Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore Laos

Description: ระบบบริหารราชการของ ลาว

Search

Read the Text Version

ระบบบรหิ ารราชการของ ลาวสาธารณรฐั ประชาธิปไตยประชาชน

ระบบบริหารราชการของ สาธารณรฐั ประชาธปิ ไตยประชาชนลาว จัดทำ�โดย : ส�ำ นักงานคณะกรรมการขา้ ราชการพลเรอื น (ก.พ.) 47/111 ถนนติวานนท์ ต�ำ บลตลาดขวัญ อ�ำ เภอเมอื ง นนทบรุ ี 11000 โทรศพั ท์ 0 2547 1000,  โทรสาร 0 2547 1108 หวั หน้าโครงการ : รศ.ดร.จริ ประภา อัครบวร ทีป่ รกึ ษาโครงการ : นายสุรพงษ์ ชัยนาม ผเู้ ชย่ี วชาญด้านระบบราชการใน ASEAN บรรณาธกิ าร : ดร.ประยูร อัครบวร นักวิจัย : นางสาววรรณพรรษศรณ์ ตรยิ ะเกษม นางสาวมกุ รนิ หริ ญั ตรีพล ผู้ประสานงานและตรวจทานค�ำ ผิด : นางสาวเยาวนุช สุมน เลขมาตรฐานประจ�ำ หนังสือ : 978-616-548-139-7 จ�ำ นวนพมิ พ์ : 5,400 เล่ม จำ�นวนหน้า : 200 หนา้ พิมพ์ท่ี : กรกนกการพมิ พ ์ 2

คำ�นำ� สำ�นักงาน ก.พ. ในฐานะองค์การกลางด้านการบริหารทรัพยากรบุคคล ภาครัฐ และได้รับมอบหมายให้รับผิดชอบตามแผนงานการจัดตั้งประชาคม สงั คมและวฒั นธรรมอาเซยี นในการเพม่ิ ขดี ความสามารถของทรพั ยากรบคุ คล ในระบบราชการ จากการด�ำ เนนิ การทผ่ี า่ นมา  แมว้ า่ ส�ำ นกั งาน ก.พ. ไดด้ �ำ เนนิ การจดั อบรม หลกั สตู รความรเู้ กย่ี วกบั อาเซยี นใหแ้ กข่ า้ ราชการหลายครงั้ แตก่ ย็ งั ไมค่ รอบคลมุ บุคลากรภาครัฐ ซ่ึงมีจ�ำ นวนมากกวา่ 2 ล้านคน ส�ำ นักงาน ก.พ. จงึ เห็นควร พัฒนาชดุ การเรยี นรู้ “อาเซยี น กูรู” เพ่อื เสริมสรา้ งความรู้ ความเข้าใจเกยี่ ว กับระบบราชการ ซึ่งมีความหลากหลายของประเทศสมาชิกอาเซียนท้ัง 10 ประเทศให้แก่บุคลากรภาครัฐ ซ่ึงจะเป็นประโยชน์ต่อการปฏิบัติงาน ของบคุ ลากรภาครัฐ ทั้งน้ีทางสำ�นักงาน ก.พ. จึงทำ�ความร่วมมือกับสถาบันบัณฑิตพัฒน- บริหารศาสตร์ (นดิ า้ )จัดทำ�หนังสือเรื่อง “ระบบบริหารราชการของประเทศ อาเซียน” เพื่อเสริมทักษะความรู้เก่ียวกับการบริหารราชการให้แก่บุคลากร ภาครฐั ทกุ ระดบั หวงั วา่ ทา่ นผอู้ า่ นคงไดร้ บั ความรแู้ ละเพลดิ เพลนิ ไปกบั หนงั สอื ชดุ น้ี ส�ำ นักงาน ก.พ. ระบบบรหิ ารราชการของสาธารณรัฐประชาธิปไตยประชาชนลาว 3

ข้อคิดจากบรรณาธิการ หนังสือเรื่อง “ระบบบริหารราชการของประเทศอาเซียน” เป็นหนังสือ ท่ีจัดทำ�ข้ึนเพ่ือเสริมทักษะความรู้แก่ข้าราชการไทย เพื่อเรียนรู้และเข้าใจ ระบบการบรหิ ารงานภาครฐั ของประเทศตา่ งๆ ในอาเซยี น อนั จะเปน็ ประโยชน์ ในการติดตอ่ ประสานงานกบั ขา้ ราชการของประเทศเหล่านีใ้ นอนาคต โดยรูปแบบของหนงั สือได้ปูความรใู้ หผ้ ูอ้ ่านตงั้ แตป่ ระวตั ิ ข้อมลู เก่ยี วกบั ประเทศ วิสัยทัศน์ รวมถงึ ความเป็นมาของระบบราชการ นโยบายการเขา้ สู่ ประชาคมอาเซยี น และทนี่ า่ จะเปน็ ประโยชนใ์ นการเรยี นรรู้ ะบบราชการของ ประเทศเหล่าน้ีคือเน้ือหาในส่วนของยุทธศาสตร์และภารกิจของแต่ละ กระทรวง ระบบการพัฒนาข้าราชการ ท้ายเล่มผู้เขียนได้รวบรวมกฎหมาย สำ�คัญท่ีควรรู้ และลักษณะเด่นของระบบราชการที่น่าเรียนรู้ไว้ได้อย่าง นา่ สนใจ หนังสือระบบบริหารราชการของประเทศในอาเซียนทั้ง 10 น้ี อาจมี เน้ือหาแตกต่างกันไปบ้าง เน่ืองจากผู้วิจัยไม่สามารถเข้าถึงข้อมูลของ บางประเทศได้ด้วยข้อจำ�กัดด้านภาษา และบางประเทศยังไม่มีการจัดทำ� ยุทธศาสตร์ของรายกระทรวง ทางคณะผู้จัดทำ�หนังสือหวังเป็นอย่างยิ่งว่า หนงั สอื เลม่ นจี้ ะมสี ว่ นในการตดิ อาวธุ องคค์ วามรภู้ าครฐั ใหก้ บั ขา้ ราชการไทย ไม่มากกน็ อ้ ย สุดท้ายต้องขอขอบคุณเจ้าของรูปภาพและเว็บไซต์ที่ช่วยกันเผยแพร่ อาเซียนให้เปน็ หน่งึ เดียวรว่ มกนั ดร.ประยรู อัครบวร บรรณาธกิ าร 4

สารบญั บทที ่ หน้า 1. ประวตั แิ ละข้อมลู ประเทศและรัฐบาลโดยย่อ 9 1.1 ประวตั แิ ละข้อมลู ประเทศโดยยอ่ 10 1.1.1 ขอ้ มลู ท่วั ไป 10 1.1.2 ลักษณะทางภมู ิศาสตร ์ 12 1.1.3 ประวตั ศิ าสตร์ 14 1.1.4 ลกั ษณะประชากร 27 1.1.5 ข้อมูลเศรษฐกิจ 28 1.1.6 ขอ้ มูลการเมอื งการปกครอง 38 1.1.7 ลักษณะทางสังคมและวฒั นธรรม 39 1.1.8 โครงสร้างพื้นฐานและระบบสาธารณูปโภค 44 1.1.9 ระบบสาธารณสุข 52 1.1.10 ระบบการศกึ ษา 53 1.1.11 ระบบกฎหมาย 54 1.1.12 ความสมั พันธร์ ะหว่างไทยกบั สปป.ลาว 59 1.2 ประวตั ิและขอ้ มลู รัฐบาลโดยย่อ 61 2. วสิ ยั ทัศน์ เป้าหมาย และยทุ ธศาสตร์ 69 2.1 วิสัยทศั น์ 70 2.2 เป้าหมาย 70 2.3 ยทุ ธศาสตร์ 71 3. ประวัติความเปน็ มาของระบบราชการ 73 3.1 สปป.ลาวภายใตก้ ารปกครองของฝร่งั เศส 74 3.2 ลาวยุคสาธารณรฐั ประชาธิปไตยประชาชนลาว 78 ระบบบริหารราชการของสาธารณรัฐประชาธิปไตยประชาชนลาว 5

หนา้ 4. ภาพรวมของระบบราชการ 83 4.1 รฐั บาล นโยบายรฐั บาล และนโยบายการเขา้ ส่ปู ระชาคมอาเซยี น 84 4.2 จ�ำ นวนและรายช่อื กระทรวงพรอ้ มทต่ี ดิ ตอ่ 86 4.3 จ�ำ นวนขา้ ราชการทว่ั ประเทศ พร้อมคณุ ลักษณะหลัก หรอื คุณลกั ษณะหลกั ในการเข้าสู่ประชาคมอาเซยี น 93 4.3.1 จำ�นวนข้าราชการทว่ั ประเทศ 93 4.3.2 คณุ ลกั ษณะหลักของข้าราชการ ในการเข้าสปู่ ระชาคมอาเซยี น 95 5. ยทุ ธศาสตร์ และภารกจิ ของแตล่ ะกระทรวงและ หน่วยงานหลกั ทร่ี ับผิดชอบงานท่ีเกีย่ วกบั ASEAN 97 5.1 ยทุ ธศาสตร์ และภารกจิ ของแตล่ ะกระทรวง 99 5.2 หนว่ ยงานหลกั ทีร่ ับผดิ ชอบงานทเ่ี กย่ี วกับ ASEAN 114 6. ระบบการพัฒนาข้าราชการ 125 6.1 ภาพรวมของการพฒั นาข้าราชการ 126 6.2 กลยทุ ธ์การพัฒนาขา้ ราชการ 128 6.3 หน่วยงานทร่ี บั ผิดชอบด้านการพฒั นาขา้ ราชการ 134 6.4 สรปุ อุปสรรคในการพฒั นาข้าราชการในปจั จุบัน 142 7. กฎหมายส�ำ คัญที่ควรร ู้ 145 7.1 กฎระเบียบขา้ ราชการสปป.ลาว 146 7.2 กฎหมายแรงงาน 148 7.3 กฎหมายเข้าเมอื ง 153 7.4 กฎหมายอ่นื ๆ ทีค่ วรรู้ 154 8. ลกั ษณะเด่นของระบบราชการที่นา่ เรียนรู ้ 161 8.1 องคก์ ารมวลชน (Mass Organizations) 162 8.2 ความร่วมมือระหว่างสปป.ลาว กบั UNESCO 165 บรรณานุกรม 173 6

สารบญั ภาพ หนา้ ภาพท่ี 1 ภาพแสดงท่ีอยู่สปป.ลาว 13 ภาพท่ี 2 ทุง่ ไหหนิ แขวงเชียงขวาง 15 ภาพที่ 3 พระบรมราชานุสาวรียพ์ ระเจา้ ไชยเชษฐาธิราช 17 ภาพท ่ี 4 วหิ ารหลวง เมอื งหลวงพระบาง 21 ภาพที่ 5 อนุเสาวรยี ์สมเด็จพระเจา้ อนุวงศ์ 25 ภาพที่ 6 ภาพแสดงการแบ่งเขตการปกครอง 39 ภาพที่ 7 สะพานมติ รภาพไทย-ลาว 45 ภาพท่ ี 8 พธิ ลี งนามในบนั ทึกความเข้าใจการประปา 50 ภาพที ่ 9 ตราสญั ลักษณ์มหาวทิ ยาลยั แห่งชาติสปป.ลาว 54 ภาพท ่ี 10 การประชมุ สภาแห่งชาติลาว 64 ภาพท ่ี 11 รฐั ธรรมนูญสมยั ก่อนเปล่ียนแปลงการปกครอง 68 ภาพที่ 12 พระราชวงั หลวง เมอื งหลวงพระบาง 75 ภาพที่ 13 ภมู ทิ ศั น์ของเมืองหลวงพระบาง 76 ภาพท ่ี 14 ประตชู ัยของประเทศลาว 77 ภาพท ่ี 15 เจา้ สุภานุวงศ์ 78 ภาพท ่ี 16 ประชมุ รัฐมนตรเี ศรษฐกิจอาเซียน อย่างไมเ่ ปน็ ทางการ 85 ภาพท ่ี 17 ทำ�เนยี บรัฐบาล สปป.ลาว 86 ภาพที่ 18 การฝึกอบรมพัฒนาข้าราชการ 127 ภาพท ่ี 19 กระทรวงภายใน 135 ภาพที่ 20 ภาพแสดงหนว่ ยงานภายในของกระทรวงภายใน 138 ภาพที่ 21 ตราสัญลกั ษณ์สหภาพแม่หญงิ  สปป.ลาว 163 ระบบบรหิ ารราชการของสาธารณรัฐประชาธิปไตยประชาชนลาว 7

สารบัญตารางและกราฟ หน้า ตารางที่ 1 ตารางแสดงอตั ราการเตบิ โตของประชากรสปป.ลาว 27 ตารางที่ 2 กราฟแสดงอตั ราการเตบิ โตทางเศรษฐกจิ สปป.ลาว 30 ตารางที่ 3 ลำ�ดับของนกั ลงทุนตา่ งชาตทิ ่ีเข้ามาลงทุน ในสปป.ลาว 31 ตารางท่ี 4 สถติ ิทางเศรษฐกจิ ทส่ี �ำ คัญของ สปป.ลาว ปี พ.ศ.2549-2554 32 ตารางที่ 5 กราฟแสดงจ�ำ นวนข้าราชการระหวา่ ง ปี 2002-2008 93 ตารางที่ 6 จำ�นวนขา้ ราชการสปป.ลาวในรายงานธนาคารโลก 94 ตารางที่ 7 จ�ำ นวนข้าราชการสปป.ลาว โดยแบง่ ตามล�ำ ดับข้นั ของขา้ ราชการ ระหว่างปี 1996-2008 95 ตารางที่ 8 กราฟแสดงรายได้เปรียบเทียบระหวา่ ง ภาครัฐ-เอกชน 134 ตารางท่ี 9 อัตราภาษใี น สปป.ลาว 155 ตารางที่ 10 ขั้นตอนและวธิ ีการจดทะเบียนนติ บิ คุ คล และเอกสารประกอบ 158 ตารางท่ี 11 การชี้วดั ความก้าวหนา้ ทางการศึกษา 168 8

1 ประวัติและข้อมูลประเทศ และรัฐบาลโดยยอ่ ระบบบรหิ ารราชการของสาธารณรัฐประชาธิปไตยประชาชนลาว 9

