผลมีการพัฒนาดานคุณภาพ ของเนอ้ื ดขี น้ึ มคี วามหวานมากขน้ึ สว นอตั ราการใชค วรพวิ จารณาจากขนาดของทรงพมุ และจํานวนผลท่ี ตดิ ในแตล ะป โดยทั่วไปเมื่อตนสมโออายุได 6-7 ป ก็จะโตเต็มที่ การใสป ยุ อาจจะใสค รง้ั ละประมาณ 1 กิโลกรัม สําหรบั ตน สม โอทม่ี กี ารตดิ ผลมาก ควรใสปุยทางใบเสริม เพื่อชวยใหผลสมโอมีคุณภาพดี หรือตนสมโอที่ใสภาพโทรมมากๆ จากการทีม่ ีนํ้าทว มหรือนาํ้ เค็มควรใหปุยทางใบเสริมจะชวยใหการฟน ตวั ของตน สม โอเรว็ ขน้ึ วิธีการใสปุยโรยบนพื้นดินภายในบริเวณทรงพุม แตระวังอยาใสใหชิดกับโคนตน เพราะปุยจะทาํ ใหเปลือกรอบโคนตนสมโอเนาและอาจทาํ ใหส ม โอตายได 3. การตดั แตง กง่ิ ควรตัดแตงก่ิงท่ีข้ึนแขงกับลําตนใหหมด รวมทั้งกิ่งที่ไมไดระเบียบและกิ่งที่มีโรคแมลงทําลาย ออกทง้ิ การตัดแตงกิ่งควรทาํ ดวยความระมัดระวังอยาใหกิ่งฉีก หลังจากตัดแตงกิ่งควรใชยากันเชื้อรา หรือปูนกินหมากผสมนา้ํ ทาตรงรอยแผลท่ีตัดเพื่อกันแผลเนาเนื่องจากเชื้อราเศษก่ิงไมท่ีติดท้ิงควรรวม ไวเปนกอง แลวนาํ ไปเผาทําลายนอกสวน ประโยชนของการตัดแตง กิง่ 1. เพอ่ื ใหการออกดอกตดิ ผลดีขนึ้ เน่ืองจากใบไดร ับแสงแดดทวั่ ถึงกัน การปรงุ อาหารของใบมี ประสิทธิภาพมากขึ้น 2. ชว ยลดการระบาดของโรคและแมลงศตั รพู ชื เนื่องจากการตัดแตงกิ่งที่มีโรคแมลงทิ้งไป 3. ชวยใหกิ่งแยงอาหารลดนอยลง เพราะก่ิงน้ีชาวสวนตองตัดท้ิงจะเปนก่ิงท่ีคอยแยงอาหาร และไมค อ ยออกดอกตดิ ผล 4. ชวยทาํ ใหข นาดของผลสมา่ํ เสมอ ไดข นาดตามทต่ี ลาดตอ งการ

9 4. การกาํ จดั วชั พชื ในสวนสมโอทุกแหงมักจะมีปญหาจากวัชพืชที่ขึ้นรบกวน ถามีจาํ นวนมากก็จะกอใหเกิดผลเสียหายเพราะนอกจากจะแยงนํา้ และอาหารแลว ยงั เปน แหลง สะสมโรคแมลงอกี ดว ย จงึ ตอ งคอยควบ คุมอยาใหมวี ชั พชื มาก แตการกําจัดหญาหรือวัชพืชอื่นใหหมดไปเลย กไ็ มด ี ควรใหมีเหลืออยูบางชวยยึดดินไมใหหนาดินพังทลาย รวมทง้ั ชว ยปอ งกนั การระเหยของน้ําไดอ กี ดว ย สภาพของวัชพืชที่ขึ้นบน แปลงปลกู สม โอ การกักนํา้ สมโอเพื่อชวยในการออกดอก การกักนํ้าสมโอเปนการบังคับน้ําเพื่อใหสมโอออกดอกเร็วข้ึนและสมา่ํ เสมอกันโดยการกักน้ํา หรอื สบู นา้ํ ออกจากรองสวนใหแหง ทิ้งไวประมาณ 7-30 วัน ระหวา งน้ี สม โอจะเฉา ใบมีลกั ษณะหอ จึง ปลอ ยนา้ํ ใหเขา ไปใหม สม โอจะรบี ดดู นา้ํ เขา ไปอยา งรวดเรว็ หลงั จากนน้ั จะเรม่ิ แตกใบออ นพรอ มกบั มชี อ ดอกออกมาดว ย นบั จากใหน า้ํ จนถงึ ออกดอกใหเ วลาประมาณ 15-60 วัน วธิ นี ส้ี ามารถทาํ ใหส ม โอออก ดอกเร็วข้ึนตามตองการได แตจะเปนการทาํ หใตนสมโอโทรมเร็วกวาท่ีปลอยใหสมโอทยอยออกดอก ตามธรรมชาติ การปองกันนํ้าเคม็ และน้ําเสีย เนื่องจากสวนสมโอสวนมากที่อยูในภาคกลางมักจะทาํ สวนกันดวยการยกรอง เมื่อถงึ ฤดแู ลง มัก จะประสบปญหานา้ํ เค็มเออเขาทวมสวนอยูมาก สวนสมโอจึงมักจะไดรับความเสียหายจากนาํ้ เค็มเปน ประจาํ จึงควรทาํ การปอ งกนั นา้ํ เค็มและนาํ้ เสียไมใหเขาทาํ ลายสมโอดังนี้ 1. เมอ่ื เขา ฤดแู ลง ใหร บี กกั นา้ํ จืดไวแตเนิ่นๆ กอ นทน่ี า้ํ เคม็ หรือนาํ้ เสียจะเขาถึง แลว สรา งทํานบ คันดินรอบสวนเพ่ือกันน้ําเค็มเขา และหมั่นตรวจดินทํานบกั้นนา้ํ และประตูระบายนาํ้ (ลูกทอ) อยา ใหร ว่ั ซมึ ได 2. รดน้าํ ใหสมโออยางประหยัดเทาที่จําเปนเพื่อใหมีนํา้ จืดใหอยางพอเพียง ใหชวงที่นาํ้ เคม็ เขา ถึง

