Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore พุทธวจน "อินทรียสังวร"

Description: พุทธวจน "อินทรียสังวร"

Search

Read the Text Version

พุทธวจน อินทรียสงั วร (ตามดู! ไม่ตามไป)

ลักษณะของผอู้ ยดู่ ้วยความไม่ประมาท ภิกษุทัง้ หลาย ! ภกิ ษเุ ปน็ ผมู้ ีปกตอิ ยดู่ ้วยความไม่ประมาท เปน็ อย่างไรเลา่ ? ภกิ ษทุ ้ังหลาย ! เมอ่ื ภกิ ษุสาำ รวมระวัง ซึ่งอินทรีย์คือตาอยู่ จิตย่อมไม่เกลอื กกลัว้ ในรูปทั้งหลายอนั เป็นวสิ ยั แหง่ การรู้สกึ ดว้ ยตา เมอ่ื ภกิ ษนุ ้นั ไมม่ ีจิตเกลือกกลั้วแล้ว ปราโมทย์ย่อมเกิด เม่ือปราโมทยแ์ ลว้ ปตี ยิ ่อมเกิด เมอ่ื ใจมีปีติ ปัสสทั ธิยอ่ มมี เมื่อมปี ัสสทั ธิ ภกิ ษุน้นั ย่อมอยู่เป็นสุข เมือ่ มสี ุข จิตย่อมตง้ั ม่นั เมื่อจติ ต้ังมนั่ แล้ว ธรรมทงั้ หลายย่อมปรากฏ เพราะธรรมท้ังหลายย่อมปรากฏ ภกิ ษุนัน้ ยอ่ มถึงซึ่งการถกู นบั ว่าเปน็ ผู้มีปกตอิ ย่ดู ้วยความไม่ประมาทโดยแท.้ (ในกรณีแห่งอนิ ทรยี ์ คอื หู จมูก ลิ้น กาย และใจ กม็ ีนัยยะอยา่ งเดยี วกัน) ภิกษุท้ังหลาย ! อย่างนีแ้ ล ภกิ ษุเปน็ ผู้มปี กติอยู่ดว้ ยความไม่ประมาท. (ในกรณขี องผู้มปี กตอิ ยู่ดว้ ยความประมาท ไดต้ รัสไวโ้ ดยมนี ยั ยะตรงกนั ขา้ ม) -บาลี สฬา. ส.ํ ๑๘/๙๗/๑๔๓-๔.

พุทธวจน อนิ ทรยี สงั วร (ตามดู ! ไม่ตามไป...) อนิ ทรยี ์ภาวนาชั้นเลิศ อานนท์ ! อารมณ์อันเป็นที่ชอบใจ–ไม่เป็นที่ชอบใจ เป็นที่ชอบใจและไม่เป็นที่ชอบใจ อันบังเกิดขึ้นแก่ภิกษุนั้น ย่อมดับไปเร็วเหมือนการกระพริบตาของคน อุเบกขายังคงดำ�รงอยู่. อานนท์ ! นี้แล เราเรียกว่า อินทรีย์ภาวนาชั้นเลิศในอริยวินัย… -บาลี อุปริ. ม. ๑๔/๕๔๑/๘๕๖. กวา่ ๖๐ พระสตู ร แหง่ ความสอดรับกนั ในค�ำ ตถาคต



พทุ ธวจน -หมวดธรรม เปดิ ธรรมทถ่ี ูกปิด ๘ฉบับ อนิ ทรียสังวร (ตามด!ู ไม่ตามไป) พุทธวจนสถาบัน รว่ มกนั มงุ่ มน่ั ศกึ ษา ปฏบิ ตั ิ เผยแผค่ �ำ ของตถาคต

พุทธวจน ฉบบั ๘ อินทรยี สังวร (ตามดู ! ไมต่ ามไป...) ข้อมูลธรรมะนี้ จัดทำ�เพื่อประโยชน์ทางการศึกษาสู่สาธารณชน เป็นธรรมทาน ลขิ สิทธ์ใิ นตน้ ฉบบั นีไ้ ด้รบั การสงวนไว้ ในการจะจัดท�ำ หรือเผยแผ่ โปรดใช้ความละเอยี ดรอบคอบ เพ่ือรักษาความถูกต้องของขอ้ มลู ใหข้ ออนุญาตเปน็ ลายลกั ษณ์อักษร และปรกึ ษาดา้ นขอ้ มูลในการจัดท�ำ เพ่ือความสะดวกและประหยดั ตดิ ต่อได้ที่ มลู นธิ ิพทุ ธโฆษณ์ โทรศัพท ์ ๐๘ ๒๒๒๒ ๕๗๙๐-๙๔ มูลนธิ ิพทุ ธวจน โทรศพั ท์ ๐๘ ๑๔๕๗ ๒๓๕๒ คณุ ศรชา โทรศพั ท์ ๐๘ ๑๕๑๓ ๑๖๑๑ คณุ อารีวรรณ โทรศพั ท์ ๐๘ ๕๐๕๘ ๖๘๘๘ ปีที่พมิ พ์ ๒๕๖๓ ศิลปกรรม ปริญญา ปฐวนิ ทรานนท์, วชิ ชุ เสริมสวสั ด์ศิ ร,ี ณรงค์เดช เจรญิ ปาละ จดั ทำ�โดย มลู นธิ พิ ุทธโฆษณ์ (เว็บไซต์ www.buddhakos.org)

มลู นธิ ิพทุ ธโฆษณ์ เลขท่ี ๒๙/๓ หมูท่ ี่ ๗ ต�ำ บลบงึ ทองหลาง อ�ำ เภอลำ�ลกู กา จังหวัดปทมุ ธานี ๑๒๑๕๐ โทรศพั ท์ /โทรสาร ๐ ๒๕๔๙ ๒๑๗๕ เวบ็ ไซต์ : www.buddhakos.org



ค�ำอนโุ มทนา ขออนุโมทนา กับคณะผู้จัดท�ำ หนังสือพุทธวจน ฉบับ อินทรียสังวร (ตามดู ! ไม่ตามไป) ในเจตนาอันเป็นกุศล ท่ีมีความต้ังใจเผยแผ่ค�ำสอนขององค์สัมมาสัมพุทธเจ้า ท่ีออกจากพระโอษฐ์ของพระองค์เอง ทั้งหมดที่ท่านตรัสรู้ ในหลายแง่มุมที่เกี่ยวกับการใช้ชีวิต วิธีแก้ทุกข์ ฯลฯ ตามหลกั พทุ ธวจนงา่ ยๆ เพอ่ื ใหผ้ สู้ นใจไดศ้ กึ ษาและน�ำมาปฏบิ ตั ิ เพือ่ ให้ถึงความพน้ ทุกขด์ ว้ ยเหตอุ นั ดีนี้ ขอจงเป็นพลวปัจจยั ใหผ้ มู้ สี ว่ นรว่ มในการท�ำหนงั สอื เลม่ นแ้ี ละผทู้ ไี่ ดอ้ า่ น ไดศ้ กึ ษา พึงเกดิ ปัญญาได้ดวงตาเห็นธรรม พน้ ทกุ ข์ในชาตินี้เทอญ ขออนโุ มทนา ภิกขคุ ึกฤทธ์ิ โสตฺถผิ โล

อกั ษรย่อ เพ่อื ความสะดวกแก่ผู้ท่ียงั ไมเ่ ข้าใจเรื่องอกั ษรย่อ ทใี่ ชห้ มายแทนชอื่ คมั ภรี ์ ซึ่งมอี ย่โู ดยมาก มหาวิ. ว.ิ มหาวภิ ังค ์ วนิ ัยปิฎก. ภิกฺขนุ .ี ว.ิ ภกิ ขนุ ีวภิ ังค์ วินยั ปิฎก. มหา. วิ. มหาวรรค วินยั ปฎิ ก. จุลฺล. วิ. จุลวรรค วินัยปิฎก. ปรวิ าร. ว.ิ ปรวิ ารวรรค วินัยปฎิ ก. สี. ที. สลี ขันธวรรค ทฆี นิกาย. มหา. ท.ี มหาวรรค ทฆี นิกาย. ปา. ท.ี ปาฏิกวรรค ทฆี นิกาย. มู. ม. มลู ปณั ณาสก์ มัชฌิมนิกาย. ม. ม. มัชฌิมปัณณาสก์ มชั ฌิมนิกาย. อปุ ริ. ม. อปุ รปิ ัณณาสก์ มัชฌมิ นิกาย. สคาถ. ส.ํ สคาถวรรค สงั ยุตตนิกาย. นิทาน. สํ. นทิ านวรรค สังยุตตนกิ าย. ขนธฺ . สํ. ขนั ธวารวรรค สงั ยตุ ตนกิ าย. สฬา. สํ. สฬายตนวรรค สงั ยุตตนกิ าย. มหาวาร. สํ. มหาวารวรรค สงั ยุตตนิกาย. เอก. อ.ํ เอกนิบาต องั คุตตรนิกาย. ทุก. อ.ํ ทกุ นบิ าต องั คุตตรนกิ าย. ติก. อ.ํ ติกนิบาต อังคุตตรนิกาย. จตกุ ฺก. อํ. จตุกกนบิ าต องั คุตตรนิกาย.

