Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore Laos

Description: ระบบบริหารราชการของ ลาว

Search

Read the Text Version

ณ“โคสร�ภำงนากกั พางรทาคนี่ ว8ใาหพมญริธ่กว่ ีลมางรมนปอื ารใมะนใปกนาาบนรนัพคทรฒั หกึ นลคาววรงาะมบปเบรขะป้าเใรทจะศปไาท”ย ระบบประปา แมว้ า่ ประชาชนในประเทศมจี �ำนวนนอ้ ย แตร่ ะบบประปาในสปป.ลาว ยงั มไี มเ่ พยี งพอกบั ความตอ้ งการของประชาชน แมใ้ นนครหลวงเวยี งจนั ทน์ บรษิ ัทประปาของสปป.ลาว สามารถผลติ น�ำ้ ได้วนั ละ 1 แสนลกู บาศก์เมตร แต่ความต้องการใชส้ ูงถงึ วันละ  1.2 แสนลูกบาศก์เมตร  ท�ำให้ทางการ สปป.ลาวพยายามเพมิ่ การผลติ นำ้� ใหเ้ พยี งพอกบั ความตอ้ งการ  รวมถงึ ขยายการผลิตไปในแขวงตา่ งๆ ให้ท่ัวถึงมากขึ้น ซงึ่ ใน ปจั จุบนั มโี รงงาน ประปาตั้งอยู่ในเมืองเอกของแขวง และเมอื งอื่นๆ รวมทั้งหมด 38 แห่ง ประชากรทีไ่ ด้ใช้นำ้� ประปามปี ระมาณร้อยละ 40 ของประชากรทั้งหมด ที่อาศัยอยู่ในตัวเมอื ง ในปัจจุบันสปป.ลาว ได้รับความช่วยเหลือจากประเทศไทยผ่าน ส�ำนักงานความร่วมมือพัฒนาเศรษฐกิจกับประเทศเพ่ือนบ้าน (สพพ.) และการประปานครหลวงในการใหค้ วามชว่ ยเหลอื ดา้ นการศกึ ษา ส�ำรวจ และออกแบบการปรับปรุงระบบน�้ำประปา และพัฒนาเมืองหลัก 12 50

เมือง ในภาคเหนือ ภาคกลาง และภาคใต้ของสปป.ลาว ให้มีระบบ น�้ำประปาท่ีมีคุณภาพ ท้ังนี้ส�ำนักงานความร่วมมือพัฒนาเศรษฐกิจ กับประเทศเพ่ือนบ้านยังได้ด�ำเนินการช่วยเหลือในการจัดหาทุนการ พฒั นาระบบน้�ำประปาอีกดว้ ย ระบบโทรคมนาคม ปัจจุบันประชากรสปป.ลาว ท่ีใช้บริการโทรศัพท์มีสัดส่วนน้อยกว่า ร้อยละ 2 ของประชากรท้ังประเทศ ซ่ึงถือว่าขนาดการสื่อสารใน สปป.ลาว มีขนาดค่อนข้างเล็ก มีโทรศัพท์พ้ืนฐานเพียง 9 แสนสาย โทรศัพท์เคล่ือนที่ 1.4 แสนสาย สปป.ลาว จึงก�ำลังอยู่ในช่วงของการ พัฒนาระบบโทรคมนาคมใหท้ ันสมยั ส�ำหรับผู้ด�ำเนนิ ธรุ กิจการสอื่ สารในสปป.ลาว มที งั้ สนิ้ 4 ราย คือ 1. บริษัท ลาวเทเลคอม จ�ำกัด (Lao Telecom) มีการให้บริการ โทรศัพท์พื้นฐาน โทรศัพท์เคลื่อนท่ี และบริการอ่ืนๆ ซ่ึงบริษัท ลาว เทเลคอม จ�ำกัด โดยมีส่วนแบ่งตลาดถึงร้อยละ 68 ถือหุ้นโดยรัฐบาล สปป.ลาว รอ้ ยละ 51 และบริษทั ชิน คอร์ปอเรชน่ั ร้อยละ 49 2. บริษัท เทเลคอม จ�ำกัด (Telecom Lao) ให้บริการโทรศัพท์ พนื้ ฐาน โทรศพั ทเ์ คลอ่ื นท่ี และบรกิ ารอ่นื ๆ ถือหนุ้ โดยรัฐบาลสปป.ลาว ทงั้ หมดคดิ เป็นรอ้ ยละ 100 3. บริษัท ลาวเอเชียเทเลคอม จ�ำกัด (Lao Asia Telecom) ให้ บริการโทรศัพทพ์ นื้ ฐาน โทรศพั ทเ์ คลื่อนท่ี และบริการอนื่ ๆ ถือหนุ้ โดย กระทรวงปอ้ งกันประเทศรอ้ ยละ 100 4. บรษิ ัท มิลลคิ อมลาว จ�ำกดั (Millicom Lao) ให้บรกิ ารโทรศัพท์ ระบบบรหิ ารราชการของสาธารณรฐั ประชาธิปไตยประชาชนลาว 51

พน้ื ฐาน โทรศัพท์เคลอื่ นที่ และบรกิ ารอ่นื ๆ ถือหนุ้ โดยรัฐบาลสปป.ลาว ร้อยละ 22 และมิลลคิ อมลาวรอ้ ยละ 78 1.1.9 ระบบสาธารณสขุ ในปัจจุบันสปป.ลาว ได้มีการด�ำเนินการด้านสาธารณสุขตามแผน พัฒนาสาธารณสุขแห่งชาติฉบับที่ 7 มีระยะเวลาการด�ำเนินงาน 5 ปี (พ.ศ. 2554-2558) ซ่ึงจะมีการปรับปรุงและขยายบริการด้านสุขภาพ โดยระดมทรพั ยากรตา่ งๆ  และพฒั นาศกั ยภาพทมี่ อี ยใู่ นประเทศ แผนดงั กลา่ วให้ความส�ำคัญแกก่ ลุม่ งาน 9 ด้าน ได้แก่ 1. การสรา้ งหมู่บา้ นสาธารณสุขตวั อย่าง 2. การลดการตายของมารดาทีใ่ หก้ �ำเนดิ บตุ ร และเพมิ่ การรอด ชีวิตของเด็กแรกเกิด 3. การเตรียมความพรอ้ ม การปอ้ งกัน การจัดการกับ ความอดอยาก การขาดแคลนน้ำ� และสารอาหาร 4. การควบคุมการระบาดและการตดิ ต่อของโรค 5. การพฒั นาและยกระดบั คุณภาพบุคลากร 6. ความปลอดภัยของอาหารและยา 7. การปรับปรุงกลไก กฎหมาย และแผนงานขององค์การ 8. การพฒั นาระบบการเงนิ เพ่อื สุขภาพใหม้ คี วามยง่ั ยืน 9. ความช่วยเหลอื ความร่วมมือ และการลงทุนกบั องค์การใน ภูมิภาคอาเซียนและนานาชาติ ทั้งน้ีความช่วยเหลือในด้านสาธารณสุข สปป.ลาว ได้รับความ- ชว่ ยเหลอื จากนานาประเทศ โดยเฉพาะความชว่ ยเหลอื จากรฐั บาลญป่ี นุ่ 52

โดยญปี่ นุ่ จะสนบั สนนุ การด�ำเนนิ งานดา้ นการประสานงาน เพอ่ื เสรมิ สรา้ ง ศักยภาพของบุคลากรด้านสาธารณสุขของสปป.ลาว ให้ความชว่ ยเหลือ ในการใหค้ วามร้แู กผ่ เู้ ป็นแม่เพ่อื การพัฒนาสุขภาพของแมแ่ ละเดก็ และ การส่งเสริมหมู่บ้านสาธารณสุขตัวอย่างผ่านโครงการความร่วมมือ ทางวิชาการกับองค์การความร่วมมือระหว่างประเทศของญี่ปุ่น (The Japan International Cooperation Agency-JICA) และกองทุนญี่ปนุ่ เพื่อลดปัญหาความยากจน ซ่ึงก่อนหน้านี้รัฐบาลสปป.ลาวได้ประกาศ ยกเวน้ คา่ บรกิ ารสขุ ภาพแกแ่ มแ่ ละเดก็ เปน็ นโยบายทจี่ ะชว่ ยให้ สปป.ลาว บรรลเุ ปา้ หมายการพฒั นา สหสั วรรษของสหประชาชาติ (UN Millen- nium Development Goals) ทีจ่ ะใหบ้ รรลุผลในปี พ.ศ. 2558 การด�ำเนนิ งานแผนพฒั นาสาธารณสขุ นี้ จะชว่ ยเกอื้ หนนุ ใหส้ ปป.ลาว หลุดพ้นจากการเป็นประเทศด้อยพัฒนา โดยประชาชนจะได้รับบริการ ดา้ นสาธารณสขุ อยา่ งทว่ั ถงึ มสี ขุ ภาพอนามยั ทส่ี มบรณู แ์ ขง็ แรงมากยง่ิ ขนึ้ 1.1.10 ระบบการศึกษา การศึกษาในสปป.ลาวนั้น เร่ิมต้ังแต่ระดับอนุบาลและก่อนวัยเรียน โดยโรงเรียนในสปป.ลาวมีทั้งโรงเรียนของรัฐบาลและเอกชน เปิดรับ นกั เรียนเมอื่ อายุ 3 ถึง 6 ปี ใชเ้ วลาเรยี น 3 ปี มีระดบั ช้นั อนุบาล 1 ถึง อนุบาล 3 เมื่อจบจากระดับชั้นอนุบาลก็เล่ือนชั้นไปเรียนระดับชั้น ประถมศึกษา ซึ่งอาจเรียกได้ว่าเป็นระบบการศึกษาแบบ 5:3:3 โดยมี รายละเอยี ดดงั นี้ • ประถมศกึ ษา เปน็ การศึกษาภาคบงั คับ ใชเ้ วลาเรยี น 5 ปี โดย เดก็ จะเร่มิ เขา้ เรยี นเมอื่ อายุ 6 ขวบ ระบบบริหารราชการของสาธารณรฐั ประชาธิปไตยประชาชนลาว 53

• มัธยมศึกษาตอนต้น ใช้เวลาใน การศึกษา 3 ปี • มธั ยมศกึ ษาตอนปลาย ใชเ้ วลาใน การศึกษา 3 ปี • อุดมศกึ ษา รวมถึงการศกึ ษาด้าน เทคนิคสถาบันการศึกษาช้ันสูงหรือ มหาภวาิทพยทาี่ล9ัยแตหราง่ สชญัาตลิสักปษปณ.ล์ าว มหาวิทยาลยั ซึ่งอย่ใู นความดูแล  และ รับผิดชอบของกรมอาชีวศึกษา และมหาวิทยาลัยกระทรวงศึกษาธิการ ยกเวน้ การศกึ ษาเฉพาะทาง ซงึ่ อยใู่ นความดแู ลของกระทรวงอนื่ โดยเมอ่ื เดก็ จบการศกึ ษาในระดับประถมและมัธยมศกึ ษาแลว้ จะมีการคดั เลือก นกั เรยี นเพื่อเสนอกระทรวงศกึ ษาธิการให้เด็กไดเ้ ขา้ ศกึ ษาตอ่ ในระดบั ทสี่ งู ขน้ึ • สายอาชีพ ใชเ้ วลาศกึ ษา 3 ปี ในวิทยาลัยเทคนคิ ตา่ งๆ เชน่ ทาง ดา้ นไฟฟา้ ก่อสร้าง บญั ชี และป่าไม้ เป็นตน้ • มหาวิทยาลัย ใช้เวลาเรียน 4 ปี ส่วนมหาวิทยาลัยเฉพาะทาง เรยี น 6 ปี เช่น มหาวิทยาลัยแพทย์ศาสตร์ (เวียงจันทน์) สถาบนั สรรพวิชา (National Polytechnic Institute)[23] 1.1.11 ระบบกฎหมาย ใช้กฎหมายที่มีพื้นฐานมาจากประเพณีโบราณ ขนบธรรมเนียม ฝร่ังเศส และแนวทางปฏิบัติแบบสังคมนิยม ไม่ยอมรับเขตอ�ำนาจ โดยบังคบั ของศาลยุตธิ รรมระหวา่ งประเทศ (ICJ) 54