10 3. ขุดลอกทองรองหรือโกยเลนจากทองรองเพื่อนาํ มาคลุมผิวดินนอกรอง รวมทั้งหากาบ มะพรา ว ใบกลว ย ฟางขา ว เศษไม หญาแหง มาคลมุ บรเิ วณโคนตน เพอ่ื รกั ษาความชมุ ชน้ื ในดนิ เปน การลดปรมิ าณการใหน้ําลง 4. เก็บจอกแหน เศษใบไม ผลมะพราว ทร่ี ว งหลน อยใู นน้ําในทองรองสวนขึ้นไวบนอกรองให หมด เพอ่ื ปอ งกนั นา้ํ ในทอ งรอ งเนา เสยี 5. หมน่ั ตรวจนา้ํ ในคูคลองสงนาํ้ บอ ยๆ หากมนี า้ํ จดื เขา เปน ครง้ั คราว ใหรบี สบู หรอื ปลอยนํ้า เขา สวน เพอ่ื เกบ็ นา้ํ ไว 6. หมน่ั ตรวจดนู า้ํ จืดในบริเวณสวนที่เก็บกักไวเสมอ โดยการชิมดูวามีรสกรอยหรือเค็ม หรือมี สีรสผิดจากปกติที่เปนอยูหรือไม หาก มแี สดงวา คนั ดนิ กน้ั น้ําหรอื ประตรู ะบายนา้ํ รั่วซึม ให รีบทาํ การซอมแซมเสีย 7. หมน่ั ตรวจดอู าการของสม โอในสวนอยา งสมา่ํ เสมอ หากมีอาการผดิ ปกติ เชน ใบออ นเรม่ิ เหี่ยวเฉา ไหมเกรียม เปนอาการแรกเรม่ิ ของสมโอที่ถูกนํ้าเคม็ หรอื นา้ํ เสีย ใหรีบแกไขโดย หานาํ้ จดื มารดาใหช มุ โชกเพอ่ื ลดปรมิ าณความเคม็ หรอื น้ําเสียใหเจือจางลง ผลผลิตและการเก็บเกี่ยว สม โอจะเรม่ิ ใหผ ลเมอ่ื ประมาณ 4 ป ในฤดปู กตสิ ม โอทป่ี ลกู ในภาคกลางจะเรม่ิ ออกดอกระหวา ง เดือนพฤศจิกายน จนถงึ เดอื นมนี าคม โดยเฉพาะมากราคมถึงกุมภาพันธ จะออกดอกมากทส่ี ดุ เรียก วา สม ป สม ทวาย ดอกทอ่ี อกมานจ้ี ะทน และตดิ เปน ผลแกใ หเ วลาประมาณ 8 เดอื น ซึ่งจะเปนเดือน สิงหาคมและกันยายน จะเปนฤดูที่สมแกมากที่สุด แตสมโอพันธุขาวทองดีจะแกชากวาพันธุขาวพวงและ ขาวแปนเล็กนอยคือจะแกเก็บไดราวเดือนกันยายนถึงตุลาคมเปนสวนมาก ในดานความดกนั้นพันธุ ขาวพวงและขาวแปนจะดกมาก ตองทาํ การปลดิ ผลทง้ิ ใหเ หลอื อยพู อดกี บั ขนาดของตน สมโอที่ปลูกกันในจังหวัดภาคกลาง ผลผลติ จะเรม่ิ ลดลงเมอ่ื สม โออายปุ ระมาณ 10 ป ขน้ึ ไป เนอ่ื งจากระดบั นา้ํ ใตด นิ สงู รากสมถูกกาํ จัดพื้นที่ สว นสมโอที่ปลูกในจงั หวัดอนื่ ๆ ถามีการดูแลรักษาที่ดี สามารถใหผลผลิตไดสูงถึงอายุ 15-20 ป การเกบ็ เกย่ี ว ผลสมโอที่อยูที่อยูไมสงู มากนําควรใชก รรไกรตัดขวั้ ถาเปนผลที่อยูสูงควรใชที่เก็บเกี่ยวชนิดมีขอ ตดั ตอ ดา ม และมเี ชอื กกระตกุ พรอ มถงุ รองรบั จะชวยใหผลไมรวงหลนลงดิน วธิ กี ารเกบ็ เกย่ี ว โดยธรรมชาติสมโอจะเกิดผลเปนผลเดี่ยว เปนพวง 2 ผล หรือ 3 ผลเทา นน้ั แตอ ปุ สรรคในการ เกบ็ เกย่ี วคอื ขนาดน้ําหนักผล ในพื้นที่ลุม ตนอาจสูง 4-5 เมตร ซงึ่ พอจะดําเนนิ การเกบ็ เกย่ี วผลได แตตนท่ีปลูกในท่ีดอนยอมมีขนาดตนใหญ จะมีปญหาการเก็บเกี่ยวมากวิธีการเก็บเกี่ยวผลสมโอใน ปจจุบันทําไดห ลายแบบดงั น้ี