1.1 ประวัติและข้อมลู ประเทศโดยยอ่ ประเทศสปป.ลาว เปน็ ประเทศในอาเซยี นทมี่ วี ฒั นธรรมใกลเ้ คยี งกบั ไทยมากที่สุด และเป็นประเทศเดียวที่ไม่มีทางออกทะเล เป็นประเทศ เลก็ ทยี่ งั มที รพั ยากรอยา่ งอดุ มสมบรู ณแ์ ละมรี ายละเอยี ดทนี่ า่ ศกึ ษาดงั นี้ 1.1.1  ข้อมลู ทว่ั ไป ชอื่ ประเทศอยา่ งเป็นทางการ สาธารณรฐั ประชาธปิ ไตยประชาชนลาว (Lao  People’s  Democratic Republic) หรอื สปป.ลาว เมืองหลวง เวยี งจนั ทน ์ พ้ืนที่ 236,800 ตารางกิโลเมตร เขตแดน ทศิ เหนอื ตดิ กบั สาธารณรฐั ประชาชนจนี ทศิ ใตต้ ดิ กับราชอาณาจักรกัมพูชา ทศิ ตะวนั ตกตดิ กับประเทศไทย ทศิ ตะวันออกติดกับสาธารณรัฐสงั คม นิยมเวยี ดนาม ประชากร 6.85 ล้านคน (2557) [26] วนั ชาติ 2 ธนั วาคม ภาษาราชการ ลาว ระบอบการปกครอง สังคมนยิ มคอมมวิ นสิ ต์ 10

ธงชาต ิ มลี กั ษณะเป็นแถบแนวนอนสีแดง น้�ำเงินเข้ม และแดง มีรูปพระจนั ทร์ สขี าวอยู่ตรงกลางแถบสีนำ�้ เงนิ ไดม้ กี ารเริม่ ใชธ้ งชาติน้ี ต้งั แตว่ ันที่ 2 ธนั วาคม 2518 โดยมคี วามหมายตามสี คอื สแี ดง หมายถงึ สขี องเลอื ด แหง่ การ เสียสละ การพลีชพี เพอื่ ชาติ สีน้ำ� เงนิ หมายถงึ ความอุดมสมบูรณ์และความ เจรญิ สีขาว หมายถึง ดวงจันทร์ ซง่ึ เปรยี บเสมอื นนำ้� ใจของชาวสปป.ลาว ท่ีมีความบริสทุ ธิ์ผดุ ผอ่ ง ตราแผน่ ดนิ มลี ักษณะเปน็ รปู วงกลม โดยส่วนล่าง ของตราแผน่ ดินเป็นรูปเฟืองจกั รกล และแถบผา้ สแี ดงคาด ภายในตราเขยี น อกั ษร “สาธารณรัฐประชาธิปไตย ประชาชนลาว” โดยมีปีกทั้งสองข้าง ประดบั ดว้ ย รวงขา้ วท ่ีผูกผ้าแถบสแี ดง และเขียนอกั ษร “สนั ติภาพ เอกราช ประชาธิปไตย เอกภาพ วฒั นาถาวร” สว่ นตรงกลาง ระหวา่ งรวงข้าวทงั้ สอง เปน็ รปู พระธาตหุ ลวง ถนน ทอ้ งนา ขา้ ว ปา่ ไม้ และเขือ่ นผลติ กระแสไฟฟ้า ระบบบรหิ ารราชการของสาธารณรัฐประชาธิปไตยประชาชนลาว 11

ดอกไมป้ ระจ�ำชาต ิ “ดอกจ�ำปาลาว” คือ ดอกลั่นทม หรอื ดอกลลี าวดที ชี่ าวไทยเรยี กขาน ส�ำหรบั ชาวสปป.ลาวดอกจ�ำปา จะแสดงถึง ความจรงิ ใจและความสุขในชีวิต มักถูก ใชต้ กแตง่ ในพธิ สี �ำคญั ตา่ งๆ หรอื ท�ำเปน็ พวงมาลัยส�ำหรบั ต้อนรับแขก เข้าเป็นสมาชกิ อาเซียน 23 กรกฎาคม 2540 เข้าเปน็ สมาชิก อาเซียนในล�ำดับท่ี 9 เงินตรา กีบ (Kip) เป็นสกุลเงินประจ�ำชาตขิ อง สปป.ลาว ยังไมม่ ีเหรียญกษาปณ์ มีแต่ ธนบัตร ซ่งึ มมี ูลคา่ ดงั นี้ 1 5 10 20 50 100 500 1,000 2,000 5,000 10,000 20,000 และ 50,000 กบี อัตราแลกเปลย่ี น 1 บาท ตอ่ 276 กีบ[2] ผลิตภัณฑม์ วลรวมในประเทศ 19.16 พันล้านดอลลาร์สหรัฐ[2] (GDP) รายไดป้ ระชาชาตติ อ่ หวั 3,000 ดอลลารส์ หรฐั [2] (GDP per Capita) 1.1.2 ลักษณะทางภูมศิ าสตร์ ภมู ปิ ระเทศ สปป.ลาว เปน็ ประเทศเดยี วในเอเชยี ตะวนั ออกเฉยี งใตท้ ไ่ี มม่ ที างออก ทะเล (Landlocked) โดยมดี า้ นทศิ เหนอื ตดิ กบั สาธารณรฐั ประชาชนจนี แนวเขตแดนยาว 505 กม. ทิศใต้ติดกับราชอาณาจักรกัมพูชา 12

ทม่ี า: กรมเจรภจาาพกาทร่ี ค1้าภระาหพวแ่าสงดปงรทะอ่ีเทยศสู่ ปสป�ำน. ักลอาาวเซยี น, 2555:1 แนวเขตแดนยาว 435 กม. ทิศตะวันออกติดกับสาธารณรัฐสังคมนิยม เวียดนาม แนวเขตแดนยาว 2,069 กม. และทิศตะวันตกติดกับ ประเทศไทย แนวเขตแดนยาว 1,810 กม. และสาธารณรฐั แหง่ สหภาพ พม่า แนวเขตแดนยาว 236 กม. โดยมีพื้นท่ี 236,800 ตร.กม. หรือ ประมาณครง่ึ หน่งึ ของประเทศไทย ทง้ั น้ี สปป.ลาว มีพนื้ ทส่ี ว่ นใหญร่ อ้ ย ละ 90 เป็นเขาและท่รี าบสูง โดยมพี ืน้ ท่เี พาะปลูกเพียง 50,000 ตร.กม. หรือรอ้ ยละ 21.11 ของพื้นท่ที ้งั หมด ระบบบรหิ ารราชการของสาธารณรฐั ประชาธิปไตยประชาชนลาว 13

ภมู อิ ากาศ ประเทศสปป.ลาวอยใู่ นภมู อิ ากาศเขตรอ้ น มลี มมรสมุ แตไ่ มม่ ลี มพายุ ส�ำหรับเขตภูเขาภาคเหนือและเขตเทือกเขาอากาศมีลักษณะกึ่งร้อน กง่ึ หนาว อุณหภมู สิ ะสมเฉลย่ี ประจ�ำปีประมาณ 15-30 องศาเซลเซียส โดยความแตกต่างของอุณหภูมิระหว่างกลางวันกับกลางคืนประมาณ 10 องศาเซลเซยี ส จ�ำนวนชว่ั โมงทม่ี แี สงแดดตอ่ ปปี ระมาณ 2,300-2,400 ชั่วโมง (ประมาณ 6.3-6.5 ช่ัวโมงต่อวัน) ความช้ืนสัมพัทธ์ของอากาศ ประมาณร้อยละ 70-85 ปริมาณน�้ำฝนในช่วงฤดูฝน (ตั้งแต่เดือน พฤษภาคมถึงตุลาคม) ร้อยละ 75-90 ส่วนช่วงฤดูแล้ง (ต้ังแต่เดือน พฤศจกิ ายนถงึ เมษายน) มปี รมิ าณนำ้� ฝนเพยี งรอ้ ยละ 10-25 และปรมิ าณ นำ้� ฝนเฉลี่ยต่อปขี องแตล่ ะเขตก็แตกต่างกนั อย่างมาก เชน่ เขตเทือกเขา บริเวณทางใต้ไดร้ ับนำ้� ฝนเฉลยี่ ปีละ 300 เซนติเมตร ขณะที่บรเิ วณแขวง เชยี งขวาง แขวงหลวงพระบาง และแขวงไชยบรุ ี ไดร้ บั เพยี งแค่ 100-150 เซนติเมตร สว่ นแขวงเวียงจนั ทน์และแขวงสุวรรณเขต ได้รบั 150-200 เซนตเิ มตร เชน่ เดยี วกบั แขวงพงสาลี แขวงหลวงนำ้� ทา และแขวงบอ่ แกว้ 1.1.3 ประวตั ศิ าสตร์ ในดินแดนของของประเทศสปป.ลาวเป็นดินแดนท่ีมีประวัติ อันยาวนาน มหี ลักฐานทแ่ี สดงวา่ มีคนอยมู่ าแลว้ 2,000-3,000 ปี อย่าง การคน้ พบแหลง่ โบราณคดหี นิ โตะ๊ และหนิ ตง้ั รวมถงึ หลมุ ฝงั ศพสมยั กอ่ น ประวตั ศิ าสตรท์ บี่ ้านหินต้งั เมืองหัวเมือง (เมอื งเปน๊ ) แขวงหวั พัน[5] หรือ การคน้ พบทงุ่ ไหหนิ เมอื งแปก (โพนสะหวนั ) แขวงเชยี งขวางทมี่ อี ายชุ ว่ ง 14

ภาพที่ 2 ทงุ่ ไหหิน แขวงเชียงขวาง 2,500-3,000 ปี[5] กลุ่มชนเหล่านี้ต่างมีวิวัฒนาการซึ่งเป็นเรื่องท่ี นักมานุษยวิทยาน�ำมาศึกษาอย่างต่อเน่ือง แต่การศึกษาด้าน ประวัตศิ าสตร์ จากพงศาวดารลาวได้มกี ารบันทึกไวด้ งั นี้ อาณาจกั รล้านชา้ ง จากพงศาวดารล้านช้างกล่าวว่า นับแต่ขุนบรมราชาธิราชได้ทรงแผ่ ขยายอาณาจักรออกไป โดยทรงส่งโอรสท้ังเจ็ดพระองค์ไปปกครอง เมืองต่างๆ ซึ่งเช่อื วา่ อยู่ในภูมิภาคอินโดจีนปัจจุบัน ดงั นี้ 1. ขนุ ลอ ปกครองเมอื งเซ่าหรอื เมอื งชวา (อ่านวา่ “เมืองซัว”) ซึง่ ตอ่ มาเรยี กว่า “หลวงพระบาง” 2. ทา้ วผาล้าน ปกครองเมืองหอแต (ตา้ หอหรอื สบิ สองปนั นา) 3. ทา้ วจลุ ง ปกครองเมอื งโกดแท้แผนปม (ปจั จุบันคอื เวียดนาม) 4. ทา้ วค�ำผง ปกครองเมอื งเชยี งใหม่ 5. ท้าวอนิ ปกครองเมอื งลานเพียศรีอยธุ ยา (ละโว้) 6. ทา้ วกม ปกครองเมอื งมอน (อนิ ทรปัต หรือหงสาวด)ี ระบบบรหิ ารราชการของสาธารณรฐั ประชาธปิ ไตยประชาชนลาว 15

7. ท้าวเจือง ปกครองเมืองพวน (เชียงขวาง-เช่ือกันว่าคือท้าวเจือง ทีป่ รากฎในวรรณกรรณเรือ่ ง “ทา้ วฮงุ่ ทา้ วเจือง”) ขุนลอผู้ทรงสร้างเมืองชวานี้ ถือกันว่าทรงเป็นปฐมกษัตริย์ของชาว สปป.ลาว ท้ังปวง ในปี พ.ศ. 1300 โดยประมาณ พระองคไ์ ดท้ รงตัง้ ให้ เมอื งชวาเป็นราชธานีของอาณาจกั รลา้ นช้าง พระราชทานนามราชธานี แหง่ นใี้ หมว่ า่ “เมอื งเชยี งทอง” พระองคไ์ ดท้ รงขบั ไลช่ นชาตขิ อม ซงึ่ เปน็ ผู้มีอ�ำนาจอยู่เดิมในบริเวณดังกล่าวส�ำเร็จ ท�ำให้อาณาจักรล้านช้าง มีความมั่นคงต่อมายาวนาน และมีกษัตริย์ปกครองสืบต่อมาอีกหลาย ช่วั คน ในปลายพุทธศตวรรษที่ 19 อาณาจักรล้านช้างก็ได้มีกษัตริย์ องค์ส�ำคัญ ซึ่งชาวสปป.ลาว ยกย่องพระองค์ในฐานะ “พระบิดาของ ชาติสปป.ลาว” ไดแ้ ก่ พระเจ้าฟา้ งุ้ม (พ.ศ. 1896-1916) พระนามเตม็ คือ “พระเจา้ ฟ้างมุ้ แหล่งหลา้ ธรณ”ี เน่ืองจากพระองคม์ บี ทบาทในการ รวบรวมแผ่นดินสปป.ลาวให้เป็นปึกแผ่น ทั้งยังทรงวางรากฐานของ พระพุทธศาสนาในสปป.ลาว และทรงยกย่องให้เป็นศาสนาหลักของ อาณาจักร พระเจ้าฟ้างุ้มทรงเป็นพระราชโอรสของท้าวผีฟ้า และเป็นพระราช นัดดาของพระยาสุวรรณค�ำผง โดยในรัชสมัยของพระยาค�ำผง ทา้ วผีฟา้ ซงึ่ เปน็ พระบดิ าของพระเจา้ ฟา้ งมุ้ ไดถ้ กู เนรเทศ จงึ เสดจ็ หนไี ปพง่ึ พระบรม โพธิสมภารของกษัตริย์เขมร ในเวลาต่อมาเมื่อส้ินรัชสมัยของพระยา- ค�ำผง อนั เปน็ ชว่ งเวลาทอ่ี าณาจกั รเขมรเรมิ่ เสอ่ื มอ�ำนาจ ในขณะเดยี วกนั ที่อาณาจักรสุโขทัยเข้มแข็งข้ึน ฝ่ายเขมรจึงต้องการคานอ�ำนาจ ของสุโขทยั จึงไดส้ นบั สนนุ ให้พระยาฟา้ งมุ้ ซงึ่ เสดจ็ ตดิ ตามพระราชบิดา 16

