Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore คำอธิบายจารึกตำรายา

Description: คำอธิบายจารึกตำรายา

Search

Read the Text Version

คำ�อธิบาย จารึกตำ�รายาวดั ราชโอรสารามราชวรวิหาร กลมุ่ งานวิชาการและคลงั ความรู้ กองวชิ าการและแผนงาน กรมการแพทย์แผนไทยและการแพทย์ทางเลอื ก กระทรวงสาธารณสขุ Book-7.indd 1 2/11/20 15:58

คำ�อธบิ ายจารึกต�ำ รายาวดั ราชโอรสารามราชวรวิหาร ท่ีปรึกษา เจา้ อาวาสวัดราชโอรสารามราชวรวิหาร พระครสู งั ฆรกั ษ์ อนรุ ักษ์ โสตถฺ โิ ก อธิบดกี รมการแพทยแ์ ผนไทยและการแพทยท์ างเลอื ก นายแพทยม์ รุต จริ เศรษฐสริ ิ รองอธิบดกี รมการแพทย์แผนไทยและการแพทยท์ างเลอื ก นายแพทยส์ รรพงศ์ ฤทธริ ักษา รองอธบิ ดีกรมการแพทยแ์ ผนไทยและการแพทย์ทางเลอื ก นายแพทยป์ ราโมทย์ เสถยี รรตั น์ ทปี่ รกึ ษากรมการแพทยแ์ ผนไทยและการแพทย์ทางเลอื ก ดร.ภญ.อญั ชลี จฑู ะพุทธิ บรรณาธกิ าร ดร.รชั นี จันทร์เกษ ศรณั ยา คงยิ่ง กองบรรณาธกิ าร สมชาย ชา้ งแก้วมณ ี พิสษิ ฎพ์ ล นางาม สนุ สิ า หลีหมดุ จตพุ ร สุกติ ติวงศ ์ ผูท้ รงคุณวุฒ ิ นพ.ประพจน์ เภตรากาศ ดร.อษุ า กลิน่ หอม ดร.ภก.ยงศกั ดิ์ ตนั ตปิ ฎิ ก รศ.ดร.ภญ.พาณี ศิริสะอาด อ.พรรณเพญ็ เครือไทย รศ.ดร.ภญ.จริ าพร ลมิ้ ปานานนท์ อ.ชาตรี เจตนธรรมจักร ดร.ภญ.ดวงแก้ว ปัญญาภ ู ดร.จรญั ดษิ ฐไชยวงศ์ อ.เบญจวรรณ สมบูรณส์ ุข อ.วนั ชัย อินทคุณจินดา อ.จนั ทนา ปราการสมทุ ร อ.วิภา สุทธปิ ระทีป จดั ทำ� โดย กลมุ่ งานวิชาการและคลงั ความรู้ กองวชิ าการและแผนงาน กรมการแพทย์แผนไทยและการแพทยท์ างเลือก กระทรวงสาธารณสุข https://tpd.dtam.moph.go.th/index.php/home-ak ขอ้ มลู ทางบรรณานุกรมของส�ำน�ำหอสมุดแหง่ ชาติ National Library of Thailand Cataloging in Publication Data ค�ำอธบิ ายจารกึ ตำ� รายาวัดราชโอรสารามราชวรวิหาร. -- นนทบรุ :ี กล่มุ งานวิชาการและคลังความรู้ กองวชิ าการและแผนงาน กรมการแพทยแ์ ผนไทยและการแพทย์ทางเลือก กระทรวงสาธารณสุข, 2563. 376 หน้า 1. การแพทย์แผนไทย. 2. จารึก. 3. วัดราชโอรสารามราชวรวหิ าร. I. ชื่อเรอื่ ง. 615.88 ISBN: 978-616-11-4203-2 ประสานงาน ประดษิ ฐา ดวงเดช ชญานษิ ฐ์ จนั ษร ออกแบบปก บุญญิสา แก้วประภาค ออกแบบเน้อื หา ชนสิ รา นาถนอม พสิ ูจน์อกั ษร ศรัณยา คงยิ่ง จดั พิมพ์โดย กรมการแพทย์แผนไทยและการแพทย์ทางเลือก กระทรวงสาธารณสขุ พิมพค์ ร้งั ท่ี ๑ ๒๖ มกราคม ๒๕๖๓ จ�ำนวน ๑๐๐ เลม่ พิมพ์ท ี่ บรษิ ทั เอส. บี. เค. การพิมพ์ จ�ำกดั Book-7.indd 2 3/25/20 22:24

คำ�นำ� กรมการแพทย์แผนไทยและการแพทย์ทางเลือก ได้ประกาศให้ “จารึกต�ำรายา วัดราชโอรสารามวรวิหาร” เป็นต�ำรับยาแผนไทยของชาติหรือต�ำราการแพทย์แผนไทยของ ชาติ ตามพระราชบัญญัติคุ้มครองและส่งเสริมภูมิปัญญาการแพทย์แผนไทย พ.ศ. ๒๕๔๒ มาตรา ๑๕ โดยกลมุ่ งานวชิ าการและคลงั ความรู้ กองวชิ าการและแผนงาน ซงึ่ เปน็ หนว่ ยงาน ที่มีบทบาทหน้าท่ีในการพัฒนาและออกรหัสมาตรฐานระบบสารสนเทศองค์ความรู้ดิจิทัล ภมู ปิ ญั ญาการแพทยแ์ ผนไทยของประเทศ (Thai Traditional Digital Knowledge Library: TTDKL) ไดเ้ ลง็ เหน็ ถงึ ความสำ� คญั ของจารกึ ตำ� รายาวดั ราชโอรสารามวรวหิ าร และไดค้ ดั เลอื ก ตำ� รายาในจารกึ ดงั กลา่ วมาวเิ คราะหอ์ งคป์ ระกอบของตำ� รบั เพอ่ื นำ� ไปใชป้ ระโยชนใ์ นการออก รหัสมาตรฐานภมู ปิ ญั ญาการแพทยแ์ ผนไทยนน้ั โดยกลุ่มงานวิชาการและคลังความรู้ กองวิชาการและแผนงาน ได้ด�ำเนินการ พจิ ารณาองคป์ ระกอบของตำ� รบั ยาในจารกึ ต�ำรายาวัดราชโอรสารามวรวหิ ารท้งั ๒๐๕ ต�ำรบั และสามารถจดั แบง่ กลมุ่ อาการไดท้ งั้ หมด ๕๒ กลมุ่ อาการ มตี วั ยาสมนุ ไพรทเ่ี ปน็ องคป์ ระกอบ ของต�ำรบั ไดแ้ ก่ พืชวตั ถุ ๗๐๐ ชนดิ สัตวว์ ตั ถุ ๖๕ ชนดิ ธาตวุ ัตถุ ๔๑ ชนดิ และพิกดั ยา ๓๗ พิกัด การพิจารณาองค์ประกอบของต�ำรับในจารึกต�ำรายาวัดราชโอรสารามวรวิหาร ได้แต่งตั้งคณะท�ำงานวิเคราะห์องค์ประกอบต�ำรับยาสมุนไพร และมีผู้ทรงคุณวุฒิตรวจสอบ ทบทวนความถูกต้อง ได้แก่ กลุ่มโรคและอาการ ตัวยาสมุนไพร ส่วนที่ใช้ วิธีการปรุง ขนาดรบั ประทาน วธิ กี ารใช้ และสรรพคณุ สำ� หรบั การออกรหัสมาตรฐานระบบสารสนเทศ องคค์ วามรู้ดิจิทลั ภมู ปิ ัญญาการแพทย์แผนไทยของประเทศ เพื่อการค้มุ ครอง เฝ้าระวัง และ ส่งเสริมการใช้ประโยชน์จากภูมิปัญญาด้านการแพทย์แผนไทย และปัจจุบันได้ด�ำเนินการ วิเคราะห์องค์ประกอบของต�ำรับยาในจารึกต�ำรายาวัดราชโอรสารามวรวิหารเป็นท่ีเรียบร้อย แล้ว และได้ด�ำเนินการจัดท�ำรูปเล่ม “ค�ำอธิบายจารึกต�ำรายาวัดราชโอรสารามวรวิหาร” เพ่อื เป็นการเผยแพรอ่ งคค์ วามรสู้ �ำหรับการใช้ประโยชน์ในการอ้างอิงดา้ นวิชาการต่อไป Book-7.indd 3 3/10/20 14:57

(4) กรมการแพทยแ์ ผนไทยและการแพทยท์ างเลือก ขอกราบนมัสการพระเดชพระคุณ พระมหาโพธิวงศาจารย์ เจ้าอาวาสวัดราชโอรสารามวรวิหาร ที่ได้เอ้ือเฟื้อสถานท่ี อ�ำนวย ความสะดวกในการตรวจสอบจารึกต�ำรายาและกรุณาให้ค�ำบรรยายในข้อมูลที่ส�ำคัญเกี่ยวกับ ประวัติความเป็นมาของวัดให้กับคณะท�ำงานและเจ้าหน้าที่ เพื่อใช้เป็นข้อมูลในการจัดท�ำ “ค�ำอธิบายจารึกต�ำรายาวัดราชโอรสารามวรวิหาร” ส�ำหรับการอนุรักษ์ คุ้มครอง และเป็น ประโยชน์ต่อการอ้างอิงทางวิชาการ และการศึกษาวิจัยของต�ำรับยาแผนไทยและต�ำรา การแพทย์แผนไทย แต่เน่ืองจากต�ำราของชาติฉบับนี้ได้รับการคุ้มครองทางกฎหมาย หากมี ความประสงคท์ จ่ี ะนำ� ความรทู้ างยาแผนไทยในแตล่ ะตำ� รบั ไปใชป้ ระโยชนใ์ นเชงิ พาณชิ ย์ จำ� เปน็ ต้องได้รับการอนุญาตจากกรมการแพทย์แผนไทยและการแพทย์ทางเลือก เพ่ือเป็นการ สนับสนุนการคุ้มครองและให้ผลตอบแทนแก่ประเทศชาติจากการใช้ประโยชน์จากภูมิปัญญา การแพทย์แผนไทยอยา่ งรคู้ ณุ คา่ และเปน็ ธรรมต่อเจ้าของภูมปิ ัญญาต่อไป นายแพทย์มรุต จริ เศรษฐสริ ิ อธิบดีกรมการแพทยแ์ ผนไทยและการแพทยท์ างเลือก Book-7.indd 4 2/11/20 15:58

คำ�ช้ีแจง หนงั สอื “คำ� อธบิ ายจารกึ ตำ� รายาวดั ราชโอรสารามราชวรวหิ าร” คณะผจู้ ดั ทำ� ไดใ้ ห้ ความส�ำคัญกับการสร้างความรู้ความเข้าใจ ทั้งสามารถน�ำความรู้ไปต่อยอดให้เกิดประโยชน์ อย่างถูกต้องตามหลักวิชาการ ตลอดจนมีความสะดวกกในการค้นหาเครื่องยา กระสายยา พร้อมกับสรรพคุณทางเภสัชวิทยาท่ีเกี่ยวข้องในต�ำรับยาท่ีมีอยู่ทั้งหมด จัดแบ่งเนื้อหาการน�ำ เสนอออกเปน็ ๒ สว่ นหลกั คอื ส่วนแรก ว่าด้วยเร่ืองต�ำรับยาทีม่ อี ยู่ ๒๐๕ ต�ำรับ กบั สว่ น ทสี่ อง วา่ ดว้ ยเครอ่ื งยาทเ่ี ปน็ องคป์ ระกอบของตำ� รบั ยาตา่ งๆ โดยมขี อบเขตในการอธบิ าย ดงั น้ี ๑. วา่ ดว้ ยต�ำรบั ยาในจารกึ ตำ� รายาวัดราชโอรสารามราชวรวหิ าร น�ำเสนอในบทท่ี ๑ กล่าวถึง ประวัติความเป็นมาและความส�ำคัญของการสร้างวัดราชโอรสารามวรวิหาร แหลง่ ที่มา ความสำ� คัญของตำ� รบั ยาฉบับน้ี โดยพระบาทสมเดจ็ พระน่งั เกล้าเจ้าอยูห่ ัว คร้งั ยงั ด�ำรงพระราชอิสริยยศเป็นพระเจ้าลูกยาเธอ กรมหม่ืนเจษฎาบดินทร์ ในพระบาทสมเด็จ พระพทุ ธเลศิ หล้านภาลยั (รัชกาลท่ี ๒) ได้ทรงด�ำเนินการก่อสรา้ งวดั จอมทอง (พ.ศ. ๒๓๖๔- พ.ศ. ๒๓๗๔) รวมระยะเวลา ๑๑ ปี และหลงั จากดำ� เนนิ การก่อสรา้ งแล้วเสรจ็ พระองค์ได้ น้อมเกลา้ น้อมกระหม่องถวาย วดั จอมทองน้ีแด่พระบาทสมเดจ็ พระพทุ ธเลิศหล้านภาลยั เป็น พระอารามหลวง พร้อมทรงพระราชทานชื่อใหม่ว่า “วัดราชโอรส” ซึ่งหมายถึง วัดท่ี พระราชโอรสสถาปนา ซึ่งวัดแห่งนี้มีตกแต่งอย่างสวยงามและกลมกลืนอย่างหาท่ีติไม่ได้ มีผสมผสานของศิลปกรรมแบบจีนและไทยเข้าด้วยกัน มีความเป็นศาสนาสถานณ์ได้อย่าง สงา่ งามย่งิ และทสี่ �ำคัญในบริเวณโดยรอบพระวหิ ารพระพทุ ธไสยาสน์ ซง่ึ ภายในประดิษฐาน “พระพทุ ธไสยาสน์นารถชนินทร์ ชนิ สากยบรมสมเด็จ สรรพเพชญพุทธบพติ ร” ในบรเิ วณ ฝาผนงั ด้านนอกของพระระเบียงและผนังศาลารายหนา้ พระอโุ บสถ ไดม้ ีการจารกึ ตำ� รายาบน แผน่ หินอ่อนสเี ทา รปู สี่เหล่ยี มจตั ุรสั ขนาดกวา้ งยาวดา้ นละ ๓๓ เซนติเมตร จัดเรยี งบรรทดั ทางมุมแหลม จำ� นวน ๑๗ บรรทัด จากเดิมมีอยู่ทั้งสน้ิ และปจั จุบันคงเหลือทง้ั ส้นิ ๕๕ แผ่น ซ่ึงเช่ือว่าเป็นต�ำรายาท่ีได้รวบรวมจากท่ัวประเทศและผ่านการตรวจสอบจากหมอหลวง และผรู้ ู้ในราชสำ� นกั มาแล้ว Book-7.indd 5 3/10/20 14:57

(6) ๒. วา่ ดว้ ยตำ� รายาในจารกึ วดั ราชโอรสารามราชวรวหิ าร โดยมสี งิ่ ทค่ี วรรบั ทรายใน เบ้ืองต้น คอื ๒.๑ การน�ำเสนอ ไล่เรียงล�ำดับต�ำรายาในจารึกวัดโอรสารามราชวรวิหาร จ�ำนวน ๒๐๕ ต�ำรับ ตามจารึกแผ่นท่ี ๑ - ๑๕, ๑๗ - ๑๘, ๒๐ - ๔๔ และ ๔๖ - ๕๕ โดยแต่และแผ่นจะระบุชื่อโรค อาการของโรค สรรพคุณของต�ำรับพร้อมรายละเอียดของ ตัวยาสมุนไพรที่บอกทั้งส่วนของสมุนไพรที่ใช้ปรุงยา ช่ือวิทยาศาสตร์ และปริมาณที่ใช้ รวมถงึ วิธีการปรงุ ยาและวิธกี ารใชน้ �ำ้ กระสายยา เป็นตน้ ๒.๒ ในแผน่ จารึกท่ี ๑๖ “แผนปลิงควำ่� ” แผน่ จารึกท่ี ๑๙ “แผนปลงิ หงาย” และแผน่ จารกึ ท่ี ๔๕ “แผนปลงิ คว�่ำ” ไดก้ ลา่ วถึง การรักษาโดยใชป้ ลิง คณะทำ� งานได้จัดทำ� ค�ำอธิบายอาการของแผ่นปลิงเพ่ือออกรหัสมาตรฐานฯ เรียบร้อยแล้ว โดยหนังสือเล่มนี้ ขอเสนอตัวอย่างรายละเอียดค�ำอธิบายอาการในค�ำอ่านจารึกแผ่นที่ ๔๕ “แผนปลิงคว�่ำ” ไว้หนา้ ๒๘๘ ๒.๓ จำ� นวนสมนุ ไพรในตำ� รายา ในทา้ ยของหนงั สอื คำ� อธบิ ายตำ� รายาในจารกึ วัดราชโอรสารามราชวรวิหาร ระบุไว้ว่า มีพืชวัตถุ จ�ำนวน ๗๐๐ ชนิด สัตว์วัตถุ จ�ำนวน ๖๕ ชนดิ ธาตวุ ตั ถุ จ�ำนวน ๔๑ ชนิด และพิกดั ยา จ�ำนวน ๓๗ พกิ ัด ๒.๔ น้�ำกระสายยา ต�ำรายาในจารึกวัดราชโอรสารามราชวรวิหาร ได้ระบุ สรรพคุณของแตล่ ะตำ� รับครอบคลมุ หลายอาการทเ่ี ปน็ รวมทงั้ ได้ระบุให้ใชร้ ว่ มกบั น�้ำกระสาย ยา จ�ำนวน ๑๓๗ ต�ำรับ เพ่ือช่วยเสริมฤทธิ์ยาและรักษาให้ตรงตามอาการที่เป็นได้อย่างมี ประสิทธภิ าพย่งิ ขึน้ ตัวอยา่ งเชน่ ในจารึกแผน่ ที่ ๑ ชอ่ื โรค ลมจตุบาทวาโย มีอาการ เกิดในคอนั้นเป็น คางทูม หายใจขัดอก ลมนเี้ กดิ แก่โคร ๒ ปี ๘ ปี ให้เสยี ตา เอาน่อไม้คาเตา ๑ การพลู ๑ พัดแพว้ แดง ๑ ดปี ลี ๑ ลกู จนั ๑ ดอกจนั ๑ พรกิ ไทย ๑ เสมอภาค ทำ� ผงละลายน�้ำผึ้งกิน หายฯ ๓. วิธีการด�ำเนินการสังคายนาเบื้องต้นได้ “ค�ำอธิบายจารึกต�ำรายาวัด ราชโอรสารามวรวิหาร” กรมการแพทย์แผนไทยและการแพทย์ทางเลือก ได้จัดประชุมเชิง ปฏิบัติการ จ�ำนวน ๗ ครั้ง โดยเชิญผู้ทรงคุณวุฒิ นักวิชาการ ทั้งภาครัฐและภาคเอกชน มารว่ มกันระดมความคิด วิเคราะห์ และสงั เคราะหต์ �ำรายาในจารึกวัดราชโอรสารามวรวิหาร ครั้งแรกจัดประชมุ เม่ือวันที่ ๓๐ พฤศจิกายน ๒๕๖๑ ประชมุ ครัง้ ท่ี ๒ เมือ่ วันท่ี ๑๙ ธนั วาคม Book-7.indd 6 3/26/20 13:25