11 1.ใชมีดตัด ในกรณที ผ่ี ลสม โอ อยรู ะดบั ตา่ํ และมอื เออ้ื มถงึ บางครั้งก็จาํ เปนตองปนตนหรือใช บันไดชวยบาง หรอื ปน ตน ขน้ึ ไปตดั ผลทอ่ี ยใู นทรงพมุ ใกลล ําตน เสรจ็ แลว โยนลงมาใหค นขา งลา งรบั หรอื ใสภาชนะแลวหยอนลงมา ในกรณีที่ผลอยูที่ชายพุมสูงๆ จาํ เปนตองใหบนั ไดปน ชว ย การเกบ็ ดว ยวธิ ีน้ี สม โอจะมใี บและขว้ั ตดิ มาแลดสู วยงาม แตไมสะดวกในการโยกยายบันได 2.ใชจาํ ปาสอย จาํ ปาคอื ไมไ ผโ ปรง เสนผาศูนยกลาง 3 นว้ิ ยาว 3-4 เมตร ปลายขา งหนง่ึ ผา ออกเปนแฉกๆ แลวใชกะลามะพราวยัดลงไปในลาํ ไมไผตรงปลายดานท่ีผา เพื่อใหไมไผบานออก สามารถรองรับผลสมโอได การเก็บดวยวิธีนี้สามารถเก็บเกี่ยวผลสมโอที่ติดผลตามชายพุมสูงๆ ได สะดวก แตผ ลทไ่ี ดจ ะไมม ขี ว้ั ตดิ มาดว ย และอาจเสียหายเนื่องจากคมของผิวไมไผบาด ทาํ ใหผลเปนแผล และมกี ารรว งหลน บา ง 3. ใชกรรไกรแบบตัดหรือหนีบ (แบบอีเติ่ง) ตดั แลว มใี บและขว้ั ตดิ มาดว ย จะตดั ไดต ่ําหรอื สงู ขน้ึ กบั ความยาวของดา ม กรรไกรแบบน้จี ะตดั ขัว้ ผลและหนีบผลติดอยกู ับกรรไกร การใชกรรไกรแบบนี้ ตองปฏิบัติอยางนุมนวล ไมเชนน้ันแลวจะทาํ ใหสมโอหลุดออกจากปากหนีบแลวรวงสูพื้น ทาํ ใหเกิด ความเสียหาย การใชกรรไกรตดั ขั้วผล 4. ใชข อตดั แบบเชอื กกระตกุ ตอ ดา ม ใชเก็บเมื่อผลอยูในที่สูงๆ เปนแบบที่นิยมใชกันอยูใน ปจจุบัน วธิ กี ารนใ้ี ชค น 2 คน คนหนง่ึ ใชข อตดั ขว้ั ผลสม โอ อกี คนหนง่ึ คอยเอาสวงิ รองรบั การเก็บเกี่ยว แบบนี้จะไดผลสมโอที่มีใบและขั้วติดมาดวยทาํ หใแลดสุ วยงาม 5. ใชเ ครอ่ื งเกบ็ แบบ กวศ.1 เปน เครอ่ื งมอื ซง่ึ ประกอบ ดวยกรรไกรหรือมดี ตดั กิ่ง มถี งุ รองรบั ผลสม โอไดค รง้ั ละ 1 ผล หรือ 1 พะวง โดยที่มีขั้วและใบติดมากับผลดวย ทําใหไมรวงหลนบอบชํา้ หรอื มบี าดแผลใดๆ มนี า้ํ หนกั เบาสะดวกในการตดั ขว้ั คลอ งตวั ในการ ทาํ งาน สามารถตดั ผลตามซอกมมุ ตา งๆ ของตน สม โอไดด ใี ชผ ปู ฏบิ ตั ิ งานเพยี ง 1 คน การใชก รรไกรหรอื มดี ตดั กง่ิ ทม่ี ี ถุงรองรับ

12 การปองกันกาํ จัดศัตรูสมโอ สมโอเปนพืชทีมีโรคแมลงรบกวนมาก ชาวสวนจึงตองใหความสนใจในการปองกันกําจัดโรค แมลงใหดที ส่ี ุด แมลงศัตรูสมโอ 1. มวนเขยี ว ระบาดมากทส่ี ดุ ในตอนตน ฤดฝู น ทง้ั ตวั ออ นและตวั เตม็ วยั จะดดู กนิ นา้ํ เลย้ี งจาก ผลที่ยังออนอยู ทาํ ใหผลสมรวงหลนกอนกําหนด นอกจากน้ันยังเปนทางทาํ ใหเชื้อราและแบคทีเรีย ระบาดทว่ั ไปตามกง่ิ และกา นไดอ กี ตวั ออ นมวนเขยี ว มวนเขยี ว การปอ งกนั กําจดั 1. ใชสวิงจับตัวแกมาทาํ ลาย 2. ใชกาํ มะถัน 2 กระปอ ง ผสมขเ้ี ลอ่ื ยเฉลย่ี 3-4 ปป กองไวใ นสวนแลวจดุ ไฟเปา ใหมีควนั อยู เสมอ จะชวยปองกันและไลมวนเขียวได 3. ฉดี พน ดว ยสารเคมี เชน เมธามโิ ดฟอส หรือ คารบ ารบิ 2. หนอนชอนใบ หนอนผเี สอ้ื ชนดิ นจ้ี ะทาํ ลายเฉพาะใบออนทาํ ใหใ บงอกผดิ รปู เดมิ ใบที่ถูก ทําลายจากการเจาะจะมีรอยวกไปเวียนมาผิวใบจะเปนฝาขาวแหง และรวงหลน สวนใบแกจะไมถูก ทาํ ลายหนอนจะเลือกกินสวนผิวที่มีสีเขียวของใบออนทําใหใบหวิกงอ เปนฝาขาวแหง จะทาํ ใหการเจริญ เติบโตหยุดชงัก บางครง้ั จะเกาะกง่ิ ออ นของสม ดว ย นอกจากน้ียังเปนทางทําใหเชื้อราและแบคทีเรียเขา ทําลายไดอ กี เชน ชว ยเปน พาหนะในการะบาดของโรคขก้ี ลาก (โรคแคงเกอร) อกี ดว ย การปอ งกนั กําจดั 1. ใชมือจับหนอนทาํ ลายและตัดใบที่ถูกหนอนทีลายมาเผาไฟ ทง้ิ ในกรณที เ่ี ปน สวนสม ขนาดเลก็ 2. ฉดี พน ดว ยสารเคมี เชน อมิ ดิ าโคลปด หรือ ฟลูเฟนนอกซูรอน ฉีดพนในระยะที่สมแตกใบออนใหทั่วถึงตลอดทั้งลําตน จึงจะไดผล ใบสมโอที่ถูกหนอนชอนใบ เขา ทาํ ลาย