ปญฺจก. อํ. ปญั จกนิบาต อังคตุ ตรนกิ าย. ฉกกฺ . อํ. ฉักกนบิ าต องั คตุ ตรนิกาย. สตฺตก. อํ. สัตตกนบิ าต อังคุตตรนกิ าย อฏฺ ก. อ.ํ อัฏฐกนิบาต องั คตุ ตรนกิ าย. นวก. อํ. นวกนิบาต อังคุตตรนิกาย. ทสก. อ.ํ ทสกนิบาต องั คตุ ตรนิกาย. เอกาทสก. อํ. เอกาทสกนบิ าต อังคุตตรนิกาย. ข.ุ ขุ. ขุททกปาฐะ ขุททกนิกาย. ธ. ข.ุ ธรรมบท ขทุ ทกนกิ าย. อ.ุ ข.ุ อทุ าน ขทุ ทกนกิ าย. อติ วิ .ุ ขุ. อิตวิ ุตตกะ ขทุ ทกนิกาย. สุตฺต. ขุ. สตุ ตนิบาต ขทุ ทกนิกาย. วิมาน. ข.ุ วมิ านวตั ถุ ขุททกนกิ าย. เปต. ขุ. เปตวตั ถุ ขทุ ทกนิกาย. เถร. ข.ุ เถรคาถา ขทุ ทกนิกาย. เถรี. ข.ุ เถรีคาถา ขุททกนิกาย. ชา. ข.ุ ชาดก ขุททกนกิ าย. มหานิ. ข.ุ มหานิทเทส ขุททกนกิ าย. จฬู น.ิ ขุ. จูฬนทิ เทส ขุททกนิกาย. ปฏสิ มฺ. ขุ. ปฏสิ ัมภิทามรรค ขุททกนิกาย. อปท. ข.ุ อปทาน ขุททกนกิ าย. พุทธฺ ว. ขุ. พุทธวงส์ ขทุ ทกนิกาย. จริยา. ขุ. จริยาปฎิ ก ขุททกนกิ าย ตวั อย่าง : ๑๔/๑๗๑/๒๔๕ ใหอ้ ่านว่า ไตรปิฎกฉบบั สยามรัฐ เล่ม ๑๔ หน้า ๑๗๑ ขอ้ ที่ ๒๔๕



ลำ�ดบั เนอื้ หา ผลเสียของการปล่อยจติ ใหเ้ พลินกบั อารมณ์ ตวั อย่างพุทธวจน ทท่ี รงตรัสไม่ใหป้ ล่อยจติ ให้เพลินกบั อารมณ์ จิตท่ีเพลินกับอารมณ์ ละได้ดว้ ยการมอี ินทรยี สังวร (การสำ�รวมอนิ ทรยี )์ ความส�ำ คัญแหง่ อินทรยี สังวร ความหมายและลักษณะของการมีอนิ ทรียสงั วร รปู แบบการละความเพลินในอารมณโ์ ดยวธิ ีอ่ืน ผลท่ีสดุ ของการละความเพลินในอารมณ์ ขอ้ ย�้ำ เตอื นจากพระตถาคต



สารบัญ บทน�ำ  1 ผลเสยี ของการปลอ่ ยจิตให้เพลินกบั อารมณ์ 15 1. ก่อให้เกิดอนุสัยทงั้ ๓16 2. ไม่อาจทีจ่ ะหลดุ พ้นไปจากทกุ ข์ 20 3. เพลนิ อยู่กบั อายตนะ เทา่ กบั เพลินอยใู่ นทุกข์22 4. ลกั ษณะของการอยู่อยา่ งมตี ณั หาเปน็ เพ่อื น24 5. ไม่อาจถงึ ซ่งึ ความเจรญิ งอกงามไพบลู ย์ ในธรรมวินยั 29 ตวั อยางพทุ ธวจนทีท่ รงตรัสไมใหปลอ ยจติ 31 ใหเ พลนิ กับอารมณ 6. ละความเพลนิ จติ หลุดพ้น32 7. ความพอใจ เป็นเหตแุ ห่งทุกข์33 8. เมื่อคดิ ถงึ สิ่งใด แสดงว่าพอใจในส่งิ นนั้ 34 9. ภพแมช้ ั่วขณะดีดนวิ้ มือกย็ ังนา่ รังเกยี จ35 10. ตัณหา คอื “เชื้อแห่งการเกิด”37 11. เม่ือมคี วามพอใจ ยอ่ มมตี ัณหา39 12. ตณั หา คือ เครือ่ งนำ�ไปส่ภู พใหมอ่ ันเป็นเหตเุ กดิ ทุกข์ 41 13. สน้ิ ความอยาก กส็ ้ินทุกข์ 43 14. มคี วามเพลิน คอื มอี ุปาทาน ผ้มู อี ปุ าทานย่อมไมป่ รนิ พิ พาน45

15. ในอริยมรรคมอี งค์ ๘49 16. ทรงตรัสวา่ “เปน็ เรอื่ งเร่งด่วนท่ตี ้องเร่งกระท�ำ ”51 17. ตอ้ งเพยี รละความเพลนิ ในทุกๆ อิรยิ าบถ54 18. ความเพยี ร ๔ ประเภท (นยั ท่ี ๑)56 19. ความเพียร ๔ ประเภท (นัยที่ ๒)58 จิตท่ีเพลินกบั อารมณ ละไดดวยการมีอินทรยี สังวร 61 (การสํารวมอินทรีย)  20. เมื่อมีสติ ความเพลนิ ย่อมดบั 62 21. กายคตาสติ มคี วามสำ�คญั ต่ออนิ ทรียสงั วร65 ลกั ษณะของผไู้ มต่ งั้ จิตในกายคตาสติ (จิตท่ไี มม่ ีเสาหลกั ) 65 ลักษณะของผูต้ ั้งจิตในกายคตาสติ (จติ ทม่ี เี สาหลกั ม่ันคง) 67 22. อินทรยี สงั วรปดิ กนั้ การเกิดขนึ้ แหง่ บาปอกุศล70 ความสําคญั แหงอนิ ทรยี สงั วร 73 23. อินทรียสงั วร เป็นเหตใุ หไ้ ด้มาซ่ึงวิมุตติญาณทสั สนะ74 24. ผู้ไมส่ ำ�รวมอินทรยี ค์ ือผูป้ ระมาท 75 ผู้ส�ำ รวมอินทรียค์ ือผู้ไม่ประมาท 25. ความไมป่ ระมาท เป็นยอดแห่งกศุ ลธรรม77 26. ผู้มอี ินทรียสงั วร จงึ สามารถเจรญิ สตปิ ฏั ฐานท้งั ๔ ได้79 27. อาสวะบางสว่ นสามารถละไดด้ ้วยการสำ�รวม 80 28. อาสวะบางสว่ นสามารถละได้ด้วยการบรรเทา 81 29. ผลทไ่ี ดเ้ พราะเหตแุ ห่งการปดิ กนั้ อาสวะ82

ความหมายและลกั ษณะของการมีอินทรยี สงั วร 83 30. ความหมายแห่งอินทรีย์ 84 31. ลักษณะของผ้สู ำ�รวมอินทรีย์ 85 32. ผทู้ ี่ถึงซง่ึ ความเจริญงอกงาม ไพบลู ย์ ในธรรมวินัย86 รปู แบบการละความเพลนิ ในอารมณโ ดยวิธอี ่ืน 89 33. กระจายซ่ึงผัสสะ90 34. ตามแนวแหง่ สัมมาสงั กปั ปะ94 35. ยอ่ มยบุ ยอ่ มไมก่ อ่ ยอ่ มขวา้ งทง้ิ ยอ่ มไมถ่ อื เอา ซง่ึ ... ขนั ธ์ ๕99 36. เห็นประจักษต์ ามความเปน็ จรงิ 106 37. พงึ เห็นว่า ชวี ติ นั้นแสนสัน้ 108 ผลท่ีสุดของการละความเพลินในอารมณ 111 38. ผไู้ ดช้ ือ่ วา่ อนิ ทรยี ภ์ าวนาช้นั เลศิ 112 39. ผูเ้ ข้าไปหาเปน็ ผู้ไม่หลดุ พน้ ผู้ไมเ่ ข้าไปหายอ่ มหลุดพน้ 114 40. เพราะไมเ่ พลนิ จึงละอนุสัยท้ัง ๓ ได้116 41. ยอ่ มหลดุ พน้ ไปจากทกุ ข์120 42. ลกั ษณะของบคุ คลสี่ประเภท125 ขอ ยำ�้ เตือนจากพระตถาคต 127 43. ความไมป่ ระมาท ยงั กศุ ลธรรมทัง้ หลายให้เกดิ ขนึ้ 128 44. พนิ ยั กรรม ของพระสังฆบดิ า129



เปดิ ธรรมท่ถี ูกปดิ : อินทรยี สังวร (ตามดู! ไม่ตามไป) บทน�ำ มนุษย์เป็นสัตว์ท่ีส่ือสารกันด้วยระบบภาษาที่ซับซ้อน  ท้ังโครงสร้างและความหมาย วจีสังขาร  ที่มนุษย์ปรุงแต่งขึ้นน้ัน  มีความวิจิตรเทียบเท่าดุจความละเอียดของจิต ทั้งนี้  เพราะจิตเป็นตัวสร้างการหมายรู้ต่างๆ  (จิต  เป็นเหตุในการเกิดของนามรูป และนามรปู ซึง่ จติ สรา้ งขึ้นน้นั   เป็นเหตใุ นการดำ�รงอยไู่ ด้ของจติ ) ถอ้ ยค�ำ หนง่ึ ๆ ในภาษาหนง่ึ ๆ เมอ่ื น�ำ ไปวางไวใ้ นบรบิ ทตา่ งๆ กนั กม็ คี วามหมายตา่ งกนั ยง่ิ ไปกวา่ นน้ั ถอ้ ยค�ำ หนง่ึ ๆ ในบรบิ ทเดยี วกนั สามารถถกู เขา้ ใจตา่ งกนั ในความหมายได้ ขน้ึ อยกู่ บั การหมายรเู้ ฉพาะของจติ ผรู้ บั สาร  ซง่ึ กม็ อี นสุ ยั ในการปรงุ แตง่ แตกตา่ งกนั ไป ความหยาบละเอยี ดในอารมณ ์ อนั มปี ระมาณตา่ งๆ  แปรผนั ไปตามการหมายรนู้ น้ั ๆ การส่ือความให้เข้าใจตรงกัน  จึงไม่ใช่เร่ืองง่าย  แม้เร่ืองราวในระดับชีวิตประจำ�วัน แม้ในระหว่างบุคคลที่มีความสัมพันธ์ใกล้ชิด  เช่น  ในครอบครัวเดียวกันก็ตาม การผดิ ใจกันท่ีมเี หตมุ าจากการส่ือความหมายทีไ่ ม่ตรง  กม็ ีใหเ้ ห็นเปน็ เรอ่ื งปกติ กับกรณีของปรากฏการณ์ทางจิต  ซ่ึงมีมิติละเอียดปราณีตท่ีสุดในระบบสังขตธรรม ใครเลา่ จะมคี วามสามารถในการบญั ญตั ริ ะบบค�ำ พดู ทใี่ ชถ้ า่ ยทอดบอกสอนเรอ่ื งจติ นี้ ใหอ้ อกมาไดเ้ ปน็ หลกั มาตรฐานเดยี ว และใชส้ อ่ื เขา้ ใจตรงกนั ได้ โดยไมจ่ �ำ กดั กาลเวลา 1