(7) ๒๕๖๑ ประชุมครัง้ ท่ี ๓ เมอ่ื วนั ท่ี ๙ มกราคม ๒๕๖๒ ประชุมครงั้ ที่ ๔ เม่อื วนั ท่ี ๑๙ มกราคม ๒๕๖๒ ประชุมคร้ังท่ี ๕ เมื่อวันที่ ๒๘ มกราคม ๒๕๖๒ ประชุมครั้งท่ี ๖ เมื่อวันท่ี ๑๘ กุมภาพันธ์ ๒๕๖๒ และประชุมครั้งที่ ๗ เมื่อวันที่ ๒๘ กุมภาพันธ์ ๒๕๖๒ เพ่ือระดม ความคิดเห็นการวิเคราะห์องค์ประกอบต�ำรายาวัดราชโอรสารามวรวิหาร มาประกอบการ จัดท�ำ “ค�ำอธิบายต�ำรายาวัดราชโอรสารามวรวิหาร” ต่อมาได้จัดประชุมเชิงปฏิบัติการการ วเิ คราะหอ์ งคป์ ระกอบต�ำรายาวัดราชโอรสารามวรวิหาร ณ จงั หวัดกาญจนบุรี ระหว่างวนั ท่ี ๒๗ - ๒๙ มนี าคม ๒๕๖๒ เพอ่ื ตรวจทานความถกู ตอ้ งของการวเิ คราะหว์ เิ คราะหอ์ งคป์ ระกอบ ต�ำรายาวัดราชโอรสารามวรวิหารอีกครั้ง และในวันท่ี ๒๕ เมษายน ๒๕๖๒ ได้จัดให้ คณะท�ำงานดังกล่าวได้ศึกษาดูงาน ณ วัดราชโอรสารามวรวิหาร เพื่อศึกษาแผ่นจารึกฯ ตรวจทานความถูกต้องของเนื้อหาการสังคายนาต�ำรายาในจารึกวัดราชโอรสารามวรวิหาร ก่อนการจัดส่งให้ผู้ทรงคุณวุฒิได้ตรวจสอบความถูกต้องทางวิชาการอีกครั้งก่อนตีพิมพ์เป็น “หนังสือค�ำอธบิ ายจารึกตำ� รายาวดั ราชโอรสารามวรวหิ าร” ๔. การสืบค้นข้อมูลในหนังสือ “ค�ำอธิบายจารึกต�ำรายาวัดราชโอรสาราม วรวหิ าร”เพอื่ สะดวกตอ่ การค้นหาตำ� รายา เครือ่ งยาท่เี ปน็ ชอ่ื ไทย ชอ่ื วทิ ยาศาสตร์ สรรพคณุ ทางเภสชุ วทิ ยาทเี่ กย่ี วขอ้ งในตำ� รายาทมี่ อี ยทู่ ง้ั หมด รวมทง้ั เอกสารอา้ งองิ ตลอดจนการคน้ หา เน้ือหาต�ำรายาจากตน้ ฉบบั จารึกดง้ั เดิม มรี ายละเอียดปรากฏในภาคผนวกทา้ ยเล่ม Book-7.indd 7 3/25/20 19:31

บทน�ำ การสงั คายนาจารกึ ตำ� รายาวดั ราชโอรสารามราชวรวหิ าร เกดิ ขน้ึ โดยมวี ตั ถปุ ระสงค์ เพ่ือศึกษาพัฒนาต่อยอดจากงานที่กองคุ้มครองและส่งเสริมภูมิปัญญาการแพทย์แผนไทย และแพทยพ์ นื้ บา้ นไทย กรมการแพทยแ์ ผนไทยและการแพทยท์ างเลอื ก ไดด้ ำ� เนนิ การจดั ทำ� จารกึ ต�ำรายาวัดราชโอรสารามราชวรวหิ าร ฉบบั อนรุ กั ษ์ ในปี พ.ศ. ๒๕๕๘ ซึง่ ได้ท�ำการถ่ายถอด และปริวรรตไว้แล้วในเบ้ืองต้น รวมถึงให้เกิดความเหมาะสมในการส่ือสารและการน�ำไปใช้ ประโยชน์ต่อไป ในการด�ำเนินงานครงั้ นี้ ประกอบด้วย การทบทวน แปลเอกสารตน้ ฉบับ และเพิ่ม ค�ำอธิบายให้เป็นภาษาปัจจุบัน โดยยังคงความหมายของต้นฉบับเดิม เช่น ญ่างทราย เขยี นเป็น ย่างทราย เบญจข้ีเหล็ก เขยี นเปน็ ข้ีเหล็กทั้งห้า เป็นตน้ การสังคายนาครั้งน้ี เป็นการน�ำข้อความท่ีได้จากการถ่ายถอดและปริวรรต มาวเิ คราะหโ์ รค/อาการและตวั ยาทเี่ ปน็ พชื วตั ถุ และสตั วว์ ตั ถุ จนไดช้ อ่ื วทิ ยาศาสตร์ วเิ คราะห์ ธาตุวัตถุเพื่อให้ทราบชื่อทางเคมีหรือโครงสร้างที่เก่ียวข้อง ในกรณีที่ไม่ทราบ มีการบันทึกไว้ วา่ “ยังไม่สามารถระบไุ ด”้ เช่น เสอื รองรัง แก่นปนู ที่เผาไม่สกุ เป็นต้น ในกรณที ีใ่ นตำ� รบั ยา ไมไ่ ดร้ ะบุสว่ นท่ีใช้ จงึ ใชค้ วามเหน็ จากผทู้ รงคุณวฒุ ิเปน็ ผูก้ �ำหนดหรือความเหน็ อนื่ ใดทเ่ี ปน็ มติ ของทป่ี ระชุม โดยใส่เคร่อื งหมาย * ไวห้ น้าค�ำหรอื ข้อความเหลา่ น้นั การวิเคราะห์ช่ือโรค ใช้การอ้างอิงจากค�ำอธิบายในพจนานุกรมศัพท์แพทย์ และเภสัชกรรมแผนไทย ฉบับราชบัณฑิตยสภา พ.ศ. ๒๕๕๙ และต�ำรายาศิลาจารึกวัด พระเชตุพนวมิ ลมงั คลาราม (วัดโพธิ์) ทีจ่ ดั พิมพ์โดยโรงเรยี นแพทยแ์ ผนโบราณวดั พระเชตุพน วมิ ลมงั คลาราม พ.ศ. ๒๕๕๘ เป็นหลกั ขอ้ มลู ทไ่ี ดจ้ ากการวเิ คราะหอ์ งคป์ ระกอบตำ� รบั ยาเหลา่ น้ี จะนำ� ไปออกรหสั ภมู ปิ ญั ญา การแพทย์แผนไทย (Thai Traditional Digital Knowledge Classification: TTKDC) เพ่อื การคมุ้ ครองและปกปอ้ ง ภูมิปัญญาในระดับสากล เลขทแ่ี ผน่ ของศลิ าและตำ� รบั ทป่ี รากฏในเอกสารนเ้ี ปน็ ไปตามเอกสารในฉบบั อนรุ กั ษ์ Book-7.indd 8 3/25/20 19:32

Book-7.indd 9 ภาพที่ ๑ แสดงกระบวนการด�ำเนินงานสังคายนาเบื้องตน้ การทบทวนเอกสารเดมิ วิเคราะหอ งคประกอบตำรบั ยา ออกรหสั TTDKC พชื วตั ถุ สตั ววตั ถุ และธาตุวัตถุ 2/11/20 15:58

สารบัญ คำ� นำ� หนา้ คำ� ช้ีแจง (๓) บทน�ำ (๕) สารบญั (๘) (๑๐) บทท่ี ๑ ประวตั คิ วามเปน็ มาของจารกึ ต�ำรายาวดั ราชโอรสารามราชวรวหิ าร ๑ บทที่ ๒ การวเิ คราะหต์ �ำรบั ยาสมนุ ไพรในจารึกต�ำรายา ๑๐ วัดราชโอรสารามราชวรวหิ าร ๑๑ ค�ำอ่านจารกึ แผน่ ที่ ๑ ๑๗ ค�ำอา่ นจารึกแผ่นท่ี ๒ ๒๓ ค�ำอ่านจารึกแผน่ ท่ี ๓ ๓๐ คำ� อา่ นจารกึ แผน่ ท่ี ๔ ๓๔ คำ� อ่านจารกึ แผน่ ท่ี ๕ ๔๒ ค�ำอา่ นจารึกแผ่นท่ี ๖ ๔๘ คำ� อ่านจารึกแผ่นที่ ๗ ๕๕ ค�ำอา่ นจารกึ แผ่นที่ ๘ ๖๓ คำ� อา่ นจารกึ แผน่ ท่ี ๙ ๗๐ ค�ำอ่านจารึกแผ่นท่ี ๑๐ ๘๐ ค�ำอา่ นจารึกแผ่นที่ ๑๑ ๘๖ คำ� อ่านจารึกแผน่ ที่ ๑๒ ๙๒ คำ� อ่านจารึกแผน่ ท่ี ๑๓ ๙๘ ค�ำอา่ นจารึกแผ่นที่ ๑๔ Book-7.indd 10 2/11/20 15:58

(11) หน้า ๑๐๕ ค�ำอ่านจารกึ แผน่ ท่ี ๑๕ ๑๑๒ ค�ำอ่านจารกึ แผ่นที่ ๑๗ ๑๑๙ ค�ำอา่ นจารกึ แผ่นท่ี ๑๘ ๑๒๖ ค�ำอา่ นจารกึ แผน่ ท่ี ๒๐ ๑๓๓ คำ� อา่ นจารกึ แผน่ ที่ ๒๑ ๑๔๐ ค�ำอ่านจารึกแผน่ ท่ี ๒๒ ๑๔๖ คำ� อ่านจารึกแผ่นท่ี ๒๓ ๑๕๒ ค�ำอา่ นจารกึ แผ่นที่ ๒๔ ๑๖๐ คำ� อ่านจารึกแผน่ ท่ี ๒๕ ๑๖๗ ค�ำอา่ นจารกึ แผน่ ท่ี ๒๖ ๑๗๓ คำ� อา่ นจารกึ แผน่ ที่ ๒๗ ๑๗๙ ค�ำอา่ นจารึกแผ่นที่ ๒๘ ๑๘๕ ค�ำอ่านจารึกแผน่ ท่ี ๒๙ ๑๙๔ คำ� อ่านจารกึ แผ่นที่ ๓๐ ๒๐๐ ค�ำอา่ นจารกึ แผน่ ท่ี ๓๑ ๒๐๘ คำ� อา่ นจารึกแผ่นท่ี ๓๒ ๒๑๕ คำ� อ่านจารกึ แผ่นที่ ๓๓ ๒๒๑ ค�ำอา่ นจารกึ แผ่นท่ี ๓๔ ๒๒๘ คำ� อา่ นจารึกแผน่ ท่ี ๓๕ ๒๓๓ คำ� อา่ นจารกึ แผ่นที่ ๓๖ ๒๔๐ ค�ำอา่ นจารกึ แผ่นที่ ๓๗ ๒๔๔ คำ� อา่ นจารึกแผ่นท่ี ๓๘ ๒๕๑ ค�ำอ่านจารึกแผน่ ท่ี ๓๙ ๒๕๖ คำ� อ่านจารึกแผ่นที่ ๔๐ ๒๖๓ คำ� อา่ นจารกึ แผ่นท่ี ๔๑ ๒๖๙ คำ� อา่ นจารึกแผน่ ที่ ๔๒ ๒๗๔ คำ� อ่านจารึกแผ่นท่ี ๔๓ 2/11/20 15:58 Book-7.indd 11

(12) คำ� อ่านจารึกแผ่นที่ ๔๔ หน้า คำ� อ่านจารกึ แผน่ ที่ ๔๕ ๒๘๐ ค�ำอา่ นจารกึ แผน่ ท่ี ๔๖ ๒๘๗ ค�ำอา่ นจารกึ แผน่ ที่ ๔๗ ๒๘๙ ค�ำอ่านจารึกแผน่ ท่ี ๔๘ ๒๙๕ ค�ำอา่ นจารึกแผ่นท่ี ๔๙ ๓๐๑ คำ� อ่านจารกึ แผน่ ท่ี ๕๐ ๓๐๗ คำ� อา่ นจารึกแผน่ ที่ ๕๑ ๓๑๔ คำ� อา่ นจารกึ แผ่นที่ ๕๒ ๓๒๒ ค�ำอ่านจารึกแผ่นท่ี ๕๓ ๓๒๙ ค�ำอา่ นจารึกแผน่ ที่ ๕๔ ๓๓๕ ค�ำอา่ นจารกึ แผน่ ที่ ๕๕ ๓๔๓ ๓๔๙ เอกสารอา้ งองิ ๓๕๕ ภาคผนวก ๓๕๗ ๑. ดัชนพี กิ ดั สมนุ ไพร ๓๕๘ ๒. ค�ำสั่งกรมการแพทย์แผนไทยและการแพทยท์ างเลอื กท่ี ๑๔๙๒/๒๕๖๑ เรอื่ ง แตง่ ตั้งคณะทำ� งานวิเคราะห์องค์ประกอบต�ำรบั ยาสมนุ ไพร ในต�ำราการแพทยแ์ ผนไทยของชาติและตำ� รับยาแผนไทยแหง่ ชาต ิ ๓๖๐ ๓. หนงั สอื กรมการแพทยแ์ ผนไทยและการแพทยท์ างเลอื ก ที่ สธ ๐๕๐๘/๕๒๖๑ ลงวันท่ี ๒๘ ตลุ าคม ๒๕๖๒ เร่อื ง ขอความอนุเคราะห์ใช้เอกสาร “หนังสอื ประวตั วิ ัดราชโอรสารามราชวรวหิ าร” เพ่ือการอ้างองิ ประกอบ การจดั ท�ำ “หนังสอื คำ� อธบิ ายจารกึ วดั ราชโอรสารามราชวรวิหาร” ๓๖๓ Book-7.indd 12 2/11/20 15:58

๑บทท่ ี ประวัติความเปน็ มา และความส�ำ คัญ วัดราชโอรสาราม เดมิ ชอื่ วดั จอมทอง เป็นพระอารามหลวงชัน้ เอกชนดิ ราชวรวิหาร และเปน็ พระอารามประจ�ำพระบาทสมเด็จพระนง่ั เกลา้ เจ้าอยู่หัว (รัชกาลท่ี ๓) วดั แห่งนีเ้ ป็น วัดโบราณมีมาต้ังแต่กรุงศรีอยุธยาเป็น ราชธานี ปัจจุบันต้ังอยู่เลขท่ี ๒๕๘ แขวงบางค้อ เขตจอมทอง กรุงเทพมหานคร เป็นวัดท่ีต้ังอยู่ริมคลองด่านด้าน ทิศตะวันตกและมีคลอง บางหว้าคั้นอยู่ทางด้านทิศเหนือ วัดแห่งน้ีเป็นวัดท่ีพระบาทสมเด็จพระน่ังเกล้าเจ้าอยู่หัว ทรงสถาปนาขน้ึ เนอื่ งจากในบรเิ วณนน้ั เปน็ นวิ าสถานของพระประยรู ญาตขิ า้ งฝา้ ยพระบรมราชชนนี ของพระองค์ คือ กรมสมเด็จพระศรีสุลาลัย (เจ้าจอมมารดาเรียม) ธิดาของพระยานนทบุรี (บุญจัน) ซึ่งมีจวนอยู่ริมแม่น้�ำเจ้าพระยาอันเป็นท่ีตั้งวัดเฉลิมพระเกียรติ ในปัจจุบัน กับ คุณหญิงเพ็ง ซึ่งเป็นธิดาของพระยาราชวังสัน (หวัง) บ้านอยู่ข้างวัดหงส์รัตนารามและ ท่านชู ซ่งึ เป็นพระปัยยิกา (ยายทวด) ของพระบาทสมเดจ็ พระนง่ั เกลา้ เจา้ อยูห่ วั กลา่ วกันวา่ เปน็ ธิดาของคฤหบดชี าวสวน มนี วิ าสสถานอยแู่ ถววัดหนงั ซงึ่ อยทู่ างทศิ เหนือของวัดจอมทอง โดยมีคลองบางหวา้ ค่ันอยู่ บริเวณสองฟากคลองด่านและคลองบางหว้าจะมวี ดั อยู่ ๓ วดั คือ วัดจอมทอง วัดหนัง และวัดนางนอง จึงมีพวกชาวสวนผู้เป็นวงศาคณาญาติของท่านชู อาศัยอยู่จ�ำนวนมาก และกล่าวได้ว่าบุคคลเหล่านี้ ล้วนเป็นพระประยูรญาติข้างฝ่าย พระบรมราชชนนีในพระบาทสมเด็จพระน่ังเกล้าเจ้าอยู่หัวท้ังสิ้น และประกอบกับเจ้าอาวาส วดั จอมทองในสมยั นนั้ ไดเ้ ปน็ ทรี่ จู้ กั มกั คนุ้ เปน็ อยา่ งดกี บั พระบาทสมเดจ็ พระนง่ั เกลา้ เจา้ อยหู่ วั มาต้ังแต่ยังด�ำรงพระราชอิสริยยศเป็นพระเจ้าลูกยาเธอ กรมหมื่นเจษฎาบดินทร์ ในรัชกาล ท่ี ๒ ท้งั ยงั เป็นเถระทม่ี ีความช�ำนาญทางวิปสั สนา และมผี ู้เล่าวา่ ทา่ นช�ำนาญในการพยากรณ์ ยายสามตาดว้ ย Book-7.indd 1 2/11/20 15:58