13 3. หนอนแกว สม เปน หนอนผเี สอ้ื กลางวนั ชนดิ หนง่ึ ซง่ึ วางไขไ วต ามใบออ นของสม หนอนจะ กดั กนิ ใบออ นจนถงึ แกน ทําใหใ บรว งโดยเฉพาะตน กลา จะไดร บั ความเสยี หายมาก นอกจากนห้ี นอนยงั ทําลายพวกกิ่งที่มีผลทาํ ใหผ ลรว งไดง า ย หนอนแกวสมในระยะตางๆ การปอ งกนั กําจดั 1. ใชมือจบั หนอนและดกั แดม าทาํ ลายในเมอ่ื ยงั ไมร ะบาดมากนกั 2. ฉดี พน ดว ยสารเคมี เชน เอนโดซลั แฟน หรือ เมทธามโิ ดฟอส หรือ อมิ ดิ าโคลปด 3. ในสภาพธรรมชาติมีแมลงวันกนขนเปนศัตรูธรรมชาติ ในระยะดักแดดังนั้นควรหลีกเลี่ยง การพน สารเคมเี มอ่ื ตน สม ไมม ยี อดออ นและเมอ่ื พบวา ดกั แดถ กู ศตั รธู รรมชาตเิ ขา ทาํ ลาย 4. ดว งงวงกดั กนิ ใบ ตัวเต็มวัยของแมลงชนิดนี้จะกัดกินใบทําใหใ บแหวง หรอื เปน รพู รนุ ถา มี มากจะกัดกินใบจนเหลือแตกิ่ง การปอ งกนั กําจดั 1. เขยากิ่งเพื่อใหดวงลวงลงมา แลวนาํ ไปทําลาย 2. ฉดี พน ดว ยสารเคมี เชน เมทธามโิ ดฟอส หรือ คารบ ารบี ฉีดพนในระยะที่สมโอแตกใบออน 5. ผีเสอื้ มวนหวาน เปนผีเสื้อกลางคืนที่ทําใหเกิดผลเสียหายแกชาวสวนสมโอเปนอยางมากใน ปห นง่ึ ๆ โดยการดดู กนิ น้ําหวานของผลสมโอที่เริ่มแกถึงแกจัด ผเี สอ้ื ชนดิ นจ้ี ะใชป ากแทงเขา ไปในผลสม โอทาํ ใหบริเวณที่แทงเนา ตอมาจะรวงหลนไปกอนกาํ หนดแก สมที่ไดรับความเสียหายจากผีเสื้อชนิดนี้ อาจสงั เกตไดจ ากนา้ํ ทไ่ี หลออกมาจากรขู องผล การปอ งกนั กําจดั 1. ใชกับดักไฟฟาที่มีกําลังแรงเทียนสูง ลอ ใหเ ขา มาเลน ไฟ 2. ใชสวิงจับผีเสื้อ 3. การรมควันหรือใชยาพวกไลแมลง

14 4. ใชพวกเหย่ือพิษท่ีบรรจุขวดหรือกระถางดินเผาแขวนไวท่ีตนผลไมกอนท่ีผลไมจะแก ประมาณ 1 เดอื น ตองคอยเปลี่ยนเหยื่อพิษทุกสัปดาห 5. ใชสารเคมีฉีดพนในระยะที่กาํ ลังเปนตัวหนอนอยูจะชวยลดความเสียหายลงไดบาง 6. ทาํ กรงดกั โดยใชผลไมสุกเปนเหยื่อลอใหผีเสื้อมวนหวานมาติดกรง 6. หนอนกนิ ลกู ในระยะทเ่ี ปน หนอน ในระยะที่เปนหนอน จะชอนไชเขา ไปในผลออ นทําให ผลเหย่ี วเนา และรว งหลน การปอ งกนั กําจดั 1. นาํ สมที่ถูกทาํ ลายไปฝง หรอื เผา 2. ฉดี พน ดว ยสารเคมี เชน คารบ ารลี ใหทั่วเพื่อกาํ จัดหนอนที่ฟกออกจากไขใหมๆ เมื่อหนอน เจาะเขาไปในผลสมแลวการกําจดั จะไมไ ดผ ลเลย 7. หนอนมวนใบสม หนอนผเี สอ้ื ชนดิ นจ้ี ะวางไข บนใบสม ตวั หนอนจะกัดกนิ ใบสม และมว นใบทาํ เปน รังอาศยั อยูซึ่งจะทาํ ใหส ม มผี ลผลติ ลดนอ ยลง หนอนมว นใบสม การปอ งกนั กําจดั 1. ใชม อื จบั หนอนและดกั แดอ าศยั อยใู นใบทม่ี ว นมาทําลาย 2. ฉดี พน ดว ยสารเคมี เชน เมทธามโิ ดฟอส 8. หนอนเจาะกง่ิ สม หนอนจะเจาะเขาไปอาศยั อยูต ามกิ่งและลาํ ตนที่ปากรูจะเห็นเปนขุยๆ บางครั้งจะทาํ ใหมียางไหลเยิ้มออกมากิ่งสมที่ถูกเจาะจะแหง ตนสมไมเจริญเติบโต การปอ งกนั กําจดั 1. ตรวจดตู ามกง่ิ และลําตนสม ถาพบตัวหนอนและตัวแกใหรีบทําลาย 2. ในกรณขี องกิง่ สมเลก็ ท่ีถกู ทาํ ลายใหต ดั เผาไฟ 3. ฉดี พน ดว ยสารเคมี เชน ไดคลอรวาส ฉดี เขาไปในรูท่ีหนอนเจาะแลวเอาดนิ เหนยี วอุดรูไว 9. เพลย้ี ออ นสเี ขยี ว เพลย้ี ออ นชนดิ นจ้ี ะดดู กนิ นา้ํ เลย้ี ง จากใบและยอดออน ซึ่งมีผลทาํ ใหใบนั้นหยิกและงอ ตนแคระแกรน การเจริญเติบโตหยุดชงัก เพลย้ี ออ นจะขบั สารออกมาจากรา งกาย เปน น้าํ หวานซง่ึ เปน อาหารทเ่ี หมาะในการเจรญิ เตบิ โตของราดํา ทก่ี ง่ิ และใบอกี ดว ย เพลย้ี ออ นสเี ขยี ว การปอ งกนั กําจดั 1. ฉดี พน ดว ยสารเคมี เชน อมิ ดิ าโคลปด หรือโฟซาโลน 2. ฉดี พน นา้ํ ใหทั่วทรงพุมในระยะที่มีการระบาด 10. ไรแดงสม ตวั ออ นและตวั เตม็ วยั ของไรแดงสม ชนดิ นจ้ี ะดดู กนิ นา้ํ เลย้ี งจากใบ ผลและกิ่ง ออนของตนสมซึ่งจะทาํ ใหบริเวณที่ถูกทาํ ลายนน้ั เห็นเปนจุดสีออนๆ ซง่ึ ตอมาจะคอ ยๆ ขยายตวั ออกไป ทั่วจนมีสีเทาหรือสีตะกั่ว ในกรณีที่พบระบาดมากๆก็จะทาํ ใหใ บและผลรว งหลน ได และอาจจะทาํ ใหผ ล ที่ถูกทาํ ลายมลี กั ษณะแคระแกรนและคุณภาพเสื่อมลง มกั ระบาดมากในฤดแู ลง

15 ไรแดงสม การปอ งกนั กําจดั เพลย้ี แปง สม 1. ฉีดพนดวยยาจาํ พวกไวทอ อย ผสมกบั มาลาไธออน 2. กําจัดมดซึ่งเปนพาหะของเพลี้ยแปง 12. เพลย้ี งไฟสม เพลี้ยไฟจะเจาะเขาไปในผิวใบและดูดกิน นา้ํ เลี้ยงของใบสม ผลที่ยังออนเพลี้ยไฟจะเจาะตรงสวนที่อยูใกลกับ กลีบดอกเมทื่อผลโตขึ้นก็จะเจาะบริเวณใกลเคียงกับขั้วทาํ ใหบริเวณที่ ถูกเจาะนั้นมีรอยเปนสะเก็ดสีเทา สวนใบที่ถูกทาํ ลายนน้ั กจ็ ะแคระ แกรนและหงิกงอ นอกจากใบและผลแลว เพลี้ยไฟยังทําลายกิ่งออน และดอกอกี ดว ย การปอ งกนั กําจดั 1. ฉดี พน นา้ํ ใหทั่วทรงพุมในระยะที่มีการระบาด 2. ฉดี พน ดว ยสารเคมี เชน ไดเมทโธเอท, คารบ ารลี หรือ คารโบซัลแฟน ในระยะที่ระบาด มากๆ ประมาณ 7-10 วัน ตอ ครง้ั โรคของสมโอ 1. โรคยางไหล โรคนเ้ี กดิ จากเชอ้ื รา อาการที่แสดงใหเห็นคือ มนี า้ํ เหลวสนี า้ํ ตาลไหลออกมา หรอื เกาะตดิ ตามกง่ิ และลาํ ตน มแี ผลเลก็ ๆอยตู รงสว นทย่ี างไหลออกมา หรอื เกาะตดิ ตามกง่ิ และลําตน มแี ผลเลก็ ๆอยตู รงสว นทย่ี างไหลออกมา เริ่มแรกจะเห็นเปนจุดวงสีนาํ้ ตาลไหลออกมามากมายหรอื รอบ กิ่ง หรือเกาะเหนียวอยูตามกิ่ง ลาํ ตน ถา ตนท่ีโตแลวเปน มากจะสงั เกตเหน็ วาใบเริม่ เหลืองเลก็ และหลดุ รว งไป ตนแสดงอาการทรุดโทรม ผลเลก็ ยอดแหง ในทส่ี ุดกจ็ ะตาย การปอ งกนั กําจดั 1. ถาพบอาการเปนแผลและยางไหลออกมาใหรีบเฉือนเปลือกไมสวนท่ีเปนแผลออกใหหมด ทาแผลรวมทง้ั รดดนิ บรเิ วณโดคนตน ดว ยสารเคมี เชน ฟอสเอทธีล อลี 2. อยา ใหน า้ํ ขังหรือทวมบริเวณตนสมโอเปนเวลานานๆ ควรทาํ การระบายนา้ํ อยาใหขังหรือชื้น แฉะ 3. สมที่ตายแลวหรือสวนของสมที่ตัดทิ้งนํามารวมกนั เผาทําลาย