การตรากฎหมายของสปป.ลาว มีลําดับขั้นหรือศักด์ิของกฎหมาย ประกอบดว้ ย • รฐั ธรรมนญู (Constitution) • กฎหมาย (Law) • รัฐบญั ญตั ิ (Decree) เทยี บเท่ากับ พระราชกําหนดของไทย  โดย สสป.ลาว เรยี ก“กฎหมายน้อย” • รัฐดํารัดหรือดํารัสประธานประเทศ (Presidential Edict) (กฎหมายซึ่งประกาศบังคับใช้โดยประธานประเทศ และนายกรัฐมนตรี โดยมิต้องผ่านการพิจารณาของสภาแห่งชาติ ศักดิ์ของกฎหมายเทียบ เท่ากับพระราชกฤษฎกี า) ซงึ่ การศกึ ษานจี้ ะกลา่ วถึงเฉพาะ “กฎหมาย” เทา่ นน้ั เนอ่ื งจากกระบวนการตราและการบงั คบั ใช้ “กฎหมาย” เปน็ กระบวน การบังคับใช้กฎหมายหลักของสปป.ลาว ซ่ึงเม่ือเปรียบเทียบกับระบบ กฎหมายของไทยแล้ว “กฎหมาย” นี้ มีศักด์ิของกฎหมายเทียบได้กับ “พระราชบญั ญตั ”ิ   ตามรฐั ธรรมนญู และกฎหมายสปป.ลาว  องคก์ าร จดั ตงั้ และบคุ คลทม่ี สี ทิ ธเิ สนอรา่ งกฎหมายเพอื่ ใหส้ ภาแหง่ ชาตพิ จิ ารณา มีดงั น้ี • ประธานประเทศ • คณะประจําสภาแหง่ ชาติ • รัฐบาล • ศาลประชาชนสูงสดุ • องคก์ ารอัยการประชาชนสงู สุด ระบบบรหิ ารราชการของสาธารณรฐั ประชาธปิ ไตยประชาชนลาว 55

• แนวลาวสรา้ งชาติ หรอื องคก์ ารจดั ตงั้ มหาชน (ศนู ยก์ ลางชาวหนมุ่ ลาว สหพันธก์ รรมกรลาว ศูนยก์ ลางสหพนั ธ์แมห่ ญงิ ลาว) งานระบบกฎหมายและการออกกฎหมายของสปป.ลาว นน้ั แบง่ ตาม หลกั การเปน็ 2 ดา้ น ซงึ่ เปน็ หลกั การทต่ี อ้ งถอื ปฏบิ ตั อิ ยา่ งเครง่ ครดั และ ให้ความสําคัญมากเท่าๆ กันท้ังสองด้าน และเป็นหลักการท่ีประเทศ ซ่ึงปกครองตามระบอบประชาธิปไตยประชาชนหรือสังคมนิยม- คอมมิวนิสตถ์ อื ปฏิบัติ แบ่งไดด้ งั นี้ • การตราและปรบั ปรุงแกไ้ ขกฎหมาย • งานประชาสัมพันธแ์ ละเผยแพรก่ ารบงั คบั ใชก้ ฎหมาย กระบวนการตราและปรับปรุงแก้ไขกฎหมายจะดําเนินการ ตามแผนการปฏบิ ตั งิ าน 5 ปี ของสภาแหง่ ชาติ ซงึ่ ในรอบ 5 ปี จะกําหนด วา่ จะมีการตราหรือปรับปรุงแกไ้ ขกฎหมายใดบ้าง ซงึ่ ครบตามวาระของ สภาแห่งชาติชุดน้ัน โดยในแต่ละปีเมื่อจะมีการพิจารณาเสนอโครงการ ตราหรอื ปรบั ปรงุ แกไ้ ขกฎหมายใด รฐั บาลโดยหนว่ ยงานหลกั ทเี่ กยี่ วขอ้ ง กับการบังคับใช้กฎหมายหรือหน่วยงาน (เจ้าของ) ผู้รักษาการตาม กฎหมายนั้น จะมีการประสานงานรวบรวมความคิดเห็นและข้อมลู เพ่ือ ประกอบความเหน็ ตอ่ รา่ งกฎหมายนน้ั จากหนว่ ยงานทเ่ี กยี่ วขอ้ ง และรว่ มกนั จัดทําร่างกฎหมายข้ึน เม่ือได้จัดทําร่างกฎหมายเสร็จเรียบร้อยแล้ว จึง เสนอกระทรวงยตุ ธิ รรมเพื่อพจิ ารณารบั รองแล้วจงึ เสนอตอ่ รัฐบาล เม่อื คณะรัฐบาลลงมติรับรองแล้วจึงเสนอต่อสภาแห่งชาติ ก่อนเปิดสมัย ประชมุ สภาแหง่ ชาตไิ มน่ อ้ ยกวา่ 60 วนั เมอื่ สภาแหง่ ชาตริ บั รา่ งกฎหมาย ไวพ้ จิ ารณาแลว้ สภาแหง่ ชาตจิ ะมอบหมายใหค้ ณะกรรมาธกิ ารกฎหมาย 56

และคณะกรรมาธกิ ารทเี่ กย่ี วขอ้ งพจิ ารณารว่ มกนั เพอื่ ทําความเหน็ ตลอด จนตรวจสอบขอ้ มูลเพอื่ นําเสนอต่อ “การประชุมเปดิ กวา้ ง” ซึ่งเปน็ การ ประชมุ ของหน่วยงานทัง้ ภาครัฐและเอกชน ตลอดจนตัวแทนประชาชน รวมท้ังสมาชิกสภาแห่งชาติและส่วนท้องถิ่นสามารถเข้าร่วมแสดงความ คดิ เหน็ ตา่ งๆ ในทป่ี ระชมุ ได้ และประเดน็ ในทปี่ ระชมุ เปดิ กวา้ งนน้ั กเ็ ปน็ ประเด็นเปิดกว้างท่ีเก่ียวข้องกับนโยบายและการบริหารงานภาพรวม ทั้งหมดของชาติ เพื่อนําความเห็นมาประกอบการพิจารณาปรับปรุง รา่ งกฎหมาย เมอื่ ปรบั ปรงุ แลว้ จงึ เสนอใหค้ ณะประจําสภาแหง่ ชาตอิ นมุ ตั ิ กรณเี ปน็ รา่ งกฎหมายทเี่ กย่ี วขอ้ งกบั ผลประโยชนข์ องประชาชนหรอื ผลประโยชน์แห่งชาติ ก่อนเสนอเพื่อให้คณะประจําสภาแห่งชาติ พิจารณาอนุมัติต้องมีการขอความเห็น หรือ “ประชาพิจารณ์” จาก ประชาชนก่อนด้วย ซ่ึงกระบวนการเสนอความเห็นและประชาพิจารณ์ กฎหมายสปป.ลาว นน้ั เรียกวา่ “การทาบทาม” กระบวนการนสี้ มาชกิ สภาแหง่ ชาตจิ ะลงพนื้ ที่ เพอ่ื ขอความเหน็ จากประชาชนในพน้ื ทตี่ ามแขวง ตา่ งๆ แลว้ สรปุ ความเหน็ ทเ่ี ก่ยี วข้องเสนอตอ่ คณะกรรมาธกิ ารกฎหมาย และคณะกรรมาธิการท่ีเก่ียวข้อง เพ่ือนํามาปรับปรุงอีกคร้ังตามความ เหมาะสม เมอ่ื ปรบั รา่ งกฎหมายแลว้ จงึ เสนอเขา้ สกู่ ารพจิ ารณาของคณะ ประจําสภาแหง่ ชาติ เมื่อคณะประจําสภาแห่งชาติเห็นเหมาะสมแล้ว จึงเสนอเข้าสู่ ทป่ี ระชมุ สภาแหง่ ชาติ ถา้ คณะประจําสภาแหง่ ชาตเิ หน็ วา่ ยงั ไมค่ รบถว้ น เพียงพอ อาจเสนอให้คณะกรรมาธิการกฎหมายและคณะกรรมาธิการ ท่ีเกี่ยวข้องรวบรวมข้อมูล เพ่ือปรับปรุงให้ครบถ้วนสมบูรณ์ และเสนอ ใหมอ่ ีกครัง้ ได้ ระบบบรหิ ารราชการของสาธารณรฐั ประชาธปิ ไตยประชาชนลาว 57

ข้ันตอนการพิจารณาร่างกฎหมายในการประชุมสภาแห่งชาติน้ัน รัฐมนตรีว่าการกระทรวงท่ีเกี่ยวข้องเป็นผู้รับผิดชอบนําเสนอร่าง กฎหมายร่วมกับคณะกรรมาธิการกฎหมายและคณะกรรมาธิการ ที่เกี่ยวข้อง โดยรัฐมนตรีทําหน้าที่เสนอจุดประสงค์ของกฎหมายต่อ ทป่ี ระชมุ สภาแหง่ ชาติ กรรมาธกิ าร และผูร้ ับผดิ ชอบรา่ งกฎหมายเป็นผู้ นําเขา้ สกู่ ารพจิ ารณารายมาตรา (อา่ นและพจิ ารณาเรยี งตามรายมาตรา) ถ้ามีข้อคิดเห็นหรือมีการขอแปรญัตติเพ่ิมเติม ให้ประธานสภาแห่งชาติ หรือสมาชิกเสนอต่อท่ีประชุมคณะกรรมาธิการกฎหมายและคณะ กรรมาธกิ ารทเ่ี กยี่ วขอ้ งหรอื รฐั มนตรวี า่ การกระทรวงทเ่ี กยี่ วขอ้ งทําหนา้ ท่ี ชี้แจง กรณีกฎหมายใดพิจารณาไดง้ า่ ย คอื ไม่ซบั ซ้อนหรือเกีย่ วข้องกับ ผลประโยชน์ของประชาชนและประเทศชาติ อาจผา่ นความเหน็ หรอื ขอมติ เป็นรายหมวดหรือรายภาค ถ้ากฎหมายฉบับใดยากหรือซับซ้อนหรือ เกยี่ วขอ้ งกบั สทิ ธแิ ละผลประโยชนข์ องประชาชน อาจพจิ ารณาผา่ นความ เหน็ หรอื ขอมตเิ ปน็ รายมาตรา การลงคะแนนเสยี งใหล้ งคะแนนเสยี งแบบ ปดิ ลับ (ลงคะแนนเสยี งโดยลบั ) การผา่ นความเห็นหรือมติจะมผี ลบังคับ ใชเ้ มอ่ื ไดร้ บั คะแนนเสยี งมากกวา่ กงึ่ หนงึ่ ของจํานวนสมาชกิ ทเ่ี ขา้ รว่ มการ ประชมุ เมอื่ กฎหมายนนั้ ไดร้ บั มตเิ หน็ ชอบจากสภาแหง่ ชาตแิ ลว้ ใหค้ ณะ กรรมาธกิ ารกฎหมายปรบั ปรงุ ตามความเหน็ และคํานําเสนอ แลว้ นํากลบั เข้าที่ประชุมสภาแห่งชาติอีกครั้งในวันสุดท้ายของสมัยการประชุมนั้น เพ่อื รับรองให้ประกาศบังคับใชต้ อ่ ไป [16] 58