2  ค�ำ อธิบายจารึกตำ�รายาวดั ราชโอรสารามราชวรวิหาร ครั้นต่อมาในเดือน ๑๑ ปีมะโรง พ.ศ. ๒๓๖๓ ในสมัยพระบาทสมเด็จพระพุทธ- เลศิ หลา้ นภาลยั (รชั กาลที่ ๒) มขี า่ วเขา้ มายงั พระนครวา่ พมา่ ตระเตรยี มกำ� ลงั พลจะยกทพั เขา้ มายงั ประเทศสยามอกี ครงั้ หลงั จากเสรจ็ ศกึ เกา้ ทพั แลว้ พระบาทสมเดจ็ พระพทุ ธเลศิ หลา้ นภาลยั จึงได้โปรดเกล้าฯ ให้จัดกองทัพขึ้นเป็น ๔ กอง ยกออกไปตั้งสกัดทัพพม่าอยู่เป็นแห่ง ๆ ในพ้ืนท่ีตั้งแตเ่ มืองกาญจนบรุ ีลงไปทางปกั ษ์ใต้ โดยเฉพาะทางดา่ นพระเจดียส์ ามองค์ ซ่งึ เปน็ ช่องทางผ่าน ท่ีส�ำคัญติดชายแดนพม่า และได้โปรดเกล้าฯ ให้พระเจ้าลูกยาเธอ กรมหมื่น เจษฎาบดินทร์ (พระนามเดิมของพระบาทสมเด็จพระนั่งเกล้าเจ้าอยู่หัว รัชกาลท่ี ๓) ทรง เป็นแมท่ พั คมุ พลหม่นื หนงึ่ เสด็จไปตง้ั ขดั ตาทพั อยู่ ณ ต�ำบลปากแพรก เมอื งกาญจนบรุ ี โดย พระองค์ได้เสด็จยาตราทพั ออกจากกรงุ เทพฯ โดยทางเรอื เมื่อวนั ศุกร์ เดอื นอา้ ย ข้นึ ๑๐ ค�่ำ ปีมะโรง การยาตราทัพในวนั แรกได้ผา่ นคลองบางกอกใหญ่ (ปัจจบุ นั คือคลองบางหลวง) เข้า คลองด่าน เมื่อเสด็จถึงวัดจอมทอง ได้ทรงหยุดทัพบริเวณหน้าวัดและทรงประกอบพิธีเบิก โขลนทวาร ตามลกั ษณะพชิ ัยสงครามที่วดั จอมทองแหง่ นี้ ดงั ความในหนงั สือนริ าศตามเสดจ็ ทัพล�ำแม่น�้ำน้อยที่พระยาตรังกวีเอกผู้โดยเสด็จราชการทัพคร้ังนั้นด้วย ได้บรรยายถึงการ ประกอบพธิ ไี ว้ว่า “อาดาลอาหุตหิ อ้ ม โหมสถาน ถึกพฤฒิพราหมณ ์ โสรจเกลา้ ชีพ่อเบกิ โขลนทวาร ทวีเทวศ วายแล ลารปู พระเจ้าป้นั แปดมอื ” ในพธิ ดี งั กลา่ วนี้ พระองคไ์ ดท้ รงอธษิ ฐานขอใหก้ ารเสดจ็ ไปราชการทพั คราวน้ี ประสบ ความส�ำเร็จ และทรงได้รับค�ำพยากรณ์จากเจ้าอาวาสวัดจอมทองว่า จักประสบความส�ำเร็จ และเสดจ็ กลบั มาโดยสวสั ดภิ าพ จงึ ประทานพรไวว้ า่ “หากเปน็ เชน่ นน้ั จรงิ จกั สรา้ งวดั ใหใ้ หม่ ทัง้ วัด” ตอ่ มาเมื่อไดเ้ สด็จยาตราทพั ไปต้งั อยู่ ณ ดา่ นเจดยี ส์ ามองค์เมอื งกาญจนบุรี ทรงรอ ทพั พม่าอยจู่ นยา่ งเขา้ ฤดูฝน ราวเดอื น ๖-๗ ปีมะเส็ง พ.ศ. ๒๓๖๔ ก็ยังไมม่ วี แ่ี วววา่ พมา่ จะ ยกมา พระบาทสมเด็จพระพุทธเลิศหล้านภาลัย จึงโปรดเกล้าฯ ให้เลิกทัพกลับพระนคร คร้ังเสด็จกลับถึงพระนครแล้ว พระเจ้าลูกยาเธอ กรมหมื่นเจษฎาบดินทร์ ก็ทรงเร่ิมสร้าง วดั จอมทองข้ึนใหมท่ ง้ั หมดตามทที่ รง ประทานพรไวแ้ กเ่ จ้าอาวาสจอมทอง และทรงเสดจ็ มา Book-7.indd 2 2/11/20 15:58

ประวัติความเป็นมาของจารกึ ตำ�รายาวดั ราชโอรสารามราชวรวิหาร  3 ประทบั เพอ่ื คมุ งานและตรวจตราการกอ่ สรา้ งดว้ ยพระองคเ์ อง โดยทรงประทบั อยทู่ ใี่ ตต้ น้ พกิ ลุ ๑บทท่ี ใหญข่ า้ งพระอโุ บสถเสมอ มเี รอื่ งเลา่ ตอ่ กนั มาวา่ พระองคไ์ ดเ้ คยตรสั ปรารภกบั ขา้ ราชบรพิ าร ที่เฝ้าอยู่เสมอวา่ “ถ้าฉันตาย ฉันจะมาอยู่ท่นี ”่ี การดำ� เนนิ การก่อสรา้ งวดั จอมทองดังกล่าว ไดเ้ ริม่ ตง้ั แต่ ปี พ.ศ. ๒๓๖๔-พ.ศ. ๒๓๗๔ รวมเวลา ๑๑ ปี หลังจากด�ำเนินการก่อสรา้ งแลว้ เสร็จ พระองค์ได้น้อมเกล้าฯ วัดจอมทองน้ี ถวายเป็นพระอารามหลวงแด่พระบาทสมเด็จ พระพุทธเลิศหล้านภาลัย และได้ทรงพระราชทานนามใหม่ว่า “วัดราชโอรส” ซึ่งหมายถึง วดั ท่ีพระราชโอรสสถาปนา การสถาปนาวดั ราชโอรสในครง้ั นนั้ พระบาทสมเดจ็ พระนงั่ เกลา้ เจา้ อยหู่ วั (ราชกาล ที่ ๓) ได้ทรงเห็นเป็นการส่วนพระองค์ มิได้เกี่ยวข้องกับทางราชการ จึงทรงพระด�ำริ เปล่ียนแปลงแบบอย่างศิลปกรรมภายในวัดตามความ พอพระราชหฤทัย เพราะขณะน้ัน พระองค์ทรงก�ำกับการกรมท่า ทรงท�ำการค้าติดต่อกับประเทศจีน และทรงนิยมศิลปะแบบ จีนมาก วัตถุสถานต่าง ๆ ท่ีพระองค์โปรดฯ ให้สร้างขึ้นภายในวัดแห่งน้ี จึงตกแต่งไปด้วย ศลิ ปกรรมแบบจนี เปน็ สว่ นใหญแ่ ละมศี ลิ ปกรรมแบบไทยผสมผสานอยดู่ ว้ ย โดยศลิ ปกรรมไทย ท่ีมีอยู่ในวัดน้ี พระองค์ได้สรรค์สร้างให้กลมกลืนงดงามอย่างหาท่ีติมิได้แต่ยังคงสัญลักษณ์ แห่งศาสนาสถานณ์ได้อย่างสง่างามย่ิง เช่น ลายกระแหนะรูปเล้ียวกางท่ีบานประตูหน้าต่าง ของพระวิหารพระพทุ ธไสยาสน์ รูปทรงหลงั คาพระอโุ บสถตลอดถงึ กุฎิ ทไ่ี มม่ ชี ่อฟ้า ใบระกา และหางหงส์ ซึ่งกรมพระยาด�ำรงราชานุภาพได้ทรงมีลายพระหัตถ์ทูลสมเด็จฯ กรมพระยา นริศรานุวัดติวงศ์ว่า “หม่อมฉันเคยเห็นกลอนหรือโคลง ซึ่งพระยาไชยวิชัย (เผือก) แต่ง เฉลิมพระเกียรติพระบาทสมเด็จพระนั่งเกล้าเจ้าอยู่หัว จารึกศิลาไว้ในโบสถ์วัดหน้าพระเมรุ มีความอันหน่ึงกล่าวถึงการสร้างวัดราชโอรส ชมพระปัญญาว่าช่างแก้ไขยักเยื้องมิให้มีช่อฟ้า ใบระกาอันเป็นของหักพังง่ายไม่ถาวร เพราะวัดราชโอรสนั้นสร้างแต่ในรัชกาลท่ี ๒ ความท่ี พระยาไชยวิชิตกล่าวถึงน้ัน ส่อว่าเป็นวัดแห่งแรกท่ีคิดสร้างออกแบบอย่างวัดซึ่งสร้างกันเป็น สามญั จะเรยี กตอ่ ไปในจดหมายนวี้ า่ “วดั นอกอยา่ ง” พจิ ารณาดวู ดั ราชโอรสเหน็ ไดว้ า่ วดั นอก อย่างนั้นไม่ใช่แต่เอาช่อฟ้าใบระกาออกเท่าน้ัน ถึงส่ิงอ่ืน เช่น ลวดลายและรูปภาพ เป็นต้น ก็แผลงไปเป็นอย่างอื่นหมด คงไว้แต่สิ่งอันเป็นหลักของวัดอันจะเปล่ียนแปลงมิได้ เช่น โบสถ์ วิหาร เป็นต้น นอกจากทรงสร้างตามพระราชหฤทัย ไม่เกรงใครจะติเตียน แต่ต้ัง พระราชหฤทยั ประจงให้งามอยา่ งแปลก มใิ ชส่ ร้างแตพ่ อเปน็ กิริยาบญุ ....” Book-7.indd 3 2/11/20 15:58

4  ค�ำ อธิบายจารึกตำ�รายาวัดราชโอรสารามราชวรวิหาร นายจอน ครอฟอรด์ ไดบ้ นั ทึกไว้ในจดหมายเหตุรายวันวา่ “... หลงั คาโบสถ์ดูแปลกแต่ใชว่ ่าไมง่ าม ใชก้ ระเบื้องเคลือบนำ้� ยาสเี ขยี ว บรเิ วณรอบ ๆ โบสถเ์ ป็นสวนปลูกตน้ ไมป้ ระดับและต้นไม้ผล กุฎิพระเปน็ แบบใหม่ เพราะแทนท่ีจะเปน็ เคร่ืองไม้ กฏุ ใิ นวันน้ีก่อเปน็ ตกึ หมด ใชอ้ ฐิ ฉาบปนู ทำ� ใหร้ ูส้ กึ วา่ เหมอื นบา้ นเรือนน้อย ๆ ในประเทศอังกฤษ...” ม.ร.ว. สดบั ลดาวลั ย์ ไดแ้ สดงปาฐกถาเรอื่ งวดั ราชโอรส มคี วามตอนหนึ่งวา่ “แผนผังของวัดราชโอรสารามก็เหมือนกับวัดทั่วไป เช่น พระอุโบสถตั้ง อยู่กลาง พระวิหารพระยืนอยู่ด้านข้าง ศาลาการเปรียญอยู่ด้านขวา พระวิหาร พระพุทธไสยาสน์อยู่ด้านหลัง แผนผังหลักท่ีพร้อมสรรพเช่นน้ีเห็นมีแต่วัด พระเชตุพนฯ วดั อื่นท่คี ล้ายกันหายาก วดั นแี้ มด้ จู ากภายนอกจะเป็นแบบจีนกต็ าม แต่ภายในเป็นไทยแท้ทุกประการ เช่น รูปเล้ียวกางไทยท่ีกล่าวแล้ว แม้พระเจดีย์ ยอ่ มมุ ไมส้ บิ สองทเ่ี รยี งรายอยภู่ ายในรอบพระวหิ ารพระพทุ ธไสยาสน์ หรอื พระพทุ ธรปู ทป่ี ระดษิ ฐานอยภู่ ายในพระวหิ ารและพระอโุ บสถกล็ ว้ นเปน็ พทุ ธศลิ ปแ์ บบสยามแท้ ไม่มีพระพุทธรูปองค์ใดมีรูปอย่างพระพุทธรูปจีน นอกจากพระพุทธรูปหินสลักนูน จากแผ่นศลิ าในเกง๋ จนี เรือนไฟหิน หรือท่เี รียกว่า “สสุ านพระธรรม” ซงึ่ ตงั้ อยูด่ า้ น หลังพระอุโบสถเท่านนั้ “พระพุทธรูปวัดราชโอรสทุกองค์สร้างด้วยส่วนสัดที่งดงามมาก จะไป เปรยี บเทียบกับสมยั ใดกย็ าก เพราะทรงพยายามที่จะใหง้ ามเป็นพเิ ศษ...” ศิลปกรรมทุกช้ินในวัดนี้ล้วนสร้างขึ้นด้วยฝีมือประณีตบรรจง เมื่อสร้างเสร็จใหม่ ๆ ความงดงามของ วดั ราชโอรสารามนน้ั ไดเ้ ปน็ ทเ่ี ลอ่ื งลอื กนั มาก มชี าวไทยและชาวตา่ งประเทศ ลงเรือมาชมกนั มิได้ขาด แม้แตส่ นุ ทรภ่ไู ดเ้ ดินทางผา่ นมาเหน็ วัดราชโอรสในปลายสมยั รัชกาล ที่ ๓ ก็ไดร้ �ำพนั อนุโมทนาไวอ้ ยา่ งนา่ ฟังในนริ าศเมอื งเพชรว่า Book-7.indd 4 2/11/20 15:58

ประวัตคิ วามเป็นมาของจารึกตำ�รายาวดั ราชโอรสารามราชวรวหิ าร  5 ถงึ บางหว้าอารามนามจอมทอง ดูเรอื งรองรงุ่ โรจนท์ ่ีโบสถร์ าม ๑บทที่ สาธุสะพระองค์มาทรงสรา้ ง เปน็ เยยี่ งอย่างไวใ้ นภาษาสยาม ในพระโกศโปรดปรานประทานนาม โอรสราชอารามนามเจริญ มเี ชอ่ื มรอบขอบคูดูพลิ กึ กุฏิตกึ เก๋งกฏสิ์ ุดสรรเสริญ ท่รี มิ นำ้� ทำ� ศาลาไวน้ ่าเพลิน จนเรอื เดินมาถึงทางบางขุนเทยี น พระบาทสมเดจ็ พระนงั่ เกลา้ เจา้ อยหู่ วั รชั กาลที่ ๓ ทรงมพี ระราชศรทั ธาในพระพทุ ธศาสนา เปน็ อยา่ งยง่ิ ได้ทรงสร้างและปฏสิ ังขรณ์พระอารามไวเ้ ปน็ จำ� นวนมาก ถงึ กับกล่าวกันว่า ใน รัชกาลท่ี ๓ ถ้าใครใจบุญชอบสร้างวัดวาอารามก็เป็นคนโปรด แต่วัดท่ีทรงสร้างด้วยฝีมือ ประณีต มีแบบอย่างศิลปกรรมท่ีแปลกและงดงามเป็นพิเศษจนเป็นท่ีเลื่องลือกล่าวขวัญกัน มาก เห็นจะไม่มีวัดไหนเสมอด้วยวัดราชโอรส เหตุนี้ นายมี มหาดเล็ก บุตรพระโหราธิบดี เม่ือแต่ง เพลงยาวสรรเสริญพระเกียรติ ทูลเกล้าฯ ถวายพระบาทสมเด็จพระนั่งเกล้าอยู่หัว ได้กล่าวถึงวดั ราชโอรสไวว้ ่า วดั ไหนไหนกไ็ มล่ ือระบือยศ เหมอื นวดั ราชโอรสอนั สดใส เป็นวดั เดมิ เริ่มสรา้ งไมอ่ ยา่ งไร ลว้ นอย่างไหมท่ รงคิดประดษิ ฐท์ �ำ ทรงสร้างดว้ ยพระมหาวิรยิ าธกึ โอฬารกึ พรอ้ มพร้งิ ทุกสง่ิ ขำ� ลว้ นเกลย้ี งเกลาเพราเพรศิ ดเู ลศิ ลำ�้ ฟงั ขา่ วค�ำลอื สุดอยธุ ยา จะรำ� พนั สรรเสรญิ กเ็ กนิ สุด ขอยกหยุดพองามตามเลขา ก�ำหนดสร้างอาวาสโดยมาตรา ประมาณช้านบั ได้สบิ สีป่ ี จงึ เสรจ็ การอาวาสราชโอรส อนั ลือยศเฟ่ืองฟงุ้ ท่ัวกรุงศรี แล้วสมโภชโปรดปรานการทวี การทมี่ เี หลอื ล้นคณนา คร้ันในปลายปีเถาะ พ.ศ. ๒๓๗๔ น้ัน โปรดเกล้าฯ ให้มีการสมโภชวัดราชโอรส ซึ่งสถาปนาส�ำเร็จแล้วใน วันอาทติ ย์ เดือน ๒ ขึ้น ๑๓ คำ่� พ.ศ. ๒๓๗๔ (ตรงกับวนั ที่ ๑๕ มกราคม ๒๓๗๔) พร้อมทั้งได้ถวายผ้าไตรจีวรแด่พระสงฆ์ที่เจริญพระพุทธมนต์ท่ีวัด ราชโอรสาราม และพระสงฆ์ท่ีมาเจริญพระพุทธมนต์มาจากทุกพระอาราม ทรงโปรดเกล้าฯ ให้มารับไตรจีวรที่วัดราชโอรสาราม และวันจันทร์เดือน ๒ ข้ึน ๑๔ ค�่ำ (ตรงกับวันท่ี ๑๖ Book-7.indd 5 2/11/20 15:58

6  คำ�อธบิ ายจารกึ ตำ�รายาวัดราชโอรสารามราชวรวิหาร มกราคม ๒๓๗๔) เป็นวันท่ีพระสงฆ์เจริญพระพุทธมนต์เย็น โปรดให้มีการสมโภชและมี มหกรรมทุกพระอารามพร้อมกนั เฉพาะทว่ี ดั ราชโอรสาราม โปรดเกลา้ ฯ ให้ปลูกพลับพลาท่ี ประทบั บรเิ วณรมิ คลองหนา้ วดั และโปรดเกล้าฯ ใหม้ โี ขนโรงใหญ่ ชกั รอกตรงหนา้ พลับพลา ด้วย เกณฑ์เรือประพาสข้าราชการร้องสักวาดอกสร้อย ท่ีบริเวณเกาะหน้าพลับพลา คร้ัน ตกเวลาเย็น ได้เสด็จพระราชด�ำเนินทางชลมารคประทับเรือพระท่ีนั่งสุพรรณหงส์ เป็น กระบวนพยุหยาตรา มีเรือกระบวนรูปสัตว์ มาประทับทรงสดับพระสงฆ์เจริญพระพุทธมนต์ ทง้ั ๓ วนั ทีเ่ ป็นกำ� หนดงานสมโภชพระอาราม ต�ำรับยาในพระวหิ ารพระพทุ ธไสยาสน์ พระวิหารพระพุทธไสยาสน์ เป็นอาคารขนาดใหญ่อยู่ด้านหลังพระอุโบสถ ขนาด กว้าง ๑๘.๔๐ เมตร ยาว ๓๑.๓๐ เมตร รายล้อมด้วยพระระเบยี งท้งั ส่ีทิศ มีสถาปัตยกรรม แบบจีน ไม่มีช่อฟ้า ใบระกา และหางหงส์เหมือนกับพระอุโบสถ มุงด้วยกระเบ้ืองเคลือบสี เขียวและสที อง มีเสาหานอยโู่ ดยรอบจ�ำนวน ๓๖ ต้น มีเฉลยี งทางเดนิ แคบ ๆ โดยรอบ ภายในพระวิหารมีความยาวขนาด ๙ ห้อง มีเสารายรับส่วนบน ๒ แถวจ�ำนวน ๒๐ ต้น เป็นท่ีประดิษฐานพระพุทธไสยาสน์ที่มีขนาดใหญ่และงดงามมากท่ีสุดองค์หนึ่ง พระเศียรอย่ดู า้ นทศิ ใต้ ผันพระพักตร์ไปทางทิศตะวันออก มคี วามยาวจากพระบาทถึงปลาย พระรศั มี ๒๐ เมตร สูง ๖ เมตร มีพระนามตามทจ่ี ารึกไว้ท่ฐี านชุกชีว่า “พระพทุ ธไสยาสน์ นารถชนนิ ทร์ ชนิ สากยบรมสมเดจ็ สรรพเพชญพทุ ธบพติ ร” หนา้ บนั พระวหิ ารลดเปน็ สช่ี น้ั ของเดิมประดบั ดว้ ยกระเบ้ืองเคลือบกังไส ต่อมาได้ช�ำรุดหลดุ ร่วงลงมาก เมอ่ื มีการปฏิสงั ขรณ์ ในปี พ.ศ. ๒๔๔๔ ได้ปั้นปูนเขียวสีแทนที่ช�ำรุดไป ของเดิมเหลือไม่มาก โดยด้านทิศใต้ หน้าบันส่วนบนเป็นลวดลายดอกเบญจมาศ นกบิน และเซียนขี่นก ตรงกลายเป็น รูปไก่อยู่ ในวงกลม ส่วนล่างเป็นรูปมังกรพ่นพิษเข้าหากัน มีศาลเจ้าจีนโตและกิเลน ด้านทิศเหนือมี ลวดลายเหมือนด้านทิศใต้ เป็นแต่ตัวนกจะคล้ายหงส์ ตรงกลางเป็นรูปไก่ฟ้า บันไดทางข้ึน พระวิหารมี ๒ ด้าน คอื ดา้ นทศิ ใต้กบั ทิศตะวันออก ช้นั บันไดเปน็ หนิ แกรนติ ประตูพระวหิ าร มี ๕ ประตู คือด้านทิศตะวันออก ๓ ประตู และด้านทิศใต้กับทิศเหนือด้านละ ๑ ประตู หน้าต่างมีท้ังหมด ๒๓ ช่อง ทั้งบานประตูและหน้าต่างเป็นไม้สักหนาและมีคุณภาพดีเย่ียม สันนิษฐานว่าเป็นของเดิม เพราะไม่ปรากฏหลักฐานว่ามีการเปลี่ยนแปลงใหม่ในการบูรณะ Book-7.indd 6 2/11/20 15:58