พุทธวจน - หมวดธรรม “ดกู ายดใู จ” “ดจู ิต” “ตามดตู ามรู”้ ปฏิเสธไม่ได้เลยว่า  วลีข้างต้นนั้น  ถูกใช้พูดกันทั่วไปเป็นปกติในหมู่นักภาวนา ปกติจนเรียกไดว้ ่า เป็นหนึ่งในสิ่งทีถ่ ูกมองข้ามเพกิ เฉย (take for granted) ไป ราวกับวา่ ใครๆ กร็ กู้ ันหมดแลว้ เหมือนคำ�ท่ีใช้กันเปน็ ประจำ� เชน่ กนิ ข้าว อาบนำ�้ ฯ หากพจิ ารณาให้ดี จะพบจดุ สงั เกต ๒ ขอ้ ๑.  เมอื่ ถกู ถามลงไปในข้นั ตอนโดยละเอยี ดว่าอะไรอยา่ งไรเก่ียวกบั ดกู ายดใู จดจู ิตฯ คำ�ตอบท่ีได้  มีความหลากหลายแตกต่างกันไป  แต่มีส่ิงท่ีเหมือนกันอย่างหน่ึงคือ ตา่ งก็อา้ งวา่ มาจากมหาสติปัฏฐานสตู ร ซงึ่ เป็นทางเอก เป็นค�ำ สอนของพระพทุ ธเจ้า ๒.  ในแงข่ องความแตกตา่ งดงั กลา่ วนน้ั   สว่ นมากมกั จะบอกกนั วา่   เปน็ เรอ่ื งธรรมดา “แล้วแต่จรติ ” จะปฏิบัติกันอย่างไร สุดทา้ ยแลว้ ก็ “ไปถงึ ทีห่ มายเดยี วกัน” เมอ่ื มาใครค่ รวญดแู ลว้ จะพบความแปลกประหลาดซอ้ นทบั อกี ชน้ั หนง่ึ คอื ทง้ั ๒ ขอ้ นน้ั เปน็ สง่ิ ทถ่ี กู take for granted อกี เชน่ กนั เสมอื นเปน็ เรอ่ื งทย่ี อมรบั กนั โดยทว่ั ไปแลว้ วา่ การปฏบิ ตั ทิ แ่ี ตกตา่ งกนั นน้ั เปน็ เรอ่ื งธรรมดา “แลว้ แตจ่ รติ ” และ “ไปถงึ ทห่ี มายเดยี วกนั ” โดยละเลยการท�ำ ความเขา้ ใจท่ีถกู ต้องชดั เจน ว่าอะไรอยา่ งไรในความแตกตา่ งนัน้ 2

เปิดธรรมทถ่ี ูกปิด : อนิ ทรียสงั วร (ตามดู! ไม่ตามไป) เหตกุ ารณท์ ง้ั ๒ น้ี จะไมม่ ที างเกดิ ขน้ึ กบั อรยิ สาวก ผปู้ ระกอบพรอ้ มดว้ ยโสตาปตั ตยิ งั คะ ๔ ผถู้ งึ ซง่ึ ศรทั ธาอยา่ งไมห่ วน่ั ไหว ในการตรสั รขู้ องพระพทุ ธเจา้ ในพระธรรม ในพระสงฆ์ เปน็ อรยิ สาวกในธรรมวนิ ยั น้ี ถงึ การนบั วา่ เปน็ คนของพระพทุ ธเจา้ โดยไมม่ ขี อ้ สงสยั แลว้ ย่อมที่จะรู้ด้วย  อสาธารณญาณ  โดยไม่ต้องอาศัยปัจจัยภายนอกจากใครอื่นว่า ธรรมะทถ่ี กู บญั ญตั โิ ดยพระพทุ ธเจา้ นน้ั จะมคี ณุ ลกั ษณะคลอ้ งเกลยี วเชอ่ื มโยงเปน็ หนง่ึ “ภกิ ษทุ ้ังหลาย !  นบั แต่ราตรี ทตี่ ถาคตไดต้ รัสรอู้ นุตตรสมั มาโพธิญาณ จนกระทั่งถึงราตรที ต่ี ถาคตปรินพิ พานดว้ ยอนุปาทิเสสนิพพานธาตุ ตลอดเวลาระหว่างนัน้ ตถาคตไดก้ ลา่ วสอน พร่�ำ สอน แสดงออกซึ่งถอ้ ยคำ�ใด ถอ้ ยค�ำ เหลา่ นน้ั ทง้ั หมด ยอ่ มเขา้ กนั ไดโ้ ดยประการเดยี วทง้ั สน้ิ ไมแ่ ยง้ กนั เปน็ ประการอน่ื เลย” –บาลี อติ วิ ุ. ข.ุ ๒๕/๓๒๑/๒๙๓. 3

พุทธวจน - หมวดธรรม กอ่ นพทุ ธปรนิ พิ พาน ทรงรบั สง่ั ไวก้ บั พระอานนทเ์ ถระวา่ ความสอดคลอ้ งเขา้ กนั เปน็ หนง่ึ น้ี ใหใ้ ชเ้ ปน็ หลกั มาตรฐานในการตรวจสอบวา่ อะไรใช่ หรอื ไมใ่ ชพ่ ระธรรมวนิ ยั (มหาปเทส ๔) ยง่ิ ไปกวา่ นน้ั ทรงระบไุ วด้ ว้ ยวา่ หากรแู้ ลว้ วา่ ไมใ่ ชพ่ ระธรรมวนิ ยั ใหเ้ ราละทง้ิ สง่ิ นน้ั ไปเสยี ความสามารถในการใชบ้ ทพยญั ชนะทม่ี อี รรถะ (ความหมาย) สอดคลอ้ งกนั เปน็ หนง่ึ เดยี วน้ี เปน็ พทุ ธวสิ ยั มใิ ชส่ าวกวสิ ยั ทง้ั น้ี เพราะเหตคุ อื ความตา่ งระดบั ชน้ั กนั ของบารมที ส่ี รา้ งสมมา พระตถาคตสรา้ งบารมมี าในระดบั พทุ ธภมู ิเพอ่ื ใหไ้ ดม้ าซง่ึ ความเปน็ อรหนั ตสมั มาสมั พทุ ธะ พระสาวกสรา้ งบารมใี นระดบั สาวกภมู ิเพอ่ื ใหไ้ ดม้ าซง่ึ โอกาสในการเปน็ สาวกในธรรมวนิ ยั นี้ ท่ีมาท่ีไปของคำ�ว่า  ดูจิต  หรือ  ตามดูตามรู้ฯ  ไม่ใช่เร่ืองลึกลับซับซ้อนท่ีจะสืบค้น ตวั สูตรทเ่ี ป็นพุทธวจน เพ่ือใชต้ รวจสอบเทียบเคยี งตามหลกั มหาปเทส ก็มอี ยู่ ใชห่ รอื ไมว่ า่ ปญั หาทแ่ี ทจ้ รงิ ทง้ั กบั ในกรณนี ้ี และอน่ื ๆท�ำ นองเดยี วกนั น้ี คอื ความขเ้ี กยี จ ความมกั งา่ ยของชาวพุทธน่นั เอง ที่ไมอ่ ยากเข้าไปลงทุนลงแรงศึกษาสืบค้นพุทธวจน แล้วไปคาดหวังลมๆ แล้งๆ วา่ นา่ จะมีใครสักคนหนงึ่ หรือสองคน ทม่ี ีความสามารถ พเิ ศษคดิ คน้ ยน่ ยอ่ หลกั ธรรมทพ่ี ระตถาคตบญั ญตั ไิ วเ้ ปน็ สวากขาโตแลว้ นน้ั ใหง้ า่ ยสน้ั ลงกวา่ ได้ การเช่ือเช่นนี้  เป็นลักษณะความเชื่อของปุถุชนผู้มิได้สดับ-มิได้เห็นพระอริยเจ้า- ไมฉ่ ลาดในธรรมของพระอรยิ เจา้ -ไมไ่ ดร้ บั การแนะน�ำ ในธรรมของพระอรยิ เจา้ จงึ ไมท่ ราบวา่ พระสาวกมภี มู ธิ รรมจ�ำ กดั อยเู่ พยี งแคเ่ ปน็ ผเู้ ดนิ ตามมรรคทพ่ี ระตถาคตบญั ญตั ไิ วเ้ ทา่ นน้ั (มคฺคานุคา จ ภกิ ฺขเว เอตรหิ สาวกา วิหรนฺติ ปจฺฉา สมนนฺ าคตา) 4

