Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore ปัตตานี

Description: ปัตตานี

Search

Read the Text Version

ปตั ตานี ปตั ตานี 1

๑๐ เท.่ ..นา่ เที่ยว ๑๐ เท.่ ..น่าเทย่ี ว 2 ปัตตานี

แบบประเมินความพงึ พอใจ เอกสารท่องเทยี่ ว Satisfaction Questionnaire of Tourist Information Brochures ปัตตานี 3

เกาะโลซนิ 4 ปตั ตานี

สารบญั การเดินทาง ๗ สถานท่ที ่องเท่ยี ว ๙ อำ� เภอเมอื งปตั ตานี ๙ อำ� เภอยะหริ่ง ๑๔ อำ� เภอปะนาเระ ๑๗ อำ� เภอมายอ ๑๙ อำ� เภอสายบุรี ๑๙ อำ� เภอไมแ้ กน่ ๒๒ อ�ำเภอกะพ้อ ๒๒ อำ� เภอยะรงั ๒๒ อำ� เภอโคกโพธิ์ ๒๒ อ�ำเภอหนองจกิ ๒๖ กจิ กรรมทอ่ งเที่ยว ๒๗ เทศกาลงานประเพณ ี ๒๗ สินค้าพ้นื เมือง ๒๘ รา้ นจำ� หน่ายสินคา้ ทร่ี ะลกึ ๓๐ ตวั อยา่ งรายการน�ำเท่ยี ว ๓๑ แผนท ี่ ๓๔ หมายเลขโทรศัพทส์ �ำคัญ ๓๘ ศูนย์บรกิ ารขา่ วสารท่องเท่ียว ททท. ๓๙ ปัตตานี 5

ปัตตานี เมืองงามสามวัฒนธรรม ศนู ย์ฮาลาลเลิศล�ำ้ ชมนอ้ มนำ� ศรัทธา ถ่นิ ธรรมชาติงามตา ปัตตานสี ันติสขุ แดนใต้ 6 ปตั ตานี

ปัตตานี ในอดีตเป็นอาณาจักรที่เก่าแก่และมี ทรัพยากรทางธรรมชาติมีพื้นที่เป็นป่าเขาและ ความเจริญรุ่งเรือง จากหลักฐานทางโบราณคดีมี ติดชายฝั่งทะเลเป็นระยะทางยาวประมาณ ๑๗๐ การค้นพบซากโบราณสถาน โบราณวัตถุท่ีอ�ำเภอ กโิ ลเมตร ยะรัง และเคยเป็นที่แวะจอดเรือ เพ่ือแลกเปล่ียน สินค้า ระหว่างพ่อค้าชาวอินเดียกับชาวจีน แต่เดิม ปัตตานแี บ่งการปกครองออกเปน็ ๑๒ อำ� เภอ ไดแ้ ก่ ชาวเมืองปัตตานีนับถือศาสนาพุทธและพราหมณ์ อ�ำเภอเมอื งปตั ตานี อ�ำเภอยะหร่งิ อ�ำเภอปะนาเระ และเปล่ียนมานับถือศาสนาอิสลาม นับต้ังแต่พุทธ อ�ำเภอมายอ อ�ำเภอสายบุรี อ�ำเภอไม้แก่น อ�ำเภอ ศตวรรษที่ ๑๙ หลังจากท่ีอาณาจักรศรีวิชัยเส่ือม กะพ้อ อ�ำเภอทุง่ ยางแดง อ�ำเภอยะรงั อำ� เภอแม่ลาน สลาย โดยได้รับอทิ ธพิ ลจากราชวงศ์มัชปาหิตในชวา อ�ำเภอโคกโพธแิ์ ละอ�ำเภอหนองจิก มาสู่แหลมมลายู มีการก่อสร้างมัสยิดกรือเซะ และ มสั ยดิ อนื่ ๆ ภายในชมุ ชน เพื่อใชป้ ระกอบศาสนกิจ ระยะทางจากตวั เมืองไปอำ� เภอตา่ งๆ อ�ำเภอยะหรงิ่ ๑๕ กโิ ลเมตร ในสมัยพระบาทสมเด็จพระพุทธยอดฟ้าจุฬาโลก อ�ำเภอปะนาเระ ๔๓ กโิ ลเมตร มหาราช (รัชกาลท่ี ๑) ทรงโปรดเกล้าฯ ให้พระยา อ�ำเภอมายอ ๔๒ กโิ ลเมตร กลาโหมยกทัพไปตีเมืองปัตตานี เมืองไทรบุรี และ อ�ำเภอสายบุร ี ๕๓ กโิ ลเมตร เมืองตรังกานูเพ่ือให้เป็นเมืองข้ึน โดยได้กวาดต้อน อ�ำเภอไม้แกน่ ๖๒ กโิ ลเมตร ครอบครวั และศาสตราวธุ รวมทง้ั ปนื ใหญ่ ๒ กระบอก อ�ำเภอกะพ้อ ๖๖ กโิ ลเมตร แต่สามารถน�ำมาได้กระบอกเดียวและทูลเกล้าฯ อ�ำเภอทุ่งยางแดง ๕๖ กโิ ลเมตร ถวาย จารึกชื่อเป็น “พญาตานี” ซึ่งปัจจุบันต้ังอยู่ อ�ำเภอยะรัง ๑๙ กโิ ลเมตร หน้ากระทรวงกลาโหม กรุงเทพมหานคร ต่อมา อ�ำเภอแมล่ าน ๓๓ กโิ ลเมตร ในสมัยพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว อ�ำเภอโคกโพธ์ิ ๒๗ กโิ ลเมตร (รชั กาลที่ ๕) มกี ารยกเลกิ การปกครองแบบจตสุ ดมภ์ อ�ำเภอหนองจกิ ๘ กโิ ลเมตร โดยในปพี .ศ. ๒๔๔๙ ได้แยกหวั เมืองออกจากมณฑล นครศรีธรรมราชและต้ังเป็นมณฑลปัตตานี ตั้งเป็น ระยะทางจากจงั หวัดปตั ตานีไปจังหวัดใกล้เคยี ง จังหวัดปัตตานี รวมเมืองหนองจิกและเมืองยะหร่ิง สงขลา ๑๐๕ กโิ ลเมตร ต่อมาในปีพ.ศ. ๒๔๗๕ เกิดการเปล่ียนแปลงการ นราธิวาส ๙๕ กโิ ลเมตร ปกครองอีกครั้งและมีการปกครองโดยผู้ว่าราชการ ยะลา ๔๒ กโิ ลเมตร จังหวดั คนแรก การเดนิ ทาง ปัตตานี เมืองชายแดนใต้ที่มีเสน่ห์น่าสนใจ วิถีชีวิต รถยนต์ จากกรงุ เทพมหานคร ใชท้ างหลวงหมายเลข ของคนในพื้นที่ ภาษา อาหาร ท่ีได้ช่ือว่าเป็นเมือง ๓๕ (ธนบุรี-ปากท่อ) ผ่านจังหวัดสมุทรสาคร พหวุ ฒั นธรรม อกี ทงั้ ดา้ นประวตั ศิ าสตร์ ยงั มรี อ่ งรอย สมุทรสงคราม แยกซ้ายท่ีสามแยกวังมะนาว เข้าสู่ ทางประวัตศาสตร์ รวมถึงความสมบูรณ์ของ ทางหลวงหมายเลข ๔ (ถนนเพชรเกษม) ผา่ นจงั หวดั ปตั ตานี 7

เพชรบรุ ี ประจวบครี ขี นั ธ์ ถงึ ชมุ พร จากนน้ั ใชท้ างหลวง สายการบินที่ให้บริการเส้นทางกรุงเทพ-หาดใหญ่ หมายเลข ๔๑ ผา่ นจงั หวดั สรุ าษฎรธ์ านี อำ� เภอทงุ่ สง ไดแ้ ก่ จงั หวดั นครศรธี รรมราช จงั หวดั พทั ลงุ จนถงึ อำ� เภอ ออกจากทา่ อากาศยานนานาชาติสุวรรณภมู ิ หาดใหญ่ และเข้าสู่ทางหลวงหมายเลข ๔๓ (สาย - สายการบิน ไทย สมายล์ โทร. ๑๑๘๑, หาดใหญ-่ ปตั ตาน)ี บรเิ วณสแี่ ยกคลองหวะ เซน็ ทรลั ๐ ๒๑๑๘ ๘๘๘๘ หรือ www.thaismileair.com หาดใหญ่ อกี ประมาณ ๑๑๔ กโิ ลมเตร จะถงึ อำ� เภอ เมอื งปตั ตานี รวมระยะทางทงั้ หมด ๑,๐๓๖ กโิ ลเมตร ออกจากท่าอากาศยานดอนเมือง - สายการบนิ ไทย ไลออ้ น แอร์ โทร. ๐ ๒๕๒๙ รถโดยสารประจำ� ทาง ออกจากสถานขี นสง่ ผโู้ ดยสาร ๙๙๙๙ หรือ www.lionairthai.com กรุงเทพฯ (สถานีขนส่งสายใต้) ถนนบรมราชชนนี - สายการบิน นกแอร์ โทร. ๑๓๑๘ หรือ เสน้ ทางกรงุ เทพฯ – ปตั ตาน,ี กรงุ เทพ ฯ -สไุ หงโก-ลก, www.nokair.com สอบถามข้อมลู - สายการบนิ ไทย แอร์ เอเชยี www.airasia.com - บริษัท ขนส่ง จ�ำกัด สอบถามข้อมูล โทร. ๐ ๒๒๖๙ ๖๙๙๙, ๐ ๗๓๔๕ ๑๖๐๑ การเดินทางภายในจังหวดั ปัตตานี - บริษัท สยามเดินรถ สอบถามข้อมูล สถานี รถสองแถว ขนสง่ สายใต้ โทร. ๐ ๒๘๙๔ ๖๑๖๐-๒, สำ� นกั งาน ปตั ตาน-ี โคกโพธิ์ ตงั้ แตเ่ วลา ๐๖.๐๐-๑๗.๐๐ น. หาดใหญ่ โทร. ๐ ๗๔๔๒ ๙๕๒๕ รถออกทุกชั่วโมง ปตั ตาน-ี สายบรุ ี ตง้ั แตเ่ วลา ๐๖.๐๐-๑๗.๐๐ น. รถไฟ มีบริการเดินรถจากสถานีรถไฟหัวล�ำโพง รถออกทุกชั่วโมง ลงที่สถานีปัตตานี สอบถามข้อมูล โทร. ๑๖๙๐, ปตั ตาน-ี ปากลอ่ ตง้ั แตเ่ วลา ๐๖.๐๐-๑๗.๐๐ น. สถานรี ถไฟปตั ตานี โทร. ๐ ๗๓๔๓ ๑๒๓๒, สถานี รถออกทุกช่วั โมง นาประดู่ อำ� เภอโคกโพธิ์ โทร. ๐ ๗๓๔๓ ๑๔๓๒ หรอื www.railway.co.th การเดินทางจากปัตตานีไปจังหวดั ใกล้เคียง รถตู้ เครื่องบนิ ไมม่ เี ทีย่ วบินตรงไปจงั หวดั ปตั ตานี แต่นกั ปตั ตาน-ี ทา่ อากาศยานหาดใหญ่ สอบถามขอ้ มลู ท่องเที่ยวสามารถใช้บริการโดยลงที่ท่าอากาศยาน บรษิ ทั ซีสยาม ทราเวล โทร. ๐๘ ๒๘๒๒ ๑๓๘๘, นานาชาติหาดใหญ่ จังหวัดสงขลาและใช้บริการรถ ๐๘ ๓๑๙๐ ๒๒๐๐ แทก็ ซห่ี รอื รถต้จู ากหาดใหญไ่ ปปัตตานไี ด้ ระยะทาง ปัตตานี-จะนะ-หาดใหญ่ เวลาให้บริการ ประมาณ ๑๑๖ กิโลเมตร ใช้เวลาในการเดินทาง ๐๖.๓๐-๑๗.๓๐ น. สอบถามข้อมูล หจก. ปัตตานี ๑.๔๐ ชว่ั โมง เดนิ รถ โทร. ๐ ๗๔๕๕ ๙๑๓๓, ๐๘ ๓๑๗๐ ๕๖๐๐ (บขส.หาดใหญ่ ช่อง ๒๕), ๐ ๗๓๔๕ ๑๕๖๖, ๐๘ ๗๙๒๔ ๖๘๑๑ (ควิ รถตปู้ ตั ตาน)ี 8 ปัตตานี

มสั ยิดกลางปัตตานี ปตั ตาน-ี สงขลาเวลาใหบ้ รกิ าร๐๗.๐๐-๑๗.๓๐น. มัสยิดกลางจังหวัดปัตตานี ต�ำบลอาเนาะรู ถนน สอบถามข้อมูล หจก. ปัตตานเี ดนิ รถ โทร. ๐ ๗๓๔๕ ยะรัง (สายยะรัง-ปัตตานี) ในเขตเทศบาลเมือง ๑๖๐๐ ปตั ตานี สร้างในปี พ.ศ. ๒๔๙๗ ใช้เวลาดำ� เนินการ ปัตตานี-สุไหงโก-ลก เวลาให้บริการ ๐๘.๐๐- สรา้ ง ๙ ปี และทำ� พธิ เี ปดิ โดยจอมพลสฤษด์ิ ธนะรชั ต์ ๑๗.๐๐ น. สอบถามขอ้ มูล หจก. ปตั ตานีเดนิ รถ โทร. เมอ่ื วนั ท่ี ๒๕ พฤษภาคม ๒๕๐๖ เพอ่ื ใหเ้ ปน็ ศนู ยก์ ลาง ๐ ๗๓๔๕ ๑๖๐๓ ในการประกอบศาสนกจิ ของชาวไทยมสุ ลมิ ในภาคใต้ เป็นสถาปัตยกรรมแบบตะวันตกมีรูปทรงคล้ายกับ สถานทท่ี อ่ งเทย่ี ว ทัชมาฮาลของอินเดีย ตรงกลางอาคารมียอดโดม อ�ำเภอเมอื งปัตตานี ขนาดใหญ่และมีโดมบริวาร ๔ ทิศ มีหอคอยอยู่ ศาลหลักเมือง ต้ังอยู่ในโรงเรียนเบญจมราชูทิศ สองข้าง บริเวณด้านหน้ามัสยิดมีสระน�้ำสี่เหลี่ยม จังหวัดปัตตานี ตรงข้ามศาลากลางจังหวัด ริมฝั่ง ขนาดใหญ่ ภายในมัสยิดมีลักษณะเป็นห้องโถง ของแม่น้�ำปัตตานี สร้างเมื่อวันที่ ๑๓ พฤษภาคม มีระเบียงสองข้าง ภายในห้องโถงด้านในมีบัลลังก์ พ.ศ. ๒๔๙๔ สมัยพระยารัตนภักดีเป็นผู้ว่าราชการ ทรงสงู และแคบ จังหวัด ศาลหลักเมืองแห่งนี้เป็นท่ีเคารพสักการะ ของชาวเมืองปัตตานีและนักท่องเที่ยวจะพากันไป สักการะเพ่ือความเป็นสริ ิมงคลเสมอ ปัตตานี 9

ศาลเจ้าแมล่ ้ิมกอเหนีย่ ว ชุมชนเมืองเก่าปัตตานี อยู่บริเวณถนนอาเนาะรู ศาลเจ้าแม่ล้ิมกอเหน่ียว หรือ ศาลเจ้าเล่งจูเกียง ถนนปตั ตานภี ริ มย์ ถนนฤาดี โดยในอดตี ถนนอาเนาะรู ถนนอาเนาะรู ยา่ นเมอื งเกา่ ปัตตานี เปน็ ศาลเกา่ แก่ เป็นถนนสายแรกๆ ท่ีชาวจีนฮกเกี้ยนล่องเรือจาก คู่บ้านคู่เมืองของจังหวัดปัตตานี โดยมีต้นตระกูล สงขลามาต้ังรกรากตั้งแต่สมัยกรุงศรีอยุธยาและเป็น คณานุรักษ์เป็นผู้สร้างและผู้ดูแล เดิมทีเรียกว่า ยา่ นการคา้ ของชาวจนี ในสมยั กอ่ น เรยี กวา่ “ชมุ ชนกอื “ศาลปุนเถ้ากง” หมายถึง ศาลเจ้าประจ�ำชุมชน ดาจนี อ” หรอื “ชมุ ชนจนี หวั ตลาด” เปน็ ทตี่ งั้ ของศาล ประดิษฐานรูปแกะสลักของเจ้าแม่ล้ิมกอเหน่ียวจาก เจา้ แมล่ มิ้ กอเหนย่ี ว มโี รงเตย๊ี ม โรงหนงั รา้ นคา้ แบบจนี กงิ่ มะมว่ งหมิ พานต์ เปน็ ทเี่ คารพสกั การะเรอ่ื งกจิ การ โบราณ บา้ นตน้ ตระกลู คณานรุ กั ษ์ (ผนู้ ำ� ชาวจนี ในเมอื ง ค้าขายหรือเรื่องเจ็บป่วยของชาวปัตตานี อาคาร ตานีขณะนั้น) อาคารบ้านเรือนส่วนใหญ่เป็นอาคาร ของศาลเจ้าแม่ล้ิมกอเหน่ียวเป็นศาลเจ้าชั้นเดียว ไม้ มลี วดลายฉลแุ บบจนี หรอื อาคารแบบชโิ นโปรตกุ สี แบบจนี แบง่ เปน็ โถงกลาง ปกี ซา้ ยและปกี ขวา ภายใน แบบปตั ตานบี นถนนฤาดี ปจั จบุ นั ไดม้ กี ารฟน้ื ฟเู มอื ง ประดิษฐานองค์เทพหลายองค์ ได้แก่ โจ๊วซูกง เป็น เก่าสร้างสรรค์ผลงานผ่านจิตรกรรม ประติมากรรม เทพประธานของศาลเจ้าแม่ฯ เจ้าแม่ทับทิม เจ้าแม่ ภาพวาดสตรีทอาร์ต เน้นบอกเล่าเร่ืองราวท่ีเป็น ล้มิ กอเหนี่ยวและองค์เทพอืน่ ๆ เป็นต้น อัตลักษณ์ความเป็นชุมชนพหุวัฒนธรรมของปัตตานี ใหก้ ลบั มามชี วี ติ ชวี าอกี ครงั้ ในวนั ขนึ้ ๑๕ คำ่� เดอื น ๓ ของทกุ ปี จะมงี านประเพณี แหเ่ จา้ แมล่ ิ้มกอเหนีย่ วไปตามถนนสายต่างๆ ภายใน 10 ปัตตานี

ตัวเมือง มีการท�ำพิธีลุยไฟบริเวณหน้าศาลเจ้า เทวรปู ปางตา่ งๆ พระพิมพ์ พระเครื่อง โบราณวตั ถุ เล่งจูเกียงและลุยน้�ำที่สะพานเดชานุชิต ในงานนี้มี ท่สี �ำคญั เครือ่ งถ้วยจีน เครอ่ื งถว้ ยยโุ รป เครอื่ งถว้ ย ผทู้ เี่ คารพศรทั ธามารว่ มงานเปน็ จำ� นวนมาก เปดิ ทกุ วนั ไทย-จีน เหรียญท่ีระลึก เงินตราและธนบัตรต่างๆ เวลา ๐๖.๐๐-๑๗.๐๐ น. เปน็ ต้น มัสยิดรายอ ปัตตานี หรือ มัสยิดรายอ ฟาฎอนี หอศิลป์ภาคใต้ จัดแสดงเก่ียวกับวัฒนธรรมใน ถนนยะรัง ซอย ๘ ต�ำบลจะบังติกอ เดิมเป็นมัสยิด สามจงั หวดั ชายแดนใตใ้ นแงม่ มุ ตา่ งๆ ไดแ้ ก่ ภมู ลิ กั ษณ์ แห่งรัฐปัตตานี สร้างในช่วงปี พ.ศ. ๒๓๘๘-๒๓๙๙ ชายแดนใต้ ประวัติศาสตร์ชาติพันธุ์ ภาษาและ ในยุคสมัยของสุลต่านมูฮัมหมัด หรือ ตนกูบือซาร์ วรรณกรรม ผู้มีผลงานดีเด่นทางวัฒนธรรม แหล่ง โดดเดน่ ดว้ ยสถาปัตยกรรมมลายปู ตั ตานี ผสมผสาน ท่องเที่ยวทางวัฒนธรรม ศิลปะการแสดงพื้นบ้าน ระหว่างอาคารทรงพื้นเมืองสองช้ัน ทรงปั้นหยา ภมู ปิ ญั ญาทอ้ งถนิ่ ฯลฯ เปดิ ใหเ้ ขา้ ชม วนั จนั ทร-์ วนั ศกุ ร์ มียอดโดมสถาปัตยกรรมแบบตะวันออก และมี ต้ังแต่เวลา ๐๙.๐๐-๑๖.๓๐ น. (ยกเว้นวันหยุด โครงสร้างท�ำประดับลวดลายมัสยิดลายพรรณ ราชการและวนั นกั ขตั ฤกษ)์ สอบถามขอ้ มลู การศกึ ษา พฤกษา มีอายุกว่า ๒๐๐ ปี สถาบนั วฒั นธรรมศกึ ษากลั ยาณวิ ฒั นา มหาวทิ ยาลยั วงั จะบงั ตกิ อ ถนนหนา้ วงั ตำ� บลจะบงั ตกิ อ หา่ งจาก สงขลานครนิ ทร์ ปตั ตานี โทร. ๐ ๗๓๓๓ ๑๒๕๐ มัสยิดรายอประมาณ ๓๕๐ เมตร ต้ังอยู่ใกล้แม่น้�ำ สกาย วอร์ค ปัตตานี ต�ำบลรูสะมิแล ตั้งอยู่ภายใน ปัตตานี สร้างในสมัยของตนกูบือซาร์ สร้างโดย สวนสมเด็จเจ้าฟ้ากัลยานิวัฒนา กรมหลวงนราธิวาส สถาปนิกชาวจีน เป็นอาคารช้ันเดียวสร้างด้วยไม้ ราชนครินทร์ (สวนแม่-สวนลูก) เป็นเส้นทางเดินชม ภายในอาคารมีห้องโถงขนาดใหญ่ใช้เป็นท่ีท�ำงาน ธรรมชาติแบบ ๓๖๐ องศา สูงประมาณ ๑๒ เมตร ของเจ้าเมือง และใช้เป็นวังที่ประทับของเจ้าเมือง ระยะทางยาว ๔๐๐ เมตร โครงสร้างเป็นเหล็ก คนต่อๆ มา จนถงึ อับดลุ กอเดร์ เจ้าเมืององคส์ ดุ ท้าย ท้ังหมด ทางเดินเป็นตาข่าย มองเห็นทางด้านล่าง ของปัตตานี พ้ืนท่ีวังล้อมรอบด้วยก�ำแพงหินก่ออิฐ ได้ มีศาลาพักผ่อน ๕ จุด สามารถมองเห็นป่าชาย ถือปูนและมีโค้งประตูตามแบบสถาปัตยกรรมแบบ เลน ปากอ่าวปัตตานีและบริเวณแหลมตาชี เปิด จีนผสมอนิ เดีย ต้ังแต่เวลา ๐๖.๐๐-๑๙.๐๐ น. สถาบันวัฒนธรรมศึกษากัลยาณิวัฒนา อยู่ภายใน ชุมชนบ้านบานา ต�ำบลบานา ค�ำว่า “บานา” บรเิ วณมหาวทิ ยาลยั สงขลานครนิ ทร์ ปตั ตานี ภายใน มาจากภาษาเปอรเ์ ซีย แปลวา่ “เมอื งทา่ ” เนือ่ งจาก พิพิธภณั ฑแ์ บ่งออกเป็นหลายสว่ น ดังนี้ ในอดีตเคยเป็นเมืองท่าของอาณาจักรมลายู ชุมชน บานามีทรัพยากรธรรมชาติที่อุดมสมบูรณ์ ชาวบ้าน พิพิธภัณฑ์พระเทพญาณโมลี ซ่ึงจัดแสดงเกี่ยวกับ ส่วนใหญ่ประกอบอาชีพประมงพื้นบ้านและมี ประวัติ ผลงานและส่ิงของเครื่องใช้ของพระธรรม การท�ำนาเกลือแห่งเดียวในปัตตานี เป็นอาชีพที่ โมลี เจ้าอาวาสวดั ตานนี รสโมสร ได้แก่ พระพุทธรูป สืบทอดกันมาตั้งแต่ในอดีต เกลือของท่ีน่ีเรียกว่า ปัตตานี 11