ประวตั ิความเปน็ มาของจารกึ ต�ำ รายาวัดราชโอรสารามราชวรวิหาร  7 ครั้งใด ๆ กรอบประตูและหน้าต่างเป็นสายกระแหนะปูนปั้นเป็นรูปเครือเถาดอกเบญจมาศ ๑บทที่ ส่วนตัวบานด้านนอกเป็นลายกระแหนะเช่นเดียวกัน แต่เป็นรูปเสี้ยวกางแบบไทยยืนอยู่บน ประแจจนี ในมอื ถอื เครอื เถาและชอ่ ดอกเบญมาศ ประกอบดว้ ยแจกนั ดอกเบญจมาศและพาน ผลไม้มงคล เช่น ทับทิม ส้มมือ ล้ินจ่ี ตัวบานด้านในเขียนเป็นรูปนกยูงประดับด้วยดอกไม้ เบญจมาศและต้นไม้แบบจีน กรอบหน้าประตูและหน้าต่างลงรักปิดทอง โดยด้านในเป็น รูปกอบัว ดอกเบญจมาศ มีรูปปลา นกกระสา และนกยูง ด้านนอกเป็นรูปมังกรสลับลาย เครือเถาดอกเบญจมาศและอาวธุ จีน ภายในพระวิหารประกอบดว้ ยเสาโดยรอบองคพ์ ระจ�ำนวน ๒๐ ตน้ ของเดิมมีลาด ลายเป็นรปู ดอกไมแ้ ละ ปดิ ทองเหมือนเสาในพระที่นง่ั อมรินทรวินิจฉัยในพระบรมมหาราชวัง เพดานพระวิหาร เขียนลวดลายดอกเบญจมาศ ลวดลายจีน รูปผีเส้ือและนก มีรูปผลไม้ สลับด้วยลวดลายสีทอง โดยรอบพระวิหาร มีพระเจดีย์ย่อมุมไม้สิบสองขนาดเล็ก จ�ำนวน ๓๒ องค์ บริเวณด้านหน้าพระวิหารมีตุ๊กตาจีนเป็นหินแกะสลักตั้งไว้ตามเชิงบันไดหลายตัว เช่น ยักษ์จีนยืนถือกระบอง แต่สูญหายด้วยถูกโจรกรรมไปบ้าง ถูกตัดหัวไปบ้างเรื่อยมา จนปัจจบุ ันเหลอื ไมก่ ่ีตัว และมแี ผงกระเบ้ืองเคลอื บเนอ้ื กงั ไส เปน็ รูปบ้างหรือโรงงิ้วเปน็ ช่อง ๆ ภายในมตี ุ๊กตาคนอยู่ ดสู วยงามมาก หาดูได้ยาก พระระเบียง พระระเบียง คือโรงแถวท่ีล้อมรอบพระวิหารพระพุทธไสยาสน์ท้ังส่ีทิศ มีลักษณะ เป็นรูปสี่เหล่ยี มผนื ผา้ ด้านหน้าโล่ง ด้านหลงั ทึบ หลังคาลด ๓ ชัน้ มงุ ด้วยกระเบื้องเคลอื บ สีทอง แบ่งเป็นห้องมีจ�ำนวน ๖๐ ห้อง มีความยาวด้านทิศเหนือถึงทิศใต้ ๖๗.๙๐ เมตร ความกวา้ งด้านทศิ ตะวนั ออกถงึ ทศิ ตะวนั ตก ๕๔.๖๐ เมตร ตามมุมมีลักษณะเป็นมขุ ยนื่ ออก ไปมุมละ ๒ มุข ด้านนอกมีชานเดินแคบ ๆ โดยรอบ มีเสาหานรับหลังคาโดยตลอด ประตู ทางเข้าพระระเบียงมี ๔ ประตู ทิศละประตู รูประตู เปน็ วงกลม บานประตเู ป็นแบบ ๒ บาน วงกบและบานประตเู ป็นไม้สักหนาทง้ั หมด พระระเบียงเป็นท่ีประดิษฐานพระพุทธรูปปางต่าง ๆ จ�ำนวน ๖๐ องค์ เป็น พระพุทธรูปนั่ง ๕๘ องค์ พระพุทธรูปยืน ๒ องค์ ประดิษฐานอยู่ห้องละ ๑ องค์ เป็น พระท่ีซ่อมใหม่จากองค์เดิมที่ช�ำรุดบ้าง ถูกตัดเศียรไปบ้าง ที่สร้างขึ้นใหม่แทนองค์เดิมที่ถูก Book-7.indd 7 2/11/20 15:58

8  ค�ำ อธบิ ายจารึกตำ�รายาวดั ราชโอรสารามราชวรวหิ าร โจรกรรมไปบา้ ง พระพุทธรูปเหล่าน้ีประดษิ ฐานอยบู่ นแทน่ ทยี่ กสูงข้นึ จากพืน้ ประทับเรียงกนั เปน็ แถวเหมือนพระพุทธรปู ในพระระเบยี งของพระอารามหลวงท่ัวไป ณ ที่ฝาผนังด้านนอกของพระระเบียง มีแผ่นหินอ่อนจารึกต�ำรายาและต�ำรา หมอนวดตดิ อยู่โดยรอบ ห้องละ ๑ แผน่ แต่ไดแ้ ตกหกั ชำ� รุดไปเสียมากต่อมากมาโดยลำ� ดบั เพราะมีหลายคราวที่พระระเบียงผุพังเสียหายจนเหลือแต่เสาก็มี เมื่อมีการบูรณะใหญ่ในปี พ.ศ. ๒๕๒๘ จึงไดเ้ ก็บรวบรวมและติดตงั้ ไว้อยา่ งแน่นหนา ปัจจุบันเหลือทตี่ ดิ ตั้งอยู่ ๔๒ แผ่น ซงึ่ ตำ� รายาและตำ� ราหมอนวดเหลา่ นไ้ี ดม้ กี ารสรา้ งขนึ้ พรอ้ ม ๆ กบั การบรู ณะวดั ราชโอรสาราม ในสมัยพระบาทสมเด็จพระน่ังเกล้าเจ้าอยู่หัว (รัชกาลท่ี ๓) ซึ่งในขณะนั้นทรงด�ำรง พระราชอสิ ริยยศเปน็ พระเจ้าลูกยาเธอ กรมหม่ืนเจษฎาบดนิ ทร์ ในรชั กาลท่ี ๒ พระองคท์ รง ด�ำริให้ช่างชาวจีนเป็นผู้ดูแลการบูรณะพระวิหารพระพุทธไสยาสน์รวมถึงพระระเบียงรอบ พระวหิ ารฯ และทรงดำ� รใิ หช้ า่ งชาวไทยจารกึ ตำ� รายาและตำ� ราหมอนวดดงั กลา่ วไวบ้ นแผน่ หนิ แกรนนิตรปู สเี่ หล่ียมจัตรุ ัส ขนาดกวา้ ง ยาว ดา้ นละ ๓๓ เซนติเมตร แต่ละแผน่ มอี กั ษรจารึก เป็นภาษาไทยด้านเดียว จัดเรียงบรรทัดทางแหลม จ�ำนวน ๑๗ แผ่น เหมือนกันทุกแผ่น มีจ�ำนวน ๔๒ แผ่น และส่วนหน่ึงได้กระจายไปประดิษฐานอยู่ตามศาลารายอีก จ�ำนวน ๒ หลงั ซึ่งอยทู่ างทิศตะวันออกของพระวหิ ารพระพทุ ธไสยาสนด์ ้านหน้าพระอโุ บสถ หลงั ละ ๔ แผ่น รวมทง้ั หมด ๕๐ แผ่น กรมการแพทย์แผนไทยและการแพทย์ทางเลือก โดยกองคุ้มครองภูมิปัญญาการ แพทย์แผนไทยและพื้นบ้านไทย ได้ด�ำเนินการตามพระราชบัญญัติคุ้มครองและส่งเสริม ภูมิปัญญาการแพทย์แผนไทย พ.ศ. ๒๕๔๒ มาตรา ๑๕ ในการรวบรวมข้อมูลภูมิปัญญา การแพทย์แผนไทยเก่ียวกับต�ำรับยาแผนไทยและต�ำราการแพทย์แผนไทยท่ัวราชอาณาจักร เพอ่ื จดั ทำ� ทะเบยี นภมู ปิ ญั ญาการแพทยแ์ ผนไทยเกยี่ วกบั ตำ� รบั ยาแผนไทยและตำ� ราการแพทย์ แผนไทยในการใชป้ ระโยชนด์ า้ นการอ้างอิงทางวชิ าการ ศกึ ษา วิจยั และพฒั นา และปัจจุบนั จารึกต�ำรายาวัดราชโอรสารามราชวรวิหาร ได้ถูกประกาศให้เป็นต�ำรับยาแผนไทยของชาติ หรือต�ำราการแพทย์แผนไทยของชาติ และกองคุ้มครองภูมิปัญญาการแพทย์แผนไทยฯ ในฐานะหนว่ ยงานทด่ี ำ� เนนิ การตาม พรบ. ดงั กลา่ ว ไดเ้ ลง็ เหน็ ความสำ� คญั ของตำ� รายาดงั กลา่ ว ประกอบกบั จารกึ ดงั กลา่ วมสี ภาพชำ� รดุ ทรดุ โทรมเสยี หายไปตามกาลเวลา ควรไดร้ บั การอนรุ กั ษ์ คุ้มครองและน�ำมาใช้ประโยชน์ จึงได้ด�ำเนินการถ่ายภาพ ปริวรรตถ่ายทอด และเรียบเรียง เป็นค�ำอ่าน และได้ด�ำเนินการจัดพิมพ์เป็นต�ำราภูมิปัญญาการแพทย์แผนไทย ฉบับอนุรักษ์ Book-7.indd 8 2/11/20 15:58

ประวตั ิความเปน็ มาของจารึกตำ�รายาวดั ราชโอรสารามราชวรวหิ าร  9 จารึกต�ำรายาวัดราชโอรสารามราชวรวิหาร และกลุ่มงานวิชาการและคลังความรู้ ในฐานะ ๑บทท่ี หน่วยงานมีหน้าท่ีพัฒนาระบบสารสนเทศองค์ความรู้ดิจิทัลภูมิปัญญาการแพทย์แผนไทย (Thai Traditional Digital knowledge Library: TTDKL) โดยมวี ตั ถุประสงค์ เพ่ือพฒั นา ต้นแบบการจัดระบบองค์ความรู้ภูมิปัญญาการแพทย์แผนไทยของประเทศ อนุรักษ์คุ้มครอง และการออกรหสั มาตรฐานภมู ิปญั ญาการแพทยแ์ ผนไทย โดยไดด้ �ำเนินการสงั คายนาต�ำรายา ในจารึกวัดราชโอรสารามราชวรวิหารดังกล่าวต่อยอดจากจากภาระงานที่กองคุ้มครองและ สง่ เสรมิ ภมู ปิ ญั ญาการแพทยแ์ ผนไทยและการแพทยพ์ น้ื บา้ นไทยดำ� เนนิ การไวแ้ ลว้ โดยนำ� ตำ� รา ยาวัดราชโอรสารามราชวรวิหาร ฉบับอนุรักษ์ ปี พ.ศ. ๒๕๕๘ ซึ่งได้ท�ำการถ่ายถอดและ ปรวิ รรตไวแ้ ลว้ ในเบอ้ื งตน้ และเพ่ือใหเ้ กิดความเหมาะสมในการสอ่ื สารและนำ� ไปใชป้ ระโยชน์ ตอ่ ไป จงึ ไดด้ ำ� เนนิ การแตง่ ตง้ั คณะทำ� งานวเิ คราะหอ์ งคป์ ระกอบตำ� รบั ยาสมนุ ไพรในตำ� ราการ แพทยแ์ ผนไทยของชาตแิ ละตำ� รบั ยาแผนไทยของชาติ (ตำ� รายาวดั ราชโอรสารามราชวรวหิ าร) เพ่อื ดำ� เนินการทบทวน แปลเอกสารตน้ ฉบบั และเพิ่มคำ� อธบิ ายใหเ้ ปน็ ภาษาปัจจุบนั โดยยงั คงความหมายของต้นฉบับเดมิ ไว้ การดำ� เนนิ การวเิ คราะหโ์ รค/อาการและตัวยาท่เี ปน็ พชื วตั ถุ และสตั ว์วัตถุ จนไดช้ ือ่ วทิ ยาศาสตร์ วเิ คราะห์ธาตุวัตถุ เพือ่ ใหท้ ราบช่อื ทางเคมหี รอื โครงสร้าง ท่ีเก่ียวข้อง การด�ำเนินการวิเคราะห์ชื่อโรค โดยใช้การอ้างอิงจากค�ำอธิบายในพจนานุกรม ศพั ทแ์ พทยแ์ ละเภสชั กรรมแผนไทย ฉบบั ราชบณั ฑติ สภา พ.ศ. ๒๕๕๙ และตำ� รายาศลิ าจารกึ วัดพระเชตุพนวิมลมังคลาราม (วัดโพธิ์) ที่จัดพิมพ์โดย โรงเรียนแพทย์แผนโบราณวัด พระเชตุพนวิมลมังคลาราม พ.ศ. ๒๕๕๘ เป็นหลัก และด�ำเนินการออกรหัสภูมิปัญญา การแพทย์แผนไทย (Thai Traditional Digital Knowledge Classification: TTDKC) เพื่อการคมุ้ ครองและปกป้องภมู ปิ ัญญาในระดับสากลตอ่ ไป Book-7.indd 9 2/11/20 15:58

๒บทที่ การวิเคราะห์ ต�ำ รบั ยาสมนุ ไพร ในจารกึ ตำ�รายา วดั ราชโอรสารามราชวรวหิ าร Book-7.indd 10 2/11/20 15:58

จารกึ ตำรายาวัดราชโอรสารามราชวรวหิ าร ภาพจารกึ แผนที่ 1 คำจารกึ แผนท่ี 1 กองคุ้มครองภูมปิ ัญญาการแพทยแ์ ผนไทยและพน้ื บา้ นไทย ๑. ๏ ลมอน่งึ ๒. จตุบาทวาโยเกิดในคอน้ัน ๓. เปนคางทมู หายใจขดั อก ลมนีเ้ กิดแกใ คร ๔. ๒ ป ๘ เดือน ใหเสียตาเอานอไมค าเตา ๑ การพลู ๑ ย๕. พัดแพว แดง ๑ ดีปลี ๑ ลกู จัน ๑ ดอกจัน ๑ พรกิ ไทย ๑ เสมอภาค 1 ้านไท๖. ทำผงลายน้ำผ้ึงกินหาย๚ ลมหมหู นึ่งชอ่ื อัควารนั ตะ ใหเ จบทั่วสาระภางมกั ใหห น (าว ) ะพ้ืนบ๗. มักใหพรึงทังตัวใหคันทังตัวถาจะแกเอาตาเสือตน ๑ ผักเบ้ียหนู ๑ พุทรา ๑ กระทุมนา ๑ ยแลหอมแดง ๑ แ์ ผนไท๘. พรัรผกั กาด ๑ แทงทวย ๑ โพพาย ๑ ลกู จนั ๑ ดีปลี ๑ ตำผงลายน้ำผง้ึ ปน เปนลูกกอนกินหายฯ ทย๙. ลมหมูหนึ่งชื่อภูมราน้ีเกิดในหัวใจขึ้นมาถึงสีสะ แลใหคันหนาตากินอาหารมิได เอาบุกหัวใหญ าการแพมาขดุ เปนหลุมเอาเลา ทนา ญ๑๐. ลูกจัน ๑ ดอกจัน ๑ ดองดึง ๑ สคาน ๑ ดีปลี ๑ กระวาน ๑ บัตะบุด ๑ ชันตะเคียน ๑ ปิ ญัลินทะเล ๑ เสมอภาคตำผงไสล งหวั รองภูม๑๑. บุกผนึกใหมั่นมิดไฟแกลบใหสุกแลวกินภอสมควรหาย๚ ลมหมุหน่ึงชื่อสัพวาโย ใหจับเปน คคราวๆ วนั กองคุม้๑๒. ทีหน่งึ ใหเ จบหลังแลเกลยี วคอหนกั เอาพรรั ผกั กาด ๑ หอมแดง ๑ ๑๓. มรมุ ๑ ไพล ๑ ผักเบย้ี หนู ๑ ๑๔. มนาว ๑ โรกแดง ๑ โกดเขมา ๑ ๑๕. เทียนดำ ๑ สานซม ๑ ๑๖. (ตำ) เปนผง ลายน้ำผง้ึ ๑๗. กินหาย Book-7.indd 11 2/11/20 15:58