เปิดธรรมท่ถี กู ปิด : อนิ ทรียสงั วร (ตามดู! ไม่ตามไป) ผทู้ ี่สร้างบารมีมาในระดับสาวกภูมิ ไม่มีความสามารถในการคดิ สร้างมรรคข้นึ เองไม่ เว้นแมแ้ ต่ พระอรหนั ตผ์ ูห้ ลดุ พน้ ด้วยปัญญา (ปฺาวมิ ตุ เฺ ตน ภิกฺขุนาต)ิ กต็ าม พระพทุ ธเจา้ (อรหํ สมมฺ าสมพฺ ทุ โฺ ธ) ในฐานะพระศาสดานน้ั มคี ณุ สมบตั เิ หนอื ไปกวา่ คอื ทรงเปน็ ผรู้ มู้ รรค (มคคฺ ฺ )ู รแู้ จง้ ในมรรค (มคคฺ วทิ )ู และเปน็ ผฉู้ ลาดในมรรค (มคคฺ โกวโิ ท) พระพทุ ธองคจ์ งึ ทรงรบั สง่ั ปอ้ งกนั ไวล้ ว่ งหนา้ แลว้ วา่ สตู รใดๆ กต็ ามทแ่ี ตง่ ขน้ึ ใหมใ่ นภายหลงั แมจ้ ะมคี วามสละสลวยวจิ ติ ร เปน็ ของนอกแนว เปน็ ค�ำ กลา่ วของสาวก ใหเ้ ราไมส่ �ำ คญั ตนวา่ เปน็ สง่ิ ทค่ี วรเลา่ เรยี นศกึ ษา ในทางกลบั กนั ค�ำ กลา่ วของตถาคต อนั มคี วามหมายลกึ ซง้ึ นน้ั ใหเ้ ราส�ำ คญั ตนวา่ เปน็ สง่ิ ทค่ี วรเลา่ เรยี นศกึ ษา และใหพ้ ากนั เลา่ เรยี นศกึ ษาค�ำ ของตถาคตนน้ั แลว้ ใหไ้ ตถ่ ามทวนถามกนั และกนั ในเรอ่ื งนน้ั ๆ วา่ พระพทุ ธเจา้ ทรงกลา่ วเรอ่ื งนไ้ี วอ้ ยา่ งไร ขา้ งตน้ น้ี คอื วธิ กี ารเปดิ ธรรมทถ่ี กู ปดิ ดว้ ยพทุ ธวจน และชาวพทุ ธทม่ี กี ารศกึ ษาในลกั ษณะน้ี (ปฏปิ จุ ฉฺ าวนิ ตี า ปรสิ า โน อกุ กฺ าจติ วนิ ตี า) พระพทุ ธองคท์ รงเรยี กวา่ เปน็ พทุ ธบรษิ ทั อนั เลศิ ในมหาสตปิ ฏั ฐานสตู รนน้ั แบง่ ฐานทต่ี ง้ั แหง่ สตอิ อกเปน็ ๔ ฐาน คอื กาย เวทนา จติ ธรรม โดยแตล่ ะฐาน มรี ายละเอยี ดระบชุ ดั เจนวา่ ปฏบิ ตั อิ ยา่ งไร ขอบเขตแคไ่ หน และจบลงอยา่ งไร ผทู้ ศ่ี กึ ษาพทุ ธวจนโดยละเอยี ดรอบคอบ ยอ่ มทจ่ี ะเขา้ ใจแงม่ มุ ตา่ งๆ โดยลกึ ซง้ึ ครบถว้ น และ ยอ่ มทจ่ี ะรไู้ ดว้ า่ ความแตกตา่ งในมรรควธิ ี มไี ด้ แตไ่ มใ่ ชม่ โี ดยสะเปะสะปะไรเ้ งอ่ื นไขขอบเขต 5

พุทธวจน - หมวดธรรม หากแตม่ ไี ด้ หลากหลายได้ ภายใตพ้ ทุ ธบญั ญตั ซิ ง่ึ มลี กั ษณะเชอ่ื มโยงสอดคลอ้ งเปน็ หนง่ึ ผลอานสิ งสม์ งุ่ หมายในทส่ี ดุ กส็ ามารถเขา้ ถงึ ได้ ดว้ ยวธิ อี นั หลากหลายภายใตค้ วามเปน็ หนง่ึ น้ี ในวาระน้ี จะขอยกหมวดของ จติ ตานปุ สั สนา คอื การตามเหน็ ในกรณขี องจติ ขน้ึ เปน็ ตวั อยา่ ง ปจั จบุ นั มผี ทู้ ด่ี จู ติ หรอื ดอู าการของจติ โดยใชค้ �ำ อธบิ ายสภาวะของจติ ซง่ึ บญั ญตั ขิ น้ึ ใหมเ่ อง แลว้ หลงเขา้ ใจไปวา่ การฝกึ ตามดตู ามรสู้ ภาวะนน้ั ๆ ไปเรอ่ื ยๆ คอื การเจรญิ สติ คอื การดจู ติ หากพจิ ารณาโดยแยบคายแลว้ ค�ำ เรยี กอาการของจติ ทค่ี ดิ ขน้ึ ใหมเ่ องทง้ั หลายเหลา่ นน้ั เปน็ เพยี งการตง้ั ชอ่ื เรยี กอารมณอ์ นั มปี ระมาณตา่ งๆ และการตามเหน็ สภาวะนน้ั ๆ ไปเรอ่ื ยๆ ก็คือการฝึกผกู จติ ตดิ กบั อารมณ์ด้วยอ�ำ นาจแห่งความเพลนิ (ฝึกจิตให้มสี ญั โญคะ) จะดว้ ยเหตอุ ยา่ งไรกต็ ามแต่ ระบบค�ำ เรยี กทต่ี า่ งกนั ตรงน้ี อาจดเู หมอื นเปน็ เรอ่ื งเลก็ นอ้ ย แตห่ ากเทยี บในระดบั ความละเอยี ดของจติ แลว้ องศาทเ่ี บย่ี งเพยี งเลก็ นอ้ ย ณ จดุ ตรงน้ี สามารถน�ำ ไปสผู่ ลลพั ธท์ ส่ี ดุ ในการปฏบิ ตั ิ คอื อานสิ งสม์ งุ่ หมาย ทแ่ี ตกตา่ งกนั โดยสน้ิ เชงิ นยั ยะหนง่ึ ทพ่ี ระพทุ ธองคท์ รงบญั ญตั ใิ หเ้ ราตามเหน็ จติ (จติ ตฺ านปุ สสฺ นา) แทจ้ รงิ แลว้ กเ็ พอ่ื ใหเ้ หน็ เหตเุ กดิ และเสอ่ื มไป โดยอาศยั การตามเหน็ “อาการของจติ ” เพยี งแค่ ๘ คอู่ าการเทา่ นน้ั 6

เปดิ ธรรมที่ถกู ปดิ : อนิ ทรียสงั วร (ตามดู! ไม่ตามไป) ภกิ ษทุ ้งั หลาย !  ภิกษเุ ป็นผู้มีปกติพจิ ารณาเหน็ จติ ในจิตอยู่ น้นั เป็นอย่างไรเล่า ? ภกิ ษุทง้ั หลาย !  ภิกษุในกรณีน้ี (๑) รู้ชดั ซงึ่ จติ อนั มรี าคะ ว่า “จติ มีราคะ” (๒) รชู้ ดั ซง่ึ จติ อนั ปราศจากราคะ วา่ “จติ ปราศจากราคะ” (๓) รู้ชัดซึ่งจิตอันมโี ทสะ วา่ “จติ มโี ทสะ” (๔) รชู้ ดั ซง่ึ จติ อนั ปราศจากโทสะ วา่ “จติ ปราศจากโทสะ” (๕) รชู้ ดั ซงึ่ จติ อนั มีโมหะ ว่า “จติ มโี มหะ” (๖) รชู้ ัดซ่ึงจติ อนั ปราศจากโมหะ ว่า “จิตปราศจากโมหะ” (๗) รู้ชัดซ่งึ จติ อันหดหู่ ว่า “จิตหดห”ู่ (๘) รชู้ ัดซึ่งจติ อันฟุ้งซ่าน วา่ “จิตฟงุ้ ซา่ น” (๙) รชู้ ดั ซง่ึ จติ อนั ถงึ ความเปน็ จติ ใหญ่ วา่ “จติ ถงึ แลว้ ซง่ึ ความเปน็ จติ ใหญ”่ (๑๐) รชู้ ดั ซง่ึ จติ อนั ไมถ่ งึ ความเปน็ จติ ใหญ่ วา่ “จติ ไมถ่ งึ แลว้ ซง่ึ ความเปน็ จติ ใหญ”่ (๑๑) ร้ชู ัดซึง่ จิตอนั ยังมจี ติ อ่ืนย่งิ กวา่ ว่า “จติ ยังมีจิตอนื่ ยิ่งกวา่ ” (๑๒) รู้ชดั ซ่ึงจิตอันไม่มจี ิตอ่ืนยง่ิ กว่า วา่ “จิตไมม่ ีจติ อน่ื ยิ่งกว่า” (๑๓) รชู้ ัดซึ่งจติ อนั ตัง้ มนั่ ว่า “จิตตงั้ มน่ั ” (๑๔) รู้ชดั ซง่ึ จติ อนั ไมต่ ั้งมั่น วา่ “จิตไมต่ ั้งมนั่ ” (๑๕) ร้ชู ัดซึ่งจิตอนั หลดุ พน้ แลว้ ว่า “จิตหลดุ พ้นแล้ว” (๑๖) รชู้ ดั ซ่ึงจติ อันยังไมห่ ลดุ พน้ ว่า “จิตยังไม่หลดุ พ้น” 7

พุทธวจน - หมวดธรรม ดว้ ยอาการอยา่ งนแ้ี ล ทภ่ี กิ ษเุ ปน็ ผมู้ ปี กตพิ จิ ารณาเหน็ จติ ในจติ (จติ เฺ ต จติ ตฺ านปุ สสฺ ี วหิ รต)ิ อนั เปน็ ภายในอยบู่ า้ ง, ในจติ อนั เปน็ ภายนอกอยบู่ า้ ง, ในจติ ทง้ั ภายในและภายนอกอยบู่ า้ ง; และเป็นผูม้ ปี กติพจิ ารณาเหน็ ธรรมเปน็ เหตุ เกิดขึ้นในจติ อย่บู ้าง, เห็นธรรมเปน็ เหตเุ สือ่ มไปในจติ อยบู่ า้ ง, เห็นธรรมเป็นเหตทุ ัง้ เกดิ ขน้ึ และเสอื่ มไปในจิตอยู่บา้ ง; กแ็ หละสติ (คือความระลกึ ) ว่า “จติ มอี ยู”่ ดังน้ี ของเธอนั้น เป็นสติทีเ่ ธอดำ�รงไว้เพียงเพือ่ ความรู้ เพียงเพื่อความอาศยั ระลกึ . ทแ่ี ท้เธอเป็นผู้ทตี่ ัณหาและทฏิ ฐอิ าศัยไมไ่ ด้ และเธอไมย่ ึดมน่ั อะไรๆ ในโลกนี้. ภิกษุท้งั หลาย !  ภกิ ษุชื่อวา่ เปน็ ผมู้ ปี กตติ ามเหน็ จติ ในจิตอยู่ แมด้ ้วยอาการอย่างนี้. –บาลี มหาสติปฏั ฐานสตู ร มหาวาร. ส.ํ ๑๐/๓๓๑/๒๘๙. 8