เกลอื หวาน เนอื่ งจากมรี สชาตจิ ะกลมกลอ่ ม ไมเ่ คม็ จดั ปัตตานีในสมัยอยุธยา รวมท้ังเป็นเมืองท่าท่ีส�ำคัญ นิยมน�ำไปหมักปลาทู ท�ำน้�ำบูดู ปลาแห้ง ผลไม้ ในด้านการค้าขาย ในส่วนของมัสยิดกรือเซะ และผัก ซึ่งถือว่าเป็นสินค้าเศรษฐกิจที่ข้ึนช่ือของ สันนิษฐานว่าสร้างขึ้นในสมัยกรุงศรีอยุธยา มีอายุ ชมุ ชน นอกจากนช้ี าวบา้ นในชมุ ชนไดม้ กี ารรวมลมุ่ กนั เก่าแก่กว่า ๒๐๐ ปี กรมศิลปากรได้ข้ึนทะเบียน สรา้ งสะพานไมบ้ านาขนึ้ เปน็ เสน้ ทางศกึ ษาธรรมชาติ เป็นโบราณสถานเมื่อปีพ.ศ. ๒๔๗๘ ลักษณะการ ผ่านป่าชายเลน ทอดยาวลงสู่อ่าวปัตตานี และยังมี ก่อสร้างเป็นแบบเสากลม รูปลักษณะแบบเสา กิจกรรมล่องเรือชมป่าโกงกาง สัมผัสธรรมชาติ โกธิคของยุโรป ช่องประตูหน้าต่างมีท้ังแบบมนและ รอบๆ อ่าวปัตตานี สอบถามข้อมูล กลุ่มวิสาหกิจ โค้งแหลม สถาปัตยกรรมแบบทางตะวันออกกลาง ชุมชนท่องเท่ียวและเชิงอนุรักษณ์บ้านบานา โทร. บริเวณใกล้เคียงน้ันมีที่ฝังศพเจ้าแม่ลิ้มกอเหน่ียว ๐๖ ๕๗๒๕ ๙๖๑๓ การเดินทาง อยู่บนทางหลวงหมายเลข ๔๒ (ถนน มัสยิดกรือเซะ ตั้งอยู่บ้านกรือเซะ ต�ำบลตันหยง สายปัตตานี-นราธิวาส) ห่างจาตัวเมืองประมาณ ลุโละ ในอดีตชุมชนกรือเซะเป็นที่ต้ังของเมือง ๗ กโิ ลเมตร มสั ยดิ กรอื เซะ 12 ปัตตานี

สุสานเจ้าแม่ล้ิมกอเหนี่ยว บ้านกรือเซะ ต�ำบล ชุมชนท่องเท่ียวบาราโหม บ้านปาเระ ต�ำบล ตันหยงลุโละ ใกล้กับมัสยิดกรือเซะ มีต�ำนานเล่าว่า บาราโหม ความโดดเด่นของชุมชน คือ เป็นชุมชน ลิ้มกอเหนี่ยวได้ลงเรือส�ำเภามาตามพ่ีชายชื่อลิ้มโต๊ะ ท่องเท่ียวเชิงประวัติศาสตร์ มีแหล่งโบราณสถาน เค่ียม เดินทางมาจากเมืองจีนและได้มาแต่งงาน เกา่ แกร่ ว่ ม ๕๐๐ ปี เปน็ ทต่ี งั้ ของสสุ านพญาอนิ ทริ า กับธิดาพระยาตานีซ่ึงต่อมาได้เปลี่ยนมานับถือ หรือ สุลต่านอิสมาอีล ชาห์ รวมถึงสุสานราชินี ๓ ศาสนาอิสลาม ลิม้ กอเหนี่ยวเกิดน้อยใจที่ไมส่ ามารถ พ่ีน้อง (รายาฮีเยา รายาบีรูและรายาอูงู) ในอดีต อ้อนวอนให้พี่ชายเดินทางกลับประเทศจีนได้ส�ำเร็จ บาราโหมเป็นเมืองพุทธมลายูแห่งราชอาณาจักร ตามท่ีได้สัญญาไว้กับมารดา จึงได้ผูกคอตายที่ ลงั กาสกุ ะ ตอ่ มามกี ารเปลยี่ นแปลงโครงสรา้ งนครรฐั ต้นมะม่วงหิมพานต์ ล้ิมโต๊ะเค่ียมจึงได้จัดพิธีศพ เป็นรัฐอิสลามโดยมีพญาอินทิรา เป็นผู้ก่อตั้งและ ท�ำฮวงซุ้ยตามประเพณีจีนไว้ท่ีหมู่บ้านกรือเซะ สถาปนานครปตั ตานดี ารสุ ลาม พรอ้ มพฒั นาบา้ นเมอื ง ปจั จบุ นั ไดร้ บั การบรู ณะตอ่ มาชาวปตั ตานไี ดน้ ำ� ตน้ ไม้ ให้มีความเจริญรุ่งเรือง มีการหล่อปืนใหญ่ข้ึนเป็น นั้นมาแกะเป็นรูปบชู าและสรา้ งศาลเจา้ ข้นึ ครั้งแรก เป็นศูนย์กลางการค้าและการเผยแพร่ ศาสนาอิสลามและเมืองท่าท่ีส�ำคัญในการค้าขายกับ ต่างประเทศ สุสานเจ้าแม่ล้มิ กอเหน่ียว ปัตตานี 13

วงั ยะหร่ิง นอกจากการท่องเท่ียวเชิงประวัติศาสตร์แล้ว หลากหลายชนิด ได้แก่ โกงกาง แสมด�ำ ล�ำภูทะเล ชุมชนยังมีแหล่งท่องเที่ยวเชิงนิเวศน์และกิจกรรมที่ และโพธ์ิทะเล หลากหลาย ทั้งป่าชายเลน การท�ำประมงพื้นบ้าน การท�ำหัตถกรรมแกะสลักไม้กระต่ายขูดมะพร้าว จุดเด่นด้านกิจกรรมท่องเที่ยวของชุมชนได้แก่ ด้วยลวดลายมลายูท้องถ่ิน กิจกรรมล่องเรือชมอ่าว การล่องเรือชมป่าชายเลนและป่าโกงกางที่ทอดตัว ปตั ตานี รวมถงึ การทำ� ผา้ บาตกิ จากบลอ็ คไม้ สอบถาม เขา้ หากนั คลา้ ยอโุ มงคโ์ กงกางทเี่ กดิ ขน้ึ ตามธรรมชาติ ข้อมูล ชุมชนท่องเท่ียวบาราโหม โทร. ๐๘ ๑๙๖๙ มีความยาวต่อเน่ืองประมาณ ๗๐๐ เมตร ชมนก ๑๒๐๗, ๐๙ ๓๕๘๐ ๒๗๐๒ น้�ำนานาพันธ์บินกลับรังในช่วงดวงอาทิตย์ตกดิน อ�ำเภอยะหร่งิ ล่องเรือชมห่ิงห้อยนับล้านตัวท่ีเกาะปูลากูแนที่ จะเกิดข้ึนเฉพาะในคืนเดือนแรม สอบถามข้อมูล ชุมชนท่องเท่ียวบางปู เป็นชุมชนท่องเท่ียว ๐๘ ๖๔๙๑ ๒๕๕๖ เชิงนิเวศน์ ลักษณะพ้ืนที่ของชุมชนเป็นป่าชายเลน บริเวณปากอ่าวปัตตานี ในเขตอ�ำเภอยะหริ่งจะมี วังยะหรง่ิ ตำ� บลยามู ตงั้ อยู่ในซอยพพิ ธิ ราษฎรบ์ �ำรุง ลำ� คลองทีไ่ หลออกสู่อ่าวปัตตานี ได้แก่ คลองกอและ สร้างโดยพระยาพิพิธเสนามาตยาธิบดีศรีสงคราม คลองกือเงาะและคลองบางปู เต็มไปด้วยพันธ์ไม้ เม่ือปี พ.ศ.๒๔๓๘ มีลักษณะสถาปัตยกรรม 14 ปตั ตานี