1.1.12 ความสมั พันธ์ระหว่างไทยกับสาธารณรัฐ ประชาธปิ ไตยประชาชนลาว [22] ความสัมพันธ์ระหว่างไทยและสปป.ลาวในปัจจุบันด�ำเนินไปอย่าง ราบรน่ื ใกลช้ ดิ บนพน้ื ฐานของการเคารพซง่ึ กนั และกนั มผี ลประโยชนร์ ว่ ม กัน และมีพัฒนาการเชิงบวกอย่างต่อเนื่อง โดยมีปัจจัยเกื้อกูล ได้แก่ ความใกลช้ ดิ ทางเชอ้ื ชาติ ศาสนา ภาษา และวฒั นธรรม ดงั จะเหน็ ไดจ้ าก การจดั งานฉลองวนั ครบรอบ 60 ปี ของความสมั พนั ธท์ างการทตู เมอ่ื วนั ที่ 19 ธันวาคม พ.ศ. 2553 ซง่ึ สถาปนาความสัมพันธต์ งั้ แตป่ ี พ.ศ. 2493 โดยทง้ั สองฝา่ ยไดจ้ ดั กจิ กรรมเพอ่ื ฉลองสมั พนั ธไมตรรี ว่ มกนั ประเทศไทย และสปป.ลาวได้ร่วมมือกันหลายด้านเช่น • ดา้ นความมน่ั คง ไดร้ ว่ มการส�ำรวจและจดั ท�ำหลกั เขตแดนไทย– ลาว โดยมคี ณะกรรมาธกิ ารเขตแดนรว่ มไทย–ลาว (Joint Border Com- mission: JBC) เป็นกลไกก�ำกับดูแลการด�ำเนินงานมาตั้งแต่เดือน พฤษภาคม พ.ศ. 2540 จนถึงปัจจุบัน สามารถจดั ท�ำหลกั เขตแดนทาง บกรว่ มกนั ได้ 204 หลัก ซ่งึ รับรองแลว้ 190 หลกั ระยะทางประมาณ 676 กิโลเมตร หรือคิดเป็นประมาณร้อยละ 96 ส�ำหรับเขตแดนใน แม่น�้ำโขง ท้ังสองฝ่ายอยู่ระหว่างการจัดท�ำแผนที่แม่น้�ำโขงฉบับใหม่ ร่วมกนั ระหว่างไทยและสปป.ลาว • ด้านการป้องกันและปราบปรามยาเสพติด ไทยและสปป.ลาว ได้ลงนามในบันทึกความเข้าใจว่าด้วยความร่วมมือในการควบคุม ยาเสพตดิ วัตถอุ อกฤทธิ์ต่อจิตและประสาทและสารต้ังตน้ มาต้งั แต่วันท่ี 17 สิงหาคม พ.ศ. 2544 ปัจจบุ ันหน่วยงานดา้ นการปราบปรามยาเสพ ติดไทยและสปป.ลาวมีความร่วมมืออย่างใกล้ชิด และได้รับผลส�ำเร็จใน ระบบบรหิ ารราชการของสาธารณรฐั ประชาธปิ ไตยประชาชนลาว 59

การสกัดก้ันการลักลอบค้าขายและการล�ำเลียงขนส่งยาเสพติดตาม บรเิ วณชายแดน น�ำไปสกู่ ารจบั กมุ นกั คา้ ยาเสพตดิ ทส่ี �ำคญั อยา่ งตอ่ เนอ่ื ง • ด้านการค้า ช่วงไตรมาสแรกของปี พ.ศ. 2556 (มกราคม- เมษายน) ไทยมมี ลู คา่ การคา้ กบั สปป.ลาวรวม 50,329.30 ลา้ นบาท โดย สามารถแบง่ เปน็ การส่งออกซงึ่ มมี ลู ค่า 38,621.02 ล้านบาท การนําเขา้ ซ่ึงมีมูลค่า11,708.28 ล้านบาท ทําให้ประเทศไทยได้ดุลการค้ากับ สปป.ลาว เปน็ มลู คา่ 26,912.74 ลา้ นบาท จากการประชมุ คณะกรรมการ ร่วมทางการคา้ ไทย-ลาว (JTC) มกี ารตง้ั เป้าเพมิ่ มูลคา่ การค้าของทัง้ สอง ฝ่ายเป็น 8,000 ล้านเหรียญสหรัฐ (หรือ 240,000 ล้านบาท โดย ประมาณ) ภายในปี พ.ศ. 2558 ซ่งึ ในปี พ.ศ. 2555 การค้าสองฝา่ ยมี มลู คา่ 150,135.95 ลา้ นบาท • ดา้ นการคา้ ชายแดนไทย-สปป.ลาว ในปี พ.ศ. 2556 (มกราคม- เมษายน) มมี ลู คา่ รวม 45,541.44 ลา้ นบาท โดยแบง่ การสง่ ออกเปน็ มลู คา่ 37,772.60 ล้านบาท ส่วนการนําเข้าคิดเปน็ มลู คา่ 7,768.84 ลา้ นบาท เป็นผลมาจากไทยมีการนําเข้าผักและของปรุงแต่งจากผัก ผลิตภัณฑ์ สนิ แร่อืน่ ๆ ลวดและสายเคเบลิ้ ทหี่ ้มุ ฉนวนจากสปป.ลาว เพ่มิ ขน้ึ ดงั นนั้ จงึ เหน็ ไดว้ า่ ประเทศไทยจะเปน็ ฝา่ ยเกนิ ดลุ การคา้ เปน็ มลู คา่ 30,003.76 ลา้ นบาท • ด้านการท่องเท่ียว ในปี พ.ศ. 2553 มีนักท่องเท่ียวต่างชาติ เดนิ ทางไปสปป.ลาว 2.5 ลา้ นคน เปน็ นกั ทอ่ งเทย่ี วไทย 1.5 ลา้ นคน หรอื ร้อยละ 60 รองลงมา ไดแ้ ก่ เวียดนาม และจีน ในขณะที่มนี กั ทอ่ งเท่ียว ชาวสปป.ลาว มาไทย 655,034 คน ซ่ึงคิดเป็นร้อยละ 4.63 ท้ังน้ี นกั ทอ่ งเทย่ี วตา่ งชาตใิ นสปป.ลาว รอ้ ยละ 72 เปน็ นกั ทอ่ งเทยี่ วทเี่ ดนิ ทาง 60

ผ่านประเทศไทย จึงไม่ต้องแปลกใจท่ีสถานการณ์ทางการเมืองภายใน ของไทยในช่วงทีผ่ า่ นมาได้ส่งผลกระทบอยา่ งมากต่อสปป.ลาว 1.2 ประวตั ิและขอ้ มลู รัฐบาลโดยยอ่ 1.2.1 การปกครองโดยพรรคประชาชนปฏวิ ตั ลิ าว สาธารณรฐั ประชาธปิ ไตยประชาชนลาวเปน็ รฐั เดยี่ วทม่ี กี ารปกครอง ตามรฐั ธรรมนญู โดยประชาชนบรรดาเผา่ ตา่ งๆ และชนชนั้ ในสงั คม ไดแ้ ก่ กรรมกรกสิกร และปัญญาชน ไดร้ บั การปฏิบัตแิ ละรบั รองทางกฎหมาย ภายใต้ระบบการเมือง ซึ่งมีพรรคประชาชนปฏิวัติลาว (Laos People Revolution Party: LPRD) เป็นองค์การน�ำ และมีอ�ำนาจสูงสุด แบบ“ประชาธปิ ไตยแบบรวมศนู ย:์ Democraticcentralism” การแบง่ ขั้นคุ้มครองได้รับอิทธิพลมาจากการจัดโครงสร้างพรรคคอมมิวนิสต์ โซเวียต ที่มีอ�ำนาจเด็ดขาดและผูกขาดโดยศูนย์กลางของพรรค ซ่ึงมี หนา้ ทกี่ �ำหนด และสงั่ การนโยบายใหแ้ กท่ กุ ชนชน้ั ในสงั คม โดยมอี งคก์ าร ยอ่ ยอน่ื ๆ ของพรรคเปน็ เสมอื นกลไกทด่ี �ำเนนิ การใหเ้ ปน็ ไปตามเจตจ�ำนง ของประชาชน สาระส�ำคัญของหลักการประชาธิปไตยแบบรวมศูนย์ของสปป.ลาว เป็นการปกครองทีอ่ ยูบ่ นหลกั ของรฐั ธรรมนญู และกฎหมาย โดยมพี รรค ประชาชนปฏิวัติลาวเป็นแกนน�ำ และมีองค์การมวลชนเป็นกลไกเสริม ในการบ่มเพาะแนวทางด้านเศรษฐกิจและการบริหาร เพ่ือคุ้มครองทั้ง ภาครัฐ ภาคเศรษฐกจิ และภาคสังคม บนพ้นื ฐานการน�ำแบบรวมศูนย์ ระบบบรหิ ารราชการของสาธารณรัฐประชาธิปไตยประชาชนลาว 61

ท่ีมา : กรมเจรตจราากแาผรค่นา้ดรนิ ะหสวป่าปงป.ลราะวเทศ, พ.ศ.2555 อ�ำนาจขององคก์ ารรฐั ขนั้ สงู กวา่ และมกี ารตรวจสอบการด�ำเนนิ งานของ องค์การรัฐในระดับต่�ำกว่า ซ่ึงหลักปฏิบัติส�ำคัญของกลุ่มผู้น�ำระดับสูง ของสปป.ลาว คอื การเนน้ ความเปน็ เอกภาพ และพยายามสอดสอ่ งดแู ล ตักเตือนสมาชิกพรรคให้มีความสามัคคี ในขณะท่ีการเป็น “ประชาธิปไตย” นน้ั เปน็ การเปิดโอกาสให้สมาชกิ พรรคสามารถแสดง ความคดิ เหน็ ไดใ้ นทป่ี ระชมุ พรรค และอภปิ รายในประเดน็ ตา่ งๆ ไดอ้ ยา่ ง กวา้ งขวาง  แตเ่ มอื่ มมี ตขิ องเสยี งสว่ นใหญ ่ สมาชกิ พรรคในสว่ นเสยี ง ขา้ งนอ้ ยกจ็ ะตอ้ งปฏบิ ตั ติ ามมตขิ องเสยี งขา้ งมากอยา่ งเครง่ ครดั และไมน่ �ำ เรอื่ งความขดั แยง้ หรอื ประเดน็ ถกเถยี งภายในพรรค หรอื ภายในทป่ี ระชมุ ของคณะกรรมการกรมการเมอื งไปเปิดเผยแกบ่ ุคคลภายนอก พรรคประชาชนปฏวิ ตั เิ ปน็ พรรคคอมมวิ นสิ ตท์ จี่ ดั ตงั้ รฐั บาลในสปป.ลาว มีก�ำเนิดจากพรรคคอมมิวนิสต์อนิ โดจีนท่ีเร่มิ ก่อตั้งเมื่อ พ.ศ. 2473 จน สลายตวั ไปใน พ.ศ. 2494  เพอื่ เปน็ เงอ่ื นไขให้ 3 ประเทศอินโดจนี มีพรรค เปน็ ของตนเอง  พรรคได้กอ่ ตงั้ เมอ่ื วันท่ ี 22  มีนาคม  พ.ศ. 2498  ใช้ ชอ่ื วา่  “พรรคประชาชนลาว” โดยเปน็ องคก์ ารแกนน�ำของแนวลาวฮกั ซาด และขบวนการประเทศลาว  พรรคประชาชนลาวไดเ้ ปลี่ยนช่ือเปน็ 62