ไปประทับที่อาณาจักรเขมรน้ัน น�ำก�ำลังเข้าแย่งชิงอ�ำนาจจากพระยา ฟา้ ค�ำเฮยี ว ซ่งึ เป็นพระปิตลุ า (อา) ผู้ขึน้ ครองราชย์สืบตอ่ จากพระยาค�ำ- ผง พระยาฟา้ งมุ้ สามารถเอาชนะพระยาฟา้ ค�ำเฮยี วได้ จึงเสด็จข้ึนครอง ราชยแ์ ละสถาปนาอาณาจกั รล้านชา้ งขน้ึ อยา่ งเปน็ ทางการ ในรชั สมยั ของพระยาฟา้ งมุ้ แมพ้ ระองคจ์ ะไดส้ รา้ งความเปน็ ปกึ แผน่ มนั่ คงใหก้ บั อาณาจกั รลา้ นชา้ ง แตต่ อ่ มาในป ี พ.ศ. 1899 ไดส้ ละราชสมบตั ิ ทั้งยังได้เชิญพระยาอุ่นเฮือนผู้เป็นพระราชโอรสข้ึนครองราชย์ สบื ตอ่ จากพระราชบดิ า สว่ นพระยาฟา้ งมุ้ ไดเ้ สดจ็ มาประทบั อย ู่ณ เมอื งนา่ น กระทง่ั สน้ิ พระชนมใ์ นปี พ.ศ. 1916 [4] ภาพท่ี 3 พรทะบ่มี าร:มรwาwชาwน.tสุ oาuวrรisยี m์พlรaะoเจs.้าoไrชgยเชษฐาธริ าช อาณาจักรล้านช้างมีกษัตริย์ปกครองสืบต่อกันมาหลายพระองค์ โดยสมัยท่สี �ำคญั 2 สมยั คอื • สมัยพระเจ้าไชยเชษฐาธริ าช นับไดว้ ่าเป็นสมยั หนงึ่ ของประวัติ ศาสตร์สปป.ลาวที่มีความรุ่งเรืองมากท่ามกลางวิกฤตการณ์ที่เกิดข้ึน ระบบบรหิ ารราชการของสาธารณรฐั ประชาธิปไตยประชาชนลาว 17

รอบด้าน ชาวสปป.ลาวล้วนนับถอื พระองค์วา่ ทรงเป็นมหาราช และทรง เป็นวีรกษัตริย์ที่ส�ำคัญในประวัติศาสตร์สปป.ลาว พระองค์ได้ทรง ประกอบพระราชกรณียกิจต่างๆ ที่ส�ำคัญไว้หลายประการ โดยเฉพาะ ด้านพระพุทธศาสนา ซ่ึงได้รับการท�ำนุบ�ำรุงอย่างกว้างขวาง โปรดให้มี การสรา้ งและบรู ณะปชู นยี สถานในพระพทุ ธศาสนาหลายแห่ง เชน่ ทรง สรา้ งหอพระแกว้ เพอ่ื ประดษิ ฐานพระแกว้ มรกต ซงึ่ ไดท้ รงอญั เชญิ มาจาก อาณาจกั รลา้ นนา และทรงสรา้ งพระเจดยี ์โลกจุฬามณี (พระธาตหุ ลวง) ที่นครเวียงจันทน์ ทรงสถาปนาพระธาตุศรีสองรักร่วมกับอาณาจักร อยุธยาท่ีเมืองด่านซ้าย ทรงปฏิสังขรณ์พระธาตุพนมที่เมืองนคร (นครพนม) เปน็ ตน้ โดยในระยะเวลานเี้ องทอี่ าณาจกั รหงสาวดใี นรชั สมยั พระเจ้าบุเรงนองมีก�ำลังเข้มแข็งและทรงอิทธิพลอย่างมาก และมีความ พยายามจะขยายอาณาจักรมาทางทิศตะวันออก พระองค์จึงโปรดให้มี การยา้ ยราชธานจี ากหลวงพระบางมาอยทู่ นี่ ครเวยี งจนั ทน์ เพอ่ื หลกี เลยี่ ง อ�ำนาจของหงสาวดีในปี พ.ศ. 2103 และพระราชทานนามราชธานี แห่งใหม่น้ีว่า “พระนครจันทบุรีศรีสัตนาคนหุตอุตตมราชธานี” ทั้งยัง ทรงสร้างสัมพันธไมตรีกับสมเด็จพระมหาจักรพรรดิแห่งกรุงศรีอยุธยา เพื่อเปน็ ก�ำลังในการต่อตา้ นพมา่ ซึง่ ถือเป็นศตั รรู ่วมกนั ต่อมาในปี พ.ศ. 2107 ทัพพม่าไดต้ ดิ ตามจับกมุ ขุนนางล้านนาเชยี งใหมม่ าถึงเวยี งจนั ทน์ และสามารถตีกรุงเวียงจันทน์ได้ในขณะท่ีพระเจ้าไชยเชษฐาธิราชมิได้ ประทับอยู่ในพระนคร พร้อมทั้งกวาดต้อนชาวเมืองและเชอ้ื พระวงศ์ชน้ั สงู กลบั ไปยงั พมา่ เปน็ จ�ำนวนมาก  รวมถงึ เจา้ มหาอปุ ราชศรวี รวงษา พระราชอนุชาของพระเจ้าไชยเชษฐาธิราช แล้วจึงถอยทัพกลับไป พระองคท์ รงคมุ แคน้ ฝา่ ยหงสาวดอี ยมู่ าก เมอื่ ฝา่ ยอยธุ ยาขอความชว่ ยเหลอื 18

ใหช้ ว่ ยรบกบั พมา่ ในชว่ งปี พ.ศ. 2110-2112 พระองคจ์ งึ ทรงจดั ตง้ั กองทพั ไปชว่ ยเหลอื อยธุ ยาแตไ่ มส่ �ำเรจ็ เนอ่ื งจากถกู ฝา่ ยพมา่ และพระมหาธรรม ราชาเมืองพิษณุโลกซ้อนกลจนแตกพ่าย หลังอาณาจักรหงสาวดีพิชิต กรุงศรีอยุธยาได้แล้ว พระเจ้าบุเรงนองจึงทรงส่งกองทัพมาปราบปราม ล้านช้างแตไ่ มส่ �ำเร็จ  เน่อื งจากพระเจา้ ไชยเชษฐาไดท้ รงน�ำกองทพั และชาวเมอื งหลบภยั ในปา่   และคอยลอบโจมตกี องทพั พมา่ อยเู่ นอื งๆ จนกองทัพพม่าต้องถอนก�ำลังกลับไป ลุถึงปี พ.ศ. 2114 พระเจ้าไชย- เชษฐาธริ าชไดเ้ สดจ็ ออกปราบกบฏ ณ เมอื งรามรกั โองการ (เชอื่ กนั วา่ อยู่ ในพ้ืนทแี่ ขวงอัตตะปือในปัจจุบนั ) แลว้ สูญหายไปในศึกคร้งั นน้ั • พระเจ้าสุริยวงศาธรรมิกราช (พ.ศ. 2181-2238) เป็นยุค แห่งความเจริญรุ่งเรืองอีกยุคหนึ่ง เนื่องด้วยพระองค์มีวิธีการปกครอง บา้ นเมอื งหลักแหลมและเปน็ ธรรม ท�ำใหล้ ้านช้างมีความม่ันคงและสงบ รม่ เยน็ กวา่ ครงึ่ ศตวรรษ ทง้ั ความเจรญิ รงุ่ เรอื งทางสถาปตั ยกรรม อกั ษร- ศาสตร์ ศลิ ปะแขนงตา่ งๆ ตลอดจนการค้าขายกบั ต่างชาติ พระองคท์ รง เป็นผู้ท่ีมคี วามยตุ ธิ รรม จากกรณีทีพ่ ระราชโอรสของพระองค์ได้กระท�ำ ความผดิ ลักลอบเป็นชู้กบั ภรยิ าของขนุ นางผหู้ นึ่ง พระองคก์ ็ลงโทษตาม อาญาถงึ ขน้ั ประหารชวี ติ โดยมไิ ดใ้ สใ่ จวา่ เปน็ พระโอรส ดว้ ยเหตนุ พ้ี ระองค์ จึงอยูใ่ นสภาพทีไ่ รร้ ชั ทายาท และเม่อื พระองคส์ วรรคตโดยไร้รชั ทายาท ประชาชนจึงได้อัญเชิญพระยาเมืองจัน ซ่ึงเป็นขุนนางผู้ใหญ่ให้ขึ้นเป็น กษัตริย ์ แต่กค็ รองราชย์อยไู่ ดเ้ พียงหกป ี เจ้านันทราชแห่งเมืองน่าน ก็ยกทัพเข้ามาชิงเมืองเวียงจันทน์ไว้ได้ เจ้านันทราชจึงได้ขึ้นครองราชย์ เป็นกษัตริย์แห่งอาณาจักรล้านช้างใน พ.ศ. 2238 เมื่อส้ินรัชสมัยของ พระเจา้ สรุ ยิ วงศาธรรมกิ ราช ราชอาณาจกั รลา้ นชา้ งเกดิ ภาวะระสำ่� ระสาย ระบบบรหิ ารราชการของสาธารณรฐั ประชาธิปไตยประชาชนลาว 19

อย่างหนัก จากการแก่งแย่งอ�ำนาจของบรรดาเชื้อพระวงศ์ จนท�ำให้ ราชอาณาจักรแตกแยกออกเป็น 3 ราชอาณาจักรเอกราช ได้แก่ 1) อาณาจกั รลา้ นช้างเวยี งจนั ทน์ อาณาจกั รนคี้ อื อาณาจกั รทส่ี บื ทอดจากอาณาจกั รลา้ นชา้ งศรสี ตั นา- คนหุตเดิม มีอาณาเขตปกครองดินแดนสปป.ลาว ภาคกลางในปัจจุบัน มีพระเจ้าไชยเชษฐาธิราชท่ี 2 เป็นปฐมกษัตริย์ พระไชยเชษฐาองค์น้ี ทรงเป็นเช้ือพระวงศ์ท่ีล้ีภัยการเมืองไปอยู่ที่จักรวรรดิเวียดนาม ซึ่งมี ราชธานใี นขณะนนั้ อยทู่ เี่ มอื งเว้ คนทง้ั หลายจงึ ขนานพระนามอกี อยา่ งวา่ “พระไชยองคเ์ วห้ รอื พระไชยองคเ์ วยี ด” พระองคไ์ ดน้ �ำก�ำลงั จากเวยี ดนาม เข้ายึดนครเวียงจันทน์และจับเจ้านันทราชส�ำเร็จโทษ แล้วราชาภิเษก พระองค์เองข้ึนเป็นกษัตริย์ในปี พ.ศ. 2241 จากน้ันจึงทรงต้ังท้าวลอง เป็นเจ้าอุปราชครองเมืองหลวงพระบาง แต่ไม่ได้รับการยอมรับ จากชาวสปป.ลาว ท้ังมวล เพราะพระองค์มีความใกล้ชิดกับจักรวรรดิ เวยี ดนาม ในปี พ.ศ. 2250 เจ้ากิ่งกิสราชกับเจ้าองค์ค�ำ พระราชนัดดาของ พระเจ้าสุริยวงศาธรรมิกราชที่หนีไปประทับยังเมืองหงสา (อยู่ในแขวง ไซยะบลู ใี นปจั จบุ นั ) ไดย้ กทพั เขา้ มาชงิ เมอื งหลวงพระบาง จบั เจา้ อปุ ราช ท้าวลองส�ำเร็จโทษ และเตรียมจะยกทัพเข้าตีกรุงเวียงจันทน์ พระไชย องค์เว้จึงมีพระราชสาส์นไปยังสมเด็จพระเพทราชาแห่งกรุงศรีอยุธยา เพ่ือขอความช่วยเหลือ ฝ่ายกรุงศรีอยุธยาจึงไกล่เกล่ียทั้งสองฝ่ายให้ยุติ การรบและแบ่งปันเขตแดนต่อกัน ท�ำให้หลวงพระบางกลายเป็น อาณาจักรเอกราชไม่ข้ึนกับเวียงจันทน์มานับแต่นั้น ในยุคนี้จึงนับได้ว่า เป็นยุคที่สปป.ลาวแตกแยกเป็น 2 อาณาจักร คือ อาณาจักรล้านช้าง 20

ภาพที่ 4 วหิ ารหลวง เมอื งหลวงพระบาง เวียงจันทน์และอาณาจักรล้านช้างหลวงพระบาง ซ่ึงเวียงจันทน์เองก็ไม่ ไว้ใจและหาทางท�ำลายฝ่ายหลวงพระบางอย่ตู ลอดเวลา 2) อาณาจักรล้านช้างหลวงพระบาง อาณาจักรล้านช้างหลวงพระบางถือก�ำเนิดจากความแตกแยก ระหวา่ งเวยี งจนั ทนแ์ ละหลวงพระบางในปี พ.ศ. 2250 ดงั ไดก้ ลา่ วมาแลว้ มอี าณาเขตในการปกครองดนิ แดนสปป.ลาว ภาคเหนอื ในปจั จบุ นั โดยมี พระเจ้ากง่ิ กิสราชเป็นปฐมกษัตรยิ ์ (พ.ศ. 2249-2256) 3) อาณาจักรล้านชา้ งจ�ำปาศกั ด์ิ อาณาจกั รลา้ นชา้ งจ�ำปาศกั ดมิ์ กี �ำเนดิ มาจากการอพยพลภ้ี ยั การเมอื ง ของเจา้ นางสมุ งั คละและประชาชนสว่ นหนงึ่ ภายใตก้ ารน�ำของเจา้ ราชครู หลวงโพนสะเมก็ พระเถระผใู้ หญใ่ นรชั สมยั พระเจา้ สรุ ยิ วงศาธรรมกิ ราช มูลเหตุมาจากพระยาเมืองจันผู้เป็นเสนาบดีได้ชิงราชสมบัติข้ึนครอง อาณาจกั รหลงั พระเจา้ สรุ ยิ วงศาธรรมกิ ราชเสดจ็ สวรรคต และคดิ จะเอา ระบบบรหิ ารราชการของสาธารณรัฐประชาธปิ ไตยประชาชนลาว 21