เฉพาะตวั ผสมผสานระหวา่ งไทย มสุ ลมิ จนี และยโุ รป และยังมีสะพานทางเดินไม้ยกระดับ ศาลาพักผ่อน ตัวอาคาร เป็นลักษณะสองช้ัน โดยชั้นล่างเป็นลาน เพอื่ ชมทัศนียภาพเหนือยอดของพันธไ์ุ มป้ า่ ชายเลน โล่งใตถ้ นุ สงู ส่วนชั้นบน แบง่ เป็นหอ้ งโถงขนาดใหญ่ และห้องพักของเจ้าเมืองและบุตรธิดา ช่องรับแสง หาดตะโละกาโปร์ เป็นหาดทรายขาวสะอาด ประดับด้วยกระจกสีสด ช่องระบายอากาศ หน้าจ่ัว ขนานกับชายฝั่งทะเล มีเรือกอและของชาวประมง ท�ำด้วยไม้ฉลุลวดลายงดงาม ผสมผสานระหว่าง จอดอยู่เป็นจ�ำนวนมาก หาดทรายแห่งน้ีทอดยาว ศิลปะแบบชวาและแบบตะวันตก จุดเด่นของบ้าน เกิดจากกระแสน�้ำพัดเอาตะกอนทรายมาทับถม คือ บนั ไดโคง้ แบบยโุ รป บรเิ วณโดยรอบวงั แวดล้อม พอกพูน เหมาะแก่การไปน่ังพักผ่อนชมธรรมชาติ ดว้ ยพนั ธไ์ุ มร้ ม่ รนื่ อายกุ วา่ ๑๐๐ ปี ปจั จบุ นั วงั ยะหรง่ิ มีทิวสนและตน้ มะพร้าวใหค้ วามรม่ รน่ื สวยงาม ยังคงเป็นที่พักอาศัยของทายาท ซึ่งเป็นผู้ดูแลวัง เป็นอย่างดี การเข้าชมวังสามารถติดต่อขออนุญาต การเดินทาง จากอ�ำเภอเมืองปัตตานี ใช้ทางหลวง ได้ทีท่ ายาทเจ้าของวัง หมายเลข ๔๒ (ปัตตานี-นราธิวาส) เล้ียวซ้ายเข้า อ�ำเภอยะหร่ิง ข้ามคลองยามูตามสะพานคอนกรีต โครงการศูนย์ศึกษาธรรมชาติป่าชายเลนยะหร่ิง ขนาดใหญ่ ผ่านพื้นที่สวนป่าชายเลนและหมู่บ้านไป ต้ังอยู่บริเวณริมคลองยามู ตรงข้ามที่ว่าการอ�ำเภอ จนถึงทางแยกเขา้ สูห่ าด รวมระยะทาง ๑๘ กโิ ลเมตร ยะหร่งิ ปา่ ชายเลนยะหริง่ ทะเลในปตั ตานี ขน้ึ ชอ่ื วา่ เปน็ ปา่ ชายเลนทม่ี คี วามสมบรู ณท์ สี่ ดุ แหง่ หนง่ึ ในไทย มัสยิดบ้านดาโต๊ะ หรือ มัสยิดดาโต๊ะ หมู่ท่ี ๔ จดั ตงั้ ขน้ึ เมอ่ื ปพี .ศ. ๒๕๓๙ เนอื่ งในวโรกาสทพี่ ระบาท บ้านดาโต๊ะ ต�ำบลแหลมโพธิ์ เส้นทางเดียวกับทาง สมเด็จพระปริมนทรมหาภูมอิ ดลุ ยเดช (รัชกาลที่ ๙) ไปหาดตะโละกาโปร์ เดิมชื่อว่า มัสยิดดาโต๊ะปันยัง ทรงครองราชยป์ ที ่ี ๕๐ พน้ื ทโ่ี ครงการรวม ๙,๐๐๐ ไร่ สถานท่ีท่องเท่ียวที่ส�ำคัญในประวัติศาสตร์ ภายในมีทางเดินศึกษาธรรมชาติป่าชายเลน ด้านศาสนา มีประวัติการสร้างร่วมสมัยกับมัสยิด เป็นสะพานที่สร้างด้วยไม้ตะเคียนทอง (Hopea กรือเซะ เป็นท่รี ู้จกั ในหมู่พอ่ ค้านกั เดินเรอื ชาวมสุ ลิม Odorata) เป็นระยะทางยาวโดยรอบ ๑,๒๕๐ เมตร ในสมัยนั้นเพ่ือใช้ในการปฏิบัติศาสนกิจ ต่อมาใน ตลอดเส้นทางเดินโดยรอบจะเห็นกลุ่มไม้ในสังคม สมยั พระยาพพิ ธิ เสนามาตยฯ์ ไดท้ ำ� การบรู ณะตอ่ เตมิ ป่าชายเลนทั้งไม้ยืนต้น ไม้พุ่ม ไม้เถาและไม้พ้ืนล่าง ให้กว้างข้ึน ซึ่งกรมศิลปากรได้ขึ้นทะเบียนโบราณ ซึ่งพันธุ์ไม้แต่ละชนิดสามารถข้ึนได้ในบริเวณที่มี สถานไวแ้ ลว้ เมอื่ ปี พ.ศ. ๒๔๗๘ ลักษณะแตกต่างกัน โดยเฉพาะบริเวณที่อยู่ระหว่าง ระดับน้�ำทะเลต่�ำสุดและระดับน�้ำทะเลสูงสุด แหลมตาชี หรือ แหลมโพธ์ิ เป็นหาดทรายขาว เช่น กลุ่มไม้ถั่วขาว กลุ่มไม้ตะบูนด�ำ กลุ่มไม้ตาตุ่ม ต่อจากหาดตะโละกาโปร์ คู่ขนานกับแผ่นดินใหญ่ ทะเล ฝาดดอกขาว เหงือกปลาหมอดอกขาว เปน็ ตน้ เป็นแหลมท่ีก้ันระหว่างอ่าวปัตตานี (ทะเลใน) และ ตามเส้นทางจะมีระเบียงพักและมีซุ้มส่ือความหมาย อ่าวไทย (ทะเลนอก) ออกจากกันทางทิศเหนือเกิด อธิบายเก่ียวกับป่าชายเลนพร้อมมีรูปภาพประกอบ จากการก่อตัวของสันทรายที่ย่ืนออกไปในทะเลใน ปัตตานี 15

มัสยดิ ดาโต๊ะ แหลมตาชี 16 ปตั ตานี

ลักษณะสันดอนจะงอย โดยปลายแหลมจะงอกเพ่ิม ข้ึนทุกปี มีภูมิทัศน์ท่ีสวยงามเหมาะแก่การพักผ่อน เป็นพ้ืนที่บริเวณปลายแหลมตาชีสามารถมองเห็น ไดท้ งั้ ดวงอาทติ ยข์ นึ้ และดวงอาทติ ยต์ กในจดุ เดยี วกนั การเดนิ ทางไปแหลมตาชีไปได้ ๒ ทาง คือ ทางน�้ำ น่งั เรือจากปากแมน่ ำ้� ปตั ตานตี รงไปยังแหลม ตาชี ใช้เวลาประมาณหนึ่งชั่วโมง หรือ น่ังเรือจาก ท่าด่านอ�ำเภอยะหร่ิง ออกมาตามคลองยามู จนถึง ทะเลในไปจนถงึ แหลมตาชี ทางบก จากอำ� เภอยะหร่งิ ขา้ มคลองยามู ผ่านหาด ตะโละกะโปร์จนถึงปลายแหลมตาชี ระยะทาง ประมาณ ๑๑ กโิ ลเมตร วัดบูรพาราม หรือ วัดออก ต�ำบลยามู สร้างเมื่อ หาดปานาเระ ปีพ.ศ. ๒๓๖๐ สมัยสร้างเมืองยะหร่ิง เป็นสถานท่ี ส�ำคัญท่ีท�ำให้เกิดความเจริญทางการศึกษาทั้งธรรม และบาลี ภายในบริเวณประดิษฐานหลวงพ่อทุ่ง คา ซึ่งเป็นพระพุทธรูปคู่บ้านคู่เมืองยะหร่ิงมาร่วม ๒๐๐ ปี มีพุทธคุณทางเมตตามหานิยม และยังมี พระโสภณธรรมคณี (พ่อท่านแดง ฐานธมฺโม) เจ้า คณะจังหวัดปัตตานี เป็นผู้เชี่ยวชาญด้านการแพทย์ ไทยแผนโบราณ พระพุทธชินราชจ�ำลอง วัดปิยาราม เดิม ช่ือวัด อำ� เภอปะนาเระ ปีไหง วัดแห่งน้ีสร้างข้ึนเม่ือ พ.ศ. ๒๓๔๖ โดยท่าน หาดปะนาเระ อยู่ห่างจากตัวอ�ำเภอ ๓ กิโลเมตร สมภารบอด ภายในวัดมีปูชนียวัตถุที่ส�ำคัญ ได้แก่ ใช้เส้นทางเดียวกับหาดตะโละกาโปร์ เป็นหมู่บ้าน พระประธานในอโุ บสถ ซงึ่ เปน็ พระพทุ ธชนิ ราชจำ� ลอง ชาวประมงหลายร้อยหลังคาเรือน มีต้นสนเรียงราย ตามแนวชายหาด บนหาดทรายมเี รอื กอและ และเรอื ประมงนานาชนิดจอดเรยี งรายทว่ั ทงั้ หาด ปตั ตานี 17

หาดแฆแฆ หาดมะรวด ลกั ษณะเดน่ ของหาดมะรวด เปน็ โขดหนิ หาดแฆแฆ ต�ำบลน้�ำบ่อ ค�ำว่า “แฆแฆ”เป็นภาษา และภเู ขาหนิ ทมี่ ขี นาดเลก็ ตงั้ ซอ้ นทบั กนั อยดู่ แู ปลกตา มลายูท้องถิ่น (ภาษายาวี) มีความหมายว่า อึกทึก และมที างเดนิ ทอดยาวใหข้ นึ้ ไปเดนิ เลน่ บนยอดเขาได้ ครกึ โครม หา่ งจากหาดราชรักษ์ ๒ กโิ ลเมตร จดุ เด่น ทุกวันพฤหัสและวันอาทิตย์ ที่นี่จะมีตลาดน้�ำหาด ของหาดแฆแฆคือเป็นชายหาดที่มีโขดหินแกรนิต บางมะรวด เป็นตลาดนัดชุมชนอยู่บริเวณปากอ่าว ขนาดใหญ่ ลักษณะแปลกตาสวยงาม บนเนินเขามี มีท้ังอาหาร ขนมท้องถ่นิ รวมถึงกจิ กรรมต่างๆ ศาลาพักผ่อนและเป็นจุดชมทิวทัศน์ท่ีสวยงามของ อำ� เภอปะนาเระ หาดราชรักษ์ เปน็ หาดทรายตอ่ เน่ืองกับหาดมะรวด และหาดแฆแฆ โดยอยู่ถัดจากหาดมะรวดไปเพียง วัดส�ำเภาเชย เดิมชื่อ วัดทุ่งส�ำเภา สร้างข้ึนเม่ือปี ๑ กิโลเมตร และอยู่ก่อนถึงหาดแฆแฆ ๒ กิโลเมตร พ.ศ. ๒๔๔๔ เป็นวัดที่ให้ความส�ำคัญทางการศึกษา การเดนิ ทางใชท้ างเดยี วกบั ทไ่ี ปหาดชลาลยั และหาด โดยมีพระศีลมงคล (พ่อท่านทอง) เป็นเกจิอาจารย์ มะรวด ลกั ษณะเด่นของหาดราชรกั ษ์ คอื เปน็ หาด ท่ีมีชื่อเสียงในขณะน้ัน ได้จัดตั้งโรงเรียนสอน ทรายกว้างล้อมรอบด้วยโขดหิน และหุบเขาเต้ียๆ พระปรยิ ตั ิธรรม มโี รงเรียนปฐมศึกษา ห้องสมุดกลาง บนเนนิ เขา นบั ไดว้ า่ เปน็ สถานทที่ สี่ วยงามอกี แหง่ หนง่ึ เพื่อการศึกษาของประชาชนและมี เป็นท่ีเคารพ ศรทั ธาของประชาชนในพน้ื ทจี่ งั หวดั นราธวิ าส ยะลา และปตั ตานี 18 ปัตตานี

วงั พิพิธภกั ดี อ�ำเภอมายอ เขาฤาษี หมู่ที่ ๒ ตำ� บลมายอ มีลกั ษณะเป็นโขดหิน กับศิลปะตะวันตก มีหน้ามุขและผนังกั้นห้องโค้ง ธรรมชาติ มบี อ่ นำ�้ กอ่ ดว้ ยอฐิ กวา้ ง ๒ ศอก ลกึ ๕ ศอก แบบตะวันตก ลูกกรงบันไดและช่องลมลายดอกไม้ ถือว่าเป็นบ่อน้�ำศักด์ิสิทธ์ิ ซ่ึงทางราชการเคยน�ำไป แบบชวาโดยสถาปนกิ ชาวจนี ใช้ในพิธีราชาภิเษกหลายรัชกาลและได้สร้างโบสถ์ ครอบบ่อน�้ำศักดิ์สิทธ์ิแห่งน้ีไว้ ปัจจุบันเป็นที่ต้ังของ วัดเขาฤาษีแปลงสาสน์ ซึ่งเป็นท่ีเคารพบูชาของ ชาวปัตตานแี ละจงั หวดั ใกลเ้ คยี ง อ�ำเภอสายบุรี วังพิพิธภักดี ต�ำบลตะลุบัน บริเวณสามแยก หอนาฬิกา มุมถนนสุริยะและถนนกะลาพอ ตรงขา้ มกบั วงั สายบรุ ี เปน็ ทป่ี ระทบั ของพระพพิ ธิ ภกั ดี (ตนกูมุกดา อับดุลบุตร) บุตรชายคนโตของเจ้า เมืองยะหร่ิง ลักษณะเด่นของวังคือเป็นอาคารไม้สัก สองชัน้ สถาปตั ยกรรมผสมผสานระหวา่ งศิลปะชวา วังพพิ ธิ ภักดี ปตั ตานี 19