16 2. โรคโคนเนา และรากเนา โรคนี้เกิดจากเชื้อราชนิดเดียวกันกับโรคยางไหล มักจะเกิด บริเวณโคนตนใกลผิวดิน เรม่ิ จากเปลอื กจะเปน จดุ ๆ แลว เปลย่ี นเปน สนี ้าํ ตาล และเนา เปลอื กออ นหลดุ ออกมาไดง า ย ถาอากาศชืน้ ทงิ้ ไว 1-2 วัน จะเหน็ เสน ใยของราฟขู าวขน้ึ มาอาการเนา จะลกุ ลามออกไป เปลอื กทเ่ี นา จะมยี างสนี า้ํ ตาลไหลออกมาเมอ่ื เนา รอบโคนตน สมจะตายอาการที่รากจะเปนเชนเดียวกับ ที่โคนตน ในระยะนใ้ี บจะเหลอื งซดี รว งหลน กิ่งเริ่มแหง และตายในที่สุด โรคโคนเนา การปอ งกนั กําจดั การปอ งกนั กาํ จัดใหปฏิบัติเชนเดียวกับโรคยางไหล 3. โรคใบแกว โรคนี้อาจจะเกิดจากการขาดธาตุอาหาร หรือเชื้อแบคทีเรียอยางใดอยางหนึ่ง จะพบมากหลังจากที่ตนสมโอใหผลไปแลว 2-3 ป สมใหผลดกมากเกินไป อาการที่พบบนใบจะทาํ ใหใบ เลก็ ลงใบมสี เี หลอื ง ใบชี้ ปลายใบคอนขางเรียวแหลม โดยเฉพาะใบแกจะแสดงอาการเหลืองเปนจาํ้ ๆ กอ นทส่ี ม จะปรากฎอาการของโรคใบรนุ แรงนน้ั สม จะอยใู นลกั ษณะงามเตม็ ทอ่ี อกดอกมาก ถา อาการ รนุ แรงผลจะรว งมากผดิ ปกติ อาการอกี ชนดิ หนง่ึ คอื สม โอใหผ ลผลติ สงู โดยตลอดตดิ ตอ กนั 2-3 ป หลัง จากนั้นจะคอยๆ เริ่มทรุดโทรมและแหงตามไปในที่สุด โรคใบแกว การปอ งกนั กําจดั 1. ฉดี พน สารเคมี เชน อมิ ดิ าโคลปด เพื่อปองกันแมลงพาหะฉีดเมื่อสมเริ่มแตกใบใหม 2. อยาปลอยใหตนติดผลมากจนเกินควร ถาออกผลมากควรปลิดทิ้งใหเหลือพอเหมาะกับ ขนาดของตน

17 3. หลังเก็บผลแลวควรตัดกิ่งและบาํ รงุ ดนิ ใหอ ยใู นสภาท่ีสมบูรณ โดยเฉพาะควรใชปุยอินทรีย ใหม าก เชน ปุยหมัก ปยุ คอกตามดว ยปยุ เคมี 4. การปลูกสมโอทดแทนหรือเริ่มทาํ สวนสมใหมๆ ควรแนใจวาใชตนพันธุที่ปราศจากโรค 5. เมอ่ื พบวา ตน ใดเปน โรคใบแกว ควรตดั ก่ิงทีเ่ ปน ทิง้ ถาเปนทั้งตนใหขุดไปเผาไฟทาํ ลาย 4. โรคแคงเกอร โรคนี้มักเกิดจากเชื้อแบคทีเรีย มักเกดิ ในระยะทใ่ี บออ นและผลทย่ี งั ออ น แรกๆ จะเหน็ เปน จดุ ใสๆ ขนาดเล็กๆ เทากับหัวเข็มหมุด สขี าวหรอื เหลอื งออ น กระจายอยูทั่วไป ตอมาจะขยายโตขึ้น นนู ทง้ั ดา นบนและดา นลา งใบแผลจะกลายเปน สเี หลอื ง ภายในแผลมลี กั ษณะขรุขระ ถาเปนมากจะทาํ ใหใบรวง บางครง้ั อาจมยี างไหลออกมาดว ย อาการที่กิ่งจะเปนแผล ตกสะเก็ดท่ีเปลือก ถาเปนมากทําใหกิ่งตายได โรคแคงเกอร การปอ งกนั กําจดั 1. ฉดี พน ดว ยสารเคมี เชน คอปเปอรอ อกซค่ี ลอไรด 2. ตดั กง่ิ และใบทเ่ี ปน โรค เผาไฟทําลาย 6. โรคราสีชมพู เกดิ จากเชื้อราชนิดหน่งึ อาการเริม่ แรกจะปรากฎภายในเปลือกของกิ่งจะเปน จุดชํา้ เล็กๆ สีนา้ํ ตาล ตอมาแผลจะลุกลามถึงกันทาํ ใหก่ิงแหงตายจะเห็นสีชมพูของราตรงสวนท่ีแหง คลา ยกบั เอาปนู แดงไปปา ยไว กิ่งที่เปนโรคจะมีใบเหี่ยวและรวง การปอ งกนั กําจดั 1. ตัดแตงกิ่งทรงพุมใหโปรงเพื่อใหแสงแดดสองไดทั่วถึง 2. ถาเปนมากๆ ใหตัดกิ่งที่เปนโรคเผาไฟทําลาย 3. ฉดี พน ดว ยสารเคมี เชน คอปเปอรอ อกซค่ี ลอไรด 7. โรคจดุ สนมิ เกิดจากสาหรายชนิดหนึ่ง อาการจะพบตามกง่ิ ใบ และผล ระบาดมากในฤดฝู น จะเหน็ เปน จดุ กลมสเี ขยี วหรอื แดงคลา ยกาํ มะหยี่ขึ้นอยูบนใบ ขนาดไมแ นน อน ถาเกิดบนกิ่งจะทาํ ใหกิ่ง แตก