พรรคประชาชนปฏวิ ตั ลิ าวในเดอื นมนี าคม พ.ศ. 2515 หลงั จากประกาศ ต้ังสาธารณรัฐประชาธิปไตยประชาชนลาว เมื่อวันที่ 2 ธันวาคม พ.ศ. 2518 แล้ว เลขาธกิ ารพรรคทา่ นแรก คอื นายไกสอน พมวิหาร ทดี่ �ำรง ต�ำแหน่งตั้งแต่ พ.ศ. 2498 จนถึงแก่อสัญกรรมเมื่อ พ.ศ. 2535 กอง ประชุมพรรคจงึ ไดเ้ ลือก ท่านค�ำไต สีพันดอน เป็นประธานพรรค ด�ำรง ต�ำแหนง่ ต้งั แต่ พ.ศ. 2535-2549 จนกองประชุมใหญ่ครั้งท่ี 8 ของพรรค ได้เลอื กตั้งให้ พลโทจมู มะลี ไซยะสอน เปน็ เลขาธกิ ารคณะบรหิ ารงาน ศูนย์กลางพรรคประชาชนปฏิวัติลาว และเป็นประธานประเทศ คนปัจจุบนั เมื่อเร่ิมมีการสถาปนารัฐสังคมนิยมหรือการรวมชาติขึ้นในสปป.ลาว พรรคประชาชนปฏิวัติลาวถือเป็นสถาบันการเมืองเพียงหนึ่งเดียวที่มี อ�ำนาจสูงสุดอย่างแท้จริง แม้ตัวบทของรัฐธรรมนูญแห่งสปป.ลาว ในมาตรา 2-4 ได้บัญญัติถึงที่มาของอ�ำนาจอธิปไตยสิทธิของการเป็น เจ้าของประเทศว่าเป็นของประชาชน โดยประชาชน และเพื่อผล ประโยชน์ของประชาชน และถึงแม้จะเป็นผู้ก่อต้ังองค์การตัวแทนแห่ง สิทธิอ�ำนาจและผลประโยชน์ของตนท่ีมีช่ือว่าสภาแห่งชาติก็ตาม แต่ใน ความเปน็ จรงิ แลว้ พรรคกค็ อื สถาบนั การเมอื งเดยี วทมี่ อี �ำนาจเดด็ ขาดทงั้ ในทางปฏบิ ตั แิ ละทางกฎหมาย ทรี่ ฐั ธรรมนญู ก�ำหนดใหพ้ รรคประชาชน ปฏิวัติลาวเป็นแกนน�ำในการด�ำเนินงานทางระบบการเมือง นอกจากน้ี บทบาททางการเมอื งของพรรคประชาชนปฏวิ ตั ลิ าวทม่ี เี สน้ แบง่ ระหวา่ ง พรรคกับรัฐบาลไม่ชัดเจน ท�ำให้การบริหารประเทศต้องเป็นไปตามมติ หรือความเห็นชอบจากพรรค โดยมีศูนย์กลางพรรค (Politburo) ซึ่งมี อ�ำนาจตดั สนิ ใจสงู สดุ และอทิ ธพิ ลของศนู ยก์ ลางพรรคไดเ้ ปน็ สว่ นส�ำคญั ระบบบริหารราชการของสาธารณรฐั ประชาธปิ ไตยประชาชนลาว 63

ทีม่ าภ:ากพรทมี่อ1า0เซกียานรปกรระะทชรุมวขงอตงา่ สงปภราะแเหทง่ ศช,าพต.ลิศา. ว2556 ในการปกครองทุกระดับ เม่ือพรรคได้จัดต้ังคณะกรรมการและสาขา ซ่งึ มสี มาชกิ ขยายไปทัว่ ประเทศ องคก์ ารการปกครองสว่ นกลาง [8] การปกครองของสปป.ลาว ในสว่ นทเี่ ปน็ โครงสรา้ งทางการเมอื งหลกั หรอื การปกครองสว่ นกลางนน้ั ประกอบไปดว้ ยสถาบนั หรอื องคก์ ารหลกั ดงั ต่อไปน้ี • ฝา่ ยบริหาร ฝา่ ยบรหิ ารของสสป.ลาว ถอื วา่ มอี �ำนาจมาก ตง้ั แตก่ ารเรมิ่ รบั ต�ำแหนง่ ดว้ ยบคุ คลทก่ี า้ วขนึ้ มารบั หนา้ ทป่ี ระธานประเทศกด็ ี หรอื นายกรฐั มนตรี กด็ ี ตา่ งมาจากการเปน็ ผนู้ �ำพรรคปฎวิ ตั ปิ ระชาชนลาวทง้ั สน้ิ ในสว่ นของ รัฐธรรมนูญสปป.ลาว ก็ใหค้ วามส�ำคญั ตามต�ำแหนง่ ดังน้ี 1. ประธานประเทศ (President of the Republic) รัฐธรรมนูญ พ.ศ. 2534 ได้มีการก�ำหนดบทบัญญัติไว้อย่างชัดเจน มาก ว่าประธานประเทศมีฐานะเป็นประมุขของรัฐ และเป็นหัวหน้า ฝา่ ยบรหิ าร มวี าระด�ำรงต�ำแหนง่ 5 ปี จากการลงมติไมต่ ่ำ� กว่าจ�ำนวน 2 64

ใน 3 ของสมาชิกสภาแห่งชาติทเ่ี ข้าประชุมท้งั หมด นอกจากน้สี ภาแหง่ ชาตอิ าจเลือกรองประธานประเทศ เพื่อท�ำหน้าที่แทนประธานประเทศ ได้เมื่อมีเหตุจ�ำเป็น โดยใช้การลงมติด้วยคะแนนไม่ต่�ำกว่ากึ่งหนึ่งของ จ�ำนวนสมาชิกสภาแห่งชาติทเ่ี ขา้ รว่ มประชมุ สว่ นอ�ำนาจหนา้ ทข่ี องประธานประเทศมดี งั นี้ • การประกาศใช้รัฐธรรมนูญและกฎหมายท่ีสภาแห่งชาติให้การ รับรองการออกรฐั ด�ำลัดหรือค�ำสั่ง • แต่งต้ัง ถอดถอนนายกรัฐมนตรีและสมาชิกในรัฐบาลตามความ เห็นชอบของสภาแหง่ ชาติ โยกย้าย หรอื ปลดต�ำแหนง่ ผ้นู �ำขององคก์ าร ปกครองส่วนทอ้ งถน่ิ อาทิ เจา้ แขวง เจา้ ครองก�ำแพงนคร หรือเจา้ ครอง นครหลวง 2. คณะรัฐบาล (Government) นายกรฐั มนตรใี นฐานะหวั หนา้ รฐั บาลจะไดร้ บั การแตง่ ตง้ั จากประธาน ประเทศ โดยการรับรองของสภาแหง่ ชาติ จะมีวาระการปฏบิ ัตงิ าน 5 ปี โดยมีหน้าท่ีช้ีน�ำและอ�ำนวยการปฏิบัติงานของรัฐบาล รวมถึงเป็น ผู้แต่งตั้งรองนายกรัฐมนตรี รองประธานคณะกรรมการเทียบเท่า กระทรวง รองเจา้ แขวง และรองเจ้าครองนครหลวง ตลอดจนเจา้ เมือง อ�ำนาจในการตัดสินใจและดูแลกิจการของกระทรวงต่างๆ เป็นของ นายกรฐั มนตรี และรฐั มนตรีประจ�ำกระทรวง [16] • ฝ่ายนิตบิ ัญญตั ิ ฝา่ ยนติ บิ ญั ญตั ขิ องสปป.ลาวตาม “รฐั ธรรมนญู ” ถอื วา่ เปน็ กฎหมาย พน้ื ฐานแหง่ รฐั ในการดําเนนิ งานของสภาแหง่ ชาติ ปฏบิ ตั ติ าม “กฎหมาย วา่ ดว้ ยสภาแหง่ ชาติ” และการเลือกตง้ั สมาชิกสภาแห่งชาติ ปฏบิ ัตติ าม ระบบบริหารราชการของสาธารณรัฐประชาธปิ ไตยประชาชนลาว 65

“กฎหมายว่าดว้ ยการเลือกตั้งสมาชิกสภาแห่งชาติ” สภาแหง่ ชาติ (The National Assembly) จงึ เปน็ องคก์ ารนติ บิ ญั ญตั ิ ถือเป็นองค์การตัวแทนของประชาชน ซึ่งเป็นองค์การตัวแทนแห่งสิทธิ อํานาจ และผลประโยชนข์ องประชาชน เปน็ องคก์ ารอํานาจแหง่ รฐั และ เป็นองค์การนิติบัญญัติที่มีสิทธิพิจารณาข้อตัดสินหรือปัญหาสําคัญ ของชาติ รวมท้ังติดตาม ตรวจสอบการดําเนินงานของคณะรัฐบาล ศาลประชาชน และองค์การอัยการประชาชน สภาแห่งชาติชุดที่ 6 แห่งสาธารณรัฐประชาธิปไตยประชาชนลาว มสี มาชิกจํานวน 115 คน เปน็ สตรี 39 คน จากการเลือกต้งั เมือ่ วันท่ี 30 เมษายน พ.ศ. 2549 สังกดั พรรคประชาชนปฏวิ ัตลิ าว 113 คน สมาชกิ อสิ ระ (มิได้สังกดั พรรคการเมืองใด) 2 คน โดยคณะกรรมาธกิ ารทง้ั หมด 6 คณะ ประกอบดว้ ย • คณะกรรมาธิการกฎหมาย • คณะกรรมาธิการเศรษฐกจิ แผนงาน และการเงนิ • คณะกรรมาธิการวฒั นธรรมและสงั คม • คณะกรรมาธิการกิจการชนเผา่ • คณะกรรมาธกิ ารปอ้ งกนั ชาตแิ ละป้องกันความสงบ • คณะกรรมาธกิ ารตา่ งประเทศ นอกจากนี้ สทิ ธแิ ละหนา้ ทีข่ องสภาแห่งชาตติ ามรัฐธรรมนูญ มดี ังนี้ • พิจารณารับรอง หรือแกไ้ ขรฐั ธรรมนญู • พจิ ารณารับรอง แกไ้ ข หรือยกเลิกกฎหมาย • พิจารณารบั รอง กําหนด แก้ไข หรือยกเลิกภาษีและส่วยอากร • พจิ ารณารับรองแผนยุทธศาสตร์แห่งการพฒั นาเศรษฐกิจและ สังคม (แผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งรัฐ) และแผน งบประมาณแหง่ รัฐ 66

• แตง่ ตัง้ หรือถอดถอนประธานประเทศ และรองประธานประเทศ ตามการเสนอของคณะประจําสภาแห่งชาติ • พิจารณารับรองการเสนอแต่งต้งั หรอื ถอดถอนสมาชกิ คณะ รัฐบาล (นายกรฐั มนตรี รฐั มนตรรี ฐั มนตรชี ่วย หวั หนา้ องค์การ เทียบเท่ากระทรวง เจา้ แขวง และเจา้ ผูค้ รองนคร) ตามการเสนอ ของประธานประเทศ • แตง่ ตงั้ หรือถอดถอนประธานศาลประชาชนสูงสด และอัยการ ประชาชนสูงสดุ ตามการเสนอของประธานประเทศ ฯลฯ แม้สภาแห่งชาติจัดตั้งและดําเนินงานตามหลักการประชาธิปไตย ประชาชนแบบรวมศูนย์อํานาจ สภาแห่งชาติดําเนินงานตามระเบียบ การประชุม และพิจารณาข้อตัดสิน หรือ “บันหา” หรือญัตติตาม หลักการเสยี งขา้ งมาก (Majority Vote) • ฝ่ายตุลาการ ในส่วนของโครงสร้างการปกครองฝ่ายตุลาการของสปป.ลาว ได้จัด โครงสรา้ งสว่ นตุลาการ โดยแบ่งออกเปน็ 2 องค์การ ไดแ้ ก่ • ศาลประชาชน (People’s Courts) โดยแบง่ ออกเปน็ 5 ประเภท ได้แก่ ศาลประชาชนสูงสุด ซึ่งเทียบได้กับศาลฎีกาของไทย ส่วนศาล ระดับอื่นๆ คือ ศาลประชาชนแขวง ศาลก�ำแพงนครหรือนครหลวง เวียงจันทน์ในปัจจุบัน ศาลประชาชนเมือง ซึ่งถือเป็นศาลช้ันต้นและ ศาลทหาร ในดา้ นทม่ี าของตลุ าการนนั้ ประธานของศาลประชาชนสงู สดุ ได้รับการแต่งตั้งโดยสภาแห่งชาติตามการเสนอแนะของคณะกรรมการ ประจ�ำของสภาแห่งชาติ ส่วนรองประธานศาลประชาชนสูงสุดและ ระบบบรหิ ารราชการของสาธารณรัฐประชาธิปไตยประชาชนลาว 67