12  ค�ำ อธบิ ายจารึกตำ�รายาวัดราชโอรสารามราชวรวิหาร คำ� อ่านจารึกแผ่นท่ี ๑ ช่ือต้นฉบบั : คำ� อ่านจารึกแผน่ ที่ ๑ ล�ำดบั ที่ของต�ำรบั ในต�ำรา: ๏๑ ช่อื โรค: ลมจตุบาทวาโย อาการ: เกดิ ในคอน้ันเป็นคางทมู หายใจขัดอก ลมนีเ้ กดิ แกใ่ คร ๒ ปี ๘ เดอื น ใหเ้ สยี ตา สรรพคุณของตำ� รบั : แก้ลมจตบุ าทวาโย สว่ นประกอบของต�ำรบั : หน่อไมค้ าเตา ๑ กานพลู ๑ ผักแพวแดง ๑ ดีปลี ๑ ลูกจันทน์ ๑ ดอกจันทน์ ๑ พรกิ ไทย ๑ เสมอภาค วิธปี รุงยา: ท�ำเปน็ ผง รูปแบบยา: ยาผง กระสายยา: น�้ำผงึ้ วิธใี ช้: ละลายน้�ำผึ้ง กนิ รายละเอียดของตัวยา/สมุนไพรในต�ำรบั ลำ� ดับ ตวั ยา/สมุนไพร สว่ นท่ีใช้ ช่อื วิทยาศาสตร์ ชื่อวงศ์ ปริมาณท่ใี ช้ ๑ ส่วน ๑ หนอ่ ไมค้ าเตา# *หนอ่ ไม้ Bambusa bambos (L.) Voss Poaceae ๑ สว่ น ๒ กานพลู *ดอกตูม Syzygium aromaticum (L.) Merr. Myrtaceae ๑ ส่วน & L. M. Perry ๑ ส่วน ๓ ผักแพวแดง *ราก Iresine herbstii Hook. Amaranthaceae ๑ ส่วน ๑ ส่วน ๔ ดปี ลี *ชอ่ ผล Piper retrofractum Vahl Piperaceae ๑ ส่วน (spike) ๕ ลกู จันทน์ *เมลด็ Myristica fragrans Houtt. Myristicaceae ๖ ดอกจนั ทน์ *เยอื่ หมุ้ เมลด็ Myristica fragrans Houtt. Myristicaceae ๗ พริกไทย *ผล Piper nigrum L. Piperaceae #ตำ� รายาศลิ าจารกึ ในวัดโพธ์ิ ระบวุ า่ หน่อไมต้ ับเต่า ส่วนใหญ่ใช้ ไผ่ปา่ หมายเหตุ * ตัวยา/สมุนไพร ส่วนท่ีใช้และช่ือวิทยาศาสตร์เป็นความเห็นร่วมของคณะผู้ทรงคุณวุฒิ ที่สรุปมาจากส่วนของสมนุ ไพรชนิดนั้น ๆ ที่น�ำมาใชเ้ ป็นยากนั โดยท่ัวไป Book-7.indd 12 3/25/20 19:33

การวเิ คราะหต์ ำ�รบั ยาสมนุ ไพรในจารึกตำ�รายาวดั ราชโอรสารามราชวรวหิ าร  13 ล�ำดับทข่ี องตำ� รบั ในตำ� รา: ๏๒ ๒บทท่ี ช่ือโรค: ลมอัควารันตะ อาการ: ใหเ้ จบ็ ทวั่ สรรพางค์ มักให้หนาว มกั ใหพ้ รงึ ทง้ั ตวั ให้คันทงั้ ตัว สรรพคณุ ของต�ำรบั : แก้ลมอคั วารนั ตะ สว่ นประกอบของต�ำรับ: ตาเสือต้น ๑ ผกั เบี้ยหนู ๑ พุทรา ๑ กระทุม่ นา ๑ หอมแดง ๑ พันธ์ผุ ักกาด ๑ แทงทวย ๑ โพบาย ๑ ลกู จันทน์ ๑ ดอกจนั ทน์ ๑ ดีปลี ๑ วธิ ีปรุงยา: ตำ� เป็นผง ละลายน�้ำผ้งึ ปัน้ เป็นลูกกลอน รูปแบบยา: ลูกกลอน กระสายยา: น�ำ้ ผงึ้ วิธใี ช:้ กนิ รายละเอียดของตวั ยา/สมนุ ไพรในต�ำรบั ล�ำดบั ตัวยา/สมนุ ไพร สว่ นท่ีใช้ ชื่อวิทยาศาสตร์ ชือ่ วงศ์ ปริมาณท่ใี ช้ ๑ ตาเสือตน้ *เปลือกตน้ Aphanamixis polystachya (Wall.) Meliaceae ๑ ส่วน R. Parker ๒ ผกั เบี้ยหนู *ท้งั ตน้ Portulaca quadrifida L. Portulacaceae ๑ สว่ น ๓ พทุ รา *เปลอื กตน้ Ziziphus jujuba Mill. Rhamnaceae ๑ ส่วน *พุทราป่า ๔ กระทมุ่ นา *เปลือกตน้ Mitragyna diversifolia Rubiaceae ๑ สว่ น (Wall. ex G. Don) Havil. ๕ หอมแดง *หวั Eleutherine bulbosa (Mill.) Urb. Iridaceae ๑ ส่วน *ว่านหอมแดง ๖ พันธผุ์ ักกาด *เมล็ด Brassica juncea (L.) Czern. Brassicaceae ๑ สว่ น ๗ แทงทวย *เปลือกต้น Mallotus philippensis (Lam.) Euphorbiaceae ๑ ส่วน *มะกายคัด Müll. Arg. ๘ โพบาย *เปลือกตน้ Balakata baccata (Roxb.) Esser Euphorbiaceae ๑ สว่ น ๙ ลูกจนั ทน์ *เมลด็ Myristica fragrans Houtt. Myristicaceae ๑ ส่วน ๑๐ ดอกจนั ทน์ *เยื่อหมุ้ เมลด็ Myristica fragrans Houtt. Myristicaceae ๑ ส่วน ๑๑ ดีปลี *ช่อผล Piper retrofractum Vahl Piperaceae ๑ สว่ น หมายเหต ุ * ตัวยา/สมุนไพร ส่วนท่ีใช้และชื่อวิทยาศาสตร์เป็นความเห็นร่วมของคณะผู้ทรงคุณวุฒิ ทส่ี รุปมาจากส่วนของสมุนไพรชนิดนั้น ๆ ท่ีนำ� มาใชเ้ ปน็ ยากันโดยทว่ั ไป Book-7.indd 13 3/26/20 13:26

14  ค�ำ อธิบายจารกึ ตำ�รายาวดั ราชโอรสารามราชวรวิหาร ล�ำดบั ทีข่ องตำ� รับในตำ� รา: ๏๓ ชือ่ โรค: ลมภุมรา อาการ: เกดิ ในหวั ใจขึ้นมาถงึ ศีรษะแลใหค้ ันหู คนั หน้าตา กินอาหารมิได้ สรรพคุณของต�ำรบั : แก้ลมภุมรา ส่วนประกอบของต�ำรบั : บุกหัวใหญ่ ๑ ลกู จนั ทน์ ๑ ดอกจันทน์ ๑ ดองดงึ ๑ สะค้าน ๑ ดปี ลี ๑ กระวาน ๑ สัตตบุษย์ ๑ ตะเคยี น ๑ ลนิ้ ทะเล ๑ เอาเสมอภาค วธิ ปี รงุ ยา: คว้านหวั บุกเปน็ หลุม เทเหล้าทะนาน (๑ ลติ ร) ตำ� ผงยาใสล่ งในหวั บกุ ปิดผนกึ ให้มิด สมุ ไฟดว้ ยแกลบให้สุก รูปแบบยา: ยาสมุ วธิ ใี ช:้ กิน รายละเอยี ดของตวั ยา/สมนุ ไพรในตำ� รบั ล�ำดับ ตวั ยา/สมนุ ไพร สว่ นทใี่ ช้ ชอื่ วิทยาศาสตร์ ช่ือวงศ์ ปริมาณที่ใช้ ๑ ส่วน ๑ บุกหัวใหญ่ หัวขนาดใหญ่ Araceae *บุกคางคก Amorphophallus paeoniifolius ๑ ส่วน *บุกรอ (Dennst.) Nicolson หรอื ๑ ส่วน Amorphophallus saraburiensis ๑ สว่ น Gagnep. ๑ สว่ น ๒ ลูกจนั ทน์ *เมล็ด Myristica fragrans Houtt. Myristicaceae ๑ ส่วน ๑ ส่วน ๓ ดอกจนั ทน์ *เยอ่ื หุม้ เมล็ด Myristica fragrans Houtt. Myristicaceae ๑ ส่วน ๔ ดองดงึ *หัว Gloriosa superba L. Colchicaceae ๕ สะค้าน *เถา Piper wallichii (Miq.) Piperaceae Hand.-Mazz. ๖ ดปี ลี *ชอ่ ผล Piper retrofractum Vahl Piperaceae ๗ กระวาน *ผล Amomum testaceum Ridl. Zingiberaceae ๘ สัตตบษุ ย์# *เมลด็ Pimpinella anisum L. Apiaceae (Umbelliferae) หมายเหตุ * ตัวยา/สมุนไพร ส่วนท่ีใช้และชื่อวิทยาศาสตร์เป็นความเห็นร่วมของคณะผู้ทรงคุณวุฒิ ทสี่ รุปมาจากส่วนของสมุนไพรชนิดนัน้  ๆ ท่นี �ำมาใชเ้ ปน็ ยากันโดยทัว่ ไป Book-7.indd 14 2/11/20 15:58

การวเิ คราะหต์ ำ�รบั ยาสมุนไพรในจารึกตำ�รายาวดั ราชโอรสารามราชวรวหิ าร  15 ล�ำดับ ตวั ยา/สมนุ ไพร ส่วนทใี่ ช้ ช่อื วิทยาศาสตร์ ชื่อวงศ์ ปรมิ าณท่ใี ช้ ๙ ชนั ตะเคยี น *ยาง Hopea odorata Roxb. Dipterocapaceae ๑ สว่ น *ตะเคียนทอง *กระดองของ Sepia spp. ปลาหมึก Sepiidae ๑ สว่ น ๑๐ ล้ินทะเล กระดอง #ต�ำรายาศิลาจารึกในวัดโพธร์ิ ะบวุ า่ เทยี นสัตตบุษย์ ๒บทที่ ล�ำดบั ทข่ี องตำ� รบั ในตำ� รา: ๏๔ ชื่อโรค: ลมสรรพวาโย อาการ: ใหจ้ บั เป็นคราว ๆ เวน้ ทีหนึ่ง ให้เจบ็ หลงั แลเกลียวคอหนัก สรรพคุณของตำ� รบั : แก้สรรพวาโย (แกล้ มทง้ั ปวง) ส่วนประกอบของตำ� รับ: พันธุ์ผักกาด ๑ หอมแดง ๑ มะรุม ๑ ไพล ๑ ผักเบ้ียหนู ๑ มะนาว ๑ โลดแดง ๑ โกฐเขมา ๑ เทียนด�ำ ๑ สารส้ม ๑ (ต�ำ) วิธีปรงุ ยา: ตำ� เปน็ ผง รูปแบบยา: ยาผง กระสายยา: นำ�้ ผึ้ง วิธีใช้: ละลายน�ำ้ ผึ้ง กนิ รายละเอียดของตัวยา/สมุนไพรในตำ� รบั ลำ� ดบั ตวั ยา/สมุนไพร สว่ นท่ใี ช้ ชอื่ วิทยาศาสตร์ ช่ือวงศ์ ปรมิ าณทใ่ี ช้ ๑ พนั ธ์ุผกั กาด *เมล็ด Brassica juncea (L.) Czern. Brassicaceae ๑ สว่ น ๒ หอมแดง *หัว Eleutherine bulbosa (Mill.) Urb. Iridaceae ๑ สว่ น *ว่านหอมแดง ๓ มะรุม *เปลอื กต้น Moringa oleifera Lam. Moringaceae ๑ ส่วน ๔ ไพล *เหง้า Zingiber montanum (J.Koenig) Zingiberaceae ๑ สว่ น Link ex A. Dietr. หมายเหต ุ * ตัวยา/สมุนไพร ส่วนท่ีใช้และช่ือวิทยาศาสตร์เป็นความเห็นร่วมของคณะผู้ทรงคุณวุฒิ ทสี่ รุปมาจากส่วนของสมุนไพรชนิดน้นั  ๆ ที่น�ำมาใช้เปน็ ยากันโดยทว่ั ไป Book-7.indd 15 2/11/20 15:58

16  ค�ำ อธบิ ายจารึกตำ�รายาวัดราชโอรสารามราชวรวิหาร ลำ� ดับ ตัวยา/สมนุ ไพร ส่วนที่ใช้ ชอ่ื วทิ ยาศาสตร์ ช่ือวงศ์ ปรมิ าณทใ่ี ช้ ๕ ผกั เบ้ยี หนู *ท้ังต้น Portulaca quadrifida L. Portulacaceae ๑ สว่ น ๖ มะนาว *ผล Citrus aurantiifolia (Christm.) Rutaceae ๑ ส่วน Swingle ๗ โลดแดง (โรกแดง) *ล�ำต้น Dioecrescis erythroclada (Kurz) Rubiaceae ๑ สว่ น *มะคงั แดง Tirveng. ๘ โกฐเขมา *ราก Atractylodes lancea (Thunb.) Asteraceae ๑ ส่วน DC. (Compositae) ๙ เทยี นดำ� *เมล็ด Nigella sativa L. Ranunculaceae ๑ สว่ น ๑๐ สารส้ม (ตำ� ) *ผลกึ Hydrated potassium aluminium ๑ สว่ น สารส้ม sulphate (สะตุ) หมายเหตุ * ตัวยา/สมุนไพร ส่วนที่ใช้และชื่อวิทยาศาสตร์เป็นความเห็นร่วมของคณะผู้ทรงคุณวุฒิ ทส่ี รุปมาจากสว่ นของสมนุ ไพรชนิดนั้น ๆ ที่น�ำมาใชเ้ ปน็ ยากนั โดยทั่วไป Book-7.indd 16 2/11/20 15:58

ชดุ ตำราภูมปิ ญ ญาการแพทยแ ผนไทย ฉบับอนุรกั ษ ภาพจารึกแผนที่ 2 คำจารกึ แผน ท่ี ๒ กองคมุ้ ครองภมู ิปญั ญาการแพทย์แผนไทยและพื้นบ้านไทย ๑. ๏ สิทธกิ าริ (ย) ๒. ถาผูช ายเปนโรคสำหรบั บุ ๓. รษุ ไสดวนไสลามแลใหแ ดกอกเปนนำ้ ๔. เหลืองไหลเทราะอยูทังกลางคนื กลางวนั ใหเจบปวดดังจะ ย๕. ขาดใจตายฯ ถาจะแกเอาหววั กะทิสด ใบมะระ ใบเถาคนั เปลือกวา 4 ้านไท๖. เปลือกโพบาย เปลอื กพกิ นุ ใบตอไส ขะม้ินออย ตำเอานำ้ จอก ๑ เอานำ้ มันงาจอกหงุ ะพ้ืนบ๗. ใหค งแตน ำ้ มนั จ่งึ เอาสีผ้ึงใสลงใหเหมอื นสผี ึ้งสีปาก เอาฝุนจีนใสเ คล าไปใหส บกนั แลวจึง่ ปด เถิด ยแล๘. หายแล ๚ แลว ใหต มยาชะ เปลือกโพบาย เปลอื กวา เปลือกจกิ เปลือกมะมว งกลอน ใบขดั มอน ์แผนไทผกั บงุ รวม ทย๙. ผักบุงไท ผลในมกอก สับใหแลกใสตมเอาน้ำไวใหเย็น แลวชะแผลทุกวันหาย ๚ แลวจ่ึงทำยา าการแพโรยปากแผล เอาหววั กลา ญ๑๐. (ม)ะ พราวคูดเอาผง เมดในมะนาว เบญจะกานี สีเสียดท้ังสอง รากมะนาว ดินแดงเทษ ิปญัเอาเสมอภาก รองภูม๑๑. (ตํ)ากรองไหล ะเอียด ใหเ ขาลายมอื แลวโรยเถดิ แลว ชะเสียทุกวันใหโ รยทุกวนั หาย ุ้มค๑๒. สผี ้งึ ขนานหนึง่ เอา ชันรำโรง ๑ สผี ึ้งแฃง ชันยอ ย ๑ ชันตเคียน กองค๑๓. สเี สียดทังสอง ๑ เบญจะกานี ๑ สผี ึ้งแดง น้ำมันงาหุงเปนสี ๑๔. ผง้ึ ปดโรคสำหรับเปอ ยลามเปนหนองเปนนำ้ ๑๕. เหลืองไหลอยศู กศกหายแลได ๑๖. แลวประสิทธอิ ยาสน ๑๗. เทห เลย Book-7.indd 17 2/11/20 15:58

18  คำ�อธิบายจารึกต�ำ รายาวดั ราชโอรสารามราชวรวหิ าร ค�ำอา่ นจารึกแผ่นที่ ๒ ชอื่ ต้นฉบับ: คำ� อา่ นจารึกแผ่นที่ ๒ ล�ำดับท่ีของตำ� รับในต�ำรา: ๏๕ ชื่อโรค: ไส้ด้วนไส้ลาม อาการ: ไส้ด้วนไส้ลามแลให้แตกออก เป็นน�้ำเหลืองไหลเซาะอยู่ทั้งกลางคืนกลางวัน ใหเ้ จบ็ ปวด ดังจะขาดใจตาย สรรพคณุ ของตำ� รับ: แกโ้ รคส�ำหรบั บุรษุ ไส้ด้วนไสล้ าม ส่วนประกอบของต�ำรบั : หัวกะทิสด ใบมะระ ใบเถาคัน เปลือกหว้า เปลือกโพบาย เปลอื กพกิ ลุ ใบตอ่ ไส้ ขม้นิ อ้อย วิธปี รุงยา: ตำ� คัน้ เอาน�้ำ ๑ จอก ผสมน�้ำมนั งา ๑ จอก นำ� ไปหุงจนเหลอื แต่นำ้� มัน ผสมขผ้ี ้งึ แลว้ เอาฝนุ่ จีน ใส่ลงไปคลุกเคลา้ ใหเ้ ข้ากนั รูปแบบยา: ข้ีผึง้ กระสายยา: นำ�้ มันงา ข้ีผงึ้ ฝนุ่ จนี วธิ ใี ช้: ทาแผล รายละเอียดของตัวยา/สมนุ ไพรในต�ำรับ ล�ำดบั ตวั ยา/สมุนไพร สว่ นที่ใช้ ช่อื วิทยาศาสตร์ ชอื่ วงศ์ ปริมาณทใ่ี ช้ ๑ หวั กะทสิ ด น้�ำคน้ั จากเน้อื Cocos nucifera L. Arecaceae ๑ สว่ น ผลแก่ ๒ ใบมะระ ใบ Momordica charantia L. Cucurbitaceae ๑ สว่ น *มะระจีน ๓ ใบเถาคัน ใบ Parthenocissus quinquefolia Vitaceae ๑ สว่ น *เถาคันแดง (L.) Planch. ๔ เปลือกหว้า เปลอื กตน้ Syzygium cumini (L.) Skeels Myrtaceae ๑ ส่วน ๕ เปลอื กพิกลุ เปลอื กตน้ Mimusops elengi L. Sapotaceae ๑ สว่ น หมายเหตุ * ตัวยา/สมุนไพร ส่วนท่ีใช้และชื่อวิทยาศาสตร์เป็นความเห็นร่วมของคณะผู้ทรงคุณวุฒิ ท่ีสรปุ มาจากสว่ นของสมนุ ไพรชนิดนั้น ๆ ทนี่ �ำมาใชเ้ ป็นยากนั โดยทัว่ ไป Book-7.indd 18 2/11/20 15:58