เจา้ นางสมุ งั คละพระราชนดั ดาของพระเจา้ สรุ ยิ วงศาธรรมกิ ราช (ซงึ่ ทรง เป็นหม้ายและก�ำลังทรงครรภ์) เป็นมเหสี แต่นางไม่ยอม จึงหนีไปขอ ความช่วยเหลือจากเจ้าราชครูหลวงโพนสะเม็ก เจ้าราชครูหลวงโพน- สะเมก็ จงึ พาญาติโยมของตนประมาณ 3,000 คน และเจา้ นางสุมงั คละ หนอี อกจากเวยี งจนั ทนท์ างใตไ้ ปซอ่ นตวั อยทู่ บ่ี า้ นงว้ิ พนั ล�ำโสมสนกุ ณ ทนี่ ัน้ เจา้ นางสมุ งั คละไดป้ ระสูตพิ ระโอรสนามวา่ “เจ้าหนอ่ กษตั ริย์” ตอ่ มานางแพงเจ้าเมืองจ�ำปาสกั ชาวพื้นเมืองได้อาราธนาเจา้ ราชครู หลวงโพนสะเมก็ มาปกครองบา้ นเมอื ง  เจา้ ราชครหู ลวงฯ  ปกครอง บ้านเมืองได้ระยะหนึ่งกเ็ กดิ ปญั หาการปกครองบางประการ ซง่ึ เอาหลัก ทางธรรมมาตัดสินและยุติปัญหาไม่ได้ ท่านจึงให้คนไปเชิญเจ้าหน่อ กษัตริย์ ซึ่งเจริญพระชนม์มากพอท่ีจะปกครองบ้านเมืองได้แล้ว มาท�ำ พิธีราชาภิเษกเป็นกษัตริย์ปกครองนครจ�ำปาสักในปี พ.ศ. 2257 ทรง พระนามว่า พระเจ้าสร้อยศรสี มุทรพทุ ธางกูร อาณาจักรลา้ นช้างแห่งท่ี 3 คือ  อาณาจกั รลา้ นช้างจ�ำปาสัก  จึงถอื ก�ำเนดิ ข้ึนในปีน ี้ พระองคไ์ ด้ ประกาศอาณาเขตแยกออกจากเวียงจันทน์ ปกครองดินแดนสปป.ลาว ภาคใต้ต้ังแต่เขตเมืองนครพนม เมืองค�ำม่วน ลงไปจนถึงเมืองเชียงแตง เมอื งมโนไพรตอ่ แดนเขมร สว่ นดา้ นตะวนั ตกอาณาเขตไปไกลจนถงึ เมอื ง ทง่ หรือเมอื งสวุ รรณภูมิ เชื้อสายของกษตั ริย์แหง่ อาณาจกั รน้ไี ด้ปกครอง จ�ำปาสักต่อมาทง้ั ในฐานะกษตั รยิ ์ เจา้ ผ้คู รองนคร และผู้ว่าราชการเมือง จนกระทง่ั แผน่ ดินสปป.ลาว รวมกันเป็นหน่ึงในปี พ.ศ. 2489 แตย่ ังคงมี บทบาททางการเมืองในสปป.ลาว ยุคพระราชอาณาจกั รมาตลอด จนถงึ การเปลี่ยนแปลงการปกครองในปี พ.ศ. 2518 [4] 22

การสญู เสียเอกราชแก่สยาม เมื่ออาณาจักรล้านช้างแตกเป็น 3 อาณาจักรเอกราช โดยในแต่ละ อาณาจกั รตา่ งตง้ั ตนเปน็ อสิ ระไมข่ น้ึ ตอ่ กนั   และยงั ไมไ่ วใ้ จซง่ึ กนั และกนั โดยเฉพาะหลวงพระบางและเวียงจันทน์แล้ว ทั้งสองอาณาจักรนี้ล้วน ถอื วา่ อีกฝ่ายเปน็ ศตั รเู ลยทเี ดียว ตา่ งกจ็ อ้ งหาทางท�ำลายล้างตอ่ กันด้วย การอาศยั ก�ำลงั ทหารพมา่ ที่มีอ�ำนาจในลา้ นนาอยู่เนอื งๆ มูลเหตุท่ีอาณาจักรล้านช้างทั้งสามเสียเอกราชให้แก่สยามมาจาก ความขัดแย้งภายในของอาณาจักรล้านช้าง ระหว่างพระเจ้าศิริบุญสาร กษตั รยิ เ์ วยี งจนั ทนก์ บั เจา้ พระวอและเจา้ พระตา สองขนุ นางผใู้ หญท่ ง้ั สอง นเี้ ปน็ พนี่ อ้ งกนั มเี ชอ้ื สายเจา้ ปางค�ำเมอื งเชยี งรงุ้ ซง่ึ ไดร้ บั ความชว่ ยเหลอื จากกษตั รยิ เ์ วยี งจนั ทนใ์ หต้ งั้ ถนิ่ ฐานทเ่ี มอื งหนองบวั ลมุ่ ภู ซง่ึ เปน็ เมอื งหนา้ ด่าน ท้ังสองเคยช่วยเหลือพระเจ้าศิริบุญสารให้ได้เสวยราชสมบัติ ในเวยี งจนั ทนม์ ากอ่ น ตอ่ มาในปี พ.ศ. 2313 พระเจา้ ศริ บิ ญุ สารทรงขอตวั ลกู สาวของขนุ นางทงั้ สอง ท�ำนองจะเอาไวเ้ ปน็ ตวั ประกนั เจา้ พระวอและ เจ้าพระตาไม่พอใจพระเจ้าศิริบุญสารมาก จึงกลับมาต้ังม่ันเตรียมสู้รบ อยู่ท่ีเมืองหนองบัวลุ่มภู มีการสู้รบกันหลายคร้ัง ในท่ีสุดเจ้าพระตา สนิ้ พระชนมใ์ นสนามรบ เจ้าพระวอจงึ น�ำไพรพ่ ลและเชื้อสายทรี่ อดตาย หนีไปพึ่งพระเจ้าองค์หลวงไชยกุมารแห่งอาณาจักรล้านช้างจ�ำปาสัก โดยไปตงั้ มนั่ อยทู่ บ่ี า้ นเวยี งดอนกอง ซง่ึ อยใู่ นเขตพนื้ ทจี่ งั หวดั อบุ ลราชธานี ของไทยในปัจจบุ ัน ต่อมาในปี พ.ศ. 2319 เจ้าพระวอเกิดความขัดแย้งกับพระเจ้าองค์ หลวงไชยกุมารจากเรื่องการสร้างก�ำแพงเมืองกับการสร้างหอค�ำ (เรือน หลวง) จงึ ไดพ้ าไพรพ่ ลมาตงั้ มน่ั ทบี่ า้ นดอนมดแดง และท�ำหนงั สอื ขอเปน็ ขอบขณั ฑสมี าของกรงุ สยามในรชั สมยั สมเดจ็ พระเจา้ ตากสนิ มหาราช ซงึ่ ระบบบรหิ ารราชการของสาธารณรฐั ประชาธปิ ไตยประชาชนลาว 23

พระองคก์ ไ็ ด้รับไว้ ฝ่ายเวียงจันทน์เหน็ วา่ ถ้าสง่ ก�ำลงั ไปปราบเจา้ พระวอ แลว้ ฝา่ ยจ�ำปาสกั จะไม่ให้ความชว่ ยเหลอื เจา้ พระวอแน่นอน จงึ ทรงส่ง กองทัพมาจับเจ้าพระวอฆ่าที่บ้านดอนมดแดงเสีย ท้าวค�ำผง ท้าว ทิดพรหม และท้าวก่�ำ บุตรหลานของเจ้าพระวอและเจ้าพระตาซ่ึงตีฝ่า วงล้อมออกมาได้ จึงแจ้งเร่ืองกราบทูลไปยังกรุงธนบุรีผ่านทางเมือง นครราชสมี า สมเด็จพระเจ้าตากสินทรงพิโรธมากท่ีฝ่ายเวียงจันทน์ส่งกองทัพมา ฆ่าผู้ที่อยู่ในขอบขัณฑสีมาของพระองค์ กอปรกับพระองค์เองก็ไม่ทรง ไว้ใจฝ่ายเวียงจันทน์ท่ีมีท่าทีฝักใฝ่อาณาจักรพม่า ซ่ึงยังคงคุกคาม ฝา่ ยสยามอยเู่ นอื งๆ ในปี พ.ศ. 2321 พระองคจ์ งึ ทรงสง่ กองทพั ภายใต้ การน�ำของสมเดจ็ เจา้ พระยามหากษตั รยิ ศ์ กึ และเจา้ พระยาสรุ สหี ข์ น้ึ ไปตี อาณาจกั รล้านช้างเวยี งจนั ทน์ โดยไล่ตมี าทางใตผ้ า่ นอาณาจกั รล้านช้าง จ�ำปาสกั กอ่ น ฝา่ ยจ�ำปาสกั เหน็ วา่ จะสกู้ องทพั ไทยไมไ่ ดจ้ งึ ยอมออ่ นนอ้ ม โดยดี จากน้ันจึงยกทัพขึ้นเหนือตีหัวเมืองหน้าด่านของเวียงจันทน์ เรื่อยมา จนสามารถหักเอาเมืองเวียงจันทน์ได้ส�ำเร็จ ฝ่ายสยามจึง กวาดตอ้ นทรพั ยส์ นิ ผ้คู น ขนุ นาง เช้อื พระวงศ์ และกุมตวั พระเจ้าศิรบิ ญุ สารลงมายงั กรงุ ธนบรุ ี ดา้ นอาณาจกั รล้านช้างหลวงพระบาง ซงึ่ เปน็ อริ กบั เวยี งจนั ทนม์ าตลอดกไ็ ดใ้ หค้ วามชว่ ยเหลอื ฝา่ ยสยามในสงครามครงั้ น้ี อยา่ งเตม็ ที่ แตพ่ อสนิ้ ศกึ กถ็ กู ฝา่ ยไทยบงั คบั ใหย้ อมออ่ นนอ้ มเปน็ เมอื งขน้ึ ดว้ ยเชน่ กนั อาณาจกั รลา้ นชา้ งทงั้ สามแหง่ จงึ ตกเปน็ ประเทศราชของไทย ท้ังหมดในปี พ.ศ. 2321 น้ีเอง แม้ต่อมาภายในสยามก็เกิดการ เปลี่ยนแปลงราชวงศ์สู่ราชวงศ์จักรี และย้ายราชธานีมายังกรุง รัตนโกสินทรใ์ นปี พ.ศ. 2325 ก็ตาม แตภ่ าวะความเป็นประเทศราชของ ทง้ั สามอาณาจกั รกม็ ไิ ดเ้ ปลย่ี นแปลง 24

ภาพท่ี 5 อนสุ าวรยี ์สมเดจ็ พระเจา้ อนวุ งศ์ สงครามเจา้ อนวุ งศ์ [4] ในปี พ.ศ. 2369 เจา้ อนุวงศป์ กครองอาณาจักรล้านชา้ งเวียงจนั ทน์ ซงึ่ เปน็ หนง่ึ ในประเทศราชของสยาม และโดยการปกครองของเจา้ อนวุ งศ์ อาณาจักรล้านช้างเวียงจันทน์ได้รับการวางพระทัยจากพระบาทสมเด็จ พระพุทธเลิศหล้านภาลัยแห่งกรุงสยามเป็นอย่างมาก จึงประทานเมือง จ�ำปาสักให้เจ้าราชบุตรโย้ ซึ่งเป็นราชโอรสของเจ้าอนุวงศ์ปกครอง ต่อมาเมื่อพระบาทสมเด็จพระพุทธเลิศหล้านภาลัยแห่งกรุงสยามเสด็จ สวรรคต พระบาทสมเด็จพระน่ังเกล้าเจ้าอยู่หัวเสด็จข้ึนเถลิงถวัลย์ ราชสมบัติเป็นพระมหากษัตริย์รัชกาลต่อมา เจ้าอนุวงศ์ทรงเห็นว่าเป็น ช่วงผลัดเปล่ียนแผ่นดินจึงคิดแยกตัวเป็นอิสระไม่ข้ึนกับสยามอีกต่อไป จงึ ไดร้ ะดมก�ำลงั รวมกบั เจา้ ราชบตุ รโย้ ซงึ่ ครองจ�ำปาสกั ยกทพั มาตสี ยาม ทางด้านภาคอีสานของไทยในปัจจุบัน พร้อมทั้งแสวงหาพันธมิตรจาก หลวงพระบางและหัวเมอื งล้านนาแตก่ ็ไมไ่ ด้รับการตอบสนอง เน่อื งจาก หัวเมืองดงั กลา่ วฝักใฝก่ ับฝ่ายไทยมากกว่า ระบบบริหารราชการของสาธารณรฐั ประชาธปิ ไตยประชาชนลาว 25

เม่ือกองทัพของเจ้าอนุวงศ์ยกทัพมาถึงเมืองนครราชสีมาเห็นว่า จะท�ำการไม่ส�ำเร็จ จึงตัดสินใจเผาเมืองนครราชสีมาท้ิงและกวาดต้อน เชลยตามรายทางกลับไปเวียงจันทน์ ระหว่างทางเชลยที่ถูกกวาดต้อน กไ็ ดล้ กุ ขน้ึ ตอ่ สกู้ องทพั ลาวทที่ งุ่ ส�ำรดิ จนเสยี ก�ำลงั ทหารลาวสว่ นหนง่ึ ดว้ ย ดา้ นฝา่ ยไทยซง่ึ ทราบขา่ วคอ่ นขา้ งลา่ ชา้ กไ็ ดส้ ง่ กองทพั ภายใตก้ ารน�ำของ กรมพระราชวงั บวรมหาศกั ดพิ ลเสพย์และเจา้ พระยาบดินทรเดชา (สิงห์ สงิ หเสน)ี   ขน้ึ มาปราบปรามกองทพั   เจา้ อนวุ งศส์ ไู้ มไ่ ดจ้ งึ แตกพา่ ย ตัวเจ้าอนุวงศ์และราชวงศ์เช้ือสายก็ต้องหนีภัยไปพึ่งจักรวรรดิเวียดนาม ฝ่ายสยามจึงยึดกรุงเวียงจันทน์ไว้ โดยยังมิได้ท�ำลายเมืองลงแต่อย่างใด และไดแ้ ตง่ ต้งั กองทหารจ�ำนวนหน่ึงรกั ษาเมืองไว้เทา่ น้นั ในปี พ.ศ. 2371 เจา้ อนวุ งศ์ไดก้ ลับมายังกรงุ เวียงจนั ทน์ โดยมากับ ขบวนราชทูตเวียดนามเพื่อขอสวามิภักด์ิสยามอีกครั้ง แต่พอสบโอกาส เจ้าอนุวงศ์จึงน�ำทหารของตนฆ่าทหารไทยที่รักษาเมืองจนเกือบทั้งหมด และยึดกรงุ เวยี งจนั ทนค์ นื กองทัพสยามจึงถอนก�ำลังเพื่อรวบรวมก�ำลัง พลและยกทัพมาปราบปรามเจ้าอนุวงศ์อีกคร้ัง ฝ่ายเจ้าอนุวงศ์เม่ือสู้ กองทัพไทยไม่ได้จึงได้หลบภัยที่เมืองพวน (แขวงเชียงขวางในปัจจุบัน) แต่เจ้าน้อยเมืองพวนกลับจับตัวเจ้าอนุวงศ์และพระราชวงศ์ท่ีเหลืออยู่ สง่ ลงมากรงุ เทพฯ  พระบาทสมเดจ็ พระนัง่ เกลา้ เจ้าอย่หู ัวทรงพิโรธ เจ้าอนุวงศ์มาก จึงทรงให้คุมขังเจ้าอนุวงศ์ประจานกลางพระนคร จนสน้ิ พระชนม์ สว่ นกรงุ เวยี งจนั ทนก์ ท็ รงมพี ระบรมราชโองการใหท้ �ำลาย จนไมเ่ หลือสภาพความเป็นเมอื ง และตงั้ ศูนยก์ ลางการปกครองฝา่ ยไทย เพอ่ื ดูแลอาณาเขตของอาณาจักรเวยี งจันทน์ ท่เี มอื งหนองคายแทน เมอื งเวยี งจนั ทนท์ ถ่ี กู ท�ำลายลงในครง้ั นน้ั มเี พยี งแคห่ อพระแกว้   และ วดั สสี ะเกดเท่าน้นั ทย่ี ังคงสภาพสมบูรณม์ าจนถงึ ปัจจบุ นั 26