ใบที่อยูบนกิ่งนั้นจะเขียวซีด กง่ิ แหงตาย บนผลจะทาํ ใหเ นอ้ื เยอ่ื นนู ผดิ ปกติ ผวิ เปลอื กแตกออกตรง สวนที่ถูกทาํ ลาย การปอ งกนั กําจดั 1. ฉดี พน ดว ยสารเคมี เชนเดียวกับโรคแสคป 2. ตัดกิ่งและใบที่เปนโรค เผาไฟทําลาย 8. โรคราดํา เกดิ จากเชอ้ื ราชนดิ หนง่ึ มักพบในสภาพที่มีหมอกลงจัด อากาศชน้ื จะมเี ชอ้ื ราขน้ึ ตามใบและผลเปน สดี าํ ถาเปนมากจะคลุมใบไมใหไดรับแสงแดด ตนสมจะไมงามเทาที่ควร ถา เปน ท่ี ผลจะทาํ ใหผลรว ง โดยเฉพาะผลออน

18 การปอ งกนั กําจดั 1. ฉดี พน นา้ํ ทใ่ี บและกง่ิ เพอ่ื ชะลา งเชอ้ื ราโดยตรง 2. ฉีดพน สารเคมปี อ งกนั เชอื้ ราเปนครัง้ คราว 3. ฉีดพนสารเคมีปองกันกําจัดแมลงปากดูดที่มาเกาะกินใบและถายมูลทิ้งไว ซึ่งเปนอาหาร ของเชอ้ื ราอยา งดี สารเคมีที่ใช เชน ไดเมทโธเอท ประโยชนข องสม โอ สม โอมีประโยชนต้ังแตเปลอื กใชเช่ือมเปน ขนมหวาน เชน จังหวัดเพชรบุรี ทําเปลอื กสม โอเชอ่ื ม จนเปนสินคาพื้นเมืองสงไปขายไกลๆ สวนเนื้อที่เปรี้ยวใชประกอบกับขาวยาํ ทางภาคใต เนอ้ื หวานอม เปรี้ยวใชทาํ สมโอลอยแกว สว นเนอ้ื หวานใชร บั ประทานเปน ผลไมส ด กองอาหาร กรมอนามยั ไดท ําการวเิ คราะหห าปรมิ าณธาตอุ าหารจากเนอ้ื สม โอ 100 กรมั มีดังนี้ ความชน้ื 81.0 กรัม ความรอ น 61.0 หนวย ไขมนั 0.2 กรัม คารโ บไฮเดรท 17.8 กรัม เยอ่ื ใย 0.6 กรัม โปรตนี 0.5 กรัม แคลเซี่ยม 12.0 มลิ ลกิ รมั ฟอสฟอรสั 18.0 มลิ ลกิ รมั เหล็ก 0.5 มลิ ลกิ รมั ไวตามนิ เอ 10 หนวย ไวตามนิ บี 1 0.02 มลิ ลกิ รมั ไวตามนิ บี 2 0.01 มิลลิกรัม ไวตามินซี 58.0 มลิ ลกิ รมั

19 การปอกเปลือกสมโอ การปอกเปลือกสมโอที่พบเห็นกันอยูโดยท่ัวไปมักจะใชมีดกรีดผลจากขว้ั ผลลงมา 5-6 รอย แลวจึงลอกเอาเปลือกออก โดยใชนิ้วมือสอดไประหวางเปลือกและกลีบผล วิธีนี้จะทาํ ใหต อมนํ้ามันที่ เปลอื กแตกเลอะมอื เมอ่ื ลอกเอาเนอ้ื ออก ลางสว นของเนอ้ื จะตดิ กบั นา้ํ มนั ของเปลอื กทต่ี ดิ มอื อยู ทาํ ใหมี กลิ่นเหม็นและเสียรสชาติไป จงึ ขอแนะนาํ วธิ กี ารปอกเปลอื กสมฮดใหไดเ นอ้ื ท่มี คี ุณภาพดี ดงั น้ี 1. ใชมีดปอกสวนของเปลือกที่เปนสีเขียวออกจนหมด 2. ลอกเปลอื กสขี าว ซึ่งจะทาํ ใหล อกออกไดง า ยและไมม กี ลน่ิ ของนา้ํ มนั ทผ่ี วิ เปลอื กตดิ ออกมา 3. เมอ่ื เหลอื แตเ ปลอื กหนุ กลบี จงึ ลอกเอาเปลอื กหุมออกทลี ะกลีบจะไดเน้ือท่เี ปน กลีบสวยงาม และมรี สชาตดิ ี การแปรรูปสมโอ รตั นะ สวามชี ยั , วีรวิทย วิทยารักษ นักวิชาการเกษตรศูนยวิจัยพืชสวนพิจิตร สมโอสามารถแปรรูปไดหลายอยางโดยเฉพาะสม โอพนั ธุท า ขอยซ่งึ เปน พันธุท องถนิ่ ท่ีปลูกในเขต บา นทา ขอ ย ตําบลเมืองเกา อาํ เภอเมือง จังหวัดพิจิตร มากกวา 100 ปม าแลว ขณะที่พื้นที่ปลูกไดขยาย เพม่ิ ขน้ึ เรอ่ื ยๆ ทั้งนี้เนื่องจากวาเปนพันธุที่สามารถปรับตัวเองเขากับสภาพแวดลอมตางๆ ไดด ี เนอ่ื งจาก สมโอพันธุทาขอยเปนพันธุที่ใหผลดก เพื่อใหไดผลสมโอที่มีคุณภาพจึงจาํ เปฯ ทจ่ี ะตอ งปลดิ สม ออ นหรอื สม ทม่ี ตี ําหนิทิ้ง นอกจากนีพ้ อ คายงั ทาํ การตดั ผลไมไ ดข นาดออกกอ นทจ่ี