เปิดธรรมทีถ่ ูกปดิ : อินทรียสังวร (ตามดู! ไม่ตามไป) จะเห็นได้ว่า  พระพุทธเจ้ามิได้ให้เราฝึกตามดูตามรู้เรื่องราวในอารมณ์ไปเร่ือยๆ และ การตามดตู ามรซู้ ง่ึ จติ (จติ ตฺ านปุ สสฺ นา) จะตอ้ งเปน็ ไปภายใต้ ๘ คอู่ าการนเ้ี ทา่ นน้ั สมมุตสิ ถานการณต์ วั อย่าง เชน่ ในขณะท่เี รากำ�ลงั โกรธอยู่ ในกรณีน้ี หน้าทข่ี องเรา ท่ตี ้องทำ�ให้ได้ คือ “ร้ชู ัดซึ่งจิตอนั มโี ทสะ ว่า จติ มโี ทสะ” ไมใ่ ชไ่ ปตามดตู ามรู้โทสะ (หรือ ร้ใู นอารมณ์ท่ีจิตผกู ตดิ อย่)ู ในจิตอันมีโทสะขณะน้ัน ปญั หามอี ยวู่ า่ โดยธรรมชาตขิ องจติ มนั รไู้ ดอ้ ารมณเ์ ดยี วในเวลาเดยี ว(oneatatime) ในขณะทเ่ี ราก�ำ ลงั โกรธอยนู่ น้ั เราจงึ ตอ้ งละความเพลนิ ในอารมณท์ ท่ี �ำ ใหเ้ ราโกรธเสยี กอ่ น ไมเ่ ชน่ นนั้ เราจะไมม่ ที าง “ร้ชู ัดซ่งึ จิตอันมีโทสะ วา่ จติ มโี ทสะ” ไดเ้ ลย มผี สั สะ ➞ จิตรบั รู้อารมณ์ ➞ มสี ติ ➞ ละความเพลนิ ➞ รชู้ ดั ซง่ึ จติ ในระหวา่ งขน้ั ตอนขา้ งตน้ ถา้ เราสามารถเหน็ ธรรมเปน็ เหตเุ กดิ ขน้ึ หรอื เสอ่ื มไปในจติ ได้ การเห็นตรงน้ี เรียกวา่ วปิ สั สนา ซ่งึ เปน็ จดุ ประสงคข์ องการเจรญิ สตปิ ฏั ฐานทงั้ สี่ โปรดสงั เกต สตปิ ฏั ฐานส่ี ทกุ หมวด จบลงดว้ ยการเหน็ ธรรมอนั เปน็ เหตเุ กดิ ขน้ึ และเสอ่ื มไป ขน้ั ตอนของสตทิ เ่ี ขา้ ไปตง้ั อาศยั ในฐานทง้ั ส่ี เปน็ เพยี งบนั ไดขน้ั หนง่ึ เทา่ นน้ั ไมใ่ ชจ่ ดุ หมาย 9

พทุ ธวจน - หมวดธรรม เมอ่ื ผสั สะถกู ตอ้ งแลว้ หากเราหลงเพลนิ “รสู้ กึ ” ตามไปเรอ่ื ยๆ นค่ี อื อนสุ ยั (ตามนอน) หากละความเพลนิ ในอารมณแ์ ลว้ มาเหน็ จติ โดยอาการ๘คขู่ า้ งตน้ นค่ี อื อนปุ สั สนา(ตามเหน็ ) และถา้ มกี ารเหน็ แจง้ ในธรรมเปน็ เหตเุ กดิ ขน้ึ และเหตเุ สอ่ื มไปในจติ นค่ี อื วปิ สั สนา (เหน็ แจง้ ) ถ้าหากวา่   เราไมส่ ามารถรชู้ ัดซึง่ จติ โดยอาการอยา่ งใดอยา่ งหน่งึ ใน ๘ คขู่ ้างตน้ ได้ ใหด้ งึ สตกิ ลบั มารทู้ ฐ่ี านคอื กาย เชน่ อริ ยิ าบถ หรอื ลมหายใจ พลกิ กลบั เปน็ กายานปุ สั สนา อยา่ มกั งา่ ยไปคดิ ค�ำ ขน้ึ ใหม่ เพอ่ื มาเรยี กอารมณท์ จ่ี ติ หลงอยใู่ นขณะนน้ั เพราะนน่ั คอื จดุ เรม่ิ ของการเบย่ี งออกนอกมรรควธิ ี (ไปใชค้ �ำ อธบิ ายอาการของจติ ทน่ี อกแนวจากพทุ ธบญั ญตั ิ เปน็ ผลใหห้ ลงเขา้ ใจไดว้ า่ ก�ำ ลงั ดจู ติ ทง้ั ๆ ทก่ี �ำ ลงั เพลนิ อยใู่ นอารมณ์ ขาดสติ แตห่ ลงวา่ มสี ต)ิ น้ี เปน็ เพยี งตวั อยา่ งของการตามเหน็ ในกรณจี ติ ตานปุ สั สนา คอื ใชจ้ ติ เปน็ ฐานทต่ี ง้ั ของสติ ในกรณขี อง กายานปุ สั สนา เวทนานปุ สั สนา ธรรมานปุ สั สนา พงึ ศกึ ษาในลกั ษณะเดยี วกนั คอื ปฏบิ ตั ติ ามพทุ ธวจนในกรณนี น้ั ๆ ใหถ้ กู ตอ้ งครบถว้ น ทง้ั โดยอรรถะ และโดยพยญั ชนะ พระพทุ ธเจา้ มองเหน็ ธรรมชาตใิ นจติ ของหมสู่ ตั ว์ ในแบบของผทู้ ส่ี รา้ งบารมมี าเพอ่ื บอกสอน การบญั ญตั มิ รรควธิ ี จงึ เปน็ พทุ ธวสิ ยั หนา้ ทข่ี องเราในฐานะพทุ ธสาวกมเี พยี งอยา่ งเดยี ว คอื ปฏบิ ตั ติ ามพทุ ธบญั ญตั โิ ดยระมดั ระวงั อยา่ งทส่ี ดุ (มคคฺ านคุ า จ ภกิ ขฺ เว เอตรหิ สาวกา ฯ) เมื่อเข้าใจความหมายของการตามเห็น(อนปุ สสฺ นา)และการเห็นแจง้ (วปิ สสฺ นา)แลว้ ทนี ้ี จะมวี ธิ อี ยา่ งไร ทจ่ี ะท�ำ ใหอ้ ตั ราสว่ น Ratio ของ วปิ สั สนา ตอ่ อนปุ สั สนา มคี า่ สงู ทส่ี ดุ (คือ เน้นการปฏิบัติทไี่ ด้ประสทิ ธิภาพมากทีส่ ดุ เพ่อื ความลัดสั้นสู่มรรคผล) 10

เปดิ ธรรมทีถ่ กู ปิด : อนิ ทรยี สังวร (ตามดู! ไม่ตามไป) ตัวแปรหลกั ทเ่ี ปน็ กุญแจไขปญั หานี้ คอื สมาธิ ตราบใดทจ่ี ติ ยงั ซดั สา่ ยไปๆมาๆทง้ั การอนปุ สั สนากด็ ีและการวปิ สั สนากด็ ีตา่ งกท็ �ำ ไดย้ าก พระพทุ ธเจา้ จงึ ทรงรบั สง่ั วา่ ใหเ้ ราเจรญิ สมาธเิ พอ่ื ใหธ้ รรมทง้ั หลายปรากฏตามเปน็ จรงิ ภิกษุทงั้ หลาย !  เธอทั้งหลายจงเจรญิ สมาธิ. ภิกษุมีจติ ต้ังม่นั แลว้ ยอ่ มรชู้ ดั ตามเป็นจริง. ก็ภิกษุย่อมรู้ชดั ตามเป็นจรงิ อยา่ งไร ? ย่อมร้ชู ัดซึง่ ความเกดิ และความดับแห่งรูป ความเกดิ และความดับแห่งเวทนา ความเกิดและความดับแหง่ สญั ญา ความเกิดและความดับแห่งสังขาร ความเกดิ และความดับแหง่ วิญญาณ. –บาลี ขนฺธ. ส.ํ ๑๗/๑๗-๑๘/๒๗. 11

พุทธวจน - หมวดธรรม นอกจากนแ้ี ลว้ พระพทุ ธองคย์ งั ทรงแนะน�ำ เปน็ กรณพี เิ ศษ ส�ำ หรบั กรณที จ่ี ติ ตง้ั มน่ั ยาก เชน่ คนทค่ี ิดมาก มีเร่อื งใหว้ ติ กกังวลมาก ย�ำ้ คิดย�ำ้ ท�ำ คิดอยตู่ ลอดเวลา หยดุ คิดไมไ่ ด้ หรอื คนทเ่ี ปน็ hyperactive มบี คุ ลกิ ภาพทางจติ แบบ ADHD ซง่ึ มปี ญั หาในการอยนู่ ง่ิ ทรงแนะนำ�วธิ แี กไ้ ขอาการเหลา่ น้ี โดยการเจริญทำ�ใหม้ าก ซ่ึงอานาปานสติสมาธิ ภกิ ษทุ ง้ั หลาย !  ความหวน่ั ไหวโยกโคลงแหง่ กายกต็ าม ความหวน่ั ไหวโยกโคลงแหง่ จติ กต็ าม ยอ่ มมไี มไ่ ด้ เพราะการเจรญิ ทำ�ให้มากซึ่งอานาปานสติสมาธิ –บาลี มหา. ส.ํ ๑๙/๔๐๐/๑๓๒๕. เมอ่ื ถงึ ตรงน้ี แมจ้ ะไมเ่ อย่ ถงึ เรากค็ งจะเหน็ ไดช้ ดั แลว้ วา่ ความสงบแหง่ จติ (สมถะ) นน้ั จะตอ้ งด�ำ เนนิ ไปควบคู่ และเกอ้ื หนนุ กบั ระดบั ความสามารถในการเหน็ แจง้ (วปิ สั สนา) ซ่ึงพระพุทธองคเ์ องได้ตรัสเน้นย�ำ้ ในเรื่องนี้ไวโ้ ดยตรงดว้ ย ภกิ ษุทง้ั หลาย !  ธรรมท่ีควรกระท�ำ ให้เจรญิ ด้วยปัญญาอนั ย่ิง  เปน็ อยา่ งไรเล่า ? สมถะ และ วปิ สั สนา เหลา่ นเ้ี รากลา่ ววา่ เปน็ ธรรมทค่ี วรกระท�ำ ใหเ้ จรญิ ดว้ ยปญั ญาอนั ยง่ิ . –บาลี จตุกกฺ . อํ. ๒๑/๓๓๔/๒๕๔. 12