สงครามเจ้าอนุวงศ์ท่ีเกิดขึ้นในเวลานั้น ต่อมาได้กลายเป็นส่วนหน่ึง ของความขดั แยง้ ระหวา่ งราชอาณาจกั รสยามและจกั รวรรดเิ วยี ดนาม จน กระทง่ั เกิดสงครามทีเ่ รยี กวา่ “อานามสยามยุทธ” เป็นระยะเวลาถงึ 14 ปี เพราะทั้งสองอาณาจักรล้วนต้องการขยายอิทธิพลของตนเข้าไปใน ดินแดนลาวและเขมร อีกท้ังสงครามน้ียังเป็นประวัติศาสตร์บาดแผลท่ี ถูกทง้ิ รอยไวใ้ นอดตี 1.1.4 ลักษณะประชากร จากการส�ำรวจประชากรของธนาคารโลกใน พ.ศ. 2556[26] พบว่า ประเทศสปป.ลาว มปี ระชากรรวม 6,850,345 คน ประกอบด้วย ชนเผา่ ต่างๆ ถงึ 68 ชนเผ่า ได้แก่ ลาวลุม่ (กลมุ่ คนเช้อื ชาติสปป.ลาว และใช้ Laตoาsร-Pางoทp่ี u1laแtiสoดnงอgrัตoรwากtphาeรrrเaตYtิบeeโa-ตHrขisอtงoปriรcะaชlาDกaรtสaปGปr.ลapาวhic 2.9 Population growth rate (%) 2.7 2.5 2.3 2.1 1.9 1.7 1.5 Year Country 2000 2001 2002 2003 2004 2005 2006 2007 2008 2009 2010 2011 2012 Laos 2.5 2.48 2.47 2.45 2.44 2.42 2.39 2.37 2.34 2.32 1.71 1.68 1.66 ที่มา: World Bank, 2013 ระบบบรหิ ารราชการของสาธารณรัฐประชาธิปไตยประชาชนลาว 27 2000 2001 2002 2003 2004 2005 2006 2007 2008 2009 2010 2011 2012

ภาษาลาวเป็นภาษาหลกั ) รอ้ ยละ 68 ลาวเทิง (เชน่ ชนเผ่าขม)ุ ร้อยละ 22 ลาวสงู (เช่น ชนเผา่ ม้ง) รอ้ ยละ 9 และอ่นื ๆ ร้อยละ 1[26] ในจ�ำนวนประชากรทั้งหมดยังแยกเปน็ สว่ นทส่ี �ำคัญในการสร้างชาติ ท่ีเรียกว่าก�ำลังแรงงานมีจ�ำนวน 3.7 ล้านคน[26] โดยแยกอยู่ในภาค การเกษตร ร้อยละ 76.5 ภาคอุตสาหกรรม ร้อยละ 7.5 และภาคการ บรกิ าร ร้อยละ 16 สว่ นอตั ราในการเรียนรหู้ นังสือน้ันมถี ึงรอ้ ยละ 73 1.1.5 ขอ้ มูลเศรษฐกจิ [15] สปป.ลาว เปน็ ประเทศเลก็ ทมี่ กี ารเพาะปลกู ทางการเกษตรเปน็ หลกั แตว่ นั นไี้ ดป้ ระกาศเปน็ แบตเตอรแี่ หง่ เอเชยี เพราะกจิ การทผี่ า่ นมามกี าร เปดิ ใหล้ งทนุ สรา้ งเขอ่ื นเพอ่ื ผลติ กระแสไฟฟา้ ขายใหแ้ ก่ จนี ไทย เวยี ดนาม ท�ำให้สร้างรายได้ให้สปป.ลาว อย่างมหาศาล ทั้งการลงทุนด้าน อตุ สาหกรรมทปี่ ระสบความส�ำเรจ็ เชน่ เครอื่ งยนต์ เบยี ร์ กาแฟ และการ ทอ่ งเที่ยว โดยไดร้ ับการสนบั สนุนจากสหรฐั อเมรกิ า ญีป่ ุน่ และเยอรมนั ท�ำใหเ้ ศรษฐกจิ สปป.ลาว ปี พ.ศ. 2556 คาดวาจะขยายตัวรอ ยละ 7.6 จากการบริโภคของภาคเอกชน การทองเท่ียว และการลงทุนกอสราง โครงการสาธารณูปโภคขนาดใหญ โดยเฉพาะการกอสรางโรงไฟฟา พลงั นำ้� เปน็ สําคัญ อยางไรกต็ ามอตั ราการขยายตัวชะลอลงจากปีกอ นที่ ขยายตัวรอยละ 7.9 สวนหน่ึงเปนผลจากรายไดการสงออกที่ชะลอลง ตามภาวะเศรษฐกิจโลก และราคาทองแดงซงึ่ เปนสนิ คาส่งออกสําคญั ที่ ปรบั ลดลง รวมถึงเงนิ ลงทนุ โดยตรงจากจีนและเวียดนามท่ีเขามาลงทนุ ในภาคอสังหาริมทรัพยที่ชะลอลง ท้ังน้ี ทรัพยากรธรรมชาติของ 28

สปป.ลาว รวมท้ังภาคการเกษตร ปาไม การเพิ่มขึ้นของเข่ือนไฟฟา พลังน้�ำ และทรัพยากรแรธาตุ ยังคงเปนเสาหลักใหกับเศรษฐกิจของ ประเทศ โดยรฐั บาลมเี ปาหมายทจี่ ะใชป ระโยชนจ ากทรพั ยากรธรรมชาติ เพ่ือเปนตัวขับเคลื่อนในการพัฒนาเศรษฐกิจและสังคม ผานการเขามา ลงทุนโดยตรงจากตางประเทศ (FDI) สําหรบั อัตราเงินเฟอ เฉลย่ี ในป พ.ศ. 2556 อยทู รี่ อ ยละ 6.5 เพ่ิมขึน้ จากปกอ นทร่ี อยละ 4.3 เปน ผลมาจากราคาสินคาในหมวดอาหาร โดย เฉพาะกลุมอาหารสดท่ีมีการขยายตัวขึ้นตามความตองการบริโภค ในประเทศทข่ี ยายตวั สงู และสว นหนง่ึ เปน ผลมาจากปญ หาขอ จํากดั ดาน อุปทาน จากการท่ีสปป.ลาว ประสบปญหาอุทกภัยในพ้ืนท่ีภาคใตของ ประเทศในชวงเดือนกรกฎาคมถึงสิงหาคม พ.ศ. 2556 ทําใหรัฐบาล ออกประกาศหามการสงออกปศุสัตวเปนการชั่วคราว ภาคการคา ตางประเทศ การสงออกในป พ.ศ. 2556 คาดวามีมูลคา 2,939 ลาน ดอลลารสหรัฐ ขยายตัวร้อยละ 1.6 ตามการสงออกสินแร โดยเฉพาะ ทองแดง และการส่งออกไฟฟ้าเปนสําคญั ขณะท่ีการนําเขาคาดวาจะมี มูลคา 5,249 ลานดอลลาร์สหรัฐเพมิ่ ขนึ้   รอ ยละ 20.1  จากการนําเขา สินคาทุนเพือ่ นํามาใชในการกอ่ สราง สนิ คาอปุ โภคบริโภค และรถยนต ซง่ึ ธรุ กจิ ทตี่ างชาตมิ าลงทนุ มากทสี่ ดุ   ไดแ ก  อตุ สาหกรรมเหมอื งแร สรางเขอ่ื นผลติ ไฟฟา การเกษตร และโรงแรม เปน ตน โดยนกั ลงทนุ ตางชาติ ทส่ี ําคัญ ไดแ ก เวียดนาม จีน และไทย คาเงินกีบของสปป.ลาว ป พ.ศ. 2556 แข็งคาขึ้นเม่ือเทียบกับเงิน ดอลลาร์สหรัฐ แตทรงตัวเมื่อเทียบกับเงินบาท โดยอัตราแลกเปลี่ยน เฉลยี่ ป 2556 อยทู ่ี 7,820 กบี ตอ ดอลลารส์ หรฐั และ 256.46 กบี ตอ บาท ระบบบริหารราชการของสาธารณรฐั ประชาธิปไตยประชาชนลาว 29

เทยี บกับอัตราแลกเปลย่ี นเฉลยี่ ป พ.ศ. 2555 อยูที่ 8,007 กีบตอ ดอล- ลาร์สหรัฐ และ 259.02 กีบตอบาท อยางไรก็ตามธนาคารกลางของ สปป.ลาว มีการดําเนินนโยบายอัตราแลกเปล่ียนตามกลไกตลาดท่ีมี การคุมครอง ซ่ึงในภาพรวมของการขยายตัวทางเศรษฐกิจของสปป.ลาว จะเห็น ได้จากกราฟท่แี สดงต่อไปนี้ ตารางที่ 2 กราฟแสดงอัตราการเติบโตของเศรษฐกจิ สปป.ลาว อตั ราการเตบิ โตของเศรษฐกิจ สปป.ลาว ปี 2547-2558 10 9 8.6 7.8 7.8 7.6 7.9 8.3 8.4 7.4 7.9 8 7 7.0 7.1 6 6.8 5 4 2547 2549 2551 2553 2555 2557 Source : IMF and KResearch - - - IMF Estimates ที่มา: ศนู ยว์ ิจยั กสิกรไทย, 2013 นอกจากน้ีการลงทุนสะสมในสปป.ลาว จากต่างประเทศพบว่า ใน ภาพรวมโครงการลงทุนต้ังแต่ปี พ.ศ. 2543-2553 ประเทศจีนเป็น ประเทศทเ่ี ขา้ มาลงทนุ โดยมจี �ำนวนโครงการลงทนุ มากทส่ี ดุ จ�ำนวน 412 โครงการ ตามมาด้วยประเทศไทยจ�ำนวน 276 โครงการ เวียดนาม และ ฝรัง่ เศส ตามล�ำดับ แตห่ ากพิจารณาดา้ นมลู ค่าของการลงทนุ จะพบว่า ประเทศเวียดนามมีมลู ค่าของการลงทนุ สูงท่สี ดุ เป็นจ�ำนวนเงนิ 2.9 พนั 30

ล้านดอลลา่ รส์ หรัฐ รองลงมาคือ ประเทศจีนมลู คา่ 2.8 พันล้านดอลล่าร์- สหรัฐ และไทยอยู่ในอนั ดบั สามคือ 2.7 พันลา้ นดอลล่าร์สหรฐั ในขณะ ทดี่ า้ นประเภทกจิ การทมี่ จี �ำนวนโครงการลงทนุ มากทสี่ ดุ ในปี พ.ศ. 2553 ไดแ้ ก่ การบรกิ าร รองลงมาคือ ด้านอุตสาหกรรมและหัตถกรรม การคา้ การเกษตร และเหมอื งแร่ ตามล�ำดบั ขณะทกี่ จิ การทีม่ มี ลู คา่ การลงทุน มากทสี่ ุดในปี พ.ศ. 2553 ไดแ้ ก่ แหล่งก�ำเนิดไฟฟ้า ตารางที่ 3 ล�ำดับของนกั ลงทุนตา่ งชาติทีเ่ ข้ามาลงทุนในสปป.ลาว การลงทุนสะสมใน สปป.ลาว 5 อนั ดบั แรก (ตง้ั แตป่ ี 2543-2553) ล�ำ ดับท ่ี ประเทศ จ�ำ นวนโครงการ มลู คา่ การลงทุน (เหรยี ญสหรัฐฯ) 1 เวียดนาม 265 2,972,339,342 2 จีน 412 2,845,674,318 3 ไทย 276 2,693,565,843 4 เกาหลี 160 515,782,912 5 ฝร่งั เศส 78 469,537,586 อน่ื ๆ - 4,179,221,232 รวม - 13,676,121,233 ท่มี า: ศูนยว์ จิ ยั กสกิ รไทย, 2013 สนิ คา้ ส่งออก เสอื้ ผา้ ส�ำเร็จรปู ไมซ้ ุง ไม้แปรรปู ผลติ ภณั ฑ์ไม้ สินแร่ เศษโลหะ ถา่ นหนิ หนงั ดิบและหนังฟอก ขา้ วโพด ใบยาสูบ กาแฟ ระบบบริหารราชการของสาธารณรฐั ประชาธิปไตยประชาชนลาว 31

ตารางท่ี 4 สถิตทิ างเศรษฐกิจทีส่ �ำคัญของ สปป.ลาวปี พ.ศ.2549-2554 สถิติ 2549 2550 2551 2552 2553 2554 อGตัDรPาก(รา้อรยเตลบิะโตตอ่ ขปอ)ี ง 8.3 7.8 7.8 7.6 7.8 8 GผลDิตPภ(ณัล้าฑนป์ ดรอะลชลาาชรา)์ ติ 3,468 4,213 5,280 5,780 4,720 5,000* อ(รตั อ้ รยาลเงะนิตเ่อฟปอ้ ี) 6.8 4.5 7.6 0.03 5.4 7.58 ประชากร (ล้านคน) 5.7 5.8 6.0 6.1 7.0 7.0 (GดDอPลลตา่อรห์สัวหรัฐ) 606 714 875 914 984 1,048* ม(ลูลา้ คนา่ ดสอง่ ลอลอากร์สหรฐั ) 860.1 925.6 1,307.5 1,237.1 822.3 2,789.52 ม(ลลู า้ คนา่ ดกอาลรลนา�ำรเข์สา้ห รฐั ) 931.4 916.4 1,364.8 1,065.8 1,053.7 1,129.72 ดุลการคา้ (71.3) 9.2 (57.3) 171.3 (231.4) (1659.8) (ล้านดอลลาร์สหรฐั ) ท่ีมา: 1.กระทรวธงนอาุตคสาารหแหกรง่ รชมาตแิลละาวกา2ร.คAา้ DสBปปค.าลดากวา/กรณระ์ ทGรDวPงแปผี น25ก5า4รและการลงทนุ / สินค้าน�ำเข้า รถจกั รยานยนต์และส่วนประกอบ เคร่อื งจกั รกล เครอ่ื งใช้ ไฟฟ้าท่ีให้ความร้อน อาหาร ผา้ ผืน สารเคมี และเครอ่ื งอปุ โภคบริโภค การค้าชายแดนไทย-สปป.ลาว สาธารณรัฐประชาธปิ ไตยประชาชนลาว และไทยมพี รมแดนท่เี ช่ือม ตอ่ ตดิ กันเปน็ ระยะประมาณ 1,810 กิโลเมตร แบ่งเปน็ พรมแดนทางบก 32