มัสยดิ รายอสายบรุ ี มัสยิดรายอ สายบุรี ต�ำบลตะลุบัน เป็นมัสยิด และที่น่ีได้รับการยอมรับว่าประณีตสวยงามด้วย หลังแรกของเมืองสายบุรี ที่เจ้าเมืองสายบุรีสร้างขึ้น ลวดลายท่ีผสมกลมกลืนกันระหว่างศิลปะไทยและ เพื่อให้ชาวบ้านได้ปฏิบัติศาสนกิจ (ละหมาด) สร้าง มลายู นอกจากน้ีบ้านปะเสยะวอยังมีชื่อเสียงใน เมื่อปีพ.ศ. ๒๔๒๘ สร้างโดยสถาปนิกชาวชวาและ การทำ� น�้ำบูดูรสดอี กี ดว้ ย มีผู้ช่วยเป็นชาวบ้านท้องถิ่น รูปแบบสถาปัตยกรรม แบบอินโดนีเซีย ลักษณะอาคารมัสยิดมีช้ันเดียว หาดวาสุกรี หรอื หาดปาตาตีมอ อยใู่ นเขตเทศบาล ทรงส่ีเหล่ียม ทรงหลังคามี ๓ ช่วง ได้แก่ ช่วงท่ี ๑ ต�ำบลตะลุบัน ลักษณะของหาดทรายเป็นแนวยาว และ ๒ เป็นทรงปั้นหยา ปูด้วยกระเบื้อง ช่วงที่ ๓ ขนานไปกบั ทวิ สน เหมาะสำ� หรบั การพกั ผอ่ น เลน่ นำ้� คือตัวอาคารทีท่ �ำละหมาด มีโดมขนาดเลก็ ยอดโดม มที ่ีพกั ร้านอาหารให้บรกิ าร จะมลี กู แก้วกลมสีเขียว เกาะโลซนิ หรอื กองหนิ โลซนิ เปน็ กองหนิ ขนาดเลก็ บ้านปะเสยะวอ หมู่บ้านที่มีช่ือเสียงในการต่อเรือ ไม่มีชายหาด มีเพียงประภาคารขนาดเล็กตั้งอยู่ กอและ ซึ่งเป็นเรือประมงของผู้คนในสามจังหวัด ห่างจากหาดวาสุกรีประมาณ ๗๒ กิโลเมตร เป็นท่ี ชายแดนใต้ ลักษณะเป็นเรือหัวแหลมท้ายแหลม นิยมส�ำหรบั นกั ด�ำน�ำ้ เนอ่ื งจากเปน็ จดุ ทมี่ ีความอดุ ม มีท้ังขนาดใหญ่ท่ีเป็นเรือประมงจริง และขนาดเล็ก สมบูรณ์ของปะการังแห่งหนึ่งของอ่าวไทย รวมถึง ที่จ�ำลองข้ึนเพื่อเป็นของที่ระลึก ฝีมือการต่อเรือกอ ฉลามวาฬท่สี ามารถพบเห็นได้ 20 ปตั ตานี

หาดวาสุกรี เกาะโลซิน ปตั ตานี 21

อำ� เภอไม้แก่น ในพ้ืนท่ี ๙ ตารางกิโลเมตร เป็นเมืองท่ีมีการสร้าง หาดบางสาย หมู่ท่ี ๖ บ้านละเวง มีบึงขนาดใหญ่ ทบั ซอ้ นกนั ถงึ ๓ เมอื ง ขยายตวั เชอ่ื มตอ่ กนั ประกอบ ตรงข้ามชายหาด ให้บรรยากาศแตกต่างจากหาด ไปด้วย ทรายอ่ืน ชายหาดยาวประมาณ ๕ กิโลเมตร บรรยากาศสวยงามและเงียบสงบ เหมาะส�ำหรับ - เมอื งโบราณบา้ นวดั มศี นู ยก์ ลางเปน็ ลานจตั รุ สั ชมพระอาทิตยข์ น้ึ ในยามเช้า กลางเมือง ล้อมรอบด้วยคูน้�ำและมีซากเนินดิน โบราณสถานกระจายอยู่โดยรอบ โดยเฉพาะอย่าง ยิ่งทางทิศตะวันตกและทางทิศเหนือในบริเวณพ้ืนที่ หาดปา่ ไหม้ หมทู่ ่ี ๓ ต�ำบลไทรทอง เปน็ หาดทราย บ้านจาเละ ตอ่ จากหาดบางสาย บรรยากาศเงยี บสงบ มีทพ่ี ักให้ บรกิ าร นกั ทอ่ งเทยี่ วสามารถเดนิ ทางไปไดต้ ลอดทงั้ ปี - เมอื งโบราณบา้ นจาเละ มศี นู ยก์ ลางอยทู่ ส่ี ระนำ�้ อำ� เภอกะพอ้ โอบล้อมด้วยคูเมืองรูปสี่เหล่ียมถัดจากกลุ่มโบราณ ชมุ ชนทอ่ งเทย่ี วกะพอ้ ชมุ ชนเลก็ ๆ ทา่ มกลางหบุ เขา สถานบ้านวัดขึ้นไปทางทิศเหนอื ๑ กิโลเมตร บโู ดซงึ่ เปน็ สว่ นหนงึ่ ของทวิ เขาสนั กาลาครี ี ครอบคลมุ พน้ื ท่ีจังหวัดปัตตานี ยะลาและนราธวิ าส อกี ทั้งเป็น - เมืองโบราณบา้ นปราแว เป็นเมืองคนู �้ำ คันดนิ ที่แบ่งเขตชายแดนระหว่างไทยและมาเลเซีย มี ขนาดเล็กที่มีผังเมืองเป็นรูปสี่เหลี่ยมด้านไม่เท่า ความสมบรู ณแ์ ละหลากหลายทางชวี ภาพ เปน็ แหลง่ มีป้อมดินท้ัง ๔ มุมเมือง และมีคลองส่งน�้ำต่อเช่ือม ท่ีอยู่อาศัยของนกเงือกโดยเฉพาะในช่วงกุมภาพันธ์ กบั คูเมอื งโบราณบา้ นจาเละ ส่ีมมุ เมืองด้านทิศเหนือ ถึงมิถุนายน เป็นช่วงท่ีนกเงือกเข้าโพรงเพื่อกกไข่ ท้ัง ๒ ด้าน สามารถพบเหน็ ไดต้ ามธรรมชาติ เดมิ พน้ื ทขี่ องชมุ ชน เป็นสวนทุเรียนพ้ืนบ้านและได้พัฒนาเป็นชุมชน การเดินทาง จากอ�ำเภอเมืองปัตตานี ใช้ทางหลวง ทอ่ งเทย่ี ว เพอื่ เปน็ การสรา้ งรายไดใ้ หช้ มุ ชน กจิ กรรม หมายเลข ๔๑๐ (สายปัตตาน-ี ยะลา) ระยะทาง ๑๕ ของชมุ ชนคอื ขบั ฟอมูล่าหรอื รถไม้ การพิชติ เขาบูโด กิโลเมตร จะมที างแยกซ้ายเข้าสู่ทางหลวงหมายเลข ระยะทาง ๑.๕ กิโลเมตร สามารถชมทะเลหมอกใน ๔๐๖๑ (สายยะรัง-มายอ) ประมาณ ๑ กิโลเมตร ยามเช้า มีโฮมสเตย์ จดุ กางเตน็ ทใ์ ห้บริการ สอบถาม จะมีซอยให้เล้ียวซ้ายไปอีก ๔๐๐ เมตร เข้าสู่เขต ขอ้ มูล โทร. ๐๘ ๕๕๗๕ ๒๑๗๐ เมอื งโบราณ อำ� เภอยะรงั อำ� เภอโคกโพธ์ิ เมืองโบราณยะรัง เป็นชุมชนท่ีมีความเจริญและ พลับพลาท่ีประทับของรัชกาลท่ี ๗ ห่างจาก มีความส�ำคัญทางด้านประวัติศาสตร์ โบราณคดี ตวั เมอื ง ๒๖ กิโลเมตร ตามทางหลวงหมายเลข ๔๒ แห่งหนึ่งในภาคใต้ของประเทศไทย จากหลักฐาน ต้ังอยู่ในบริเวณที่ว่าการอ�ำเภอโคกโพธ์ิ เป็นศาลา การขุดค้นพบว่ามีซากโบราณสถานและโบราณวัตถุ ทรงไทยทสี่ รา้ งขน้ึ เพอ่ื เปน็ ทปี่ ระทบั เมอื่ ครง้ั พระบาท สมัยศรีวิชัยและทวาราวดี ลักษณะของเมืองโบราณ สมเด็จพระปกเกล้าเจ้าอยู่หัว รัชกาลท่ี ๗ เสด็จ ยะรัง สันนิษฐานว่ามีผังเมืองเป็นรูปวงรีขนาดใหญ่ ทอดพระเนตรสุริยุปราคา เมือ่ พ.ศ. ๒๔๗๒ 22 ปัตตานี

วัดราษฎรบ์ รู ณะ (วัดช้างไห)้ วัดราษฎร์บูรณะ (วัดช้างให้) บ้านป่าไร่ ต�ำบล เป็นประจ�ำทกุ ปี ในวนั แรม ๑ ค่�ำ เดือน ๕ ถดั จาก ทุ่งพลา ริมทางรถไฟสายหาดใหญ่-สุไหงโก-ลก พระวิหาร เป็นที่ตั้งของพระบรมธาตุเจดีย์ ภายใน บริเวณสถานีรถไฟวัดช้างให้ ห่างจากอ�ำเภอเมือง ประดิษฐานรูปเหมือนอดีตเจ้าอาวาสของวัดช้าง ปัตตานีประมาณ ๓๑ กิโลเมตร เป็นวัดเก่าแก่ที่ ให้ นอกจากน้ียังมีสถาปัตยกรรมของสถูป มณฑป สร้างขึน้ มากว่า ๓๐๐ ปี ภายในวหิ ารมีรูปป้ันเหมอื น อโุ บสถ และหอระฆงั ทงี่ ดงามเปน็ อยา่ งยง่ิ เปดิ ทกุ วนั หลวงปู่ทวดเท่าองค์จริงประดิษฐานอยู่ ท่านผู้ที่มี เวลา ๐๘.๐๐-๑๗.๐๐ น. ความสามารถในการศึกษาเล่าเรียนพระปริยัติธรรม และทา่ นมเี มตตาธรรมเปน็ อยา่ งสงู เล่ากนั วา่ ครงั้ ที่ การเดนิ ทาง ใชท้ างหลวงหมายเลข ๔๒ (สายปตั ตาน-ี ทา่ นเดนิ ทางไปกรงุ ศรอี ยธุ ยาดว้ ยเรอื สำ� เภา ระหวา่ ง โคกโพธ์)ิ ผ่านสามแยกนาเกตุ ตรงไปตามทางหลวง ทางเกดิ พายุ จนกระทัง่ อาหารและน้�ำดม่ื ตกลงทะเล หมายเลข ๔๐๙ (สายปัตตานี-ยะลา) ผ่านชุมชน ลูกเรือรู้สึกกระหายน้�ำมาก หลวงปู่ทวดจึงได้แสดง เทศบาลนาประดู่และศูนย์ฝึกอาชีพ (วัดช้างให้) ไป เมตตาหย่อนเท้าลงไปในทะเล ปรากฏว่าน้�ำใน จนถึงทางแยก เพอื่ เข้าสู่วัดชา้ งใหอ้ กี ๗๐๐ เมตร บรเิ วณน้นั ไดก้ ลายเปน็ นำ�้ จืดและดืม่ กนิ ได้ ตัง้ แตน่ ั้น มาช่ือของท่านก็เป็นที่รู้จักท่ัวไป ต่อมาหลวงปู่ทวด วัดอรัญวาสิการาม (วัดห้วยเงาะ) เป็นวัดเก่าแก่ ไดม้ รณภาพทป่ี ระเทศมาเลเซยี แลว้ ไดน้ ำ� ศพกลบั มา สร้างเมื่อ พ.ศ. ๒๒๐๐ มีพระครูอนุศาสน์กิจจาทร ท่ีวัดช้างให้ และมีการจัดงานสรงน้�ำอัฐิหลวงปู่ทวด (พ่อท่านเขยี วกติ ติคุโน) เปน็ เกจอิ าจารยท์ ปี่ ระชาชน ปัตตานี 23