เปิดธรรมที่ถูกปดิ : อินทรยี สงั วร (ตามดู! ไม่ตามไป) ธรรมท่คี วรกระทำ�ให้เจรญิ ดว้ ยปัญญาอนั ยง่ิ มีสองอย่าง คือ ทงั้ สมถะ และวปิ ัสสนา นน่ั หมายความวา่ ทั้งสมถะ และวปิ สั สนา เป็นสง่ิ ทต่ี ้องอาศัยปญั ญาอันย่ิงในการไดม้ า ดงั นัน้ ใครกต็ ามทมี่ คี วามสามารถในการท�ำ จติ ให้ตงั่ มั้นได้ บุคคลนนั้ มีปญั ญาอนั ยิง่ ใครกต็ ามทจ่ี ติ ตง้ั มน่ั แลว้ สามารถเหน็ แจง้ ในธรรมอนั เปน็ เหตุ บคุ คลนน้ั มปี ญั ญาอนั ยง่ิ สำ�หรับบางคนที่อาจจะเข้าใจความหมายได้ดีกว่า  จากตัวอย่างอุปมาเปรียบเทียบ พระพุทธองคไ์ ด้ทรงยกอุปมาเปรยี บเทยี บไวใ้ นฌานสูตร วา่ เหมอื นกบั การฝึกยงิ ธนู เมอ่ื พจิ ารณาแล้ว จะพบว่า มตี ัวแปรตา่ งๆ ท่เี ก่ียวขอ้ ง ซ่งึ จะตอ้ งปรับให้สมดลุ เชน่ ความนิ่งของกาย วิธีการจบั ธนู การเลง็ น้ำ�หนกั และจงั หวะในการปลอ่ ยลูกศร อุปมาน้ี พอจะท�ำ ใหเ้ ราเห็นภาพได้ดี ในการเจรญิ สมถะวปิ ัสสนา ด้วยปัญญาอันย่ิง วา่ การเหน็ แจ้งในธรรมอนั เปน็ เหตุนน้ั จะต้องอาศัยความสมดุลย์ตา่ งๆ อย่างไรบา้ ง หากจะพูดให้สัน้ กระชับท่ีสุด การตามดูไมต่ ามไปน้ี แท้จริงแล้ว คอื การไมต่ ามไป เพราะเมอื่ ไม่ตาม (อารมณอ์ นั มปี ระมาณตา่ งๆ) ไป มันกเ็ หลือแค่การตามดทู ่ถี ูกต้อง หลักการไมต่ ามไปน้ี กค็ ือ หลักการละนนั ทิ ซึ่งเปน็ เรือ่ งเดียวกันกับหลกั อนิ ทรยี สังวร ภกิ ษมุ คิ ชาละ ฟงั ธรรมเรอ่ื งการละนนั ทิ แลว้ หลกี จากหมไู่ ปอยผู่ เู้ ดยี วกบ็ รรลอุ รหตั ตผล ความเร็วในการละนนั ทิ ยังถกู ใช้เปน็ เครอื่ งวัดความก้าวหนา้ ในการปฏบิ ัติจิตภาวนา (ดคู วามเชื่อมโยงไดใ้ นเรื่อง อินทรียสังวร, การไม่ประมาท, อนิ ทรียภ์ าวนาช้นั เลศิ ) 13

พทุ ธวจน - หมวดธรรม หนงั สอื “ตามด ู ! ไมต่ ามไป...” เลม่ น้ี จดั ท�ำ ขน้ึ เพอ่ื อ�ำ นวยความสะดวกแกช่ าวพทุ ธ โดยการคัดเลอื กพุทธวจน ทเ่ี กย่ี วข้องกับการเจริญสติ เปน็ จ�ำ นวนกว่า ๖๐ พระสตู ร ซ่งึ มเี นอื้ หาสอดรบั เชอื่ มโยงคลอ้ งเกลียวถึงกนั เพอ่ื ให้เราไดศ้ กึ ษาให้เข้าใจถึงมรรควิธี ท่ีถกู ต้องทุกแง่มุม ในความหลากหลายภายใต้ความเป็นหนึง่ จากพุทธบัญญตั ิโดยตรง ขอให้บุญบารมีทไี่ ด้สรา้ งมา ของชาวพุทธผทู้ ี่กำ�ลงั ถอื หนงั สอื เล่มนีอ้ ยู่ จงเปน็ เหตปุ ัจจยั ให้ทา่ นค้นพบคำ�ตอบโดยแจ่มแจ้ง ในข้อสงสัยเรื่องการปฏิบตั ิทที่ า่ นอาจจะติดข้องอยู่ และสำ�หรับบางท่านที่เข้าใจคลาดเคลื่อน ปฏิบัติคลาดเคลื่อนไปบ้าง มาแต่ทีแรก ก็ขอใหไ้ ด้พบ ไดเ้ ขา้ ใจในสงิ่ ที่ถูก และน�ำ ไปใช้ขยับปรบั เปลี่ยนให้ตรงทางไดโ้ ดยเร็ว ส�ำ หรบั ทา่ นท่ไี ม่เคยรู้อะไรมาก่อนเลย กถ็ อื เป็นบุญกศุ ลท่ีได้พบแผนที่ฉบับนี้แต่แรก คณะผ้จู ดั พมิ พห์ นงั สอื เลม่ น้ี ขอนอบน้อมสักการะ ต่อ ตถาคต ผู้อรหันตสมั มาสัมพุทธะ และ ภิกษสุ าวกในธรรมวินยั น้ี ตง้ั แตค่ รัง้ พุทธกาล จนถึงยคุ ปจั จุบนั ทม่ี สี ่วนเก่ียวขอ้ งในการสืบทอดพุทธวจน คอื ธรรม และวินัย ที่ทรงประกาศไว้ บริสุทธบิ์ รบิ รู ณ์ดีแล้ว คณะงานธัมมะ วดั นาปา่ พง 14

ผลเสียของการปล่อยจิต ให้เพลินกับอารมณ์

พุทธวจน - หมวดธรรม เปิดธรรมที่ถูกปดิ : อินทรยี สงั วร (ตามดู! ไม่ตามไป) กอ่ ใหเ้ กดิ อนสุ ัยทงั้ ๓ 01 -บาลี อปุ ริ. ม. ๑๔/๕๑๖/๘๒๒. ภิกษทุ ั้งหลาย ! เพราะอาศัยตาดว้ ย รูปทง้ั หลายด้วย จึงเกิดจกั ขุวิญญาณ การประจวบพร้อมแหง่ ธรรม ๓ ประการ นัน่ คือ ผัสสะ เพราะมผี ัสสะเปน็ ปจั จัย... เพราะอาศยั หูด้วย เสยี งทั้งหลายด้วย จงึ เกดิ โสตวญิ ญาณ การประจวบพรอ้ มแหง่ ธรรม ๓ ประการ นนั่ คือ ผัสสะ เพราะมีผัสสะเปน็ ปจั จัย... เพราะอาศัยจมกู ดว้ ย กลน่ิ ท้งั หลายด้วย จึงเกดิ ฆานวิญญาณ การประจวบพรอ้ มแหง่ ธรรม ๓ ประการ นัน่ คอื ผัสสะ เพราะมผี สั สะเปน็ ปัจจัย... เพราะอาศยั ล้นิ ด้วย รสทงั้ หลายดว้ ย จึงเกดิ ชวิ หาวิญญาณ การประจวบพร้อมแหง่ ธรรม ๓ ประการ น่ันคือ ผสั สะ เพราะมผี ัสสะเป็นปัจจยั ... 16

เปิดธรรมทถ่ี ูกปิด : อนิ ทรียสังวร (ตามดู! ไม่ตามไป) เพราะอาศยั กายดว้ ย โผฏฐพั พะทง้ั หลายดว้ ย จงึ เกดิ กายวญิ ญาณ การประจวบพรอ้ มแห่งธรรม ๓ ประการ น่ันคือ ผัสสะ เพราะมผี ัสสะเป็นปจั จัย... เพราะอาศยั ใจดว้ ย ธรรมารมณท์ ง้ั หลายดว้ ย จงึ เกดิ มโนวญิ ญาณ การประจวบพรอ้ มแห่งธรรม ๓ ประการ นนั่ คอื ผัสสะ เพราะมผี สั สะเป็นปัจจยั จงึ เกดิ เวทนา อนั เปน็ สขุ บา้ ง เปน็ ทกุ ขบ์ า้ ง ไมใ่ ชท่ กุ ขไ์ มใ่ ชส่ ขุ บา้ ง. บุคคลนั้น เม่ือ สขุ เวทนา ถูกตอ้ งอยู่ ยอ่ มเพลิดเพลนิ ยอ่ มพร่ำ�สรรเสรญิ เมาหมกอยู่ อนสุ ยั คอื ราคะ ยอ่ มตามนอนแกบ่ ุคคลน้ัน (ตสฺส ราคานสุ โย อนุเสต)ิ เม่ือ ทุกขเวทนา ถกู ตอ้ งอยู่ เขาย่อมเศรา้ โศก ย่อมระทมใจ ย่อมคร่ำ�ครวญ ยอ่ มตีอกรำ่�ไห้ ยอ่ มถึงความหลงใหลอยู่ อนสุ ยั คอื ปฏฆิ ะ ยอ่ มตามนอน (เพม่ิ ความเคยชนิ ให)้ แกบ่ คุ คลนน้ั . 17

พุทธวจน - หมวดธรรม เมอ่ื เวทนาอนั ไมใ่ ช่ทกุ ขไ์ มใ่ ชส่ ุข ถกู ต้องอยู่ เขายอ่ มไม่รูต้ ามเป็นจริง ซง่ึ สมุทยะ (เหตเุ กิด) ของเวทนานนั้ ดว้ ย ซง่ึ อัตถงั คมะ (ความดบั ไมเ่ หลือ) แห่งเวทนานัน้ ด้วย ซึ่งอสั สาทะ (รสอรอ่ ย) ของเวทนาน้ันด้วย ซง่ึ อาทีนวะ (โทษ) ของเวทนานัน้ ดว้ ย ซ่งึ นสิ สรณะ (อุบายเคร่อื งออกพน้ ไป) ของเวทนานนั้ ด้วย อนสุ ยั คอื อวชิ ชา ยอ่ มตามนอน (เพม่ิ ความเคยชนิ ให)้ แกบ่ คุ คลนน้ั . บุคคลนน้ั หนอ (สขุ าย เวทนาย ราคานุสย อปฺปหาย) ยังละราคานุสัย อนั เกิดจากสขุ เวทนาไมไ่ ด้ (ทุกฺขาย เวทนาย ปฏฆิ านุสย อปฺปฏิวโิ นเทตฺวา) ยังบรรเทาปฏิฆานุสัย อันเกดิ จากทกุ ขเวทนาไมไ่ ด้ (อทุกฺขมสุขาย เวทนาย อวชิ ชฺ านสุ ย อสมหู นิตวฺ า) ยังถอนอวิชชานุสยั อนั เกดิ จากอทุกขมสุขเวทนาไมไ่ ด้ 18