702 กิโลเมตร และพรมแดนทางน้�ำ 1,108 กิโลเมตร จากการท่ีมี พรมแดนติดต่อกันเป็นระยะทางท่ียาวน้ันท�ำให้ปริมาณการค้าชายแดน ของทงั้ สองประเทศเพ่ิมสูงข้นึ ดว้ ย การค้าชายแดน หมายถึง การค้าขายทเ่ี กิดข้นึ ในรปู แบบตา่ งๆ ของ ประชาชน หรอื ผปู้ ระกอบการทมี่ ภี มู ลิ �ำเนาอยใู่ นจงั หวดั อ�ำเภอ หมบู่ า้ น ท่ีมีเขตติดต่อกับประเทศเพื่อนบ้าน ท�ำการซื้อขาย แลกเปล่ียนสินค้า ระหว่างกัน การค้าชายแดนลาว-ไทย สามารถแบ่งได้ออกเป็นสอง ประเภท คือ 1. การคา้ ในระบบ หมายถงึ การคา้ ทนี่ �ำสนิ คา้ เขา้ ออกตามชายแดน โดยผ่านพิธศี ุลกากร 2. การคา้ นอกระบบ หมายถงึ การลกั ลอบคา้ ขาย โดยอาศยั ชอ่ งทาง ความสะดวกของภูมปิ ระเทศ โดยไมผ่ ่านพธิ ีศุลกากร ลกั ษณะของผู้น�ำเข้าและส่งออกสินคา้ ของลาว บริษัทของรัฐ (State-owned Company) เป็นหน่วยงานของรัฐ ใชช้ ่ือวา่ ลาวขาเขา้ -ขาออก (Societe Lao Import-Export) กระทรวง การค้าของลาวเป็นผู้รับผิดชอบโดยจะเป็นการน�ำเข้าและส่งออกสินค้า ทจี่ �ำเปน็ ตอ่ การพฒั นาโครงสรา้ งพ้นื ฐานของประเทศ บริษัทเอกชน (Private Company) เป็นบริษัทที่จดทะเบียนเป็น ผนู้ �ำเขา้ -สง่ ออกสนิ คา้ ตามประเภทและหมวดทยี่ นื่ ขอ และไดร้ บั อนญุ าต จากรฐั แลว้ เทา่ นนั้ โดยลาวมบี รษิ ทั ทจี่ ดทะเบยี นเปน็ ผนู้ �ำเขา้ และสง่ ออก ประมาณ 200 บรษิ ัท พอ่ คา้ ชายแดน (Border Merchant) เปน็ ผทู้ ที่ �ำการคา้ ขายตามแนว ชายแดนทั้งท่ีจดทะเบียนเป็นผู้น�ำเข้า-ส่งออก หรือเป็นร้านค้าแผงลอย ระบบบริหารราชการของสาธารณรัฐประชาธปิ ไตยประชาชนลาว 33

ที่รับจ้างขนส่งสินค้า พ่อค้าชายแดนเหล่านี้จะมารับใบส่ังซื้อสินค้าตาม ร้านค้า และมินิมาร์ทในกรุงเวียงจันทน์ทุกวันและท�ำการขนสินค้าจาก ชายแดนไทยมาให้ การช�ำระเงนิ ในการซือ้ ขายสนิ ค้าระหว่างไทย-ลาว ช�ำระเงินโดยการใช้ระบบการเปิด L/C (Letter of Credit) ส่วนใหญ่เปน็ การช�ำระเงนิ จากรัฐบาลไทยในการซือ้ พลังงานไฟฟา้ จาก ลาว ช�ำระด้วยเงินสด นิยมช�ำระเป็นเงินบาทมากกว่าเงินกีบ เนื่องจาก ทางการลาวจ�ำกดั การแลกเปลย่ี นเงนิ ตราตา่ งประเทศ และคา่ เงนิ กบี ไมม่ ี เสถยี รภาพ ช�ำระเงินโดยใชร้ ะบบ T/T (Telegraphic Transfer) เปน็ ระบบที่ ผสู้ ง่ ออกไทยจะสง่ สนิ คา้ ไปใหผ้ นู้ �ำเขา้ ลาวโดยใหเ้ ครดติ เมอ่ื ครบก�ำหนด ผู้น�ำเข้าลาวจะโอนเงนิ กลบั มาให้ผสู้ ่งออกของไทย ช�ำระเงินโดยระบบ D/A (Document Against Acceptance) ผู้ส่งออกของไทยจะตรวจสอบฐานะของผู้น�ำเข้าลาวจนเป็นที่พอใจแล้ว จึงส่งสินค้าไปให้ผู้น�ำเข้าลาวพร้อมส่งเอกสารการออกสินค้าให้ธนาคาร ในลาวเพื่อช�ำระเงิน ผู้น�ำเข้าของลาวจะต้องน�ำเงินมาช�ำระสินค้าที่ ธนาคารก่อน จึงจะไดร้ ับเอกสารเพือ่ น�ำไปออกสินค้าจากคลังสินค้าได้ จดุ ผ่านแดนถาวร มี 14 แห่ง ได้แก่ • ดา่ นสะพานมติ รภาพไทย-ลาว บ้านเหลา่ จอมมณี ต�ำบลมชี ยั อ�ำเภอเมอื ง จังหวัดหนองคาย-เมืองหาดทรายฟอง นครหลวง เวียงจนั ทน์ 34

• ดา่ นท่าเสด็จ ทา่ เรอื หายโศก อ�ำเภอเมือง จงั หวดั หนองคาย- ด่านทา่ เด่ือ เมอื งหาดทรายฟอง • ด่านบึงกาฬ อ�ำเภอบึงกาฬ จังหวดั หนองคาย-เมืองปากซัน แขวงบอลคิ �ำไซ (เสน้ ทางไปเวียดนาม ตามถนนหมายเลข 8) • ด่านช่องเมก็ อ�ำเภอสิรนิ ธร จังหวดั อบุ ลราชธานี-บ้านวังเตา่ เมอื งปากเซ แขวงจ�ำปาสกั • ดา่ นบ้านปากแซง กิ่งอ�ำเภอนาตาล จงั หวดั อุบลราชธาน-ี บ้าน ปากตะพาน เมอื งละคอนเพง็ แขวงสาละวัน • ดา่ นอ�ำเภอเมือง จงั หวัดนครพนม-เมืองทา่ แขก แขวงค�ำม่วน • ดา่ นอ�ำเภอเมอื ง จงั หวดั มกุ ดาหาร-เมอื งคนั ทะบรุ ี แขวงสะหวนั - นะเขต • ด่านอ�ำเภอเชยี งของ จังหวดั เชยี งราย-เมอื งห้วยทราย แขวงบ่อแกว้ • ดา่ นอ�ำเภอเชยี งแสน อ�ำเภอเชยี งแสน จงั หวัดเชยี งราย-เมือง ต้นผึง้ แขวงบอ่ แกว้ • ดา่ นบ้านปากห้วย ต�ำบลหนองผอื อ�ำเภอทา่ ลี่ จงั หวดั เลย-เมอื ง แก่นทา้ ว แขวงไชยะบรุ ี • ด่านบ้านเชียงคาน อ�ำเภอเชียงคาน จงั หวดั เลย-เมืองสานะคาม แขวงเวียงจนั ทน์ • ดา่ นบ้านคกไผ่ ต�ำบลปากชม อ�ำเภอปากชม จงั หวดั เลย-บ้านวงั เมอื งสานะคาม แขวงเวียงจนั ทน์ • ดา่ นบา้ นนากระเซ็ง ต�ำบลอาฮี อ�ำเภอท่าลี่ จงั หวดั เลย • ด่านบ้านหว้ ยโกน๋ อ�ำเภอเฉลมิ พระเกยี รติ จงั หวัดน่าน-บ้าน น�้ำเงิน เมืองเงิน แขวงไชยะบุรี ระบบบรหิ ารราชการของสาธารณรฐั ประชาธปิ ไตยประชาชนลาว 35

จุดผ่อนปรน มีจ�ำนวน 25 แหง่ ดงั น้ี • จังหวัดเชียงราย มี 6 แห่ง - บ้านแจมป๋อง ต�ำบลหล่ายงาว ก่ิงอ�ำเภอเวียงแก่น-บ้านด่าน เมืองห้วยทราย แขวงบอ่ แกว้ - บา้ นรม่ โพธท์ิ อง (เลาเจอ) หมทู่ ่ี 9 ต�ำบลตบั เตา่ อ�ำเภอเทงิ -บา้ น ปางไฮ เมอื งคอบ แขวงไชยะบรุ ี - บ้านสวนดอก หมทู่ ี่ 8 ต�ำบลบา้ นแซว อ�ำเภอเชยี งแสน-บ้านสี เมืองงาม เมืองตน้ ผึ้ง แขวงบ่อแกว้ - บ้านสบรวก หมู่ท่ี 1 ต�ำบลเวียง อ�ำเภอเชียงแสน-บ้านเมือง มอม เมอื งต้นผ้ึง แขวงบ่อแกว้ (เปน็ จุดผอ่ นปรนระหว่างไทย-พม่า ด้วย) - บา้ นหาดบา้ ย หมทู่ ่ี 1 ต�ำบลริมโขง อ�ำเภอเชยี งของ จงั หวัด เชยี งราย-บา้ นดอยแดง เมืองตน้ ผ้งึ แขวงบ่อแก้ว - บา้ นหว้ ยลกึ หมทู่ ี่ 4 ต�ำบลมว่ งยาย อ�ำเภอเวียงแกน่ จงั หวดั เชียงราย-บ้านครกหลวง-บ้านปากติน เมืองหว้ ยทราย แขวงบอ่ แกว้ • จงั หวัดพะเยา มี 1 แห่ง - บา้ นฮวก ต�ำบลภซู าง กง่ิ อ�ำเภอภซู าง-บา้ นปางมอน เมอื งเชยี ง ฮ่อน แขวงไชยะบรุ ี • จงั หวัดนา่ น มี 2 แหง่ - บา้ นหว้ ยสะแตง ต�ำบลงอบ อ�ำเภอทงุ่ ชา้ ง-บา้ นปา่ หวา้ น เมอื ง เชยี งฮอ่ น แขวงไชยะบุรี - บา้ นใหมช่ ายแดน ต�ำบลชนแดน อ�ำเภอสองแคว-บ้านเตสอง เมอื งเชียงฮอ่ น แขวงไชยะบุรี • จงั หวัดอตุ รดิตถ์ มี 2 แหง่ 36

- บา้ นห้วยต่าง ต�ำบลบ้านโคก อ�ำเภอบา้ นโคก–บ้านขอนแก่น เมอื งบอ่ แตน แขวงไชยะบุรี - บา้ นภูดู่ ต�ำบลม่วงเจด็ ต้น อ�ำเภอบา้ นโคก-บ้านผาแก้ง (บา้ น บวมลาว) เมอื งปากลาย แขวงไชยะบุรี • จังหวัดเลย มี 2 แหง่ - บา้ นเหมอื งแพร่ ต�ำบลนาแหว้ อ�ำเภอนาแหว้ -บา้ นเหมอื งแพร่ เมอื งบ่อแตน แขวงไชยะบรุ ี - บา้ นนาขา่ ต�ำบลปากหมนั อ�ำเภอดา่ นซ้าย-เมืองบ่อแตน แขวงไชยะบรุ ี • จังหวัดนครพนม มี 3 แหง่ - ด่านศลุ กากร อ�ำเภอท่าอุเทน-บา้ นหินบูน เมอื งหนิ บูน แขวงค�ำม่วน - บ้านดอนแพง ต�ำบลบา้ นแพง อ�ำเภอบ้านแพง-บ้านบงุ่ กวาง เมอื งปากกะดิง่ แขวงบอลคิ �ำไซ - บา้ นหนาดทา่ ต�ำบลบา้ นกลาง อ�ำเภอเมอื ง-บา้ นปากเปง่ เมอื ง ท่าแขก แขวงค�ำม่วน • จังหวดั อบุ ลราชธานี มี 4 แหง่ - อ�ำเภอเขมราฐ-บา้ นนาปากซนั เมอื งสองคอน แขวงสะหวนั นะ เขต - บา้ นสองคอน ต�ำบลสองคอน อ�ำเภอโพธไ์ิ ทร-บา้ นหนองแสง บา้ นกะลา บ้านดอนเฮือ เมอื งละคอนเพ็ง แขวงสาละวัน - บา้ นดา่ นเกา่ ต�ำบลโขงเจยี ม อ�ำเภอโขงเจยี ม-บา้ นสสี มั พนั เมอื ง ชะนะสมบูน แขวงจ�ำปาสกั - บา้ นหนองแสง (บริเวณช่องตาอุ) ต�ำบลโพนงาม อ�ำเภอ ระบบบรหิ ารราชการของสาธารณรัฐประชาธปิ ไตยประชาชนลาว 37

บณุ ฑรกิ -บ้านเหียง เมืองสขุ ุมา แขวงจ�ำปาสัก • จงั หวดั หนองคาย มี 5 แห่ง - บา้ นเปงจาน ต�ำบลโพนแพง กง่ิ อ�ำเภอรตั นวาป-ี บา้ นทวย เมอื ง ท่าพระบาท แขวงบอลคิ �ำไซ - บ้านบุ่งคล้า อ�ำเภอบุ่งคล้า-บ้านปากกะด่ิง เมืองปากกะดิ่ง แขวงบอลิค�ำไซ - หมทู่ ี่ 1 ต�ำบลจมุ พล อ�ำเภอโพนพสิ ยั -บา้ นโดนใต้ เมอื งปากงมึ นครหลวงเวยี งจนั ทน์ - บ้านห้วยคาด หมู่ท่ี 5 ต�ำบลปากคาด อ�ำเภอปากคาด-บ้าน ทวย เมอื งท่าพระบาท แขวงบอลิค�ำไซ - บ้านหม้อ หมู่ท่ี 8 ต�ำบลบา้ นหม้อ อ�ำเภอศรีเชยี งใหม่ จังหวัด หนองคาย-ท่าเรือเก้าเลี้ยว บ้านด่านค�ำ เมืองสีโคดตะบอง นครหลวง เวยี งจนั ทน์ 1.1.6 ข้อมลู การเมอื งการปกครอง การแบง่ เขตการปกครองแบง่ เปน็ 16 แขวง และ 1 เขตปกครองพเิ ศษ (นครหลวงเวียงจนั ทน์) ไดแ้ ก่ แขวงอดั ตะปือ แขวงบอ่ แกว้ แขวงบอลคิ �ำไซ แขวงจ�ำปาสัก แขวงหวั พนั แขวงค�ำม่วน แขวงหลวงนำ้� ทา แขวงหลวง- พระบาง แขวงอุดมไซ แขวงพงสาลี แขวงสาละวนั แขวงสะหวนั นะเขต นครหลวงเวียงจันทน ์ (เขตการปกครองพเิ ศษ) แขวงเวียงจนั ทน์ แขวง ไซยะบลู ี แขวงเซกอง และแขวงเชยี งขวาง แขวงทสี่ �ำคญั ไดแ้ ก่ เวยี งจนั ทน์ สะหวันนะเขต หลวงพระบาง จ�ำปาสัก ค�ำม่วน โดยในหน่ึงแขวงจะมี หลายเมือง ซึ่งจะมีหน่ึงเมอื งเป็นเมอื งหลวงเรยี กวา่ เมอื งเอก และหน่งึ 38