เล่ือมใสศรัทธา ภายในวัดมีวิหารประดิษฐานรูป วัดศรีมหาโพธิ์ สร้างขึ้นเม่ือ พ.ศ. ๒๓๔๕ โดย เหมอื นหลวงพอ่ สแี กว้ อดตี เจา้ อาวาสซงึ่ เปน็ ทเ่ี คารพ หลวงพ่อทวดบุญฤทธ์ิ ท่านเดินธุดงค์มาจากจังหวัด และศรทั ธาของประชาชน นครศรีธรรมราช ภายในวัดมีรูปเหมือนหลวงพ่อ ทวดบุญฤทธ์ิ หลวงปู่ทวดวัดช้างให้ ในลักษณะเท้า วดั ทรายขาว สร้างขึ้นเมอ่ื ปี พ.ศ. ๒๓๐๐ ภายในวดั เหยียบน้�ำทะเล และรูปเหมือนพระครูวิรัชโศภน มีเจดียพ์ ระครูธรรมกิจโกศล (พ่อท่านนอง ธมมฺ ภโู ต) (แดง สุนฺทโร) อดีตเจ้าอาวาส ซ่ึงเป็นท่ีเคารพ อดีตเจ้าอาวาส ซ่ึงเป็นพระเถระที่มีจริยวัตรงดงาม และศรัทธาของประชาชน ท่านได้มรณภาพแล้ว เปี่ยมด้วยพรหมวิหารธรรม มากด้วยบารมี สมถะ แต่ร่างกายยังอยู่ในสภาพเดิม และเรียบง่าย อุทยานแห่งชาติน�้ำตกทรายขาว ตั้งอยู่ท่ีต�ำบล วัดนาประดู่ เดิมวัดนี้ช่ือวัดกัทลิวัน เป็นท่ีศึกษา ทรายขาว มีพื้นท่ีครอบคลุมป่าสงวนแห่งชาติ พระปริยัติธรรม โดยเปิดสอนต้ังแต่ พ.ศ. ๒๔๘๑ อำ� เภอโคกโพธิ์ จงั หวัดปตั ตานี อำ� เภอเมอื ง อ�ำเภอ เป็นที่ประดิษฐานรูปเหมือนหลวงปู่ทวด และ ยะหา จังหวัดยะลา และป่าสงวนแห่งชาติป่า หลวงพ่อปาน (อดีตเจ้าอาวาสรูปท่ี ๒) เจ้าอาวาส เทือกเขาสันกาลาคีรี อ�ำเภอสะบ้าย้อย จังหวัด องคป์ ัจจบุ ัน คอื พระโสภา ธรรมคุณ (หลวงพ่อพล) สงขลา ประกอบด้วยจุดเด่นตามธรรมชาติและ อุทยาแหง่ ชาตนิ ้ำ� ตกทรายขาว 24 ปตั ตานี

น�้ำตกท่ีสวยงาม สภาพป่าอุดมสมบูรณ์ ร่มร่ืน ไปด้วยพันธุ์ไม้และสัตว์ป่านานาชนิดท่ีควรแก่ การศึกษาหาความรู้เป็นอย่างยิ่ง ครอบคลุมเนื้อที่ ประมาณ ๖๙.๕๗ ตารางกโิ ลเมตร หรือ ๔๓,๔๘๒ ไร่ ภูมิประเทศส่วนใหญ่เป็นเทือกเขาสลับซับซ้อน มี ยอดเขาสันกาลาคีรี (ยอดเขานางจันทร์) เป็นยอด เขาที่สงู ท่สี ุด มคี วามสูงประมาณ ๑,๐๐๐ เมตรจาก ระดับน้�ำทะเล เป็นต้นก�ำเนิดของห้วยทรายขาว ห้วยโผงโผง ห้วยบอน ห้วยแกแดะ ห้วยล�ำหยัง ห้วยคลองเรือ ห้วยต้นตะเคียน ห้วยล�ำขิง ห้วย ล�ำพระยา ฯลฯ ซ่ึงล�ำห้วยล�ำธารเหล่านี้จะไหลมา รวมกนั เปน็ แม่น้�ำเทพา อตั ราค่าบรกิ ารเข้าอุทยานฯ คนไทย ผู้ใหญ่ ๒๐ บาท เด็ก ๑๐ บาท ชาวต่างชาติ ผ้ใู หญ่ ๑๐๐ บาท เด็ก ๕๐ บาท อุทยานฯ มีบ้านพักรวมถึงจุดกางเต็นท์ บริการนักท่องเท่ียว สอบถามข้อมูล อุทยาน แห่งชาติน้�ำตกทรายขาว โทร. ๐ ๗๓๔๒ ๐๒๙๕ www.dnp.go.th การเดินทาง จากอ�ำเภอมืองปัตตานี ใช้ทางหลวง น้ำ� ตกทรายขาว หมายเลข ๔๐๙ (สายปัตตานี-ยะลา) ประมาณ ๒๘ กิโลเมตร ถึงสามแยกต�ำบลนาประดู่ อ�ำเภอ น้�ำตกทรายขาว หมู่ท่ี ๕ ต�ำบลทรายขาว เป็นท่ีต้ัง โคกโพธ์ิ จากนั้นใช้ทางสายนาประดู่-ทรายขาว ท่ีท�ำการอุทยานแห่งชาติน้�ำตกทรายขาว น�้ำตก อกี ประมาณ ๗ กิโลเมตร กจ็ ะถึงน้ำ� ตกทรายขาว มีท้ังหมด ๑๐ ชั้น เป็นน้�ำตกท่ีตกจากหน้าผาสูง สถานที่ท่องเท่ยี วภายในอทุ ยานฯ ได้แก่ ๔๐ เมตร จากยอดเขานางจันทร์แล้วไหลลงไปตาม ผาพญางู เป็นก้อนหินขนาดใหญ่ ซ่ึงมีร่องรอยและ ล�ำธารลดหลนั่ เปน็ ชนั้ ๆ เกิดเป็นแอง่ นำ้� ขนาดใหญ่ รูปร่างคล้ายคลึงกับหัวงูขนาดยักษ์ท่ีงอกพ้น น�้ำตกโผงโผง หมู่ท่ี ๘ ต�ำบลปากล่อ เป็นที่ต้ังท่ี แผ่นผาเรียบต้ังชันออกมาอย่างโดดเด่น อยู่ระหว่าง ท�ำการหน่วยพิทักษ์อุทยานแห่งชาติน้�ำตกทรายขาว ทางข้ึนจุดชมวิวเขารังเกียบ ชาวบ้านละแวกน้ันมี ที่ ทข. 1 เป็นน�้ำตกท่ีเกิดจากยอดเขานางจันทร์ ความเช่อื กันว่าน่ีคือ พญางทู จี่ ะคอยปกปอ้ งคุ้มครอง ไหลลดหลน่ั ลงมาเปน็ ขนั้ บนั ได จำ� นวน ๗ ชนั้ ชน้ั ลา่ ง บรรดาชาวบ้านและนักท่องเท่ียวให้แคล้วคลาด สุดมีแอ่งน้�ำขนาดใหญ่ มองขึ้นไปยังผาน้�ำตกช้ันบน จากภยันตรายทง้ั ปวง ปัตตานี 25

จะเห็นสายน�้ำตกคดเคี้ยวตามหน้าผาและโขดหิน พน้ื ทีบ่ ริเวณน�้ำตกรม่ รน่ื ดว้ ยพันธไ์ุ มน้ านาชนดิ นำ�้ ตกอรญั วาริน หม่ทู ี่ ๔ ต�ำบลทุง่ พลา น้ำ� ตกอรญั วารนิ เปน็ นำ�้ ตกในเทอื กเขานางจนั ทร์ ลกั ษณะนำ้� ตก แบ่งออกเป็นชั้นๆ รวม ๗ ช้ัน ชั้นบนสุดเป็นผาหิน สงู ๒๐ เมตร ไหลลงมาตามโขดหนิ สแู่ อ่งนำ�้ ด้านล่าง แต่ละชั้นห่างกัน ๓๐๐-๕๐๐ เมตร โดยแต่ละชั้น จะมีลำ� ธารและแอง่ น้ำ� อยดู่ า้ นหน้าน�้ำตก ชุมชนท่องเที่ยวบ้านทรายขาว ต�ำบลทรายขาว วัดมจุ ลินทร์ เป็นชุมชนที่มีความเข้มแข็งในการส่งเสริมการ ท่องเท่ียว และเป็นชุมชนที่มีความโดดเด่นด้านการ พ.ศ. ๒๓๘๘ เดิมมีชื่อว่า วัดตุยง ต่อมาพระบาท บริหารจัดการเชิงคุณภาพ ซึ่งได้รับรางวัลชุมชนดี สมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว (รัชกาลที่ ๕) เด่นด้านการท่องเท่ียว (Tourism Award ๒๐๐๗) เสด็จประพาสเมืองหนองจิก และมีพระราชศรัทธา มีกิจกรรมการท่องเที่ยวท่ีน่าสนใจ ได้แก่ กิจกรรม บรจิ าคเงนิ เพอื่ กอ่ สรา้ งพระอโุ บสถ และพระราชทาน เดินป่าพิชิตยอดเขาสันกาลาคีรี กิจกรรมน�ำชมสวน นามใหม่ว่า “วัดมุจลินทวาปีวิหาร” ปัจจุบันเป็น ผลไม้ ชมภูมิปัญญาท้องถิ่นและวิถีชีวิตที่เรียบง่าย อารามหลวงและมีการบูรณะพระอุโบสถให้อยู่ใน ของชาวบ้านทรายขาว นอกจากนี้ ยังมีกลุ่มสินค้า สภาพท่ีม่ันคงสวยงาม จุดเด่นของวัด คือ วิหาร โอทอปท่ีมีช่ือเสียง ได้แก่ ผ้าทอลายจวนตานี ซึ่งเป็นที่ประดิษฐานรูปเหมือนของอดีตเจ้าอาวาส ผลิตภัณฑ์แปรรปู สม้ แขก กล้วยเส้น เป็นต้น ๓ องค์ โดยเฉพาะพระราชพุทธรังษีหรือหลวงพ่อ ด�ำ เจา้ อาวาสองค์ท่ี ๕ ซึง่ ประชาชนทเ่ี คยได้ยินคณุ อ�ำเภอหนองจกิ ความดขี องหลวงพอ่ ตา่ งเลอื่ มใสศรทั ธาและเดนิ ทาง มาสกั การะบชู าอยูเ่ สมอ หาดรัชดาภิเษก บ้านสายหมอ ต�ำบลสายหมอ ห่างจากตัวจังหวัดปัตตานี ๑๕ กิโลเมตรหรือ ห่างจากท่วี า่ การอ�ำเภอหนองจกิ ๒ กิโลเมตร มที าง แยกเข้าระยะทาง ๔ กิโลเมตร ชายหาดร่มร่ืนด้วย ทวิ สนเหมาะส�ำหรับนง่ั พกั ผอ่ น วัดมุจลินทวาปีวิหาร อยู่ริมทางหลวงหมายเลข ๔๒ (สายปัตตานี-โคกโพธ์ิ) เป็นวัดเก่าแก่สร้าง เม่ือพระยาวิเชียรภักดีศรีสงคราม ย้ายที่ว่าการ อ�ำเภอหนองจิกจากท่ีเก่า มาอยู่ท่ีต�ำบลตุยง เม่ือปี 26 ปัตตานี