การวิเคราะหต์ ำ�รับยาสมุนไพรในจารกึ ตำ�รายาวดั ราชโอรสารามราชวรวหิ าร  19 ล�ำดบั ตัวยา/สมุนไพร สว่ นที่ใช้ ช่อื วิทยาศาสตร์ ช่อื วงศ์ ปริมาณที่ใช้ ๖ ใบต่อไส้ ใบ ๑ ส่วน Allophylus cobbe (L.) Sapindaceae ๗ ขม้นิ อ้อย *เหงา้ Raeusch. ๑ ส่วน Curcuma zedoaria (Christm.) Zingiberaceae Roscoe ล�ำดับทข่ี องตำ� รบั ในตำ� รา: ๏๖ ๒บทท่ี ชื่อโรค: ไสด้ ้วนไส้ลาม อาการ: ไส้ด้วนไส้ลามแลให้แตกออก เป็นน้�ำเหลืองไหลเซาะอยู่ท้ังกลางคืนกลางวัน ให้เจ็บปวด ดังจะขาดใจตาย สรรพคุณของต�ำรบั : แกโ้ รคส�ำหรบั บรุ ุษ ไสด้ ว้ นไส้ลาม สว่ นประกอบของต�ำรับ: เปลือกโพบาย เปลือกหว้า เปลือกจิก เปลือกมะม่วงกะล่อน ใบขดั มอน ผักบุ้งร้วม ผักบุง้ ไทย ผลในมะกอก วิธีปรงุ ยา: สบั ให้แหลก ต้มกบั นำ�้ ท้งิ ไวใ้ ห้เยน็ รปู แบบยา: ยาตม้ วธิ ใี ช:้ ล้างแผลทุกวนั รายละเอยี ดของตัวยา/สมนุ ไพรในตำ� รบั ล�ำดับ ตัวยา/สมนุ ไพร สว่ นที่ใช้ ชื่อวทิ ยาศาสตร์ ชอื่ วงศ์ ปรมิ าณทใ่ี ช้ ๑ เปลือกโพบาย เปลือกต้น Balakata baccata (Roxb.) Esser Euphorbiaceae ๑ สว่ น ๒ เปลือกหว้า เปลือกต้น Syzygium cumini (L.) Skeels Myrtaceae ๑ ส่วน ๓ เปลือกจกิ เปลอื กตน้ Barringtonia acutangula (L.) Lecythidaceae ๑ สว่ น Garetn. ๔ เปลือกมะมว่ ง เปลือกต้น Mangifera caloneura Kurz Anacardiaceae ๑ สว่ น กะลอ่ น *มะมว่ งป่า ๕ ใบขัดมอน ใบ Sida rhombifolia L. Malvaceae ๑ ส่วน หมายเหต ุ * ตัวยา/สมุนไพร ส่วนท่ีใช้และชื่อวิทยาศาสตร์เป็นความเห็นร่วมของคณะผู้ทรงคุณวุฒิ ที่สรุปมาจากส่วนของสมุนไพรชนิดนั้น ๆ ท่นี �ำมาใช้เปน็ ยากันโดยทวั่ ไป Book-7.indd 19 2/11/20 15:58

20  ค�ำ อธิบายจารึกตำ�รายาวดั ราชโอรสารามราชวรวหิ าร ล�ำดับ ตวั ยา/สมนุ ไพร สว่ นทีใ่ ช้ ชื่อวิทยาศาสตร์ ชื่อวงศ์ ปรมิ าณท่ีใช้ ๖ ผกั บุ้งรว้ ม *ท้ังตน้ Enydra fluctuans DC. Asteraceae ๑ สว่ น (Compositae) ๗ ผักบุง้ ไทย *ท้ังตน้ Ipomoea aquatica Forssk. Convolvulaceae ๑ ส่วน ๘ ผลในมะกอก *เมล็ด Spondias pinnata (L. f.) Kurz Anacardiaceae ๑ ส่วน ล�ำดับทขี่ องตำ� รับในตำ� รา: ๏๗ ชื่อโรค: ไสด้ ้วนไส้ลาม อาการ: ไส้ด้วนไส้ลามแลให้แตกออก เป็นน้�ำเหลืองไหลเซาะอยู่ท้ังกลางคืนกลางวัน ใหเ้ จบ็ ปวด ดังจะขาดใจตาย สรรพคณุ ของตำ� รับ: แกโ้ รคสำ� หรับบรุ ษุ ไส้ดว้ นไส้ลาม ส่วนประกอบของตำ� รบั : หัวกะลามะพรา้ วขูดเอาผง เมด็ ในมะนาว เบญกานี สเี สยี ดท้ังสอง รากมะนาว ดนิ แดงเทศ เอาเสมอภาค วธิ ีปรงุ ยา: ตำ� แลว้ กรองให้ละเอยี ด รูปแบบยา: ยาผง วิธใี ช้: โรยแผลทุกวนั รายละเอียดของตัวยา/สมุนไพรในต�ำรับ ล�ำดบั ตวั ยา/สมนุ ไพร สว่ นทีใ่ ช้ ชอื่ วิทยาศาสตร์ ชือ่ วงศ์ ปรมิ าณทีใ่ ช้ ๑ หัวกะลามะพรา้ ว กะลา Cocos nucifera L. Arecaceae ๑ ส่วน Rutaceae ๑ ส่วน ๒ เมด็ ในมะนาว *เมลด็ Citrus aurantiifolia (Christm.) Swingle Fagaceae ๑ ส่วน ๓ เบญกานี *เปน็ ปุ่มหดู Quercus infectoria G. (gall) Olivier ทไี่ ด้จากต้น หมายเหต ุ * ตัวยา/สมุนไพร ส่วนที่ใช้และช่ือวิทยาศาสตร์เป็นความเห็นร่วมของคณะผู้ทรงคุณวุฒิ ทีส่ รปุ มาจากส่วนของสมุนไพรชนดิ น้นั  ๆ ทน่ี �ำมาใช้เปน็ ยากันโดยท่วั ไป Book-7.indd 20 2/11/20 15:58

การวเิ คราะห์ตำ�รบั ยาสมนุ ไพรในจารึกต�ำ รายาวดั ราชโอรสารามราชวรวิหาร  21 ลำ� ดับ ตวั ยา/สมนุ ไพร สว่ นทใี่ ช้ ช่ือวทิ ยาศาสตร์ ช่อื วงศ์ ปริมาณท่ใี ช้ อย่างละ ๔ สีเสยี ดทั้งสอง *ยาง ส่งิ สกัด Acacia catechu (L. f.) Fabaceae ๑ ส่วน -*สีเสยี ดไทย จากเปลือก Willd. Rubiaceae -*สเี สียดเทศ และต้น Uncaria gambir (Hunter) ๒๑ ส่วน (oleoresin) Roxb. บทท่ี ๑ สว่ น ๕ รากมะนาว ราก Citrus aurantiifolia Rutaceae (Christm.) Swingle ๖ ดินแดงเทศ *ธาตวุ ตั ถุ ยังไมส่ ามารถระบุได้ ล�ำดบั ทขี่ องตำ� รับในต�ำรา: ๏๘ ชอื่ โรค: ไส้ด้วนไสล้ าม อาการ: ไส้ด้วนไส้ลามแลให้แตกออก เป็นน�้ำเหลืองไหลเซาะอยู่ทั้งกลางคืนกลางวัน ให้เจบ็ ปวด ดังจะขาดใจตาย สรรพคณุ ของตำ� รบั : แก้แผลเป่อื ยลามเป็นหนอง ทำ� ให้น�้ำเหลอื งหยดุ ไหล ส่วนประกอบของตำ� รบั : ชันร�ำโรง ๑ บาท สีผ้ึงแข็ง ชันย้อย ๑ สลึง ชันตะเคียน สเี สียดทั้งสอง ๑ เฟือ้ ง เบญกานี ๑ เฟื้อง สผี ึง้ แดง นำ้� มนั งา วิธปี รงุ ยา: หงุ ใหค้ งแต่น้�ำมัน รปู แบบยา: ขี้ผึ้ง วธิ ีใช้: ทาแผล รายละเอยี ดของตวั ยา/สมนุ ไพรในตำ� รับ หมายเหตุ * ตัวยา/สมุนไพร ส่วนที่ใช้และชื่อวิทยาศาสตร์เป็นความเห็นร่วมของคณะผู้ทรงคุณวุฒิ ทสี่ รปุ มาจากส่วนของสมุนไพรชนิดนั้น ๆ ท่นี ำ� มาใชเ้ ปน็ ยากันโดยทั่วไป Book-7.indd 21 3/25/20 19:34

22  คำ�อธิบายจารกึ ตำ�รายาวดั ราชโอรสารามราชวรวิหาร ลำ� ดบั ตวั ยา/สมนุ ไพร ส่วนที่ใช้ ชอื่ วิทยาศาสตร์ ชอ่ื วงศ์ ปริมาณทใี่ ช้ ๑ ชนั รำ� โรง *ไขผง้ึ หรือยางไม้ ชันรงมหี ลายชนดิ แต่ Apidae ๑ บาท *ชนั รง ส่วนใหญ่ท่ีมีความสัมพันธ์ กับมนุษย์อยใู่ นสกุล Trigona และ Melipona ๒ สผี งึ้ แข็ง ไขมันจากปลาวาฬ Physeter Physeteridae ๑ สลึง *ไขปลาวาฬ microcephalus (วาฬสเปิร์ม (Linnaeus, 1758) หรือ วาฬหวั ทยุ ) ๓ ชนั ย้อย *ยางจากตน้ Shorea obtuse Wall. Dipterocarpaceae ๑ สลงึ *ตน้ เตง็ ๔ ชนั ตะเคียน *ยาง Hopea odorata Roxb. Dipterocapaceae ๑ เฟอื้ ง *ตะเคียนทอง ๕ สีเสียดทงั้ สอง *ยาง ส่ิงสกดั Acacia catechu (L.f.) Fabaceae อย่างละ -*สีเสียดไทย จากเปลือก Willd. ๑ เฟ้ือง -*สเี สียดเทศ และต้น Uncaria gambir Rubiaceae (oleoresin) (Hunter) Roxb. ๖ เบญกานี *เปน็ ปมุ่ หูด (gall) Quercus infectoria G. Fagaceae ๑ เฟือ้ ง ที่ได้จากต้น Olivier ๗ สีผงึ้ แดง *เป็นข้ีผึ้งจากรงั ผึ้ง ยังไมส่ ามารถระบไุ ด้   ๑ สว่ น เคี่ยวกับกะทผิ สมด้วย คร่ัง ๘ นำ้� มนั งา *นำ�้ มนั ที่ไดจ้ าก Sesamum indicum L. Pedaliaceae ๑ สว่ น เมลด็ งา หมายเหต ุ * ตัวยา/สมุนไพร ส่วนท่ีใช้และชื่อวิทยาศาสตร์เป็นความเห็นร่วมของคณะผู้ทรงคุณวุฒิ ท่สี รุปมาจากสว่ นของสมนุ ไพรชนดิ นน้ั  ๆ ที่นำ� มาใชเ้ ปน็ ยากนั โดยท่ัวไป Book-7.indd 22 3/25/20 19:35

จารกึ ตำรายาวดั ราชโอรสารามราชวรวิหาร ภาพจารกึ แผนที่ 3 คำจารกึ แผนท่ี 3 กองคมุ้ ครองภูมปิ ัญญาการแพทยแ์ ผนไทยและพนื้ บ้านไทย ๑. ๏สทิ ธิการยิ ะ ๒. อธิบายวา ทรุ าวสา ๔ ประการ ๓. น้นั คือ เบาเปนมันเจือกนั กบั ปุบโพมศี รี ๔. เหลือง ๑ คือเปนมนั เจอื กนั กับโลหิตมศี รีแดง ๑ ย๕. คอื เบาเปนมันศรดี ำ ๑ คือเบาเปนมนั ศรขี าว ๑ อันวาโรคทุราวสาทงั ้านไท๖. ส่ปี ระการเมือ่ เบาออกมาเปนมนั ศรดี ำ เปนประมาณพระอาจารยสำแดงไวดังกลาว 7 ะพน้ื บ๗. มานี ๚1 ถา จะแกเ อาการบูร เทียนดำ ลกู แตงแตว เปลือกไขเ นา ลูกเอน วานนำ้ แหว หมู ขีงแหง ไทยแล๘. ทำเปนจุลลายน้ำผ้ึงกินหาย ๚2 ขนานหนึ่งเอาสมออัพยา มหาหิง เจตมูล ดีปลี น้ำประสารทอง แ์ ผนโคกกะสูน สารสม าการแพทย๙. ส่งิ ละ ๑๚3 เทียนดำ ๑ ดอกคำ 2 เอาเสมอภากทำเปนจลุ ลายนำ้ มนาวกนิ โรคเบาแดง หายแล ขนานหนึ่ง เอาแหว ญ๑๐. เทยี นดำ รากมะตมู ใบเสดา รากเสนียด ใบอังกาบ ลูกเอน โกดสอ เกลือสินเทา ทำเปนจลุ ลาย มู ิปัญ๑๑. นำ้ ออยแดงกนิ อาจบำบัดเสียซง่ึ โรคเบาขาวเบาดำไหกินวินาศฉบิ หาย ๚4 ขนานหน่งึ เอา รองภ๑๒. โกดสอ อบเชย ลูกประคำดีควาย เจตมูล บรเพช โมกมนั ชมดตน มหา กองคมุ้ ค๑๓. หงิ โคกกะสูน การพลู พิลงั กาษา พรกิ ลอน เปราะหอม จงี จอ ๑๔. ทัง้ สาม เทียนทงั้ หา ทำเปนจลุ ลายน้ำผงึ้ กนิ แก ๑๕. ทุราวสา ๑๒ ประการ แกเบาเปน ๑๖. หนองแลเลอื ดแลสำ ๑๗. ลาบหาย ๚ะ Book-7.indd 23 2/11/20 15:58

24  ค�ำ อธิบายจารึกต�ำ รายาวดั ราชโอรสารามราชวรวิหาร คำ� อา่ นจารึกแผ่นที่ ๓ ชือ่ ต้นฉบับ: คำ� อ่านจารึกแผน่ ที่ ๓ ลำ� ดับท่ขี องต�ำรบั ในตำ� รา: ๏๙ ชือ่ โรค: ปัสสาวะพกิ าร อาการ: ทุราวสา ๔ ประการนน้ั คอื เบาเปน็ มัน เจือกนั บพุ โพมีสีเหลือง ๑ คือ เบาเป็นมนั เจือกันกับโลหิตมีสีแดง ๑ คือ เบาเป็นมันสีด�ำ ๑ คือ เบาเป็นมันสีขาว ๑ อันว่าโรค ทรุ าวสาทงั้ ๔ ประการ เมอ่ื เบาออกมาเปน็ มันสดี �ำเป็นประมาณพระอาจารย์สำ� แดงไว้ สรรพคุณของต�ำรับ: แกป้ สั สาวะพิการ ส่วนประกอบของต�ำรับ: การบูร เทียนด�ำ ลูกแตงแต้ว เปลือกไข่เน่า ลูกเอ็น ว่านน้�ำ แหว้ หมู ขิงแหง้ วธิ ปี รุงยา: บดเปน็ ผงละเอียด รปู แบบยา: ยาผง กระสายยา: น้ำ� ผึ้ง วิธีใช:้ ละลายน�้ำผ้งึ กิน รายละเอยี ดของตวั ยา/สมุนไพรในต�ำรบั ลำ� ดบั ตัวยา/สมุนไพร สว่ นท่ใี ช้ ชือ่ วิทยาศาสตร์ ชื่อวงศ์ ปริมาณท่ใี ช้ ๑ ส่วน ๑ การบูร *สิง่ สกัดจาก Cinnamomum camphora (L.) J. Lauraceae เปลอื กต้น Presl ๑ สว่ น เนือ้ ไมแ้ ละใบ ๑ ส่วน ๑ สว่ น ๒ เทยี นดำ� *เมลด็ Nigella sativa L. Ranunculaceae ๑ ส่วน ๓ ลกู แตงแตว้ ผล ยงั ไมส่ ามารถระบุได้   ๑ ส่วน ๔ เปลือกไข่เน่า เปลือกตน้ Vitex glabrata R. Br. Lamiaceae ๕ ลูกเอน็ ผล Elettaria cardamomum (L.) Zingiberaceae Maton ๖ ว่านนำ้� *เหง้า Acorus calamus L. Acoraceae หมายเหต ุ * ตัวยา/สมุนไพร ส่วนที่ใช้และช่ือวิทยาศาสตร์เป็นความเห็นร่วมของคณะผู้ทรงคุณวุฒิ ท่สี รุปมาจากส่วนของสมนุ ไพรชนดิ นัน้  ๆ ท่นี ำ� มาใช้เป็นยากนั โดยท่วั ไป Book-7.indd 24 3/25/20 19:35

การวิเคราะหต์ ำ�รับยาสมุนไพรในจารึกต�ำ รายาวดั ราชโอรสารามราชวรวิหาร  25 ลำ� ดับ ตวั ยา/สมุนไพร สว่ นที่ใช้ ชือ่ วิทยาศาสตร์ ช่อื วงศ์ ปริมาณท่ใี ช้ Cyperus rotundus L. Cyperaceae ๑ ส่วน ๗ แหว้ หมู *หวั ใตด้ ิน Zingiber ligulatum Roxb. หรอื Zingiber longiligulatum Zingiberaceae ๑ ส่วน ๘ ขิงแห้ง *เหง้า S.Q.Tong ลำ� ดับทข่ี องตำ� รับในตำ� รา: ๑๏๐ ๒บทที่ ชื่อโรค: ปัสสาวะพกิ าร อาการ: ทรุ าวสา ๔ ประการนนั้ คอื เบาเป็นมัน เจอื กนั บุพโพมีสเี หลือง ๑ คอื เบาเป็นมัน เจอื กนั กับโลหิตมีสแี ดง ๑ คือ เบาเปน็ มันสีดำ� ๑ คอื เบาเปน็ มันสขี าว ๑ อันว่าโรคทรุ าว สาทั้ง ๔ ประการ เมือ่ เบาออกมาเป็นมนั สดี ำ� เปน็ ประมาณพระอาจารย์สำ� แดงไว้ สรรพคุณของต�ำรบั : แกโ้ รคเบาแดง (แก้ปสั สาวะมีสีแดง) ส่วนประกอบของต�ำรับ: สมออัพยา มหาหิงคุ์ เจตมูล ดีปลี น�้ำประสารทอง โคกกระสุน สารส้ม สิง่ ละ ๑ เฟ้อื ง เทยี นดำ� ๑ บาท ดอกค�ำ ๒ บาท เอาเสมอภาค วธิ ปี รงุ ยา: บดเป็นผงละเอียด รปู แบบยา: ยาผง กระสายยา: นำ�้ มะนาว วธิ ีใช:้ ละลายน้ำ� มะนาว กนิ รายละเอียดของตวั ยา/สมุนไพรในต�ำรบั ล�ำดับ ตัวยา/สมุนไพร ส่วนทีใ่ ช้ ชอื่ วิทยาศาสตร์ ช่อื วงศ์ ปรมิ าณทใ่ี ช้ Combretaceae ๑ เฟอื้ ง ๑ สมออพั ยา *ผล Terminalia chebula Retz. *สมอไทย ๒ มหาหงิ คุ์ *ยาง ชนั น�้ำมัน Ferula assa-foetida L. Apiaceae ๑ เฟ้อื ง (oleogumresin) (Umbelliferae) จากรากและลำ� ต้น ใต้ดนิ หมายเหตุ * ตัวยา/สมุนไพร ส่วนท่ีใช้และชื่อวิทยาศาสตร์เป็นความเห็นร่วมของคณะผู้ทรงคุณวุฒิ ที่สรปุ มาจากส่วนของสมุนไพรชนิดนนั้  ๆ ท่นี �ำมาใช้เปน็ ยากันโดยท่ัวไป Book-7.indd 25 2/11/20 15:58