เปดิ ธรรมทถ่ี ูกปิด : อินทรียสังวร (ตามดู! ไม่ตามไป) (อวชิ ชฺ  อปปฺ หาย วชิ ชฺ  อนุปฺปาเทตฺวา) เมื่อยงั ละอวชิ ชาไมไ่ ด้ และยังทำ�วชิ ชาให้เกิดข้นึ ไม่ได้แลว้ (ทฏิ ฺเว ธมเฺ ม ทุกฺขสสฺ นตฺ กโร ภวิสฺสตีต)ิ เขาจักท�ำ ทส่ี ุดแหง่ ทกุ ข์ ในทฏิ ฐธรรม (รเู้ ห็นไดเ้ ลย) นไ้ี ด้ นั้น (เนต าน วิชฺชตฯิ ) ข้อนี้ ไม่เปน็ ฐานะที่จกั มไี ด.้ 19

พทุ ธวจน - หมวดธรรม เปดิ ธรรมทถ่ี ูกปดิ : อินทรยี สงั วร (ตามดู! ไม่ตามไป) ไม่อาจท่จี ะหลดุ พ้นไปจากทุกข์ 02 -บาลี ขนฺธ. สํ. ๑๗/๓๙/๖๔. ภิกษุทงั้ หลาย ! ผใู้ ด เพลดิ เพลินอยู่ ใน รปู ผนู้ ั้น เทา่ กับเพลดิ เพลินอยู่ ใน สิ่งที่เป็นทกุ ข.์ .. ผใู้ ด เพลิดเพลินอยู่ ใน เวทนา ผ้นู ้ัน เทา่ กับเพลดิ เพลนิ อยู่ ใน สง่ิ ที่เป็นทุกข์... ผู้ใด เพลดิ เพลินอยู่ ใน สญั ญา ผู้นน้ั เทา่ กบั เพลดิ เพลนิ อยู่ ใน สง่ิ ทีเ่ ป็นทุกข์... ผใู้ ด เพลดิ เพลินอยู่ ใน สงั ขารท้งั หลาย ผู้นั้น เทา่ กบั เพลิดเพลินอยู่ ใน ส่ิงทเ่ี ป็นทกุ ข์... ผู้ใด เพลิดเพลินอยู่ ใน วญิ ญาณ ผู้นน้ั เทา่ กับเพลดิ เพลนิ อยู่ ใน ส่ิงท่เี ปน็ ทกุ ข์ 20

เปดิ ธรรมทถี่ กู ปิด : อนิ ทรยี สงั วร (ตามดู! ไม่ตามไป) เรากลา่ วว่า “ผใู้ ด เพลดิ เพลนิ อยู่ ในสิง่ ทเี่ ปน็ ทุกข์ ผ้นู ้ัน ยอ่ มไม่หลดุ พน้ ไปไดจ้ ากทกุ ข์” ดงั นี้. 21

พุทธวจน - หมวดธรรม เปดิ ธรรมท่ถี ูกปดิ : อนิ ทรยี สงั วร (ตามดู! ไม่ตามไป) เพลนิ อยกู่ ับอายตนะติ 03 เท่ากบั เพลนิ อยู่ในทุกข์ -บาลี สฬา. สํ. ๑๘/๑๖/๑๙. ภกิ ษทุ งั้ หลาย ! ผูใ้ ด เพลิดเพลินอยู่ ใน จกั ษุ ผนู้ นั้ เท่ากบั เพลดิ เพลนิ อยู่ ใน สงิ่ ท่เี ปน็ ทุกข.์ .. ผใู้ ด เพลิดเพลินอยู่ ใน โสตะ ผนู้ ั้น เท่ากบั เพลิดเพลนิ อยู่ ใน สง่ิ ที่เป็นทุกข์... ผใู้ ด เพลิดเพลินอยู่ ใน ฆานะ ผู้นน้ั เท่ากับ เพลดิ เพลินอยู่ ใน สง่ิ ทเ่ี ป็นทกุ ข.์ .. ผใู้ ด เพลดิ เพลินอยู่ ใน ชิวหา ผู้น้ัน เทา่ กับ เพลดิ เพลินอยู่ ใน สิ่งทเ่ี ป็นทกุ ข์... ผู้ใด เพลิดเพลนิ อยู่ ใน กายะ ผ้นู น้ั เท่ากับ เพลิดเพลนิ อยู่ ใน สิง่ ทเ่ี ปน็ ทุกข์... ผใู้ ด เพลดิ เพลนิ อยู่ ใน มนะ ผนู้ ั้น เทา่ กับ เพลดิ เพลนิ อยู่ ใน สิง่ ที่เปน็ ทุกข์ 22

เปิดธรรมทถ่ี กู ปิด : อินทรยี สงั วร (ตามดู! ไม่ตามไป) เรากล่าววา่ ผู้ใด เพลดิ เพลินอยู่ ใน ส่งิ ท่เี ป็นทุกข์ ผ้นู ั้น ย่อมไมห่ ลดุ พ้นไปได้จากทกุ ข์ ดงั น.้ี (ในพระสตู รต่อไป ไดต้ รัสถึงในกรณีแห่ง อายตนะภายนอก ๖ ซึ่งมขี อ้ ความเหมอื นในกรณแี ห่งอายตนะภายใน ๖ ทุกประการ โดยลกั ษณะการตรัสตรงน้ี คอื ทรงตรัสแยกเป็นกรณีๆ จนครบ ซึ่งผอู้ ่านควรจะทำ�ความเข้าใจแยกไปตามกรณีจนครบเช่นกัน การท่ลี ะไว้ดว้ ย ... ก็เพื่อใหร้ ้วู า่ มขี อ้ ความสรุปท่ีเหมอื นกัน) 23

พทุ ธวจน - หมวดธรรม เปดิ ธรรมที่ถกู ปดิ : อนิ ทรียสังวร (ตามดู! ไม่ตามไป) ลกั ษณะของการอยู่ 04 อยา่ งมตี ัณหาเปน็ เพื่อน -บาลี สฬา. ส.ํ ๑๘/๔๓–๔๔/๖๖-๖๗. “ขา้ แต่พระองค์ผู้เจริญ ! ดว้ ยเหตุเพยี งเทา่ ไรหนอ ภกิ ษุจงึ ชอ่ื ว่า เปน็ ผมู้ กี ารอยู่อยา่ งมเี พื่อนสอง พระเจา้ ขา้  ?” มิคชาละ ! รปู ท้ังหลายอนั จะพึงเห็นได้ด้วยจกั ษุ อันเป็นรูปทน่ี า่ ปรารถนา น่ารักใคร่ น่าพอใจ มลี กั ษณะน่ารกั เป็นที่เข้าไปตั้งอาศัยอยูแ่ ห่งความใคร่ เป็นที่ตง้ั แห่งความกำ�หนดั ยอ้ มใจ มอี ยู่. ถา้ หากวา่ ภกิ ษยุ อ่ มเพลดิ เพลนิ พร�ำ่ สรรเสรญิ สยบมวั เมา ซง่ึ รปู นน้ั ไซร้ แกภ่ กิ ษผุ เู้ พลดิ เพลนิ พร�ำ่ สรรเสรญิ สยบมวั เมา ซง่ึ รปู นน้ั อยู่ นน่ั แหละ นนั ทิ (ความเพลนิ ) ยอ่ มเกิดขึน้ เมือ่ นนั ทิ มีอยู่ สาราคะ (ความพอใจอยา่ งย่ิง) ย่อมมี เมอ่ื สาราคะ มอี ยู่ สญั โญคะ (ความผกู จติ ตดิ กบั อารมณ)์ ยอ่ มมี 24

เปิดธรรมท่ีถูกปดิ : อินทรยี สังวร (ตามดู! ไม่ตามไป) มิคชาละ ! ภกิ ษผุ ปู้ ระกอบพรอ้ มแลว้   ด้วยการผกู จิตติดกบั อารมณ์ดว้ ยอำ�นาจแห่งความเพลนิ น่นั แล เราเรยี กวา่ “ผู้มกี ารอยูอ่ ย่างมเี พือ่ นสอง” (ในกรณีแห่งเสยี งท้งั หลายอันจะพึงไดย้ ินด้วยหู กลิน่ ทั้งหลายอันจะพึงดมด้วยจมกู รสทั้งหลายอันจะพงึ ลมิ้ ด้วยลนิ้ โผฏฐัพพะทงั้ หลายอันจะพงึ สมั ผสั ดว้ ยผิวกาย และธรรมารมณท์ ง้ั หลายอนั จะพงึ รแู้ จง้ ดว้ ยใจ กท็ รงตรสั อยา่ งเดยี วกนั ). มิคชาละ ! ภกิ ษผุ มู้ กี ารอยู่ดว้ ยอาการอย่างนี้ แม้จะส้องเสพเสนาสนะอนั เป็นป่าและป่าชัฏ ซ่ึงเงียบสงดั มเี สยี งรบกวนนอ้ ย มเี สยี งกกึ กอ้ งครกึ โครมนอ้ ย ปราศจากลมจากผิวกายคน เปน็ ที่ทำ�การลบั ของมนุษย์ เป็นทสี่ มควรแกก่ ารหลีกเรน้ เช่นนี้แลว้ กต็ าม ถงึ กระนน้ั ภิกษุนนั้ เรากย็ ังคงเรยี กวา่ ผูม้ กี ารอยูอ่ ยา่ งมเี พ่อื นสองอยู่น่ันเอง. 25