เขตปกครองพิเศษ เรียกว่า นครหลวง และมีค�ำขวัญประจ�ำสปป.ลาว ท่ีเขตการปกครองต่างๆ ต้องเข้าใจอย่างเป็นหน่ึงเดียว คือ สาธารณรัฐ ประชาธปิ ไตยประชาชนลาว สนั ติภาพ เอกราช ประชาธิปไตย เอกภาพ วัฒนาถาวร [1] ภาพที่ท6ีม่ าภ: ากพรมแอสาดเงซกียานรแกบระ่งทเขรตวกงตารา่ ปงปกรคะรเอทงศข,อ2ง5ส5ป6ป.ลาว 1.1.7 ลักษณะทางสงั คมและวฒั นธรรม [2] วิถีชีวิตของชาวสปป.ลาว ยังคงยึดถือและปฏิบัติตามขนบประเพณี ทส่ี บื ทอดตอ่ ๆ กนั มา ณ วนั นย้ี งั คงเปน็ วถิ ชี วี ติ แบบเดมิ ๆ ความเชอื่ ดงั้ เดมิ มีอิทธิพลต่อชาวสปป.ลาว ทุกกลุ่ม แม้แต่ชาวสปป.ลาว กลุ่มท่ีนับถือ พุทธศาสนา แตก่ ็ยังคงนบั ถือผคี วบค่ไู ปด้วย เชน่ ความเชื่อเรอ่ื งขวญั ซ่ึง ระบบบรหิ ารราชการของสาธารณรฐั ประชาธิปไตยประชาชนลาว 39

เชือ่ วา่ มนุษย์จะมีขวัญประจ�ำตวั เม่อื ขวญั ออกจากร่างกายจะตอ้ งท�ำพธิ ี สขู่ วัญ ศาสนาของชาวสปป.ลาวเทิง  และชาวสปป.ลาวสูงหลายเผ่ามี การนับถือผีท้ังในธรรมชาติและผีบรรพบุรุษ อาการเจ็บไข้ได้ป่วยจะ เกี่ยวข้องกับการกระท�ำของผีเหมือนในอดีตยังไม่เปล่ียนแปลงไปตาม กระแสโลก งานประเพณตี า่ งๆ ของชาวสปป.ลาว นอกจากวิถีชีวติ ความเปน็ อยู่ และภาษาไทย-ลาวทม่ี คี วามคลา้ ยคลงึ กนั แลว้ งานประเพณตี า่ งๆ ตลอด ปีของสปป.ลาว จัดในวัดท่ีมีอยู่ทั่วประเทศ 5,000 วัด และมีพระสงฆ์ 22,000 รูป ซึ่งดูไม่ต่างจากชาวไทยในภาคอีสานนัก เกือบท้ังหมด เปน็ งานประเพณีท่ีเกีย่ วเนอ่ื งกับพทุ ธศาสนาเรียกกนั ว่า ฮีตสิบสอง (ฮตี หมายถงึ จารตี ) ชาวหลวงพระบางมงี านประเพณคี รบทงั้ สบิ สองเดอื นใน หนงึ่ ปี • เดอื นอ้าย บญุ เขา้ กรรม ชว่ งที่จัด เดอื นธันวาคม ซึ่งอยใู่ นช่วงฤดูหนาว ลักษณะงาน จดุ ประสงคข์ องงานนี้ เพ่ือให้พระภิกษุ เขา้ พธิ กี รรมปลงอาบตั ดิ ว้ ยการอยใู่ นเขตทจี่ �ำกดั เพอ่ื ช�ำระจติ ใจใหส้ ะอาด • เดือนย่ ี บญุ คณู ลาน ช่วงทจี่ ดั หลงั ฤดเู กบ็ เกีย่ ว ลกั ษณะงาน ก่อนท่ีจะน�ำข้าวที่นวดแล้วไปเก็บใน ยงุ้ ขา้ ว จะมกี ารท�ำบญุ ขวญั ขา้ ว มกี ารนมิ นตพ์ ระภกิ ษมุ าสวดเปน็ สริ มิ งคล และเป็นนมิ ติ รหมายที่ดี ใหป้ ีตอ่ ๆ ไป ท�ำนากจ็ ะเกดิ ผลดยี ่งิ ๆ ขนึ้ • เดือนสาม บญุ ข้าวจี่ ช่วงที่จัด หลังงานวันมาฆบชู า ลกั ษณะงาน ชาวนาจะน�ำข้าวจ่ีหรือข้าวเหนียวท่ีนึ่ง 40

สุกแล้วปั้นเป็นก้อนเท่าไข่เป็ดทาเกลือ น�ำไปเสียบไม้ย่าง จากนั้นตีไข่ ทาให้ทั่วแล้วย่างจนไข่สุก แล้วถอดไม้เสียบออก น�ำน�้ำตาลอ้อยยัดลง ตรงกลางเปน็ ไส้ น�ำถวายพระสงฆใ์ นชว่ งหมดฤดทู �ำนาเพอื่ เปน็ การท�ำบญุ • เดือนส่ี บุญพระเวส ชว่ งที่จัด เดือนสข่ี ้างขนึ้ หรือขา้ งแรมกไ็ ด้ ลกั ษณะงาน งานบุญพระเวสหรืองานบุญมหาชาติ เชน่ เดยี วกบั งานฟงั เทศนพ์ ระเวสสนั ดรชาดกอนั เปน็ ชาดกทย่ี ง่ิ ใหญ่ ชาว บา้ นจะชว่ ยกนั ตกแตง่ ประดบั ประดาโรงธรรมดว้ ยดอกไม้ โดยใชด้ อกบวั ในการประดับธรรมาสน์ มีการจัดขบวนแห่พระเวสสันดรและนางมัทรี ออกจากป่าเข้าเมืองไปส้ินสุดท่ีพระอุโบสถ มีการเทศน์มหาเวสสันดร ตลอดวัน • เดือนห้า บุญสงกรานต์ ช่วงท่ีจดั ตรุษสงกรานต์ ลกั ษณะงาน มีพิธีรดน�้ำพระสงฆ์ คล้ายกับของ ประเทศไทยนับเป็นงานที่ได้รับความสนใจจากนักท่องเที่ยวมากท่ีสุด และยังถอื เป็นวันปีใหม่ของสปป.ลาว เชน่ เดียวกบั ของไทย วันแรกของงานเรียกว่า “วันสังขารล่อง” ชาวหลวงพระบางจะไป จับจ่ายซ้ือของและธงรูปพระพุทธเจ้า เพ่ือน�ำไปปักกองเจดีย์ทรายริม แม่น้�ำโขง ตกเยน็ มีการลอยกระทง ภายในกระทงบรรจกุ ล้วย ขิง ขา้ วด�ำ ขา้ วแดง ดอกไม้ ใบพลู ธูปเทียน ดอกดาวเรือง ผมและเล็บของผูล้ อย แล้ว อธษิ ฐานใหท้ ุกขโ์ ศกโรคภัยลอยไปกับกระทง วันที่สอง เรียกว่า “วันเนา” ซ่ึงช่วงเช้ามีการแห่รูปหุ่นเชิดปู่เยอย่า เยอ และสงิ หแ์ กว้ สงิ หค์ �ำ ชว่ งบา่ ยขบวนแห่ ซงึ่ น�ำโดยปเู่ ยอยา่ เยอ ผเู้ ฒา่ ผู้แก่ หวั หน้าหมู่บา้ นแตล่ ะหมูบ่ า้ น ขบวนพระสงฆ์ นางสงกรานต์ (นาง ระบบบรหิ ารราชการของสาธารณรัฐประชาธิปไตยประชาชนลาว 41

วอ) ขสี่ ัตวพ์ าหนะบนรถแห่ ป่เู ยอย่าเยอก็จะฟอ้ นร�ำอวยพรให้ลกู หลาน วนั ที่สาม เรียกว่า “วันสังขารขน้ึ ” ชาวหลวงพระบางท�ำข้าวเหนยี ว นึ่งและนมลูกกวาด พากันเดินข้ึนภูษี ภูเขาสูงกลางเมืองหลวงพระบาง ระหว่างเดินจะวางข้าวเหนียวและขนมไว้ตามหัวเสาบันไดจนถึงองค์ พระธาตุ วธิ กี ารนเี้ รยี กวา่ “การตกั บาตรภษู ”ี มกี ารโยนขา้ วเหนยี วลงปา่ ข้างองค์พระธาตุเป็นการให้ทาน ช่วงบ่ายมีขบวนแห่นางสังขาร และ อัญเชิญศีรษะท้าวกบลิ พรหมจากวดั เชียงทองไปยังวัดวิชนุ มีการสรงนำ้� พระที่วดั วิชนุ วันที่ส่ี นับเป็นวันส�ำคัญอีกวันหนึ่ง มีการแห่พระบางพระพุทธรูป คู่เมืองหลวง ปีหน่ึงจะอัญเชิญออกมาให้ชาวเมืองสรงน้�ำ พระบางนี้ จะประดิษฐานอยทู่ ่วี ัดใหมเ่ ป็นเวลา 3 วัน 3 คืน จากนนั้ จะอัญเชญิ กลับ หอพพิ ิธภัณฑ์เช่นเดมิ • เดอื นหก บญุ บั้งไฟ ชว่ งท่จี ัด เดอื นหกกอ่ นฤดูกาลท�ำนามาถงึ ย่างเขา้ ฤดูฝน ลักษณะงาน คล้ายกับงานบุญบั้งไฟของภาคอีสาน จุดประสงค์เพื่อบูชาหลักเมือง และขอให้ฝนตกต้องตามฤดูกาล ปีใดที่ ไมม่ กี ารท�ำบุญบัง้ ไฟ เชือ่ ว่าปนี ั้นจะเกดิ เภทภัยตา่ งๆ และเป็นสัญญาณ วา่ ฤดูการท�ำนาจะเริ่มตน้ แล้ว นบั เป็นงานที่กระท�ำกนั มาแตโ่ บราณ • เดอื นเจด็ บุญซ�ำฮะ ช่วงท่จี ดั เดอื นเจด็ ลักษณะงาน งานเลก็ ๆ แตเ่ ปน็ งานส�ำคญั จดุ ประสงค์ เพ่ือการช�ำระล้างเสนียดจัญไรท่ีจะเกิดกับบ้านเมือง เพื่อให้บ้านเมือง มคี วามสงบสขุ 42

• เดอื นแปด บญุ เขา้ พรรษา ช่วงที่จดั วันขึ้น 15 ค่�ำ เดอื น 8 ลักษณะงาน เป็นการเริ่มต้นฤดูเข้าพรรษาเหมือน ชาวไทย พระสงฆ์จะหยุดออกบิณฑบาตเป็นเวลา 3 เดือนตามพุทธ บัญญตั ิ นบั แตว่ นั เข้าพรรษาเปน็ ต้นไป ในวนั แรกน้จี ะมีการท�ำบุญกันท่ี วัดตา่ งๆ • เดอื นเก้า บุญห่อข้าวประดับดนิ การสว่ งเรือ และการล่องเรอื ไฟ ชว่ งทจ่ี ดั เดือนเก้า ลกั ษณะงาน บุญห่อข้าวประดับดิน เป็นการท�ำ พิธีกรรมอุทิศส่วนกุศลให้กับวิญญาณบรรพบุรุษและวิญญาณไร้ญาติ ให้ออกมารับสว่ นบุญ  ชาวบา้ นจะน�ำอาหารหวานคาว บหุ รี่ หมาก พลู ใส่ลงในกรวยใบตองไปวางตามพ้นื ดนิ หรือใตต้ น้ ไมบ้ ริเวณรว้ั บ้าน รว้ั วัด การส่วงเรอื (ส่วง หมายถงึ แข่งขัน) เปน็ งานบญุ แข่งเรือประจ�ำเดือนเก้า ทกุ ค้มุ (หมบู่ า้ น) จะน�ำเรอื เข้าแขง่ ขัน ในอดีตการแข่งเรือถอื เปน็ การฝึก ซอ้ มฝพี ายเพอื่ ตอ่ สขู้ า้ ศกึ ทมี่ าทางนำ้� ปจั จบุ นั นบั เปน็ งานบญุ ทส่ี นกุ สนาน งานหน่งึ ของชาวหลวงพระบาง • เดือนสบิ บญุ ข้าวสาก ชว่ งที่จดั วนั ข้นึ 15 คำ�่ เดือน 10 ลักษณะงาน จุดประสงค์ของการจัดงานเพื่ออุทิศ สว่ นกศุ ลให้คนตายหรือเปรต ห่างจากงานวันบญุ ข้าวประดบั ดนิ 15 วัน อนั เป็นเวลาท่เี ปรตต้องกลบั ไปยังท่อี ยู่ของตน • เดอื นสิบเอ็ด บุญออกพรรษา ชว่ งท่ีจดั วันขน้ึ 15 คำ่� เดอื น 11 ระบบบรหิ ารราชการของสาธารณรฐั ประชาธิปไตยประชาชนลาว 43