26  คำ�อธบิ ายจารึกตำ�รายาวัดราชโอรสารามราชวรวิหาร ล�ำดบั ตัวยา/สมนุ ไพร สว่ นทีใ่ ช้ ชอ่ื วิทยาศาสตร์ ชอื่ วงศ์ ปริมาณทใี่ ช้ ๓ เจตมูล Plumbago indica L. Plumbaginaceae ๑ เฟอื้ ง *เจตมูลเพลงิ แดง *ราก Piper retrofractum Vahl Piperaceae ๑ เฟื้อง ๔ ดีปลี *ช่อผล Sodium borate (borax)   ๑ เฟอ้ื ง ๕ น้�ำประสารทอง *ผงน�้ำ *น�ำ้ ประสานทอง ประสานทอง Zygophyllaceae ๑ เฟือ้ ง ๖ โคกกระสนุ *ทั้งตน้ Tribulus terrestris L. ๑ เฟือ้ ง ๗ สารสม้ *ผลึกสารสม้ Hydrated potassium aluminium   ๑ บาท (สะต)ุ sulphate ๘ เทยี นด�ำ *เมลด็ Nigella sativa L. Ranunculaceae ๙ ดอกค�ำ ดอก Carthamus tinctorius L. Asteraceae ๒ บาท *ค�ำฝอย (Compositae) ลำ� ดับท่ีของต�ำรับในตำ� รา: ๑๏๑ ชือ่ โรค: ปสั สาวะพิการ อาการ: ทุราวสา ๔ ประการนัน้ คอื เบาเป็นมนั เจอื กนั บุพโพมสี เี หลือง ๑ คอื เบาเป็นมนั เจือกนั กับโลหติ มสี ีแดง ๑ คือ เบาเปน็ มนั สดี �ำ ๑ คอื เบาเป็นมนั สีขาว ๑ อนั ว่าโรคทรุ าว สาท้งั ๔ ประการ เมื่อเบาออกมาเป็นมันสดี ำ� เปน็ ประมาณพระอาจารย์สำ� แดงไว้ สรรพคณุ ของตำ� รบั : แก้โรคเบาขาวเบาด�ำ (แกป้ ัสสาวะมสี ีขาวและสดี �ำ) ส่วนประกอบของตำ� รบั : แหว้ เทยี นดำ� รากมะตูม ใบสะเดา รากเสนียด ใบองั กาบ ลกู เอ็น โกฐสอ เกลือสินเธาว์ วิธปี รงุ ยา: ท�ำเปน็ ผงละเอยี ด รปู แบบยา: ยาผง กระสายยา: น�ำ้ อ้อยแดง วธิ ใี ช้: ละลายน�้ำอ้อยแดง กนิ หมายเหตุ * ตัวยา/สมุนไพร ส่วนที่ใช้และช่ือวิทยาศาสตร์เป็นความเห็นร่วมของคณะผู้ทรงคุณวุฒิ ทสี่ รุปมาจากสว่ นของสมุนไพรชนิดนั้น ๆ ท่ีนำ� มาใชเ้ ปน็ ยากันโดยทัว่ ไป Book-7.indd 26 2/11/20 15:58

การวเิ คราะหต์ ำ�รบั ยาสมนุ ไพรในจารกึ ตำ�รายาวัดราชโอรสารามราชวรวหิ าร  27 รายละเอยี ดของตัวยา/สมุนไพรในตำ� รับ ล�ำดบั ตวั ยา/สมุนไพร ส่วนท่ใี ช้ ชอ่ื วิทยาศาสตร์ ชอ่ื วงศ์ ปรมิ าณทีใ่ ช้ ๑ แหว้ # *หัวใต้ดนิ Cyperus rotundus L. Cyperaceae ๑ ส่วน ๒ เทียนด�ำ *เมล็ด Nigella sativa L. Ranunculaceae ๑ ส่วน ๓ รากมะตูม ราก Aegle marmelos (L.) Corrêa Rutaceae ๑ ส่วน ๒๖ ใบอังกาบ ใบ Barleria Cristata L. ๔ ใบสะเดา ใบ Azadirachta indica A. Juss. Meliaceae ๑ ส่วน บทท่ี ๕ รากเสนียด ราก ๑ ส่วน Justicia adhatoda L. Acanthaceae Acanthaceae ๑ สว่ น ๗ ลกู เอน็ ผล Elettaria cardamomum (L.) Zingiberaceae ๑ ส่วน Maton ๘ โกฐสอ *ราก Angelica dahurica (Hoffm.) Apiaceae ๑ ส่วน Benth. & Hook. f. ex Franch. (Umbelliferae) & Sav. var. dahurica ๙ เกลอื สินเธาว์ *ผลึกเกลือ Rock salt   ๑ ส่วน #ตำ� รายาศลิ าจารกึ ในวดั โพธิร์ ะบวุ ่า แห้วหมู ล�ำดับท่ขี องตำ� รับในตำ� รา: ๑๏๒ ช่ือโรค: ปัสสาวะพิการ อาการ: ทุราวสา ๔ ประการนนั้ คือ เบาเป็นมนั เจือกนั บุพโพมสี เี หลอื ง ๑ คอื เบาเปน็ มัน เจือกันกับโลหิตมีสีแดง ๑ คือ เบาเป็นมันสีด�ำ ๑ คือ เบาเป็นมันสีขาว ๑ อันว่าโรค ทุราวสาท้งั ๔ ประการ เมอ่ื เบาออกมาเปน็ มันสีด�ำเปน็ ประมาณพระอาจารยส์ ำ� แดงไว้ สรรพคุณของต�ำรับ: แก้ทุราวสา ๑๒ ประการ แก้อาการปัสสาวะท่ีมีหนองและเลือดปน ออกมา ส่วนประกอบของต�ำรับ: โกฐสอ อบเชย ลูกประค�ำดีควาย เจตมูล บอระเพ็ด โมกมัน ชะมดต้น มหาหิงคุ์ โคกกระสุน กานพลู พิลังกาสา พริกล่อน เปราะหอม จิงจ้อท้ัง ๓ เทียนทง้ั ๕ หมายเหต ุ * ตัวยา/สมุนไพร ส่วนท่ีใช้และช่ือวิทยาศาสตร์เป็นความเห็นร่วมของคณะผู้ทรงคุณวุฒิ ทส่ี รุปมาจากสว่ นของสมุนไพรชนดิ น้ัน ๆ ทนี่ �ำมาใช้เป็นยากันโดยท่วั ไป Book-7.indd 27 2/11/20 15:58

28  ค�ำ อธิบายจารึกต�ำ รายาวัดราชโอรสารามราชวรวิหาร วธิ ปี รงุ ยา: ทำ� เป็นผงละเอียด รูปแบบยา: ยาผง กระสายยา: น�ำ้ ผึ้ง วิธใี ช้: ละลายน้ำ� ผ้งึ กิน รายละเอียดของตวั ยา/สมนุ ไพรในต�ำรบั ลำ� ดับ ตวั ยา/สมุนไพร ส่วนทีใ่ ช้ ชอื่ วทิ ยาศาสตร์ ชื่อวงศ์ ปริมาณทใ่ี ช้ ๑ โกฐสอ *ราก Angelica dahurica Apiaceae ๑ สว่ น (Hoffm.) Benth. & Hook. (Umbelliferae) f. ex Franch. & Sav. var. dahurica ๒ อบเชย *เปลือกชน้ั ใน Cinnamomum verum J. ๑ สว่ น *อบเชยเทศ Presl หรือ Cinnamomum burmanni Lauraceae (Nees & T. Nees) Blume ๓ ลูกประคำ� ดีควาย ผล Sapindus rarak DC. Sapindaceae ๑ สว่ น ๔ เจตมูล Plumbago indica L. ๑ ส่วน *เจตมลู เพลงิ แดง *ราก Plumbaginaceae ๕ บอระเพ็ด *เถา Tinospora crispa (L.) Menispermaceae ๑ ส่วน Hook. f. & Thomson ๖ โมกมนั *เปลือกตน้ Wrightia pubescens R. Apocynaceae ๑ สว่ น Br. ๗ ชะมดต้น *ทัง้ ต้นเหนอื ดิน Abelmoschus moschatus Malvaceae ๑ ส่วน Medik. ๘ มหาหิงค์ุ *ยาง ชันนำ้� มนั Ferula assa-foetida L. Apiaceae ๑ ส่วน (oleogumresin) (Umbelliferae) จากรากและ ลำ� ตน้ ใตด้ นิ ๙ โคกกระสุน *ท้งั ต้น Tribulus terrestris L. Zygophyllaceae ๑ สว่ น หมายเหต ุ * ตัวยา/สมุนไพร ส่วนที่ใช้และช่ือวิทยาศาสตร์เป็นความเห็นร่วมของคณะผู้ทรงคุณวุฒิ ทีส่ รุปมาจากส่วนของสมุนไพรชนิดน้นั  ๆ ท่ีนำ� มาใช้เป็นยากนั โดยทัว่ ไป Book-7.indd 28 3/10/20 14:58

การวเิ คราะห์ต�ำ รับยาสมนุ ไพรในจารึกตำ�รายาวัดราชโอรสารามราชวรวหิ าร  29 ล�ำดับ ตัวยา/สมนุ ไพร สว่ นท่ใี ช้ ชือ่ วิทยาศาสตร์ ชอื่ วงศ์ ปริมาณท่ใี ช้ ๑๐ กานพลู *ดอกตูม Syzygium aromaticum Myrtaceae ๑ สว่ น (L.) Merr. & L. M. Perry ๑๑ พิลงั กาสา *ราก Ardisia polycephala Primulaceae ๑ ส่วน Wall. ex A. DC. ๑๒ พริกล่อน *ผล Piper nigrum L. Piperaceae ๒๑ สว่ น *พริกไทยขาว *หวั Kaempferia galanga L. Zingiberaceae ๑ สว่ น บทท่ี ๑๓ เปราะหอม อยา่ งละ Merremia vitifolia (Burm. ๑ ส่วน ๑๔ จิงจ้อทง้ั สาม f.) Hallier f. -*จิงจ้อเหลือง -*จงิ จอ้ เหลีย่ ม *ผล Operculina turpethum Convolvulaceae -*จงิ จอ้ ขาว (L.) Silva Manso Merremia umbellata (L.) Hallier f. ๑๕ เทียนทัง้ ห้า Nigella sativa L. Ranunculaceae อยา่ งละ -*เทียนด�ำ Lepidium sativam L. Brassicaceae ๑ สว่ น -*เทยี นแดง (Cruciferae) -*เทยี นขาว *เมลด็ Cuminum cyminum L. Foeniculum vulgare Mill. Apiaceae -*เทยี นข้าวเปลือก Anethum graveolens L. (Umbelliferae) -*เทยี นตาต๊กั แตน หมายเหต ุ * ตัวยา/สมุนไพร ส่วนที่ใช้และชื่อวิทยาศาสตร์เป็นความเห็นร่วมของคณะผู้ทรงคุณวุฒิ ท่สี รปุ มาจากส่วนของสมุนไพรชนิดนน้ั  ๆ ทนี่ �ำมาใช้เป็นยากันโดยทว่ั ไป Book-7.indd 29 3/25/20 19:36

ชุดตำราภูมิปญญาการแพทยแผนไทย ฉบบั อนุรักษ ภาพจารึกแผนท่ี 4 คำจารกึ แผนท่ี 4 กองคุม้ ครองภูมปิ ญั ญาการแพทย์แผนไทยและพ้นื บา้ นไทย ๑. สิทธกิ ารยิ ะ ๒. กรอน ๕ ประการนน้ั ๓. ชอื อนิ ท ๑ กลอ มลม ๑ กลอนน้ำ ๑ ๔. กลอนหิน ๑ กรอ นเอน ๕ ประการแลกลอนเลอื ด ๑ ย๕. กลอนนำ้ นนั้ ใหบ งั เกดิ เพ่อื เลอื ดแลนำ้ เหลอื ง กลอ นแหง น้ัน ไท10 า้ น๖. ใหต ิดกะดกู อยู แลใหเจบทองแลเมอ่ื ยแขงขาแลใหเจบอกขดั โครงแล ะพืน้ บ๗. กลอ น อนึ่งครั้นนวดรอ งดังจอๆ ใหป ะโครงแลอกเสยี ดศรีขางทองแลหวั เหนา เปนดั่งน้ี ยแล๘. ถาจะแกใหนวดเสียกอนจึ่งใหกินยาขนานนี้เถิด ฯ ทานใหเอาเปลือกข้ีเหลก 1 สมกุงทังสอง แ์ ผนไทสิ่งละ 3 กกโคก ทย๙. กะออม 1 1 รากชาพลู 2 2 รากตองแตก 5 รากทรงบาดาน 1 1 รากเจตมูลเพลิง 2 2 าการแพผักเสยี้ นไท 6 กระทกรก 1 2 แกน ญ๑๐. แสมทงั สองส่งิ ละ 4 2 แกนปรู 4 2 แกน มหาด 4 2 แกนมเกลอื 4 2 แกน สักหิน 1 1 ปิ ญัยาเขา รองภมู๑๑. เยน็ ทงั สองสิ่งละ 7 2 ถาจะดองสรุ าแตภอทว ม ถา จะตม ใสน ้ำใหมากกวาดองแลว ุม้ ค๑๒. จึง่ เอามหาหงิ 1 1 การบูร 1 1 ลูกจัน 1 พริกไท 1 1 ขิง 1 2 ดีปลี 1 2 กองค๑๓. สคา น 8 2 รำหดั เกลือแตน อยปรุงลง เม่อื จะกินเอาเทียร ๑ ๑๔. เลม หมากตรวย ๑ เม่ยี งคำ ๑ ขนมสงิ่ ๑ แลว จงึ ๑๕. กนิ เอาเงินผกู คอมอ 1 ถาจะดองฝง ๑๖. เขา เปลือกสามวนั ยานค้ี า 1 ๑๗. ทองหนง่ึ ๚ Book-7.indd 30 2/11/20 15:58

การวิเคราะหต์ �ำ รับยาสมุนไพรในจารึกตำ�รายาวดั ราชโอรสารามราชวรวิหาร  31 คำ� อ่านจารกึ แผ่นท่ี ๔ ๒บทท่ี ช่ือต้นฉบับ: ค�ำอ่านจารึกแผ่นที่ ๔ ล�ำดับท่ขี องตำ� รบั ในตำ� รา: ๑๏๓ ช่ือโรค: กล่อน อาการ: กล่อน ๕ ประการนั้น ชื่อ อินท์ ๑ กล่อนลม ๑ กล่อนน้�ำ ๑ กล่อนหิน ๑ กล่อนเอ็น ๕ ประการ และกล่อนเลือด ๑ กล่อนน้�ำนั้นให้บังเกิดเพ่ือเลือดและน้�ำเหลือง กล่อนแห้งน้ัน ให้ติดกระดูกอยู่และให้เจ็บท้องและเม่ือยแข้งขา และให้เจ็บอกขัดโครง และกลอ่ นอน่งึ คร้นั นวดรอ้ งดงั จอ้  ๆ ให้ปะโครงและอก เสยี ดสีข้าง ทอ้ งและหวั หนา่ ว สรรพคณุ ของต�ำรบั : แกก้ ลอ่ น ๕ ประการ สว่ นประกอบของต�ำรับ: เปลือกข้ีเหล็ก ๑ ต�ำลึง ส้มกุ้งทั้งสอง ส่ิงละ ๓ บาท กกโคกกระออม ๑ ต�ำลึง ๑ บาท รากช้าพลู ๒ ต�ำลึง ๒ บาท รากตองแตก ๕ ต�ำลึง รากทรงบาดาล ๑ ต�ำลึง ๑ บาท รากเจตมูลเพลิง ๒ ต�ำลงึ ๒ บาท ผกั เสี้ยนไทย ๖ ต�ำลงึ กระทกรก ๑ ต�ำลึง ๒ บาท แก่นแสมทั้งสอง สิ่งละ ๔ ต�ำลึง ๒ บาท แก่นปรู ๔ ตำ� ลึง ๒ บาท แกน่ มะหาด ๔ ต�ำลึง ๒ บาท แก่นมะเกลือ ๔ ต�ำลงึ ๒ บาท แก่นสกั หนิ ๑ ต�ำลึง ๑ บาท ยาข้าวเย็นทั้งสอง สิ่งละ ๗ ต�ำลึง ๒ บาท ถ้าจะดองสุราแต่พอท่วม ถ้าจะตม้ ใสน่ �ำ้ ให้มากกวา่ ดอง และจงึ เอามหาหงิ คุ์ ๑ สลงึ ๑ เฟือ้ ง การบูร ๑ สลงึ ๑ เฟอื้ ง ลกู จันทน์ ๑ บาท พริกไทย ๑ สลึง ๑ เฟือ้ ง ขิง ๒ สลงึ ๑ เฟอ้ื ง ดีปลี ๒ สลึง ๑ เฟอ้ื ง สะค้าน ๒ สลงึ ๘ เฟอื้ ง เกลอื ๑ ร�ำหดั วธิ ปี รุงยา: ดองด้วยสุราพอทว่ มยา หรอื ต้มกับน้ำ� ถ้าเป็นยาดองฝงั ไวใ้ นขา้ วเปลอื ก ๓ วัน รปู แบบยา: ยาดองหรือยาตม้ กระสายยา: สรุ า วธิ ใี ช้: กนิ พธิ ีกรรม: เม่ือจะกินใหต้ งั้ ขนั บูชาก่อน โดยใช้เทยี น ๑ หมากตรวย ๑ ชดุ เมย่ี งคำ� ๑ ค�ำ ขนม ๑ อยา่ ง และเงนิ ผกู ที่คอหม้อยา ๑ บาท สาระอ่นื  ๆ: ให้นวดแก้อาการกอ่ น แล้วจงึ ให้กินยาขนานนี้ ยานีม้ ีค่าเทา่ กับทอง ๑ ชั่ง หมายเหตุ * ตัวยา/สมุนไพร ส่วนที่ใช้และชื่อวิทยาศาสตร์เป็นความเห็นร่วมของคณะผู้ทรงคุณวุฒิ ท่ีสรปุ มาจากสว่ นของสมนุ ไพรชนดิ นนั้  ๆ ท่ีน�ำมาใช้เปน็ ยากนั โดยท่วั ไป Book-7.indd 31 2/11/20 15:58