ะสง เขา สตู ลาด ผลสมโอที่ถูก คดั ออกเหลา นค้ี ณุ ภาพคอ นขา งต่ําและยังถูกทงิ้ ไปโดยเปลา ประโยชน เพื่อใหไดประโยชนจากสมโอที่ถูก คัดทิ้งเหลานี้ทางหนวยงานเคหะเกษตร สํานกั งานเกษตรอําเภอโพธิ์ประทับชาง และสมาชิกกลุมแม บา น จึงไดรวมคิดวิธีการที่จะใชประโยชนจากสมโอที่ถูกคัดทิ้งเหลานี้ จากากรระดมความคดิ รว มกนั จงึ ทาํ ใหไดสมโอแกวสี่รสขึ้นมา การผลติ สม โอแกว สร่ี สมขี น้ั ตอนในการผลติ ดงั จะไดก ลา วตอ ไปนอกจากน้ี ยังแปรรปู เปนสม โอเช่ือมไดดว ย

20 สมโอแกวสี่รส สวนผสม 1. เนอ้ื เยอ่ื สว นกลางของผลสม โอ (หรอื นวม) บด 5 ถวย 2. นา้ํ ตาลทรายขาว 3 ถวย 3. แบะแซ ½ ถวย 4. เกลอื 1 ชอ นโตะ 5. กรดซติ รกิ 1 ชอ นโตะ 6. พริกขี้หนูสด 3 ผล วธิ ที าํ 1. ปอกผิวสมโอใหหมด เหลอื แตเ นอ้ื เยอ้ื สว นกลางของสม โอ 2. หน่ั เนอ้ื เยอ่ื สว นกลางหรอื นวมเปน ชน้ิ เลก็ ๆ และนาํ ไปขยาํ กบั นา้ํ เปลา 2-3 ครง้ั 3. นาํ เนื้อเยื่อสวนกลางที่ขยาํ กบั นา้ํ แลว ไปตม ใหเ ดอื นแลว ตกั ใสน า้ํ เย็นทาํ สัก 2-3 ครง้ั จน หายขม แลวนาํ ไปบดใหล ะเอยี ด 4. นาํ เน้ือเยอ่ื สว นกลางหรือนวมท่ีบดละเอียด ผสมกบั นา้ํ ตาลทราย เกลอื และกรดซติ รกิ ตาม อัตรากาํ หนดลงกะทะทองเหลืองแลวกวนโดยบดใชความรอนปานกลาง กวนไปเร่ือยจน เหลอื ง 5. ใสแบะแซและพริกขี้หนูสดที่บดละเอียด ทดลองปน ดู ถาปนไดก็ยกลง 6. ปน เปน ลกู กลมเลก็ ๆ คลกุ ดว ยนา้ํ ตาลทรายปนเกลือ หอดวยกระดาษแกว (จากเอกสารโครงการแปรรปู เชงิ ธรุ กจิ ขนาดยอ ย ป 2537 ของกลมุ แมบ า นเกษตรสามคั คโี พธ์ิ ประทับชาง อาํ เภอโพธิ์ประทับชาง จังหวัดพิจิตร) สมโอเชื่อม สวนผสม 1 กโิ ลกรมั 1. เนอ้ื เยอ่ื สว นกลาง (Mesocarp) 1 กโิ ลกรมั 2. นา้ํ ตาลทราย 20 กรัม 3. เกลอื 5 ถวยตวง 4. นา้ํ สะอาด

21 5. นา้ํ ปนู ใส วธิ ที าํ 1. ปอกผวิ สม โอออกใหห มดเหลอื แตเ นอ้ื เยอ่ื สว นกลาง 2. หัน่ ออกเปน ชิ้นขนาดแลวแตความชอบ นาํ ไปขยาํ กบั เกลอื โดยใชอ ตั ราสว น 1 กิโลกรัมตอ เกลอื 20 กรัม 3. นาํ เนื้อเยื่อสวนกลางที่ขยาํ กบั เกลอื ลงไปตม ในนา้ํ เดอื ดนานประมาณ 2-3 นาที หลงั จาก น้ันตักออกมาแชในนา้ํ เย็นใหหายรอนทาํ การตักขึ้นมาบบี น้ําออกใหห มด และชมิ ดวู า หาย ขมหรอื ยงั ถาหายังไมหายขมก็นําไปตม ในนา้ํ รอ นอกี ครง้ั หนง่ึ 4. นาํ เอาเนอ้ื เยอ่ื สว นกลางทห่ี ายขมแลว มาแชในนํา้ ปูนใสนาน 5 นาที จากนั้นบีบนาํ้ ปูนใส ออกและลา งดว ยนา้ํ สะอาด 5. เคย่ี วนา้ํ ตาล โดยใชน้ําตาล 0.5 กโิ ลกรมั ตอ นา้ํ 5 ถวยตวง พอนา้ํ ตาลละลายดแี ลว เอาสว น เนื้อเย่ือสวนกลางของสมโอใสลงไปนานจนกวานาํ้ ตาลจะซึมเขาเนื้อเยื่อของสมโอจนหมด จากนั้นทาํ การโรยดว ยนา้ํ ตาลอีก 0.5 กิโลกรัม คอ ยๆ โรยนา้ํ ตาลจนหมดขน้ั ตอนนไ้ี ฟไม ควรจะแรงเพราะจะทําใหสมโอเชื่อมมีสีแดง หลังจากนี้ถาหากมีเครื่องอบควรจะอบสมโอ เชื่อมใหแหง เพอ่ื ปอ งกนั การละลายของน้ําตาลจากนั้นจึงบรรจุภาชนะเพื่อสงขายตอไป จดั ทาํ เอกสารอิเล็กทรอนิกสโดย : สาํ นกั สง เสรมิ และฝก อบรม มหาวทิ ยาลยั เกษตรศาสตร