กิจกรรมทอ่ งเที่ยว ลอ่ งเรอื ชมอโุ มงคป์ า่ โกงกางบางปู บรเิ วณปา่ ชายเลน ยะหริ่ง อ�ำเภอยะหริ่ง เป็นการล่องเรือชมป่า ชายเลนและป่าโกงกางที่ทอดตัวเข้าหากันคล้าย อโุ มงคโ์ กงกางทเี่ กดิ ขน้ึ ตามธรรมชาติ จากนนั้ ลอ่ งเรอื ไปยังปากอ่าวปัตตานีเพื่อชมทัศนียภาพ ใช้เวลา ประมาณ ๒ ช่ัวโมง สามารถเดินทางได้ตลอดท้ังปี ค่าเรือจ�ำนวน ๑-๕ คน เหมาล�ำ ลำ� ละ ๕๙๐ บาท และ ๖ คนข้ึนไป ราคาคนละ ๙๙ บาท สอบถาม ขอ้ มลู โทร. ๐๘ ๖๔๙๑ ๒๕๕๖ เทศกาลงานประเพณี อุโมงค์ป่าโกงกางบางปู มหกรรมท่องเท่ียวปัตตานีอาเซียน “กตัญญูคู่ฟ้า ปลานานาชนิด โดยมีผู้เข้าแข่งขันจากชาวบ้านใน มหาสมโภชเจ้าแม่ล้ิมกอเหนี่ยวปัตตานี เป็นงาน พื้นท่ีและจากจังหวัดใกล้เคียงเข้าร่วม ภายในงานมี ประเพณีท่ีจัดข้ึนทุกปี ในวันขึ้น ๑๕ ค�่ำ เดือนสาม การแข่งขันตกปลากลางทะเลลึกและตกปลาชายฝั่ง ตามจนั ทรคติของจีน คือหลงั วันตรุษจนี ๑๕ วันของ บริเวณเขื่อนก้ันคลื่นชายหาด โดยมีกติกาเป็นสถิติ ทกุ ปี (หรอื ตรงกบั วนั เพญ็ เดอื น ๓ ตามจนั ทรคตขิ อง น�้ำหนักปลาเกมส์ เช่น ปลาสกุลกระโทงแทง ไทย) มกี ารสมโภชแหร่ ปู สลกั ไมม้ ะมว่ งหมิ พานตข์ อง ปลาคลองเหลอื ง ปลาอนิ ทรยี ์ ปลาโฉมงาม ปลาชอ่ น เจ้าแม่ลิ้มกอเหนี่ยวและองค์พระอ่ืนๆ โดยอัญเชิญ ทะเล ปลากะพง ปลาโอ ปลาเหลืองโพรง ฯลฯ ออกจากศาลเจ้าเล่งจูเกียงมาประทับบนเกี้ยว มหามงคลแห่รอบเมืองปัตตานี ตามด้วยขบวนแห่ ประเพณพี ธิ สี รงนำ้� หลวงพอ่ ทวดเหยยี บนำ้� ทะเลจดื พิธีหามเกี้ยวลุยน�้ำและพิธีลุยไฟ นอกจากนี้ภายใน ณ วัดช้างให้ โดยพิธีสรงน้�ำหลวงพ่อทวดเหยียบ งานยังมีการแข่งขันเชิดสิงโต การแสดงงิ้ว มโนราห์ น�้ำทะเลจืดและอาจารย์ทิม ธัมมธโร เป็นประเพณี และกิจกรรมอื่นๆ เช่น การออกร้าน จ�ำหน่าย เก่าแก่ท่ีจัดติดต่อกันมายาวนาน นับต้ังแต่เมื่อคร้ัง ผลิตภัณฑ์ชุมชน กิจกรรมตลาดจีนหัวตลาด พระครูวิสัยโสภณ (ทิม ธัมมธโร) อดีตเจ้าอาวาส การแข่งขันเชิดสิงโตบนดอกเหมยนานาชาติ ฯลฯ ได้ริเริ่มขึ้น ก�ำหนดในวันแรม ๑ ค่�ำ เดือน ๕ ของ โดยมีชาวปัตตานีและชาวจังหวัดใกล้เคียงมาร่วมพิธี ทุกๆ ปี นอกจากจมีพิธสี รงนำ้� หลวงปู่ทวด พธิ สี รงน้�ำ เป็นจ�ำนวนมาก พระพุทธรูปและรูปเหมือนบูรพาจารย์ พิธีมอบ งานแข่งขันกีฬาตกปลา สายบุรี จัดขึ้นบริเวณหาด วาสุกรี ต�ำบลตะลุบัน อ�ำเภอสายบุรี จัดข้ึนเพ่ือ เป็นการกระตุ้นเศรษฐกิจในชุมชน และส่งเสริม การท่องเที่ยวของชายหาดวาสุกรี เนื่องจากสภาพ ภูมิศาสตร์ท่ีมีชายฝั่งทะเลยาว อุดมสมบูรณ์ไปด้วย ปตั ตานี 27

ทุนการศึกษาแก่พระภิกษุ สามเณร ตลอดจนการ ประเพณีชกั พระ จัดขน้ึ ในวันแรม ๑ ค�่ำ เดือน ๑๑ สรงน้�ำพระเถระผู้ใหญ่ เพ่ือความเป็นสิริมงคลแก่ ณ สนามหน้าอ�ำเภอโคกโพธ์ิ เพ่ืออนุรักษ์สืบสาน พทุ ธศาสนกิ ชน และลกู หลานทกุ คน รวมทงั้ การรดนำ้� ประเพณีเก่าแก่ที่สืบทอดมายาวนานของอ�ำเภอ ขอพรผู้สูงอายุเพ่ือให้ลูกหลานได้แสดงความกตัญญู โคกโพธ์ิ และเพ่ือส่งเสริมการท่องเที่ยว ภายในงาน กตเวทีและความรกั ต่อผูส้ งู อายุอกี ด้วย มีการประกวดเรือพระ ๔ ประเภท ได้แก่ ประเภท ยอดใหญ่ ยอดเล็ก เรือโฟมและประเภทความคิด งานมหกรรมศิลปวัฒนธรรม จัดข้ึนภายใน นอกจากนย้ี งั มีการแสดง การแข่งขนั ตีกลองเรือพระ มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ วิทยาเขตปัตตานี การแสดงประเพณวี ฒั นธรรมทอ้ งถนิ่ ของแตล่ ะชมุ ชน ท้ังนี้เพ่ือสื่อให้เห็นถึงการอยู่ร่วมกันได้ท่ามกลาง ความหลากหลายทางวัฒนธรรม ตลอดจนสอื่ ให้เหน็ สินคา้ พ้ืนเมอื ง ถงึ คณุ คา่ ของศลิ ปวฒั นธรรมทค่ี วรคา่ แกก่ าร อนรุ กั ษ์ กริช เป็นอาวุธประจ�ำตัวคล้ายมีดส้ัน ในอดีตเป็น สง่ เสรมิ และถา่ ยทอดจากรนุ่ สรู่ นุ่ เพอื่ ไมใ่ หส้ ญู หายไป เคร่ืองแสดงถึงฐานะทางสังคม ยศฐาบันดาศักด์ิ มีการจัดกิจกรรมต่างๆ เช่น การแสดงนาฏศิลป์ ของชายในแถบมลายู ลักษณะของกริชมีหลายแบบ นทิ รรศการทางวชิ าการ จำ� หนา่ ยผลติ ภณั ฑ์ และการ ใบมดี ทำ� จากแร่เหลก็ มีทัง้ แบบคดและไม่คด ปลาย สาธิตหตั ถกรรมพน้ื บ้านเพื่อส่งเสรมิ ภูมปิ ญั ญาไทย แหลมคม ขนาดสน้ั ยาวแตกตา่ งกนั ไป ดา้ นหวั เปน็ รปู นกพังกะ ปัจจุบนั มลี วดลายท่หี ลากหลายและเปน็ ท่ี นิยมของนกั สะสมของเก่า กรซิ รามนั ห์ 28 ปัตตานี

ผ้าจวนตานี หรือ ผ้าล่องจวน หรือ ผ้าลิมา เป็น ผ้าทอลายโบราณท่ีมีเอกลักษณ์ จากภูมิปัญญาของ บรรพบุรุษท่ีสะท้อนตัวตนของชาวปักษ์ใต้ได้อย่าง ชดั เจน มีการทอด้วยเสน้ ไหมและใยฝา้ ยและยกด้วย เส้นเงนิ หรอื เสน้ ทอง นิยมใช้สที ่ีตัดกนั บรเิ วณเชิงผา้ ผ้าส่วนใหญ่จะมีสีแดง ไม่มีลวดลาย ส่วนตัวผ้าจะมี ลวดลายประมาณ ๕-๖ ลาย มกี ารกนั้ กลางระหวา่ ง ลาย เรียกว่า จวน หมายถึง การเจอกัน ลายบนผา้ จะมีต้ังแต่ ลายโคม ลายตาราง ลายดาว เป็นต้น จึงเป็นด่ังตราประทับท่ีบ่งบอกว่าเป็นผ้าท่ีผลิตจาก เมืองปัตตานีเท่าน้ันและกลายเป็นที่มาของการเรียก ขานกันติดปากวา่ “ผ้าทอลายจวนตาน”ี ว่าวเบอร์อามัส หรือ ว่าวทองแห่งมลายู ค�ำว่า ว่าวเบอร์อามัส อามัส แปลว่า “ทอง” เป็นว่าวจากภูมิปัญญาพื้น บ้าน ในอดีตเจ้าเมืองจะเป็นผู้ข้ึนว่าวเพ่ือพยากรณ์ อากาศ ส�ำหรับการท�ำการเกษตร โดยมีฝีมือ ช่างหลวงจากสายบุรีเป็นผู้ประกอบข้ึนโครงว่าว ปจั จบุ นั มเี พยี งครอบครวั วานิ เปน็ ผสู้ บื ทอดภมู ปิ ญั ญา เหลืออยู่เพียงครอบครัวเดียว เนื่องจากต้องใช้ผู้มี ทกั ษะความชำ� นาญกวา่ วา่ วชนดิ อน่ื ใชไ้ มไ้ ผป่ ระมาณ ๒๗ ซี่ในการข้ึนโครง ลวดลายของว่าวเป็นลาย ใบไม้ ลายธรรมชาติที่แฝงไปด้วยปรัชญาแนวคิดใน การด�ำเนนิ ชวี ิต ลูกหยีกวน เป็นสินค้าข้ึนชื่อของอ�ำเภอยะรัง เนือ่ งจากอำ� เภอยะรังเป็นอำ� เภอทมี่ ตี ้นหยีมาก นยิ ม ท�ำเป็นลูกหยีกวนชนิดไม่มีเมล็ด รสชาติกลมกล่อม แปรรูปเปน็ ลกู หยฉี าบนำ�้ ตาล ลกู หยกี วน ลูกหยแี ก้ว ลูกหยีคลุกน�้ำปลาหวาน ผา้ จวนตานี ปัตตานี 29