32  ค�ำ อธบิ ายจารึกต�ำ รายาวดั ราชโอรสารามราชวรวิหาร รายละเอยี ดของตวั ยา/สมุนไพรในต�ำรับ ล�ำดับ ตัวยา/สมุนไพร สว่ นที่ใช้ ชอ่ื วิทยาศาสตร์ ชอ่ื วงศ์ ปริมาณท่ใี ช้ ๑ เปลอื กขีเ้ หลก็ เปลือกต้น Senna siamea (Lam.) Fabaceae ๑ ต�ำลงึ H. S. Irwin & Barneby ๒ สม้ กงุ้ ทงั้ สอง *ราก Ardisia amherstiana อย่างละ -*ส้มกงุ้ ใหญ่ A.DC. var. amherstiana Myrsinaceae ๓ บาท -*สม้ กุ้งน้อย Embelia ribes Burm. f. ๓ กกโคกกระออม *สว่ นของ Cardiospermum Sapindaceae ๑ ตำ� ลึง โคนต้นถงึ ราก halicacabum L. ๒ บาท ๔ รากช้าพลู *รากและไหล Piper sarmentosum Piperaceae ๒ ต�ำลึง Roxb. ๒ บาท ๕ รากตองแตก ราก Baliospermum Euphorbiaceae ๕ ต�ำลงึ solanifolium (Burm.) Suresh ๖ รากทรงบาดาล ราก Senna surattensis Fabaceae ๑ ต�ำลึง (Burm.f.) H.S. Irwin & ๑ บาท Barneby ๗ รากเจตมูลเพลิง ๒ ตำ� ลงึ *เจตมูลเพลงิ แดง *ราก Plumbago indica L. Plumbaginaceae ๒ บาท ๘ ผกั เสีย้ นไทย *ท้ังตน้ เหนือดนิ Cleome gynandra L. Cleomaceae ๖ ตำ� ลงึ ๙ กระทกรก *แกน่ หรอื ล�ำต้น Olax psittacorum Olacaceae ๑ ต�ำลงึ *น้ำ� ใจใคร่ (Lam.) Vahl ๒ บาท ๑๐ แกน่ แสมท้ังสอง แก่น Senna garrettiana Fabaceae อย่างละ -*แสมสาร (Craib) H. S. Irwin & Avicenniaceae ๔ ตำ� ลงึ -*แสมทะเล Barneby ๒ บาท Avicennia marina (Forssk.) Vierh. ๑๑ แก่นปรู แกน่ Alangium salviifolium Cornaceae ๔ ตำ� ลงึ (L.f.) Wangerin ๒ บาท หมายเหต ุ * ตัวยา/สมุนไพร ส่วนท่ีใช้และช่ือวิทยาศาสตร์เป็นความเห็นร่วมของคณะผู้ทรงคุณวุฒิ ทสี่ รุปมาจากสว่ นของสมนุ ไพรชนิดนนั้  ๆ ทนี่ �ำมาใชเ้ ปน็ ยากนั โดยท่ัวไป Book-7.indd 32 2/11/20 15:58

การวเิ คราะห์ต�ำ รบั ยาสมุนไพรในจารึกตำ�รายาวดั ราชโอรสารามราชวรวหิ าร  33 ล�ำดับ ตัวยา/สมุนไพร สว่ นท่ใี ช้ ชอ่ื วิทยาศาสตร์ ชื่อวงศ์ ปริมาณที่ใช้ ๑๒ แก่นมะหาด แกน่ ๑๓ แก่นมะเกลอื Artocarpus lacucha Moraceae ๔ ตำ� ลงึ ๑๔ แกน่ สักหิน แก่น Buch. -Ham. ๒ บาท ๑๕ ขา้ วเย็นท้ังสอง Diospyros mollis Griff. Ebenaceae ๔ ตำ� ลึง -*ขา้ วเยน็ เหนอื ๒ บาท -*ขา้ วเย็นใต้ ๑๖ มหาหิงค์ุ แกน่ Tectona grandis L. f. Lamiaceae ๒๑ ต�ำลงึ ๑๗ การบูร ๑ บาท บทที่ อยา่ งละ ๑๘ ลูกจันทน์ *หัวใตด้ ิน Smilax corbularia Smilacaceae ๗ ต�ำลึง ๑๙ พรกิ ไทย Kunth ๒ บาท ๒๐ ขิง Smilax glabra Roxb. ๒๑ ดปี ลี ๒๒ สะคา้ น *ยาง ชันน้�ำมนั Ferula assa-foetida L. Apiaceae ๑ สลึง ๒๓ เกลอื (oleogumresin) (Umbelliferae) ๑ เฟือ้ ง จากรากและลำ� ตน้ *เกลอื สมทุ ร ใต้ดิน *สงิ่ สกดั จาก Cinnamomum Lauraceae ๑ สลึง เปลอื กตน้ เนื้อไม้ camphora (L.) J. Presl ๑ เฟื้อง และใบ ๑ บาท *เมล็ด Myristica fragrans Myristicaceae Houtt. ๑ สลึง ๑ เฟื้อง *ผล Piper nigrum L. Piperaceae ๒ สลงึ ๑ เฟือ้ ง *เหงา้ Zingiber officinale Zingiberaceae ๒ สลึง Roscoe ๑ เฟอ้ื ง ๒ สลงึ *ชอ่ ผล Piper retrofractum Vahl Piperaceae ๘ เฟื้อง แทรกเล็ก *เถา Piper wallichii (Miq.) Piperaceae น้อย *ผงเกลอื Hand. -Mazz.   Sea salt หมายเหตุ * ตัวยา/สมุนไพร ส่วนท่ีใช้และช่ือวิทยาศาสตร์เป็นความเห็นร่วมของคณะผู้ทรงคุณวุฒิ ที่สรปุ มาจากส่วนของสมุนไพรชนิดนัน้  ๆ ที่น�ำมาใชเ้ ปน็ ยากันโดยทั่วไป Book-7.indd 33 2/11/20 15:58

ภาพจารกึ แผน ที่ 5 คำจารกึ แผนที่ 5 กองคุ้มครองภูมิปัญญาการแพทยแ์ ผนไทยและพ้ืนบา้ นไทย ๑. ๏ สิทธิการยิ ะ ๒. แกอติสารใหระส่ำระสายให ๓. เชอื่ มมวั หอบเปนตน เพราะลงทอ งเอาจนั ๔. แดง 1 1 จันขาว 1 1 ภิมเสน 1 1 เกสรบัวหลวง 1 1 เกสรบุญ 13 ย๕. นาก 1 1 เกสรสาระภี 1 1 ดอกฟก ทอง 1 1 บดลายนำ้ ดอกไมแ กหอบอะ ้านไท๖. ตสิ ารยาน้ชี อ่ื พรหมภัก ฯ อยานสี้ ม ทุ เกลอ่ื น ใบน้ำดบั ไฟ ๑ ใบบรเพชด ๑ ะพืน้ บ๗. ใบชาลี ๑ ใบตำลงึ ทัง ๒ ใบฉบาทัง ๒ หางตะเข ๑ ฆองสามยา น ๑ ใบน้ำเตา ๑ เพชสังฆาฎ ๑ ยแลใบกทืบยอบ ๑ แ์ ผนไท๘. หิงหาย ๑ ใบผักบุงขัน ๑ ใบมะระ ๑ ใบชุมเหดไท ๑ ขม้ินออย ๑ ใบโคกสุน ๑ ข้ีนกข้ีราบขั้ว ยใหเ หลอื ง ดนิ ปลวิ าการแพท๙. (ขั้ว) ๑ ยาทังน้ีตำใหแหลกเอาเปลือกมพราวซีก ๑ เผาใหไมใสลงในครกเอายาปดขางบนเอา สากตำให (ไฟดบั ) แลวเอาแตย ามาบดปน ปิ ญั ญ๑๐. แทงไวลายน้ำเซาเขากินแกพิศอตีสารแลฯ ยาแกอติสารช่ือรัตนธาตุลงเลือดสดๆ ออการ รองภูม๑ วนั เหมนเนากทำ.... ค๒ กองค้มุ๑๑. ลกู จนั ทงั ๒ เบญกานิ ๑ กฤศนา ๑ จนั ทงั ๒ สเี สยี ดทงั ๒ กำยาน ๑ ชันตเคยี น ๑ พริก ๑ ขิง ๑ มาดเลอื ง ๑ บ(ด) ๑๒. ลายนำ้ ฝางกนิ แกลงเลือด ฯ ยาชอื่ ตสิ าร ผกั เชด ๑ เทยี มกรอบ ๑ กรุงเขมา ๑ เปลือกมกู มมนั ๑ ๑๓. เปลือกทุมนา ๑ เปลอื กคางกรวย ๑ ยางแตว ๑ ตานทัง ๕ กเทยี ม ๑ อุตพิด ๑ ๑๔. ผลตูมออน ๑ โกดสอ ๑ ดปี ลี ๑ จันทัง ๒ เอาเสมอภาก สังกรนี ๑๕. ผกั เทายาทังหลายบดทำแทงเมื่อกินแทรกฝน แกลง ๑๖. ดว ยธาตุแปรเปน รศิ ดวง สิ่งใดสตุ ไข ๑๗. แตเ ขาอติสารหาย Book-7.indd 34 2/11/20 15:58

การวเิ คราะหต์ ำ�รับยาสมุนไพรในจารึกต�ำ รายาวัดราชโอรสารามราชวรวิหาร  35 คำ� อ่านจารึกแผ่นท่ี ๕ ๒บทท่ี ช่ือตน้ ฉบบั : ค�ำอ่านจารึกแผน่ ที่ ๕ ล�ำดบั ท่ขี องต�ำรบั ในต�ำรา: ๑๏๔ ช่อื โรค: อติสาร อาการ: อตสิ ารให้ระส่ำ� ระสาย ใหเ้ ชื่อมมัว หอบ เพราะลงทอ้ ง สรรพคุณของตำ� รบั : แกห้ อบอตสิ าร ชอื่ ตำ� รบั : พรหมพกั ตร์ ส่วนประกอบของต�ำรับ: จันทน์แดง ๑ สลึง ๑ เฟื้อง จันทน์ขาว ๑ สลึง ๑ เฟื้อง พมิ เสน ๑ สลงึ ๑ เฟ้ือง เกสรบวั หลวง ๑ สลึง ๑ เฟอื้ ง เกสรบนุ นาค ๑ สลึง ๑ เฟอื้ ง เกสรสารภี ๑ สลงึ ๑ เฟื้อง ดอกฟักทอง ๑ สลึง ๑ เฟอื้ ง วธิ ปี รงุ ยา: บด รูปแบบยา: ยาผง กระสายยา: น้ำ� ดอกไม้ นิยมใช้ดอกมะลิ หรอื ดอกกระดงั งา วิธีใช้: ละลายนำ้� ดอกไม้ กนิ รายละเอียดของตัวยา/สมุนไพรในต�ำรบั ลำ� ดบั ตวั ยา/สมุนไพร ส่วนทใ่ี ช้ ชอื่ วทิ ยาศาสตร์ ช่อื วงศ์ ปริมาณท่ใี ช้ Pterocarpus santalinus L. f. ๑ จันทน์แดง *แกน่ Fabaceae ๑ สลึง Santalum album L. ๑ เฟื้อง ๒ จันทนข์ าว *แก่น Dryobalanops aromatic C. F. Santalaceae ๑ สลงึ Gaertn. ๑ เฟอ้ื ง Nelumbo nucifera Gaertn. ๓ พมิ เสน *สงิ่ สกัดจาก Dipterocarpaceae ๑ สลึง ๔ เกสรบวั หลวง เปลอื กต้น ๑ เฟือ้ ง เกสร Nelumbonaceae ๑ สลึง ๑ เฟ้อื ง หมายเหต ุ * ตัวยา/สมุนไพร ส่วนที่ใช้และช่ือวิทยาศาสตร์เป็นความเห็นร่วมของคณะผู้ทรงคุณวุฒิ ที่สรปุ มาจากส่วนของสมุนไพรชนิดนน้ั  ๆ ท่นี �ำมาใช้เป็นยากนั โดยทัว่ ไป Book-7.indd 35 2/11/20 15:58

36  ค�ำ อธิบายจารึกต�ำ รายาวัดราชโอรสารามราชวรวิหาร ล�ำดับ ตัวยา/สมนุ ไพร สว่ นที่ใช้ ชอ่ื วิทยาศาสตร์ ชอื่ วงศ์ ปรมิ าณทีใ่ ช้ Mesua ferrea L. Clusiaceae ๑ สลงึ ๕ เกสรบุนนาค เกสร ๑ เฟ้ือง *ปจั จุบันใช้ ทัง้ ดอก ๑ สลึง ๑ เฟ้อื ง ๖ เกสรสารภี เกสร Mammea siamensis T.Anderson Calophyllaceae *ปัจจบุ ันใช้ ๑ สลึง ทัง้ ดอก ๑ เฟื้อง ๗ ดอกฟกั ทอง ดอก Cucurbita moschata Duchesne Cucurbitaceae ลำ� ดบั ท่ีของต�ำรบั ในตำ� รา: ๑๏๕ ชือ่ โรค: อตสิ าร อาการ: อติสารใหร้ ะส�ำ่ ระสาย ใหเ้ ชอื่ มมัว หอบ เพราะลงทอ้ ง สรรพคณุ ของต�ำรับ: แก้พิษอติสาร ช่ือต�ำรับ: สมทุ รเกลื่อน ส่วนประกอบของต�ำรับ: ใบน�้ำดับไฟ ๑ ใบบอระเพ็ด ๑ ใบชิงช้าชาลี ๑ ใบต�ำลึงทั้ง ๒ ใบชบาท้ัง ๒ ว่านหางจระเข้ ๑ ฆ้องสามย่าน ๑ ใบน�้ำเต้า ๑ เพชรสังฆาต ๑ ใบกระทืบยอบ ๑ หิ่งหาย ๑ ผักบุ้งขัน ๑ ใบมะระ ๑ ใบชุมเห็ดไทย ๑ ขม้ินอ้อย ๑ ใบโคกกระสุน ๑ ข้ีนกพริ าบ คว่ั ใหเ้ หลอื ง ดนิ ประสวิ คว่ั ๑ วิธีปรุงยา: น�ำเปลือกมะพร้าว ๑ ซีก เผาไฟให้ไหม้ แล้วใส่ในครก พร้อมตัวยาท้ังหมด แลว้ ต�ำจนกว่าไฟจะดับ จากนัน้ เอาแตย่ ามาบด ปน้ั เปน็ แท่งไว้ รปู แบบยา: ยาป้ันแท่ง วธิ ใี ช:้ ละลายนำ้� ซาวข้าว กนิ รายละเอียดของตัวยา/สมุนไพรในตำ� รบั ลำ� ดับ ตัวยา/สมุนไพร สว่ นทใ่ี ช้ ช่ือวทิ ยาศาสตร์ ชอ่ื วงศ์ ปริมาณทใ่ี ช้ Scrophulariaceae ๑ ส่วน ๑ ใบน�้ำดบั ไฟ ใบ Lindenbergia philippensis (Cham. & Schltdl.) Benth. หมายเหตุ * ตัวยา/สมุนไพร ส่วนที่ใช้และช่ือวิทยาศาสตร์เป็นความเห็นร่วมของคณะผู้ทรงคุณวุฒิ ทสี่ รุปมาจากส่วนของสมุนไพรชนดิ นัน้  ๆ ท่ีนำ� มาใช้เปน็ ยากันโดยทวั่ ไป Book-7.indd 36 2/11/20 15:58

การวเิ คราะห์ต�ำ รบั ยาสมนุ ไพรในจารกึ ตำ�รายาวดั ราชโอรสารามราชวรวหิ าร  37 ล�ำดับ ตวั ยา/สมนุ ไพร สว่ นท่ีใช้ ชอ่ื วิทยาศาสตร์ ชอื่ วงศ์ ปริมาณทีใ่ ช้ ๒ ใบบอระเพ็ด ใบ Tinospora crispa (L.) Hook. f. Menispermaceae ๑ สว่ น & Thomson ๓ ใบชงิ ช้าชาลี ใบ Tinospora baenzigeri Forman Menispermaceae ๑ ส่วน ๔ ใบต�ำลงึ ท้งั สอง ใบ Solena amplexicaulis (Lam.) Cucurbitaceae อย่างละ -*ตำ� ลงึ ผู้ ใบ Gandhi Malvaceae Coccinia grandis (L.) Voigt ๒๑ ส่วน -*ต�ำลึงเมีย Hibiscus rosa-sinensis L. บทที่ ๕ ใบชบาท้ังสอง อยา่ งละ ๑ สว่ น -*ชบาดอกขาว -*ชบาดอกแดง ๖ วา่ นหางจระเข้ *วุน้ ในใบ Aloe vera (L.) Burm. f. Aloaceae ๑ สว่ น ๗ ฆอ้ งสามย่าน *ทั้งต้น Kalanchoe laciniata (L.) DC. Crassulaceae ๑ ส่วน ๘ ใบน้�ำเตา้ ใบ Lagenaria siceraria (Molina) Cucurbitaceae ๑ ส่วน Standl. ๙ เพชรสงั ฆาต *เถา Cissus quadrangularis L. Vitaceae ๑ ส่วน ๑๐ ใบกระทบื ยอบ ใบ Biophytum sensitivum (L.) DC. Oxalidaceae ๑ ส่วน ๑๑ ห่งิ หาย *รากและลำ� ต้น Crotalaria albida Roth Fabaceae ๑ ส่วน ๑๒ ผกั บงุ้ ขัน *ใบ Ipomoea asarifolia (Ders.) Convolvulaceae ๑ ส่วน *ผกั บงุ้ ทะเล Roem. & Schult. ๑๓ ใบมะระ ใบ Momordica charantia L. Cucurbitaceae ๑ ส่วน *มะระจีน ๑๔ ใบชมุ เห็ดไทย ใบ Senna tora (L.) Roxb. Fabaceae ๑ ส่วน ๑๕ ขม้ินออ้ ย *เหงา้ Curcuma zedoaria (Christm.) Zingiberaceae ๑ ส่วน Roscoe ๑๖ ใบโคกกระสุน ใบ Tribulus terrestris L. Zygophyllaceae ๑ สว่ น ๑๗ ขนี้ กพิราบ มลู คั่วให้ Columba livia Columbidae ๑ สว่ น เหลือง (Gmelin, 1789) ๑๘ ดินประสิวคว่ั *ผลึก Potassium nitrate processed ๑ ส่วน ดนิ ประสิว หมายเหตุ * ตัวยา/สมุนไพร ส่วนที่ใช้และช่ือวิทยาศาสตร์เป็นความเห็นร่วมของคณะผู้ทรงคุณวุฒิ ทสี่ รปุ มาจากสว่ นของสมุนไพรชนดิ น้นั  ๆ ทนี่ ำ� มาใช้เป็นยากันโดยท่วั ไป Book-7.indd 37 2/11/20 15:58