พทุ ธวจน - หมวดธรรม ข้อน้ันเพราะเหตุไรเล่า ? ขอ้ น้นั เพราะเหตวุ ่า ตณั หานัน่ แล เป็นเพ่อื นสองของภิกษุนนั้ . ตณั หาน้ัน อันภิกษุนนั้ ยังละไม่ได้แลว้ เพราะเหตนุ น้ั ภกิ ษนุ น้ั เราจงึ เรยี กวา่ “ผมู้ กี ารอยอู่ ยา่ งมเี พอ่ื นสอง” ดงั น.้ี “ขา้ แตพ่ ระองคผ์ ู้เจรญิ  ! ดว้ ยเหตุเพียงเท่าไรหนอแล ภกิ ษจุ งึ ชอ่ื วา่ เปน็ ผมู้ กี ารอยอู่ ยา่ งอยผู่ เู้ ดยี ว พระเจา้ ขา้  !” มคิ ชาละ ! รปู ท้งั หลายอันจะพึงเห็นไดด้ ้วยจกั ษุ อันเปน็ รูปท่ีนา่ ปรารถนา นา่ รักใคร่ นา่ พอใจ มลี ักษณะนา่ รกั เป็นที่เข้าไปต้ังอาศยั อยู่แห่งความใคร่ เป็นที่ตง้ั แหง่ ความก�ำ หนดั ยอ้ มใจ มอี ย.ู่ ถา้ หากวา่ ภกิ ษยุ อ่ มไมเ่ พลดิ เพลนิ ไมพ่ ร�ำ่ สรรเสรญิ ไมส่ ยบมวั เมา ซ่ึงรูปนน้ั ไซร้ แกภ่ ิกษผุ ้ไู ม่เพลดิ เพลนิ ไม่พร่�ำ สรรเสรญิ ไม่สยบมัวเมา ซึง่ รูป นนั้ นน่ั แหละ นันทิ ยอ่ มดบั 26

เปดิ ธรรมที่ถกู ปดิ : อนิ ทรียสังวร (ตามดู! ไม่ตามไป) เมื่อ นนั ทิ ไม่มีอยู่ สาราคะ ย่อมไมม่ ี เม่อื สาราคะ ไม่มอี ยู่ สญั โญคะ ย่อมไม่มี มิคชาละ ! ภิกษุผไู้ ม่ประกอบพร้อมแลว้ ดว้ ยการผูกจิตติดกับอารมณ์ดว้ ยอ�ำ นาจแห่งความเพลนิ นัน่ แล เราเรยี กวา่ “ผมู้ กี ารอยู่อย่างอยูผ่ ู้เดยี ว” (ในกรณแี หง่ เสยี งทัง้ หลายอนั จะพงึ ไดย้ ินดว้ ยหู กลิน่ ทัง้ หลายอันจะพงึ ดมดว้ ยจมูก รสทัง้ หลายอนั จะพึงลม้ิ ด้วยลน้ิ โผฏฐัพพะทง้ั หลายอนั จะพงึ สมั ผสั ดว้ ยผิวกาย และธรรมารมณท์ ง้ั หลายอนั จะพงึ รแู้ จง้ ดว้ ยใจ กท็ รงตรสั อยา่ งเดยี วกนั ). มคิ ชาละ ! ภิกษผุ ู้มกี ารอยดู่ ้วยอาการอยา่ งน้ี แม้อยูใ่ นหมบู่ า้ น อนั เกลื่อนกลน่ ไปดว้ ยภกิ ษุ ภิกษุณี อุบาสก อบุ าสิกาท้งั หลาย ด้วยพระราชา มหาอำ�มาตย์ของพระราชาทงั้ หลาย ด้วยเดยี รถีย์ สาวกของเดียรถยี ์ทง้ั หลาย กต็ าม ถงึ กระนน้ั ภกิ ษนุ น้ั เรากเ็ รยี กวา่ ผมู้ กี ารอยอู่ ยา่ งอยผู่ เู้ ดยี วโดยแท้ 27

พุทธวจน - หมวดธรรม ขอ้ นั้นเพราะเหตุไรเลา่  ? ข้อนนั้ เพราะเหตุวา่ ตณั หานน่ั แล เปน็ เพอ่ื นสองของภกิ ษนุ ้ัน ตณั หานั้น อันภกิ ษุนนั้ ละเสียไดแ้ ล้ว เพราะเหตนุ น้ั ภกิ ษนุ น้ั เราจงึ เรยี กวา่ “ผมู้ กี ารอยอู่ ยา่ งอยผู่ เู้ ดยี ว” ดงั นี้ แล. 28

พทุ ธวจน - หมวดธรรม เปดิ ธรรมท่ถี กู ปดิ : อนิ ทรียสังวร (ตามดู! ไม่ตามไป) ไม่อาจถึงซ่ึง ความเจริญงอกงาม 05 ไพบลู ย์ ในธรรมวินยั -บาลี มู. ม. ๑๒/๔๑๐/๓๘๔-๕. ภกิ ษทุ ้งั หลาย !   คนเลย้ี งโคที่ประกอบด้วยความบกพรอ่ ง ๑๑ อย่างเหลา่ น้แี ล้ว ไม่เหมาะที่จะเล้ยี งโคและท�ำ ฝงู โคใหเ้ จริญได.้ ความบกพร่องนั้นคอื อะไรกันเล่า ? คอื คนเลย้ี งโคในกรณนี ้ี ... เปน็ ผไู้ มเ่ ขย่ี ไขข่ าง เปน็ ผไู้ มป่ ดิ แผล ... ภกิ ษทุ งั้ หลาย !   ฉนั ใดก็ฉนั นน้ั ภิกษผุ ้ปู ระกอบด้วยองคค์ ณุ ๑๑ อย่างเหล่านีแ้ ลว้ ไมค่ วรทจ่ี ะถึงความเจรญิ งอกงาม ไพบูลย์ ในธรรมวนิ ัยนี.้ องค์คณุ นน้ั คอื อะไรกันเล่า ? คอื ภกิ ษใุ นกรณีนี้ ... เป็นผู้ไม่เขย่ี ไขข่ าง เปน็ ผ้ไู ม่ปดิ แผล ... ภกิ ษุทง้ั หลาย !   ภกิ ษเุ ป็นผไู้ มเ่ ขย่ี ไขข่ าง เป็นอย่างไรกันเลา่  ? ภกิ ษุทั้งหลาย !   ภกิ ษุในกรณนี ี้ ไม่อดกลัน้ (อธวิ าเสต)ิ ไมล่ ะ (น ปชหต)ิ ไม่บรรเทา (น วิโนเทต)ิ ไม่ทำ�ให้สน้ิ สดุ (น พฺยนฺตกี โรต)ิ ไมท่ �ำ ใหห้ มดส้นิ (น อนภาวงฺคเมต)ิ 29

พทุ ธวจน - หมวดธรรม ซ่งึ ความตรึกเกยี่ วด้วยกาม (กามวติ ก) ท่ีเกิดขึน้ แลว้ ซึง่ ความตรึกเก่ียวดว้ ยความมุ่งร้าย (พยาบาทวิตก) ท่ีเกดิ ขึน้ แล้ว ซง่ึ ความตรกึ เกย่ี วดว้ ยการเบยี ดเบยี น (วหิ งิ สาวติ ก) ทเ่ี กดิ ขน้ึ แลว้ ซ่งึ บาปอกุศลธรรมทงั้ หลาย ทีเ่ กิดข้นึ แลว้ ภกิ ษุทง้ั หลาย !   ภกิ ษุเป็นผไู้ ม่เขยี่ ไขข่ าง เปน็ อยา่ งนแี้ ล. ภิกษุทง้ั หลาย !   ภิกษเุ ปน็ ผู้ไมป่ ดิ แผล เป็นอย่างไรกันเลา่  ? ภิกษทุ ัง้ หลาย !   ภกิ ษุในกรณีน้ี เหน็ รูปด้วยตา ฟงั เสียงด้วยหู ดมกล่นิ ด้วยจมูก ลิม้ รสด้วยล้ิน ถกู ตอ้ งโผฏฐัพพะด้วยกาย รู้ธรรมารมณด์ ว้ ยใจ แลว้ กม็ จี ติ ยดึ ถอื เอา ทง้ั โดยลกั ษณะทเ่ี ปน็ การรวบถอื ทง้ั หมด (โดยนิมิต) และ การถือเอาโดยการแยกเป็นสว่ นๆ (โดยอนุพยัญชนะ) ส่ิงอันเปน็ อกศุ ล คือ อภิชฌาและโทมนสั จะพงึ ไหลไปตามผทู้ ไี่ ม่ส�ำ รวม ตา หู จมูก ลน้ิ กาย ใจ เพราะการไม่สำ�รวมอินทรยี ์ใด เป็นเหตุ เธอไมป่ ฏิบตั ิเพอ่ื ปดิ ก้ัน อนิ ทรยี ์เหลา่ นน้ั ไว้ เธอไม่รกั ษา และไม่สำ�รวม ตา หู จมกู ล้นิ กาย ใจ ภิกษทุ ง้ั หลาย !   ภิกษเุ ปน็ ผไู้ มป่ ิดแผล เป็นอยา่ งนีแ้ ล. (ในทีน่ ี้ ยกมาใหเ้ หน็ เพยี ง ๒ จากทั้งหมด ๑๑ คุณสมบตั )ิ 30

ตัวอยางพุทธวจน ที่ทรงตรัสไมใหปลอยจิต ใหเพลินกับอารมณ

พทุ ธวจน - หมวดธรรม เปิดธรรมท่ีถกู ปดิ : อนิ ทรยี สังวร (ตามดู! ไม่ตามไป) ละความเพลนิ จิตหลดุ พน้ 06 -บาลี สฬา. ส.ํ ๑๘/๑๗๙/๒๔๕-๖. สมฺมา ปสสฺ  นิพพฺ ินทฺ ติ เม่อื เหน็ อยู่โดยถกู ตอ้ ง ยอ่ มเบอ่ื หน่าย นนฺทิกขฺ ยา ราคกขฺ โย เพราะความสิ้นไปแหง่ นนั ทิ จึงมีความส้นิ ไปแห่งราคะ ราคกขฺ ยา นนฺทกิ ขฺ โย เพราะความสน้ิ ไปแห่งราคะ จงึ มคี วามสน้ิ ไปแห่งนันทิ นนฺทิราคกขฺ ยา จติ ฺต สุวมิ ุตฺตนฺติ วุจจฺ ตีติ เพราะความสิน้ ไปแหง่ นันทิและราคะ กลา่ วไดว้ า่ “จติ หลดุ พน้ แล้วด้วยดี” ดงั น.้ี 32