ภาพท่ี 11 รัฐทธ่ีมราร:มนhญูttสpม:/ยั/wก่อwนwเ.ปuลnย่ี.iนntแ/ปlaลoงการปกครอง ผู้พิพากษาของศาลประชาชนทุกระดับมาจากการแต่งตั้งโดยคณะ กรรมการประจ�ำสภาแห่งชาติ • องค์การอัยการประชาชน เป็นโครงสร้างคู่ขนานกับศาล ประชาชน ประกอบดว้ ย องคก์ ารอธอิ ยั การประชาชนเทยี บไดก้ บั อยั การ สงู สดุ ของไทย องคก์ ารอยั การประชาชนแขวง องคก์ ารอยั การประชาชน นครหลวง องคก์ ารอยั การประชาชนเมอื ง และองคก์ ารอยั การทหาร โดย ต�ำแหน่งอธิอัยการประชาชนมีหน้าท่ีดูแลการปฏิบัติงานขององค์การ อยั การทงั้ หมด มาจากการแตง่ ตงั้ โดยสภาแหง่ ชาตติ ามการเสนอแนะของ คณะกรรมการประจ�ำสภาแหง่ ชาติ สว่ นรองอธอิ ัยการประชาชนแตง่ ตงั้ โดยคณะกรรมการประจ�ำสภาแหง่ ชาติ สว่ นอยั การและรองอยั การตา่ งๆ รวมทั้งอัยการทหารจะได้รบั การแตง่ ต้งั หรือถอดถอนโดยอธิอยั การ [17] 68

2 วสิ ยั ทัศน์ เป้าหมาย และยทุ ธศาสตร์ ระบบบริหารราชการของสาธารณรฐั ประชาธิปไตยประชาชนลาว 69

2.1 วสิ ัยทศั น์ สปป.ลาว ต้องเป็นประเทศที่มีความเจริญก้าวหน้าอย่างมั่นคง จะ นำ� พาประชาชนหลดุ พน้ จากความยากจนภายในปี พ.ศ. 2558 พรอ้ มทงั้ พฒั นาประเทศให้พน้ จากการเป็นประเทศก�ำลังพฒั นาในปี พ.ศ. 2563 โดยอาศัยการพัฒนาเพ่อื เปน็ แบตเตอรข่ี องเอเชยี (“Battery of Asia”) ภายใน พ.ศ. 2573 2.2 เปา้ หมาย เป้าหมายหลักของสปป.ลาว คือ ต้องการขจัดความยากจน สร้าง คุณภาพชีวิตท่ีดีให้แก่ประชาชน และการหลุดพ้นจากการเป็นประเทศ พัฒนาน้อยที่สุดภายในปี พ.ศ. 2563 ซ่ึงการจะหลุดพ้นจากการเป็น ประเทศทพ่ี ฒั นานอ้ ยทสี่ ดุ นนั้ มสี ามเรอื่ งใหญๆ่ ทส่ี ปป.ลาว จะตอ้ งทำ� ให้ ได้คอื 2.2.1 แกไ้ ขความอ่อนแอดา้ นทรพั ยากรมนษุ ย์ 2.2.2 แก้ไขความออ่ นแอทางเศรษฐกิจ 2.2.3 การทำ� ใหร้ ายไดเ้ ฉลย่ี สามปขี องประชาชนทง้ั สปป.ลาว มากกวา่ 1,086 ดอลลารส์ หรัฐ หรือคดิ เป็นเงินไทยจำ� นวน 35,838 บาท ถ้าใช้ อตั ราแลกเปลีย่ นท่ี 33 บาท ต่อ 1 ดอลลาร์สหรฐั 70

2.3 ยุทธศาสตร ์ ปัจจุบันสปป.ลาว อยู่ภายใต้แผนการพัฒนาเศรษฐกิจและสังคม แหง่ ชาตฉิ บับท่ี 7 (พ.ศ. 2554-2558) การดำ� เนินการพฒั นาเศรษฐกจิ และสังคมตามยุทธศาสตร์ เพ่ือน�ำสปป.ลาว ไปสู่การพัฒนาและเปลี่ยน ประเทศเข้าสู่สังคมอุตสาหกรรมที่ทันสมัยจากประเทศท่ีด้อยพัฒนา (Least Developed Country: LDC) ให้สำ� เรจ็ ภายใน พ.ศ. 2563 และ สร้างโอกาสในการเสริมสร้างภูมิภาคและความร่วมมือระหว่างประเทศ ซึ่งแผน 5 ปีน้ีเป็นส่วนหนึ่งของเป้าหมายระยะยาวของประเทศที่จะใช้ นโยบายการพัฒนาประเทศให้บรรลุการเติบโตทางเศรษฐกิจอย่างน้อย รอ้ ยละ 8 ตอ่ ปี เพอ่ื ลดความยากจนใหบ้ รรลเุ ปา้ หมายการพฒั นาภายใน พ.ศ. 2558 และเรง่ สรา้ งโครงสรา้ งพนื้ ฐานเพอ่ื รองรบั อตั ราการขยายตวั ด้านเศรษฐกิจท้ังการค้า การลงทุน การบริการ และการท่องเที่ยว จากต่างชาติที่จะเข้ามาลงทุนในประเทศสปป.ลาว ท้ังในระดับภูมิภาค และระดับโลก แผนพฒั นาเศรษฐกจิ และสงั คมแหง่ ชาตฉิ บบั ที่ 7 ของสปป.ลาว (พ.ศ. 2554-2558) เป็นพิมพ์เขียวส�ำคัญท่ีเป็นตัวก�ำหนดแนวทางการพัฒนา ประเทศและเป้าหมายการพัฒนาต่างๆ สามารถสรุปเป้าหมายท่ีส�ำคัญ ของแผนฯ ไดด้ งั นี้ 1) การขยายตัวทางเศรษฐกิจในอัตราเฉล่ียร้อยละ 8 ต่อปี และ รายไดต้ อ่ หวั ของประชากรอยู่ทร่ี ะดับ 1,700 ดอลลารส์ หรัฐตอ่ คนต่อปี ในปี พ.ศ. 2558 ระบบบรหิ ารราชการของสาธารณรฐั ประชาธปิ ไตยประชาชนลาว 71

2) บรรลุเปา้ หมาย Millennium Development Goals (MDGs) ในปี พ.ศ. 2558 และพัฒนาประเทศเพื่อให้พ้นจากสภาพประเทศ ที่พฒั นาน้อยท่ีสดุ (LDC) ในปี พ.ศ. 2563 3) มุ่งการพัฒนาเศรษฐกิจอย่างยั่งยืนควบคู่ไปกับความก้าวหน้า ทางสงั คมและวฒั นธรรม การอนรุ กั ษท์ รพั ยากรธรรมชาตแิ ละสงิ่ แวดลอ้ ม 4) รักษาเสถียรภาพทางการเมือง เพือ่ ใหเ้ กิดความสันติและความ สงบเรยี บรอ้ ยในสงั คม 72

3 ประวัตคิ วามเป็นมาของระบบราชการ ระบบบริหารราชการของสาธารณรฐั ประชาธิปไตยประชาชนลาว 73

3.1 ลาวภายใตก้ ารปกครองของฝรัง่ เศส พุทธศตวรรษท่ี 24 ตอ่ ชว่ งตน้ พุทธศตวรรษท่ี 25 ประเทศฝร่ังเศส เริ่มให้ความสนใจท่ีจะขยายอ�ำนาจเข้ามาสู่ดินแดนในแถบลุ่มแม่น�้ำโขง เพอื่ หาทางเขา้ ถงึ ดนิ แดนตอนใตข้ องจนี ในการเปดิ ตลาดการคา้ แหง่ ใหม่ แข่งกับอังกฤษ ซึ่งสามารถยึดพม่าได้ก่อนหน้านั้นแล้ว โดยฝร่ังเศสเริ่ม จากการยึดครองแคว้นโคชินจีนหรือเวียดนามใต้ก่อนในปี พ.ศ. 2402 และรุกคืบเข้ามาสู่ดินแดนเขมรส่วนนอก ซ่ึงไทยปกครองในฐานะ ประเทศราชในปี พ.ศ. 2406 (ไทยตกลงยอมสละอ�ำนาจเหนือเขมร สว่ นนอกอยา่ งเป็นทางการในปี พ.ศ. 2410) จากน้นั จึงไดข้ ยายดินแดน ในเวยี ดนามตอ่ จนกระท่ังสามารถยดึ เวียดนามได้ทั้งประเทศในปี พ.ศ. 2426 พรมแดนของสยามทางดา้ นประเทศราชลาวจงึ ประชดิ กบั ดนิ แดน อาณานิคมของฝร่ังเศสอยา่ งหลีกเล่ียงไมไ่ ด้ [4] ในปี พ.ศ. 2428 ประเทศจีนได้เกิดเหตุการณ์กบฏไท่ผิงต่อต้าน ราชวงศ์ชิง กองก�ำลังกบฏชาวจีนฮ่อที่แตกพ่ายได้ถอยร่นมาตั้งก�ำลัง ซ่องสุมผคู้ นอยใู่ นแถบมณฑลยูนนานของจนี ดินแดนสบิ สองจุไทย และ ตามแนวชายแดนประเทศราชลาวตอนเหนอื กองกำ� ลงั จนี ฮอ่ ไดม้ ารกุ ราน ลาวและตีเมืองต่างๆ ไล่จากทางตอนเหนือลงมาถึงนครเวียงจันทน์ ตอนใต้ของไทย (หรือสยามในเวลานั้น) จึงร่วมกับฝรั่งเศสปราบฮ่อจน ส�ำเร็จ โดยทั้งสองฝ่ายไล่ตีกองก�ำลังจีนฮ่อจากอาณาเขตของแต่ละฝ่าย ใหม้ าบรรจบกนั ทเ่ี มอื งแถง (เดยี นเบยี นฟใู นปจั จบุ นั ) แตก่ เ็ กดิ ปญั หาใหม่ คือ ฝ่ายฝร่ังเศสฉวยโอกาสอ้างสิทธิปกครองเมืองแถงและสิบสองจุไทย โดยไมย่ อมถอนกำ� ลงั ทหารออกจากเมอื งแถง เพราะอา้ งวา่ เมอื งนเี้ คยสง่ ส่วยให้เวยี ดนามมาก่อน 74

ปัญหาดังกล่าวนี้มีท่ีมาจากภาวะการเป็นเมืองสองฝ่ายฟ้า ซึ่งจะ ส่งส่วยให้แก่รัฐใหญ่ทุกรัฐที่มีอิทธิพลเหนือตนเองเพ่ือความอยู่รอด ดนิ แดนลาวทง้ั หมดกเ็ ปลย่ี นไปตกอยภู่ ายใตอ้ ทิ ธพิ ลของประเทศฝรง่ั เศส จากการใช้เลห่ เ์ หลีย่ มของโอกุสต์ ปาวี กงสลุ ฝร่งั เศส โดยการใช้เรือรบ มาปิดอ่าวไทยเพ่ือบังคับให้ยกดินแดนฝั่งซ้ายแม่น�้ำโขง รวมท้ังดินแดน อน่ื ๆ โดยลาวถูกรวมเข้าเป็นอนิ โดจีนของฝรง่ั เศสเมื่อปี พ.ศ. 2436 ภาพทป่ี ัจ1จ2ุบพนั รเปะร็นาพชิพวิธงั ภหณัลวฑงส์ ถเมาอืนงแหหล่งวชงาตพิรสะปบปา.งลา(ว2447) ในชว่ งสงครามโลกครงั้ ท่ี 2  กองทพั ญปี่ นุ่ ไดร้ กุ เขา้ มาในดนิ แดนลาว กมั พชู า  และเวยี ดนาม  เมอื่ ญปี่ นุ่ ใกลแ้ พส้ งคราม  ขบวนการลาวอสิ ระ ซง่ึ เคลอ่ื นไหวทางการเมอื งเพอื่ กเู้ อกราชลาวในเวลานนั้ ประกาศเอกราช ให้ประเทศลาวเป็นประเทศราชอาณาจักรลาว หลังญ่ีปุ่นแพ้สงคราม ฝรั่งเศสก็กลับเข้ามามีอ�ำนาจในอินโดจีนอีกคร้ังหน่ึง ฝร่ังเศสปกครอง ลาวแตล่ ะแขวง โดยมชี าวฝรงั่ เศสเปน็ เจา้ แขวงหรอื ขา้ หลวงคอยควบคมุ ระบบบรหิ ารราชการของสาธารณรัฐประชาธปิ ไตยประชาชนลาว 75