กอื โปะ๊ หรอื ขา้ วเกรยี บปลา เปน็ อาหารวา่ งทขี่ นึ้ ชอ่ื อำ� เภอสายบุรี ในแถบจงั หวดั ชายแดนใต้ ทำ� จากเนอ้ื ปลาทผู สมแปง้ บดู ูเฮง สายบุรี หมู่ที่ ๓ ต�ำบลปะเสยะวอ โทร. ๐๘ ให้เข้ากัน น�ำไปต้มในน�้ำเดือดจะได้เป็นข้าวเกรียบ ๕๐๔๐ ๔๑๓๒ (บูดูสายบุรี, กรือโปะ) ปลาสด จากน้ันน�ำไปทอด ทานพรอ้ มน�ำ้ จ้ิม มกี ลิน่ หอม กรอบ อร่อย น้�ำบูดู อาหารพ้ืนเมืองภาคใต้ จากภูมิปัญญา ชาวบ้านในการถนอมอาหาร สามารถเก็บไว้ได้นาน โดยการนำ� ปลากะตกั หรอื ปลาไสต้ นั มาใชเ้ ปน็ วตั ถดุ บิ ส�ำคัญหมักกับเกลือ ท้ิงไว้ประมาณ ๖ เดือน เป็น ผลติ ภณั ฑ์ทข่ี น้ึ ชื่อของอ�ำเภอสายบุรี นิยมน�ำมาเป็น ส่วนประกอบส�ำคัญในการท�ำอาหารได้หลายเมนู เชน่ ข้าวยำ� บดู ูทรงเครอ่ื ง เป็นต้น ร้านจำ� หนา่ ยสนิ คา้ ท่รี ะลึก อำ� เภอเมอื งปตั ตานี กะห์นะห์ ถนนมะกรูด โทร. ๐๘ ๖๙๖๕ ๙๓๙๙ (บูดู ขา้ วเกรยี บปลา สายบุร,ี กรือโปะ๊ , อาหารแห้ง) บุหงาตานี ๕๕/๑๑ ถนนเจรญิ ประดิษฐ์ ต�ำบลสะบา รงั อำ� เภอเมืองปัตตานี โทร. ๐ ๗๓๓๒ ๓๒๐๒, ๐๘ ๖๙๕๕ ๐๙๔๘ (อาหารแห้ง, อาหารส�ำเรจ็ รูป) ปาเต๊ะ ปตานี ศูนย์รวมผ้าปาเต๊ะ เจริญประเทศ เทศบาลเมืองปัตตานี โทร. ๐๘ ๑๗๓๖ ๖๗๙๘ ตนั หยง ปาตานี ๑๗/๓๕ ซอย ๑ ถนนสามัคคี ตำ� บล สะบารงั โทร. ๐๙ ๐๙๗๘ ๙๓๖๔ (ผา้ ปาเตะ๊ , เสอ้ื ผา้ ) อาซนั ของฝาก ถนนยะรงั (ตรงขา้ มตลาดสดเทศบาล เมอื ง) ตำ� บลจะบังติกอ โทร. ๐ ๗๓๓๑ ๑๕๘๙ บดู ูเฮง 30 ปัตตานี

ตัวอย่างรายการนำ� เที่ยว (๔ วัน ๓ คนื ) วนั ท่ี ๒ ท่องเท่ียวเมอื งพหวุ ฒั นธรรม ๐๙.๐๐ น. เดินทางไปยังอ�ำเภอโคกโพธ์ิ วันที่ ๑ ๐๙.๓๐ น. สักการะและขอพรจากหลวงปู่ทวด ๐๘.๐๐ น. ออกจากที่พักอ�ำเภอเมืองปัตตานี ณ. วัดช้างให้ เยย่ี มชม “มสั ยดิ กลางจงั หวดั ปตั ตาน”ี ๑๑.๐๐ น. ชมบรรยากาศอ�ำเภอโคกโพธ์ิท่ี ๐๙.๐๐ น. เยยี่ มชม “มสั ยดิ กรอื แซะ” และสสุ าน อุทยานแห่งชาติน้�ำตกทรายขาว เจ้าแม่เจ้าแม่ลิ้มกอเหน่ียว ๑๓.๐๐ น. เดินทางกลับเข้าเมืองปัตตานี แวะชม ๑๐.๓๐ น. เดินทางไปยังอ�ำเภอยะหร่ิง เยี่ยมชม ชุมชนเมืองเก่าปัตตานี “กือดาจีนอ” วังยะหริ่ง ๑๕.๐๐ น. ชมบรรยากาศยามเยน็ บรเิ วณสกายวอรค์ ๑๔.๓๐ น. เดินทางไปยังชุมชนท่องเที่ยวบางปู ปัตตานี ล่องเรือชมอุโมงค์ป่าโกงกาง ๑๖.๓๐ น. ชมบรรยากาศยามเย็นบริเวณหาด ตะโละกาโปร์และแหลมตาชี ๑๘.๐๐ น. พกั คา้ งคนื อำ� เภอเมอื ง จงั หวดั ปตั ตานี มัสยดิ กรือเซะ ปัตตานี 31

เรอื กอและ 32 ปตั ตานี

ปตั ตานี 33

5 4 1 Pak Nam Road To Pak Nam Pattani Pattani Phirom Road 4 Decha Road 2 Charoen Phradit Road Saiburi Road Pana-re Road Nong Chik Road Ruedi Road To Narathiwat Makrut Road 1 Phraya Mueang Road Maenam Pattani Na Wang Road Kalapho Road Yarang Road To Amphoe Hat Yai ถนนสนั ติสุข Santisuk Road 3 ถนนยะรัง ซอย 3 Yarang Road, Soi 3 To Amphoe Hat Yai To Yala Legend City Hall Post Office School Bus Terminal Highway River, Stream 34 ปัตตานี

Temple (Wat) 1. Wat Nikonchanaram 2. Wat Taninorasamoson 3. Wat Nopwongsaram Hospital 1. Pattani Hospital Market 1. Mo Wit Market 2. Makrut Market Places 1. Songkhla Nakarin University Pattani Campus 2. Pattani Law Court 3. Pattani Municipal Office 4. Amphoe Muaeng Pattani Police Station 5. Pattani Indoor Stadium 6. Pattani Technical College Tourist Attraction 1. มัสยิดกลางปต ตานี Pattani Central Mosque 2. ศาลเจาแมล ิ้มกอเหนี่ยว Chao Mae Lim Ko Niao Shrine 3. มสั ยดิ รายอฟาฎอนี Raya Mosque 4. มสั ยิดกรอื เซะ Krue Se Mosque 5. สกาย วอรค ปตตานี Pattani Sky Walk ปตั ตานี 35

Leam Ta Chi 5 Gulf of Thailand Hat Ta Lo Ka Po 6 4 Hat Panare Hat Ratchadapisek 1 23 15 Amphoe Nong Chik 7 Hat Ma Ruat Amphoe Mueang Pattani Amphoe Panare 8 Hat Ratcharak Amphoe Yaring 9 Hat Khae-Khae To Amphoe Thepha Amphoe Yarang To Amphoe Na Thawi Amphoe Khok Pho Amphoe Mayo Amphoe Sai Buri 11 Hat Wa Sukri Songkhla Khok Pho Khao Ru-Si 10 Pวipังhพit ิพPhธิ aภkdักiดPี alace Khuean Pattani 13 Amphoe Mae Lan Wat Chang Hai 14 Si Khao Waterfall 12 Hat Bang Sai Amphoe Mai Kaen Amphoe Thung Yang Daeng To Narathiwat To Amphoe Yaha Amphoe Kapho To Amphoe Bacho Narathiwat Phu Nam Kham Reservoir To Yala To Amphoe Raman Yala To Amphoe Raman Legend Province Location Highway Amphoe (District) River, Stream Tourist Attraction Province Boundary Railway Station Railway 36 ปัตตานี

Tourist Attraction 1. มัสยิดกลางปตตานี Pattani Central Mosque 2. มัสยิดกรือเซะ Krue Se Mosque 3. ชุมชนทอ งเที่ยวบางปู Bang Pu Community Base Tourism 4. หาดตะโละกาโปร Hat Ta Lo Ka Po 5. แหลมตาชี Leam Ta Chi 6. หาดปะนาเระ Hat Panare 7. หาดมะรวด Hat Ma Ruat 8. หาดราชรักษ Hat Ratcharak 9. หาดแฆแฆ Hat Khae-Khae 10. วงั พิพิธภักดี Piphit Phakdi Palace 11. หาดวาสุกรี Hat Wa Sukri 12. หาดบางสาย Hat Bang Sai 13. วดั ชางไห Wat Chang Hai 14. นำ้ ตกทรายขาว Si Khao Waterfall 15. หาดรัชดาภิเษก Hat Ratchadapisek ปตั ตานี 37

หมายเลขโทรศพั ทส์ ำ� คัญ ศาลากลางจงั หวัดปตั ตานี โทร. ๐ ๗๓๓๔ ๙๐๐๒ เทศบาลเมืองปตั ตานี โทร. ๐ ๗๓๓๓ ๕๙๑๘ สำ�นักงานประชาสมั พันธจ์ ังหวดั ปตั ตานี โทร. ๐ ๗๓๓๔ ๘๔๓๕ โรงพยาบาลปตั ตาน ี โทร. ๐ ๗๓๗๑ ๑๐๑๐, ๐ ๗๓๗๑ ๑๐๕๙ สถานตี ำ�รวจภธู รอำ�เภอเมอื งปตั ตาน ี โทร. ๐ ๗๓๓๔ ๘๕๕๕ สำ�นักงานท่องเที่ยวและกีฬาจงั หวดั ปตั ตานี โทร. ๐ ๗๓๔๖ ๐๑๑๕ ตำ�รวจทางหลวง โทร. ๑๑๙๓ ตำ�รวจท่องเทย่ี ว โทร. ๑๑๕๕ 38เกาะโลซินปัตตานี

ศูนยบ์ ริการข่าวสารท่องเที่ยว ททท. การท่องเท่ียวแหง่ ประเทศไทย (ททท.) สำ� นักงานใหญ่ ๑๖๐๐ ถนนเพชรบรุ ี แขวงมักกะสัน เขตราชเทวี กรุงเทพฯ ๑๐๔๐๐ โทร. ๑๖๗๒, ๐ ๒๒๕๐ ๕๕๐๐ โทรสาร ๐ ๒๒๕๓ ๗๔๔๐ อีเมล : [email protected] www.tourismthailand.org เปดิ บริการทุกวัน เวลา ๐๘.๓๐-๑๖.๓๐ น. ทา่ อากาศยานดอนเมือง อาคารผู้โดยสารระหว่างประเทศ ประตู ๒ ชั้น ๑ เปิดบรกิ าร ๒๔ ชั่วโมง ท่าอากาศยานสวุ รรณภูมิ อาคารผโู้ ดยสารขาเข้าในประเทศ ประตู ๓ ช้ัน ๒ โทร. ๐ ๒๑๓๔ ๐๐๔๐ เปิดบรกิ าร ๒๔ ชัว่ โมง การท่องเท่ยี วแห่งประเทศไทย ส�ำนกั งานนราธิวาส ๑๐๒/๓ หมู่ ๒ ถนนนราธวิ าส-ตากใบ ตำ� บลกะลวุ อเหนือ อำ� เภอเมอื งนราธิวาส จงั หวัดนราธวิ าส ๙๖๐๐๐ โทร. ๐ ๗๓๕๔ ๓๓๔๕-๖ โทรสาร ๐ ๗๓๕๔ ๒๓๔๗ พ้นื ทีร่ ับผิดชอบ: นราธวิ าส ยะลา ปัตตานี E-mail: [email protected] ปรับปรุงข้อมูล สิงหาคม ๒๕๖๓ ปตั ตานี 39

มสั ยิดกรอื เซะ ข้อมูล : ททท. สำ�นกั งานนราธวิ าส บรกิ าร ๒๔ ชัว่ โมง กองขา่ วสารทอ่ งเที่ยว (โทร. ๐ ๒๒๕๐ ๕๕๐๐ ต่อ ๒๑๔๐-๖) อีเมล : [email protected] ออกแบบและจดั พิมพ์ : กองข่าวสารทอ่ งเทีย่ ว ฝ่ายบรกิ ารการตลาด www.tourismthailand.org ขอ้ มลู รายละเอยี ดทร่ี ะบุในเอกสารนอี้ าจมีการเปลี่ยนแปลงได้ ลิขสิทธ์ขิ องการทอ่ งเท่ยี วแหง่ ประเทศไทย สงิ หาคม ๒๕๖๓ หา้ มจำ�หนา่ ย 40 ปัตตานี