ลกั ษณะงาน เป็นงานตักบาตรเทโว มีการจัดอาหาร ไปถวายพระภิกษุ สามเณร มีการกวนข้าวทิพย์ (กระยาสารท) ถวาย มีการถวายผ้าจ�ำน�ำพรรษา และปราสาทผึ้ง โดยการน�ำไม้ไผ่มาสาน เป็นรูปปราสาท ตกแต่งอย่างสวยงาม และจัดขบวนแห่ปราสาทผ้ึงไป ถวายพระในตอนค่�ำ เพื่ออุทิศสว่ นกุศลใหผ้ ู้ลว่ งลับ • เดือนสิบสอง บุญกฐิน ช่วงทีจ่ ัด แรม 1 ค่ำ� เดอื น 11 ถึง เดือนเพญ็ เดือน 12 ลกั ษณะงาน เปน็ การถวายผา้ แดพ่ ระสงฆท์ จ่ี �ำพรรษา มาตลอดชว่ งเขา้ พรรษา นับเปน็ งานบุญท่ีกระท�ำกนั มาแต่โบราณ [4] 1.1.8 โครงสรา้ งพื้นฐานและระบบสาธารณปู โภค [16] สปป.ลาว อยู่ระหว่างการพัฒนาระบบโครงสร้างพ้ืนฐานโดยเฉพาะ ดา้ นคมนาคม จงึ ไดม้ กี ารตดั ถนนเพม่ิ และสรา้ งถนนเครอื ขา่ ยไปตามพน้ื ที่ ต่างๆ มากข้ึน เพ่อื ใหส้ ะดวกในการเดินทางติดต่อการค้าและการลงทุน ข้ามพรมแดน โดยเฉพาะอย่างย่ิงภายใน 6 ประเทศตามแถบลุ่มแม่น้�ำ โขง (ไทย กัมพูชา มณฑลยูนานและมณฑลกวางสีของสาธารณรัฐ ประชาชนจนี สปป.ลาว เมยี นมาร ์ และสาธารณรฐั สงั คมนยิ มเวยี ดนาม) โดยเป็นไปตามกรอบแผนยุทธศาสตร์ของอนุภูมิภาคลุ่มแม่น้�ำโขง (Greater Mekong Subregion : GMS) ซ่ึงได้รับการสนับสนุนด้าน งบประมาณจากองค์การระหว่างประเทศจ�ำนวนมาก โดยมีธนาคาร พฒั นาเอเชยี (Asian Development Bank : ADB) เปน็ ผสู้ นบั สนนุ หลกั 44

ภาพที่ 7 สะพานมติ รภาพไทย-ลาว ระบบการคมนาคม สปป.ลาว มแี ผนยทุ ธศาสตรใ์ นการพฒั นาการคมนาคมและการขนสง่ ปี พ.ศ. 2551-2553 และปี พ.ศ. 2553-2558 ซ่ึงแผนยุทธศาสตร์น้ี มีความส�ำคัญเป็นอย่างย่ิง เน่ืองจากสปป.ลาว เป็นประเทศที่ไม่มีพื้นท่ี ติดทะเล (Landlocked) ดังน้ันการพัฒนาระบบคมนาคมขนส่งให้มี ประสทิ ธภิ าพ จงึ เปน็ สงิ่ ทมี่ คี วามจ�ำเปน็ อยา่ งมากในการรองรบั การขยาย ตัวดา้ นตา่ งๆ ของสปป.ลาว การคมนาคมทางบก เปน็ การคมนาคมหลกั ทปี่ ระกอบดว้ ย 2 สว่ น คอื • การคมนาคมโดยทางถนน ในช่วงท่ีผ่านมาสปป.ลาว ได้ให้ความส�ำคัญกับการพัฒนาทางถนน เปน็ อยา่ งมาก โดยมถี นนเพ่ิมขึ้นจาก 20,000 กิโลเมตร ในปี พ.ศ. 2540 เปน็ 35,500 กโิ ลเมตร ในปี พ.ศ. 2548 หรอื คดิ เปน็ รอ้ ยละ 77 และถนน ทล่ี าดยางแลว้ เพ่ิมขนึ้ จาก 3,400 กิโลเมตร เป็น 4,800 กิโลเมตร หรือ คดิ เป็นรอ้ ยละ 4.4 ทงั้ นี้ในชว่ ง 7 ปี (พ.ศ. 2551-2558) สปป.ลาว มี แผนท่ีจะปรับปรุงและก่อสรา้ งถนนจ�ำนวน 391 โครงการ รวมเปน็ เงิน ระบบบริหารราชการของสาธารณรัฐประชาธปิ ไตยประชาชนลาว 45

ทง้ั ส้นิ 16,518 พันล้านกีบ หรือประมาณ 1,835.44 ล้านดอลลา่ รส์ หรัฐ (9,000 กบี = 1 ดอลล่าร์สหรัฐ) ในปัจจุบันจะพบว่า ถนนในสปป.ลาว  ทใ่ี ช้ได้ทุกฤดกู าลมีไม่ ถึงร้อยละ 50 ของจ�ำนวนระยะทางของ ถนนท้ังหมด • การคมนาคมโดยทางรถไฟ สปป.ลาว ได้ก�ำหนดแผนยุทธศาสตร์การพัฒนาเส้นทางรถไฟตามแนว เหนอื -ใต้ รวมเป็นระยะทางประมาณ 1,232 กโิ ลเมตร และตะวนั ออก- ตะวันตก ระยะทางประมาณ 1,093 กิโลเมตร วงเงินรวมประมาณ 5,395.331 ล้านเหรียญสหรฐั โดยแบ่งการด�ำเนินงานเป็นระยะๆ • การคมนาคมทางอากาศ ภายในปี พ.ศ. 2563 สปป.ลาวมแี ผนท่จี ะท�ำการศึกษาเพ่ือปรบั ปรุง สนามบนิ รวม 11 แหง่ เช่น สนามบินระหวา่ งประเทศวัดไต สนามบิน หลวงพระบาง สนามบนิ สะหวันนะเขต และสนามบินอดุ มไชย เป็นต้น ในปจั จุบนั สปป.ลาว มสี นามบินนานาชาติเพียง 3 แหง่ คอื 1. ท่าอากาศยานนานาชาติปากเซ อยู่ในแขวงจ�ำปาสกั รัฐบาลไทย โดยส�ำนักงานความร่วมมือพัฒนาเศรษฐกิจและประเทศเพื่อนบ้าน (องค์การมหาชน) ได้ให้การสนับสนุนด้านการเงินในการขยายทางว่ิง ทางขับ ลานจอดเคร่ืองบิน และติดตั้งอุปกรณ์การบินท่ีจ�ำเป็น รวมถึง ปรบั ปรงุ หอบงั คับการบนิ เพ่ือให้สนามบินปากเซได้มาตรฐานสนามบนิ ระหว่างประเทศ 2. ทา่ อากาศยานนานาชาตหิ ลวงพระบาง อยใู่ นแขวงหลวงพระบาง 46

ปัจจุบันรัฐบาลจีนได้ให้ความช่วย เหลือในการก่อสร้างทางวิ่งยาว กวา่ 3 กิโลเมตร ขนานไปกับทาง ว่ิงเดมิ 3. ท่าอากาศยานนานาชาติ วดั ไต  ซง่ึ หา่ งจากนครหลวงเวยี งจนั ทนป์ ระมาณ  3  กโิ ลเมตร  โดย ทา่ อากาศยานนานาชาติแหง่ นถ้ี อื ได้วา่ เป็นสนามบนิ พาณิชยห์ ลกั ของ สปป.ลาวทสี่ ามารถเชอ่ื มโยงไปยงั เมอื งใหญใ่ นเอเชยี ตะวนั ออก ซง่ึ รฐั บาล ไทยโดยส�ำนักงานความร่วมมือพัฒนาเศรษฐกิจกับประเทศเพื่อนบ้าน (องค์การมหาชน) ได้ให้การสนับสนุนด้านการเงินในการปรับปรุง เพ่ือ การรองรับเคร่ืองบนิ ขนาดใหญ ่ และช่วยเพิ่มศกั ยภาพทางเศรษฐกจิ ให้ แกส่ ปป.ลาว และเปน็ การสง่ เสรมิ ความสมั พนั ธอ์ นั ดขี องทง้ั สองประเทศ • การคมนาคมโดยทางนำ�้ สปป.ลาว ไม่มีทางออกทะเล แต่มีเส้นทางแม่น้�ำโขง จึงพัฒนาท่าเรือ ในจุดตา่ งๆ ดังนี้ 1. ทา่ เรอื เชยี งแสนแหง่ ที่ 1 จงั หวดั เชยี งราย ตรงขา้ มบา้ นหว้ ยทราย แขวงบ่อแกว้ 2. ท่าเรอื เชยี งแสนแห่งที่ 2 ตั้งอยู่บริเวณใกลส้ ามเหล่ยี มปากแม่น�ำ้ กกทบี่ รรจบแมน่ ำ้� โขง  ในบรเิ วณบา้ นสบกก ต�ำบลเวยี ง อ�ำเภอเชยี งแสน ห่างจากท่าเรอื เชียงแสนแห่งแรกลงมาทางใต้ประมาณ 5 กิโลเมตร  ใช้ งบประมาณในการก่อสรา้ งกว่า 1,000 ล้านบาท บนพนื้ ท่ี 600 ไร่ 3. ทา่ เทียบเรือบา้ นเวนิ ใต้ มถี นนเชอื่ มกบั ถนนหมายเลข 13 แขวง ค�ำม่วน ซึ่งท้ังถนนและท่าเทียบเรือบ้านเวินใต้เป็นความร่วมมือกัน ระบบบรหิ ารราชการของสาธารณรฐั ประชาธปิ ไตยประชาชนลาว 47

ระหว่างกรมการขนส่งทางน�้ำและ พาณชิ ยน์ าวี และกรมทางหลวงกบั กระทรวงคมนาคมขนส่งไปรษณีย์ โดยก่อสร้างท่าเทียบเรือที่ฝั่งไทย ตง้ั อยทู่ ี่บ้านเวนิ พระบาท  ต�ำบล เวินพระบาท อ�ำเภอท่าอุเทน จังหวดั นครพนม ระบบไฟฟ้า ระบบกระแสไฟฟา้ ในสปป.ลาว ใชก้ �ำลังไฟ 220 โวลต์ ซงึ่ เป็นวงจร กระแสสลับ ปล๊กั ไฟนิยมเป็นแบบขาแบน และขากลม 2 ขา เนื่องจาก ในสปป.ลาว มีกรณีไฟดับเกิดข้ึนบ่อยครั้ง ไม่เว้นแม้แต่ในนครหลวง เวียงจันทน์ ซ่ึงในช่วงเดือนกรกฎาคมถึงสิงหาคมจะเป็นช่วงท่ีมีพายุฝน รนุ แรง จงึ ท�ำใหใ้ นบางพน้ื ทจ่ี ะมกี ระแสไฟฟา้ ใชเ้ ปน็ บางชว่ งเวลาเท่านน้ั และในบางพ้นื ท่กี ็ไมม่ ีไฟฟ้าใช้เลย แม้ว่ารัฐบาลตง้ั เปา้ หมายให้ประเทศ เปน็ Battery of Asia กต็ าม ดงั นน้ั รฐั บาลสปป.ลาว จงึ ไดร้ ว่ มลงทนุ สรา้ ง เขอื่ นพลังน�ำ้ กับชาวต่างชาติเป็นจ�ำนวน 33 เขอ่ื น โดยในจ�ำนวนน้มี ี 8 โครงการ เป็นโครงการผลิตไฟฟ้าเพ่ือใช้ภายในประเทศ ซ่ึงมีก�ำลังผลิต รวม 484 เมกกะวตั ต ์ สว่ นโครงการท่ีเหลือผลิตเป็นโครงการผลติ ไฟฟ้า เพื่อจ�ำหน่ายไปยังประเทศเพอื่ นบ้าน ซงึ่ มีก�ำลงั ผลติ รวม 6,862 เมกกะ วัตต์ หากโครงการทั้งหมดแลว้ เสร็จ สปป.ลาว จะสามารถผลิตกระแส ไฟฟา้ ไดเ้ พม่ิ ขน้ึ ถงึ 11.8 พนั ลา้ นกโิ ลวตั ตต์ อ่ ชว่ั โมง นอกจากน้ี สปป.ลาว ยังเป็นผู้ขายพลังงานไฟฟ้ารายใหญ่ให้กับไทย จะเห็นได้จากในปี พ.ศ. 2553 ไทยรับซอ้ื กระแสไฟฟ้าจากสปป.ลาว จ�ำนวน 5,000 เมกะวตั ต์ 48

เม่ือปี พ.ศ. 2548 ซึ่งเป็นปีที่เร่ิมต้นก่อสร้างโครงการเข่ือนไฟฟ้า น�้ำเทิน 2 ในขณะน้ันประชากรมีกระแสไฟฟ้าใช้เพียงร้อยละ 45 ของ ครวั เรอื นทง้ั หมดเทา่ นนั้ รฐั บาลสปป.ลาว จงึ ไดล้ งทนุ สรา้ งสายสง่ กระแส ไฟฟ้าไปยงั แขวงตา่ งๆ ทัว่ ประเทศ จงึ ท�ำใหส้ ามารถกระจายไฟฟ้าใหเ้ ขา้ ถึง ครอบคลุมบ้านเรือนของประชาชนทั้งหมดคิดเป็นร้อยละ 70 ในปี พ.ศ.  2553  และมีการคาดการณ์ว่าจะครอบคลุมร้อยละ  90  ในปี พ.ศ. 2563  ซง่ึ จะชว่ ยปรบั ปรงุ ความเปน็ อยขู่ องประชาชนในแตล่ ะพนื้ ที่ อกี ท้งั   ยงั ช่วยพัฒนาภาคการเกษตรและยกระดับการขยายตัวของ อุตสาหกรรมทงั้ ขนาดเลก็ และขนาดกลางในทอ้ งถนิ่ และเศรษฐกิจของ ชมุ ชนให้มีการขยายตัวมากขึน้ โครงการสร้างเขอ่ื นผลิตไฟฟา้ ของเวยี ดนาม บรษิ ทั ไฟฟ้าเซกะหมาน บรษิ ทั ของเวยี ดนามไดล้ งนามในบนั ทกึ ความเขา้ ใจเกย่ี วกบั การสรา้ งเขอ่ื น เซกะหมาน 1 ในเขตอ�ำเภอชานไช จงั หวดั อตั ตะปอื ภาคใตข้ องสปป.ลาว โดยเขอื่ นเซกะหมาน 1 จะมีโรงไฟฟา้ 2 แห่ง คอื โรงไฟฟา้ เซกะหมาน 1 มีก�ำลังการผลิตไฟฟ้า 290 เมกะวัตต์ และโรงไฟฟ้าเซกะหมานชานไช มกี �ำลงั การผลติ ไฟฟ้า 32 เมกะวัตต์ รวมท้งั หมด 322 เมกะวัตต์ การ กอ่ สรา้ งเขอ่ื นเซกะหมาน 1 คาดวา่ จะแลว้ เสรจ็ ภายในปี พ.ศ. 2558 เมอ่ื สร้างเสร็จร้อยละ 80 จะส่งขายไปยงั เวยี ดนาม สว่ นอกี ร้อยละ 20 จะใช้ ภายในทอ้ งถน่ิ ของสปป.ลาว นอกจากเขอื่ นเซกะหมานแลว้ ยงั มโี ครงการ สรา้ งเขอ่ื นในสปป.ลาวอกี หลายแหง่ เชน่ เขอ่ื นนำ้� หา เขอื่ นเซกอง 2 และ 3 เป็นตน้ ระบบบรหิ ารราชการของสาธารณรฐั ประชาธิปไตยประชาชนลาว 49