เจ้าเมืองทเ่ี ปน็ ชาวลาวอกี ต่อหนงึ่ ซงึ่ ตอ้ งเก็บสว่ ยตัวเลขจากชายฉกรรจ์ ใหข้ า้ หลวงฝรงั่ เศส ตลอดเวลาทลี่ าวตกเปน็ เมอื งขนึ้ นน้ั ฝรง่ั เศสไมร่ กั ษา โบราณสถานและโบราณวัตถุ โดยรื้อสร้างเป็นถนนและไม่ได้สนใจต่อ ประเทศลาวเทา่ ไรนกั เพราะถอื วา่ เปน็ ดนิ แดนบา้ นปา่ ลา้ หลงั ไมม่ คี า่ ใน เชิงเศรษฐกิจ ภาพท่ี 13 ภมู ทิ ศั นข์ องเมืองหลวงพระบาง ตอ่ มาในสงครามโลกครง้ั ที่ 2 เยอรมนั มชี ยั ชนะเหนอื ประเทศฝรงั่ เศส และก่อต้ังคณะรัฐบาลขึ้นที่เมืองวิซี คณะข้าหลวงฝร่ังเศสในอินโดจีน ใหก้ ารหนนุ หลงั รฐั บาลวซิ ี และตกลงเปน็ พนั ธมติ รกบั ญปี่ นุ่ ครนั้ ถงึ ปี พ.ศ. 2484 รฐั บาลไทยภายใต้การน�ำของพลตรีหลวงพิบลู สงครามเร่ิมดำ� เนนิ การต่อต้านอ�ำนาจของฝรั่งเศสท่ีเร่ิมเสื่อมถอย ด้วยการยึดแขวงไชยบุรี และจ�ำปาศักด์ิกลับคืนมา ญ่ีปุ่นยุให้ลาวประกาศเอกราช แต่กองทัพ 76

ฝรง่ั เศสกย็ อ้ นกลบั คนื มาอกี ครง้ั หลงั สงครามยตุ ไิ ดไ้ มน่ าน  ลาวหนั มา ปกครองระบอบสมบรู ณาญาสทิ ธริ าช โดยมรี ฐั ธรรมนญู เปน็ กฎหมายสงู สดุ ภายใตก้ ารควบคุมดแู ลของฝรง่ั เศส ภาพท่ี 14 ประตูชยั ของประเทศลาว พ.ศ. 2492 สหรัฐอเมริกาและสหราชอาณาจักรฯ ได้ล้มขบวนการ ลาวอิสระจนล่มสลาย และแนวรักร่วมชาติได้พัฒนาเป็นขบวนการ คอมมิวนิสต์ประเทศลาวในเวลาต่อมา โดยได้รับการสนับสนุนจาก โฮจมิ นิ ห์และพรรคคอมมิวนิสตข์ องเวยี ดนาม พ.ศ. 2495 ลาวในหัวเมืองด้านตะวันออกเฉียงเหนือเริ่มก่อการ จลาจลตอ่ ตา้ นการปกครองของฝรั่งเศสภายใต้การสนับสนนุ จากรฐั บาล กรุงฮานอย เมื่อฝรั่งเศสแพ้สงครามท่ีค่ายเดียนเบียนฟู ลาวจึงได้รับ เอกราชอย่างสมบูรณ์ ฝร่ังเศสถอนก�ำลังออกจากประเทศลาว ซึ่ง แตกแยกออกเป็น 2 ฝ่าย คือ ฝ่ายสนับสนุนระบบกษัตริย์ในนคร เวยี งจันทน์ (ฝา่ ยขวา) และฝ่ายขบวนการประเทศลาว (ฝา่ ยซา้ ย) ระบบบริหารราชการของสาธารณรัฐประชาธปิ ไตยประชาชนลาว 77

3.2 ลาวยคุ สาธารณรฐั ประชาธิปไตยประชาชนลาว ภาพที่ 15 เจา้ สภุ านุวงศ์ ประธานประเทศคนแรก แหง่ สปป.ลาว ในระยะหลังทศวรรษ 1980 สภาพการปกครองและการบรหิ ารด้าน เศรษฐกิจของสปป.ลาวเร่ิมผ่อนคลายมากข้ึน ต่อมาเม่ือเจ้าสุภานุวงศ์ สละต�ำแหน่งจากประธานประเทศ ผดู้ ำ� รงตำ� แหนง่ ต่อมาคือท่านไกสอน พมวหิ าน ซงึ่ เปน็ ประธานประเทศผมู้ คี วามเชอื่ มน่ั ในระบอบการปกครอง แบบคอมมิวนสิ ต์ หลังจากการอสัญกรรมของท่านไกสอน พมวหิ าน ในปี พ.ศ. 2535 ทา่ นหนฮู กั  พมู สะหวนั  ขนึ้ ดำ� รงตำ� แหนง่ แทน และไดม้ นี โยบาย ลดหยอ่ นการจำ� กดั เสรภี าพของชาวสปป.ลาว จงึ เปน็ ผลใหช้ าวสปป.ลาว ทอี่ พยพไปอยตู่ า่ งประเทศไดร้ บั การเชญิ ชวนใหก้ ลบั คนื สบู่ า้ นเกดิ เมอื งนอน สปป.ลาวเร่ิมเปิดประเทศและฟื้นฟูความสัมพันธ์กับประเทศไทย และ เม่อื ทา่ นไกสอนถึงแก่กรรมกระทันหนั ท่านหนฮู ัก พมู สะหวัน กไ็ ดด้ ำ� รง ต�ำแหน่งประธานประเทศต่อมา ยุคนี้สปป.ลาว กับไทยเปิดสะพาน 78

มิตรภาพไทย-ลาว ในปี พ.ศ. 2538 ต่อมาท่านหนูฮักสละต�ำแหน่ง ทา่ นคำ� ไต สีพันดอน รับด�ำรงต�ำแหนง่ ประธานประเทศต่อจนถึงปี พ.ศ. 2549 ท่านค�ำไตลงจากต�ำแหน่ง ท่านจูมมะลี ไซยะสอน จึงเป็นผู้รับ ตำ� แหน่งประธานประเทศสปป.ลาว คนปจั จบุ ัน [4] 3.2.1  หหลลังกั กกาารรเปพลฒั ีย่ นนาแขปอลงงรกะบารบปรกาคชรกอางร หลังจากการเปลี่ยนแปลงการปกครองจากระบอบราชาธิปไตยและ สถาปนาสาธารณรฐั ประชาธปิ ไตยประชาชนลาวแลว้ สปป.ลาว ไดม้ กี าร ปรับปรุงกลยุทธ์การพัฒนาประเทศตามหลักการพัฒนาระบบราชการ 5 ปี (ค.ศ.1998-2002) โดยมีหลกั การปรบั ปรงุ ดงั นี้ ● ด�ำเนินการปรับเปลี่ยนโครงสร้างอัตราเงินเดือนข้าราชการลาว ให้สอดคล้องกับระบบเศรษฐกิจที่เปล่ียนแปลงตามนโยบายของรัฐบาล ใหม่ โดยเฉพาะปรับอัตราเงินเดือนของข้าราชการสตรีให้มีต�ำแหน่ง ในราชการทเี่ หมาะสมกบั คณุ วฒุ ิ พรอ้ มทง้ั ไดร้ บั อตั ราเงนิ เดอื นทเี่ ทา่ เทยี ม กบั ขา้ ราชการชาย ● ปรับเปลี่ยนวิสัยทัศน์และกลยุทธ์ในการบริหารข้าราชการ โดย ตงั้ สถาบนั อบรมและพฒั นาคณุ ภาพขา้ ราชการตามพน้ื ทต่ี า่ งๆ ในประเทศ เพอื่ อบรมขา้ ราชการใหม้ คี วามทนั สมยั และเปน็ ไปตามตามแนวนโยบาย เดียวกนั จากส่วนกลาง ● แต่งตั้งคณะกรรมการร่างกฎหมายใหม่ส�ำหรับใช้ในการบริหาร และพัฒนาคุณภาพของข้าราชการ พร้อมท้ังตั้งองค์กรกลางในการ ระบบบริหารราชการของสาธารณรัฐประชาธปิ ไตยประชาชนลาว 79

80

ประสานงานระหวา่ งภาครฐั กบั ประชาชน เพื่อให้กฎหมายท่รี า่ งขน้ึ ใหม่ ใหม้ คี ุณภาพ และเปน็ ประโยชนส์ งู สุดในการพัฒนาประเทศ ● สนบั สนนุ โครงการดา้ นการสาธารณสขุ เพอ่ื ลดอตั ราการเสยี ชวี ติ ของขา้ ราชการ เนอ่ื งจากระบบสาธารณสขุ ท่ไี ม่ดีสง่ ผลท�ำใหข้ า้ ราชการ ท่ีมีคุณภาพมีอัตราการตายสูงกว่าปกติ เม่ือไปปฎิบัติหน้าที่ในพื้นที่ ห่างไกล ● เปดิ โอกาสใหช้ าวลาวทเี่ ปน็ ชนกลมุ่ นอ้ ยใหไ้ ดร้ บั โอกาสในการรบั ราชการเพ่ือให้เกิดความเท่าเทียมกัน พร้อมท้ังส่งเสริมด้านการศึกษา ให้กับชนกล่มุ น้อยใหม้ กี ารศึกษาทเ่ี ทา่ เทยี ม เพือ่ ความมคี ุณภาพในการ เข้ารบั ราชการตอ่ ไป ท้งั น้เี พ่ือเปน็ การขจัดปญั หาเรอ่ื งชนกลมุ่ น้อย ● พัฒนาด้านการสื่อสารในพื้นที่ห่างไกล โดยเฉพาะพัฒนาระบบ ไฟฟ้า และสัญญาณเคลื่อวิทยุเพ่ือกระจายความเจริญ และเพื่อให้ ประชาชนมีความเข้าใจต่อการเปล่ียนแปลงต่างๆ หลังจากการ เปล่ยี นแปลงการปกครอง ● พฒั นาศกั ยภาพของสภาแหง่ ชาติ โดยแตง่ ตง้ั คณะกรรมการใหม่ เพ่อื เป็นตัวแทนของสภาแหง่ ชาตใิ หเ้ ขา้ ไปรบั หน้าทใี่ นเขตพ้นื ท่ีชนบท ● รฐั บาลจะสนบั สนนุ โครงการวจิ ยั ในดา้ นตา่ งๆ  ทเี่ กย่ี วขอ้ งกบั การพัฒนาประเทศในทุกด้าน เพื่อใช้ในการปรับปรุงประเทศและปรับ คุณภาพของข้าราชการใหต้ รงจุดของปัญหา ● จัดสรรนโยบายทางการเงินและการคลังให้มีความเหมาะ เพื่อ ความโปร่งใสในการบริหารประเทศ พร้อมทั้งให้ความส�ำคัญในการ แจกแจงงบประมาณตา่ งๆต่อสาธารณชน ● ประสานงานขอความชว่ ยเหลอื ดา้ นเงินทนุ จากตา่ งประเทศ ระบบบริหารราชการของสาธารณรัฐประชาธิปไตยประชาชนลาว 81

3 . 2 .2 ขควอางมกาเสรีย่เปงลในีย่ กนาแรปพลัฒงกนาารใปนชกคว่ งรเอรง่ิมตน้ หลังจากการเปลี่ยนแปลงการปกครอง รัฐบาลใหม่เริ่มด�ำเนินการ พัฒนาระบบราชการสปป.ลาว ได้ประสบปญั หาดงั นี้ ● กรอบของกฎหมายทรี่ า่ งขนึ้ ใหมย่ งั ไมต่ อบสนองตอ่ ความเปน็ จรงิ ในสงั คม เนอื่ งจากประชาชนขาดความรคู้ วามเขา้ ใจในการปรบั ตวั ตอ่ การ เปลยี่ นแปลงในระบบตา่ งๆ ● เกิดปัญหาการคอร์รัปชั่นในการจัดเก็บภาษี ทำ� ให้รายได้ของรัฐ น้อยกว่าจ�ำนวนที่ต้ังเป้าหมายไว้ ท�ำให้ส่งผลกระทบต่องบประมาณ ในโครงการอืน่ ๆ โดยเฉพาะงบประมาณในการพัฒนาระบบราชการ ● ปัญหาการเข้ารับราชการ เน่ืองจากคุณสมบัติของข้าราชการ ต�่ำกว่าเกณฑ์ เน่ืองจากประชาชนขาดคุณสมบัติทางการศึกษาต่อ ต�ำแหนง่ ตา่ งๆ ● การขาดแหล่งเงินทุนในการพัฒนาจากต่างประเทศ เนื่องจาก ปญั หาของขา้ ราชการทข่ี าดความรคู้ วามสามารถทางภาษาในการเจรจา 82

4 ภาพรวมของระบบราชการ ระบบบริหารราชการของสาธารณรฐั ประชาธปิ ไตยประชาชนลาว 83

4.1 รัฐบาล นโยบายรัฐบาล และนโยบายการ เข้าสู่ประชาคมอาเซียน 4.1.1 นโยบายรัฐบาล พรรคประชาชนปฏิวัติลาวเป็นองค์การท่ีมีอ�ำนาจสูงสุด ผูกขาด การปกครองประเทศตามระบอบสังคมนิยมคอมมิวนิสต์ พรรคฯ ได้ กำ� หนดนโยบายและเปา้ หมายการพฒั นาประเทศในการประชมุ สมชั ชา- พรรคฯ คร้ังท่ี 8 เมอื่ เดือนมีนาคม พ.ศ 2549 ใหร้ ัฐบาลและหน่วยงาน ที่เก่ยี วขอ้ งยดึ ถือปฏบิ ตั ิ ดังน้ี ● ปี พ.ศ. 2563 ตอ้ งพ้นจากสถานการณ์เปน็ ประเทศทีพ่ ฒั นาน้อย ทสี่ ดุ ตอ้ งมคี วามมนั่ คงทางการเมอื ง เศรษฐกจิ ตอ้ งขยายตวั อยา่ งตอ่ เนอ่ื ง ประชาชนต้องมคี วามเป็นอยู่ท่ีดีขนึ้ จากปจั จุบัน 3 เทา่ ตัว ● ปี พ.ศ. 2549-2553 เป็นช่วงการเสริมสร้างพ้ืนฐานเพ่ือบรรลุ เปา้ หมายการพฒั นาประเทศทีก่ ำ� หนดไว้ส�ำหรับปี พ.ศ. 2563 เศรษฐกจิ ตอ้ งมกี ารขยายตวั อยา่ งตอ่ เนอ่ื งในอตั ราไมต่ ำ่� กวา่ รอ้ ยละ 7.5 ตอ่ ปี ยตุ กิ าร ตดั ไมท้ ำ� ลายปา่ เพอ่ื ทำ� ไรเ่ ลอ่ื นลอย แกไ้ ขปญั หาความยากจนใหห้ มดสนิ้ ไป เตรียมพัฒนาบุคลากรรองรับการเปลี่ยนแปลงไปสู่การเป็นประเทศ อตุ สาหกรรม ประชากรมรี ายได้เฉลยี่ มากกวา่ 1,086 ดอลลารส์ หรฐั ต่อปี สปป.ลาว ด�ำเนินนโยบายต่างประเทศที่มุ่งสร้างเสริมความสัมพันธ์ แบบรอบดา้ นกบั ทกุ ประเทศบนพนื้ ฐานของการอยรู่ ว่ มกนั อยา่ งสนั ติ โดย ไม่แบ่งแยกลัทธิและอุดมการณ์ เพื่อขอรับการสนับสนุนและความช่วย เหลอื ในการพฒั นาประเทศใหบ้ รรลเุ ปา้ หมายตามทพ่ี รรคฯ ไดก้ ำ� หนดไว้ 84

ทง้ั น ้ี สปป.ลาว ใหค้ วามสำ� คญั กบั ประเทศเพอ่ื นบา้ นเปน็ ลำ� ดบั แรก ไดแ้ ก่ เวยี ดนาม จนี พมา่ กมั พชู า และไทย รองลงมาเปน็ ประเทศรว่ มอดุ มการณ์ ได้แก่ รัสเซีย เกาหลีเหนือ และคิวบา อย่างไรก็ดี แม้ว่าสปป.ลาว  จะพยายามดำ� เนินความสัมพนั ธก์ บั ประเทศต่างๆ ให้สมดลุ เพ่อื ลดการ พ่ึงพาประเทศใดประเทศหนึ่งเป็นหลัก แต่ด้วยข้อจ�ำกัดของสปป.ลาว ท่ีไม่มีทางออกทะเล และระดับการพัฒนาทางเศรษฐกิจท่ีด้อยอยู่ ประกอบกบั ความใกลช้ ดิ ดา้ นอดุ มการณแ์ ละประวตั ศิ าสตรก์ ารตอ่ สเู้ พอื่ เอกราช ทำ� ใหส้ ปป.ลาวมคี วามสมั พนั ธพ์ เิ ศษกบั เวยี ดนามและจนี อนั เปน็ ผลใหป้ ระเทศทง้ั สองสามารถรกั ษาและขยายอทิ ธพิ ลในสปป.ลาว ได้ ต่อไป 4.1.2 สรุปนโยบายหลักเพื่อการเตรียมพรอ้ มของ AEC ภาอพยท่า่ีง1ไ6ม่เกปาน็ รทปารงะกชาุมรรคัฐรมัง้นทต่ี ร1เี8ศรวษนั ฐทกี่ จิ2อ5-า2เซ6ยี กนุม(ภAาEพMนั ธR์ e2t5r5e5at) นโยบายตา่ งๆ เหลา่ น้ี จะเปน็ นโยบายท่ีสปป.ลาวจะต้องด�ำเนนิ การ ให้เสร็จสิ้นภายใน พ.ศ. 2558 หรือก่อนการเปิดประเทศท่ีเป็นสมาชิก อาเซยี นเพอ่ื เข้าสูป่ ระชาคมเศรษฐกจิ อาเซียน ระบบบริหารราชการของสาธารณรฐั ประชาธปิ ไตยประชาชนลาว 85

● ก�ำจดั ปัญหาความยากจน ● จดั การแกไ้ ขปญั หาการศกึ ษาขน้ั พน้ื ฐานใหป้ ระชาชนมกี ารศกึ ษา ทีเ่ ท่าเทียมกนั ● สง่ เสรมิ สิทธสิ ตรตี ่างๆ เพ่ือให้เกดิ ความเสมอภาคในสตรี ● ลดอตั ราการตายของเดก็ • พฒั นาความรขู้ องมารดา เพื่อใชใ้ นการอบรมเลีย้ งดบู ุตร-ธดิ า ให้มีคุณภาพ ● ขจัดปญั หาโรครา้ ย เช่น โรคเอดส์ โรคมาลาเรยี เป็นตน้ ● ดำ� เนินการพัฒนาประเทศ พร้อมกบั ส่งเสรมิ สง่ิ แวดลอ้ ม ทางธรรมชาตอิ ย่างยั่งยืน ● พฒั นาความสมั พันธก์ ับประเทศต่างๆ เพือ่ เปน็ แรงสนบั สนนุ การพฒั นาประเทศของสปป.ลาว 4.2 จ�ำนวนและรายช่ือกระทรวงพร้อมท่ีอยู่ ภาพที่ 17 ทำ� เนียบทรีม่ ฐั าบ: าwลสwาwธ.าlaรณo-รoัฐnปliรnะeช.cาoธmิปไตยประชาชนลาว 86

4.2.1 รายช่ือกระทรวงและทอี่ ยู่ สปป.ลาว มีกระทรวงท่ที ำ� หนา้ ท่ีในการดูแลกจิ การต่างๆ ท้งั ภายใน และภายนอกประเทศทั้งหมด 18 กระทรวง ดงั น้ี รายช่อื กระทรวง ข้อมูลติดต่อ (MiniกsรtrะyทรoวfงNปa้อtงioกnนั aปlระDเeทfศence, ท่อี ย ู่ Phone Kheng Road, Laos PDR) Ban Phone Kheng, Sikhotabong, Vientiane โทรศัพท์ +856 (21) 911-017 เวบ็ ไซต ์ www.mod.gov.la ที่อย ู่ P.O. Box 7040, Nongbone Road, Ban Nongbone, Xaysettha, Vientiane กระทรวงปอ้ งกันความสงบ โโททรรสศาัพรท ์ ++885566 (21) 951-084 (Ministry of Public Security, Laos PDR) (21) 262-396 กระทรวงโยธาธกิ ารและการขนส่ง ท่อี ยู่ Dong Palane Road, (Ministry of Public Works and Ban Phonesinuon, Srisattanak, Vientiane Lao Transport, Laos PDR) P.D.R โทรศัพท์ +856 (21) 412-258 ระบบบริหารราชการของสาธารณรัฐประชาธปิ ไตยประชาชนลาว 87

รายช่อื กระทรวง ขอ้ มลู ตดิ ต่อ ทอ่ี ยู่ Luangprabang Road Vientiane 01001, Lao P.D.R โทรศัพท์ +856 (21) 218377, (MinisกtรryะทoรfวPงlแaผnนnกinารgแaลnะdกาIรnลvงeทsุนtment, 222690, 223002 Laos PDR) เโวท็บรไสซาตร์ w+8w5w6.i(n2v1e) s2t1la5o4s9.g1ov.la ท ่ีอย ู่ LHaantesaXdaynTgayA,vCehnaunet,hBaabnou ly , Vientiane โทรศัพท์ +856 (21) 216-013 (Miniกstรrะyทoรวf งEศdึกuษcาaธtกิioาnรแaลnะdกีฬSาports, โทรสาร +856 (21) 216-006 Laos PDR) อเวีเ็บมไลซ ต ์ www.moe.gov.la [email protected] กระทรวงสาธารณสขุ ท ี่อ ย ู่ SBVSaiaisemnantstttiheaannantatekhchaLkaiaDorooisaPtrdDic,Rt (Ministry of LPauobsliPcDHRe)alth (MOH), โทรศพั ท ์ +856 (21) 214-000 โเวท็บรไสซาตร์ w+8w5w6.m(21o)h2.g1o4v0.l0a3 อเี มล [email protected] ทอี่ ยู่ Lane Xang Avenue, Ban Hatsady Tay, กร(ะMทiรnวiงsแtrถyลoงfขา่Inวfoวrฒั mนaธtรioรมn,แCลuะlกtาuรrทeอ่ aงnเทdยี่ ว Chanthabouly, Vientiane Tourism, Laos PDR) โโททรรสศาัพรท ์ ++885566 (21) 212-251 (21) 212 769 88

รายช่ือกระทรวง ขอ้ มลู ติดต่อ (MกiรnะiทstรrวyงoแรfงLงaาbนoแuลrะSสoวcสั iaดlิกาWรeสlังfคaมre, ทีอ่ ยู่ Pang Kham Road, Ban Sisa Laos PDR) ket, Chanthabouly, Vientiane โทรศพั ท์ +856 (21) 213-000 โทรสาร +856 (21) 213-287 (MinกรisะtทryรวoงfวSทิ cยiาeศnาcสeตaรn์แdละTเทeคchโนnโoลlยoี gy, ท่อี ยู่ P.O. Box: 2279, Nahaidyao Laos PDR) Street Vientiane, Lao PDR โทรศัพท ์ +856 21 213470-148 โเวท็บรไสซาตร์ w+8w5w6.m21o3st4.g7o2v.la อีเมล [email protected] ที่อยู่ Thatdam Road, Vientiane, Lao PDR โทรศัพท์ +856 (21) 260-981 กระทรวงทรัพยากรธรรมชาติ โเวทบ็ รไสซาตร์ +856 (21) 260-984 และสงิ่ แวดล้อม www.monre.gov.la อเี มล [email protected] (Ministry of Natural Resources and Environment , Laos PDR) ทีอ่ ยู่ Lane Xang Avenue, Ban Hatsady Tay, Chanthabouly, Vientiane, Lao PDR กระทรวงไปรษณยี ์ โทรคมนาคม โโททรรศสาพั รท ์ ++885566 (21) 218-897 และการสือ่ สาร (21) 285-257 (Ministry of Post, Telecommunication อเวเี ็บมไลซ ต ์ [email protected] and Communication, Laos PDR) ระบบบรหิ ารราชการของสาธารณรัฐประชาธปิ ไตยประชาชนลาว 89

รายชื่อกระทรวง ขอ้ มูลตดิ ต่อ ท ่อี ย ู่ LNabnaen Xang Avenue, Hatsady, Chanthabouly, Vientiane, Lao PDR กระทรวงยุติธรรม โทรศพั ท ์ +856 (21) 412-054 (Ministry of Justice, Laos PDR) โทรสาร +856 (21) 414-102 (TกhรeะทMรiวnงisกtสryกิ รoรfมAแgลriะcปuา่ltไuมr้ e ท ี่อ ย ู่ LBaanneHXaatsnagdAyvTeanyu, e, and Forestry, Laos PDR) Chanthabouly, Vientiane โทรศพั ท์ +856 (21) 412-342 โทรสาร +856 (21) 412-344 เว็บไซต ์ www.maf.gov.la อเี มล [email protected] (MiกnรisะtทryรวoงfพEลnังeงาrgนyแaลnะdบ่อMแiรn่ es, อ เ โโทว ททีเ อ่ี ็บม รรย ไสศล ู่ซ าพั ต ร ท ์ ์ RawH++Pd.o88PwOm55aO.wd66BinB.,om((@uX22x11eiaml1))dmy1sei44n6.em11g9gto33,4h.--vg,Na00o.G,lo04avrV04no.ligueabnnodtinaFenloe o r, Laos PDR) ทีอ่ ยู่ 23 Singha Road, Ban Phonxay, Vientiane โทรศพั ท์ +856 (21) 900-798 (MinistryกoรfะทFรinวaงnกาcรeเ,งLินaos PDR) เโวทบ็ รไสซาตร์ +856 (21) 900-798 www.mof.gov.la 90

รายช่ือกระทรวง ขอ้ มลู ติดต่อ กระทรวงอุตสาหกรรมและการค้า ท่ีอยู่ 104/4-5 Phonesay Road, (TheCoMminmisetrryceo,fLIanodsuPstDryR)and Ban Phonesay, Vientiane โทรศพั ท์ +856 (21) 911-342 โทรสาร +856 (21) 412-434 เอวเี ็บมไลซ ต ์ [email protected] (The MinกisรtะrทyรoวfงภHาoยmในe Affairs) ทอี่ ยู่ P.O. Box 2279 Ban Hatsady Tay, Chanthabouly, Vientiane โทรศัพท์ +856 (21) 412-545 เโวท็บรไสซาตร ์ w+8w5w6.m(21o)h4a1.g3o-v6.4la9 ระบบบริหารราชการของสาธารณรฐั ประชาธิปไตยประชาชนลาว 91

92

2002-034.3 จำ� นวนข้าราชการทว่ั ประเทศ พร้อมคณุ ลกั ษณะ 2003-04 หลกั หรอื คณุ ลกั ษณะหลกั ในการเขา้ สปู่ ระชาคม 2004-05 อาเซยี น 2005-06 2006-074.3.1 จ�ำนวนขา้ ราชการท่วั ประเทศ 2007-08 ตารางท่ี 5 กราฟแสดงจ�ำนวนข้าราชการระหว่างปี 2002-2008 115,000 110,000 105,000 100,000 95,000 90,000 85,000 80,000 ทมี่ า: PACSA (อ้างถงึ ใน World Bank, 2010 : 7) สปป.ลาว จัดเป็นประเทศขนาดเล็กท่ีมีประชากรรวมท้ังประเทศ จ�ำนวนประมาณ 6,000,000 คน โดยจ�ำนวนประชากรส่วนใหญ่ของ ประเทศจะประกอบอาชีพเกษตรกรรม ดังน้ันจึงท�ำให้จ�ำนวนของ ข้าราชการมีน้อยมาก หากเทียบกับความต้องการข้าราชการในการ พัฒนาประเทศ ท�ำให้รัฐบาลสปป.ลาว เร่งปฏิรูปแบบองค์รวมตั้งแต่ปี พ.ศ. 2533 โดยจำ� นวนของขา้ ราชการสปป.ลาวมดี งั นี้ [25] ระบบบริหารราชการของสาธารณรฐั ประชาธิปไตยประชาชนลาว 93

ท่ี 6 จำ� นวนขา้ ราชการสปป.ลาว ในรายงานธนาคารโลก G/Y 2539-2540 2545-2546 2546-2547 2548-2549 2549-2550 2550-2551 6 110 123 225 88 76 5 66 105 232 349 509 723 4 10,585 20,844 23,849 30,516 34,044 38,310 3 25,416 33,836 38,615 44,454 4,7388 49,697 2 28,666 24,647 24,139 21,263 20,024 18,557 1 5,691 11,775 4,893 3,077 2,673 1,996 รวม 70,534 91,330 91,953 99,659 104,726 109,359 ท่มี า: PACSA (2008 อ้างถงึ ใน World Bank, 2010 : 7) โดยท้ังนี้ระบบราชการของสปป.ลาว ได้แบ่งประเภทข้าราชการ ออกเปน็ 6 ระดบั ได้แก่ ขา้ ราชการระดบั 1 และ 2 จัดเปน็ เจา้ หน้าที่ ทวั่ ไป ข้าราชการระดบั 3 และ 4 จดั เป็นเจ้าหน้าทผ่ี มู้ ีความเช่ียวชาญ ข้าราชการระดบั 5 จัดเปน็ ผู้เชี่ยวชาญระดบั ผู้บริหาร/หัวหน้างาน และ ข้าราชการระดับ 6 จัดเป็นผู้บริหารระดับสูงในรัฐบาล เช่น รัฐมนตรี ว่าการกระทรวงต่างๆ หรือเป็นที่ปรึกษาอาวุโส และจากภาพ 4.3 จะแสดงให้เหน็ ถึงอตั ราการเพ่ิมขน้ึ ของขา้ ราชการพลเรอื น ซ่งึ สว่ นใหญ่ จะเพิ่มขน้ึ ในขา้ ราชการระดับ 3 และ 4 โดยสาเหตุท่ขี า้ ราชการในระดับ 3 และ 4 มจี ำ� นวนเพมิ่ ข้ึนนั้น เปน็ ผลมาจากการเปล่ียนแปลงในปี พ.ศ. 2533 ที่มีการรณรงค์ให้ข้าราชการศึกษาต่อในระดับท่ีสูงข้ึนท้ังใน ประเทศและตา่ งประเทศ ทำ� ให้ขา้ ราชการในระดับ 3 และ 4 มจี �ำนวน เพม่ิ ขนึ้ อย่างต่อเนอ่ื งตง้ั แต่ปี พ.ศ. 2548 94

ตารางที่ 7 จ�ำนวนขา้ ราชรกะาหรวส่าปงปป.ี ลคา.ศว.1โด99ย6แ-บ2่ง0ต0า8มระดบั ขั้นของขา้ ราชการ ท่ีมา: PACSA (2008 อ้างถึงใน World Bank, 2010 : 7) 4.3.2 คุณลักษณะหลกั ของข้าราชการ ในการเขา้ สปู่ ระชาคมอาเซียน ● มีความรู้และความเข้าใจเกี่ยวกับอาเซียนและประชาคมอาเซียน รวมท้ังประเทศสมาชิก ● มีทักษะความรู้ด้านภาษาอังกฤษในระดับดีมากในการสนทนา เจรจาต่อรอง การเขียนข้อกฎหมาย และการจัดท�ำข้อเสนอโครงการ เปน็ ตน้ ● มที กั ษะการเจรจาตอ่ รองอยา่ งมกี ลยทุ ธ ์ รเู้ ทคนคิ การเจรจา และ ปรบั ตวั เขา้ กับสถานการณต์ า่ งๆ ได้ ระบบบรหิ ารราชการของสาธารณรัฐประชาธิปไตยประชาชนลาว 95

● มคี วามเชยี่ วชาญในงานทเี่ กย่ี วขอ้ งกบั ภารกจิ ของอาเซยี น และมี ความสามารถถ่ายทอดความรู้ความเช่ยี วชาญนนั้ ๆ แกเ่ พือ่ นร่วมงานได้ ● มีจิตส�ำนึกในการท�ำงานเป็นทีม มีการสร้างเครือข่ายกับทุก ภาคส่วน และกบั ประเทศสมาชกิ ● มภี าวะความเป็นผู้น�ำ โดยมียทุ ธศาสตร์ในการเป็นผนู้ �ำภาคสว่ น ต่างๆ ของสังคมให้ตระหนักและเข้าใจเรื่องอาเซียนและประชาคม อาเซยี น ● สามารถให้บริการได้อย่างมีมาตรฐานระดับสากล โปร่งใส คลอ่ งตัว มีประสิทธภิ าพและประสิทธผิ ล 96

5 ยทุ ธศาสตร์ และภารกิจของ แต่ละกระทรวง และหน่วยงานหลัก ท่รี ับผิดชอบงานท่เี กยี่ วกับ ASEAN ระบบบรหิ ารราชการของสาธารณรัฐประชาธปิ ไตยประชาชนลาว 97

98

5.1 ยทุ ธศาสตร์ และภารกจิ ของแต่ละกระทรวง ยทุ ธศาสตร์และภารกิจของแต่ละกระทรวงในสปป.ลาว มีดงั นี้ กระทรวงการต่างประเทศ ยุทธศาสตร์ ภารกจิ ● พฒั นาประเทศให้มีความ ● ประสานความช่วยเหลือจาก กา้ วหนา้ และมีมาตรฐาน องค์การระหว่างประเทศ เพือ่ ตาม หลักสากล พฒั นาประเทศในด้านตา่ งๆ ● พัฒนาคณุ ภาพบุคลากรใหม้ ี ● สง่ เสริมความสามารถของ ความเปน็ สากล บุคลากรดา้ นการศึกษาและ ความกา้ วหนา้ ในความเปน็ สากลของประเทศ กระทรวงการเงนิ ยทุ ธศาสตร ์ ภารกจิ ● บริหารการเงินเพือ่ ประชาชน ● เจรจาเรอ่ื งการหาเงนิ ทนุ จาก และการพฒั นาประเทศ องค์การระหว่างประเทศเพื่อ นำ� มาพัฒนาประเทศ ● ดแู ลเงนิ ทนุ ทไ่ี ด้รับบริจาคจาก องค์การต่างๆ เพื่อจัดตั้ง งบประมาณในการพฒั นา ประเทศ ระบบบริหารราชการของสาธารณรฐั ประชาธิปไตยประชาชนลาว 99