Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore การเลี้ยงจระเข้

Description: การเลี้ยงจระเข้

Search

Read the Text Version

ขอ มลู โดย: กรมสงเสรมิ การเกษตร กระทรวงเกษตรและสหกรณการเกษตร จัดทาํ เอกสารอเิ ล็กทรอนกิ สโดย : สาํ นกั สง เสริมและฝก อบรม มหาวทิ ยาลัยเกษตรศาสตร สารบัญ หนา คํานาํ 2 จระเขและตะโขงท่ีพบในประเทศไทย 2 จระเขท่ีใชเปน สตั วเศรษฐกจิ 3 การตั้งวัตถปุ ระสงคข องการเล้ยี งจระเข 4 ปจ จยั ท่ีมผี ลเกี่ยวของตอการเล้ยี งจระเข 5 การสบื พนั ธุของจระเข 6 สรรี วิทยาการสืบพันธุ 6 อาหารจระเข 7 ตลาดจระเข 8 แหลง รบั ซ้ือจระเข 9 การครอบครองและจดทะเบียนฟารมจระเข 9

2 คาํ นํา จระเข( Crocodile) เปน สัตวเลื้อยคลานท่มี ีขนาดใหญท ่สี ุด ซึง่ ยังคงดํารงชีวติ อยใู นโลก ปจจุบัน อยูในอนั ดับ โครโคดีเลยี (Crocodylia) มีช่อื เรยี กแตกตา งกนั ไป ซึ่งสวนมากจะพิจารณา จากรูปรางลักษณะ ท้งั จากลักษณะทง้ั ตวั และความแตกตา งของบางสวนโดยเฉพาะ เชน จาก รูปรา งของปาก จากเกลด็ บนหวั และคอ ความแตกตา งของฟน เปนตน ลักษณะทว่ั ไปของจระเข ทุกประเภทคอื มปี ากและหวั ยาว รจู มกู และตา ยกสงู อยบู นหวั คอสน้ั ลําตวั ยาวกลม มเี กลด็ บน คอและหลงั เกลด็ ทอ งเปน แผนบาน หางยาวใหญแ ละแข็งแรง มีเกล็ดเปน แผนใหญต ้งั สงู บนสัน หาง หางแบนทางดา นขาง ขาสนั้ ทั้งขาหนาและขาหลัง นวิ้ ตนี สั้นทงั้ ตนี หนา และตีนหลัง ล้ินไม สามารถแลบออกจากปากได เปน สัตวเ ล้ือยคลานท่ตี อ งใชชวี ติ อยใู กลน ํา้ จระเขแ ละตะโขงทพ่ี บในประเทศไทย 1. จระเขน าํ้ จดื หรือจระเขพ ันธไุ ทย (Freshwater or Siamese Crocodile, Crocodylus siamensis) ถนิ่ กําเนดิ : เวยี ดนาม เขมร ลาว ไทย กะลิมนั ตัน ชวา และมีในสมุ าตรา ลักษณะ : เปนจระเขขนาดปานกลาง คอ นมาทางใหญ (3-4 เมตร) มเี กล็ดทายทอย ชวี วทิ ยา : - จระเขถ งึ วัยเจรญิ พนั ธุเมื่ออายุ 10-12 ป - วางไขคร้ังละ 20-48 ฟอง - ระยะเวลาฟก ไขน าน 68-85 วัน เฉล่ยี ราว 80 วนั - ดพุ อสมควร - ชอบอยแู ละหากินเดยี่ ว 2. จระเขนา้ํ เค็มหรือจระเขป ากแมน้ํา (Saltwater or Estaurine Crocodile, Crocodylus porosus) ถิ่นกาํ เนิด : ศรลี งั กา ตะวนั ออกของอินเดยี บงั คลาเทศ พมา ไทย เวยี ดนาม มาเลเซยี อนิ โดนเี ซีย ฟล ปิ ปน ส และออสเตรเลยี ชอบอยูต ามปากแมนา้ํ ท่เี ปด ออกทะเลและปาชายเลน ลกั ษณะ : เปนจระเขข นาดใหญท ี่สุด มรี ายงานพบวา ยาวถึง 9 เมตร ไมมีเกลด็ ทา ยทอย ชีววทิ ยา : - เพศผถู งึ วัยเจรญิ พันธุเมือ่ อายุ 16 ป หรือยาวประมาณ 3.2 เมตร สว นเพศเมียคือ 10 ป และ 2.2 เมตร ตามลาํ ดบั - วางไขฤ ดฝู น คร้ังละ 25-90 ฟอง เฉลย่ี 50 ฟอง - ระยะเวลาฟก ไขน าน 80 วนั - มีนสิ ัยดุรา ย ไมช อบอยูเปนฝูง

3 3. ตะโขงหรอื ตะโขงมลายู (False Gharial หรอื malayan Gharial, Tomistoma Schlegelii) ถิ่นกาํ เนดิ : ตอนใตของประเทศไทยและในคาบสมทุ รมลายู สุมาตรา กะลิมนั ตนั และบอรเนยี ว อาศยั ตามนาํ้ กรอ ย และปา ชายเลน ลักษณะ : ขนาดปานกลาง ความยาวประมาณ 2.80-3.0 เมตร ปากแหลมเรยี วยาวมาก แตไ มมี กอ นเน้อื ตอนปลายจมูก เชน ตะโขงอินเดีย มแี ถบสีดาํ พาดขวางลาํ ตวั และหาง ชีววทิ ยา : - ตะโขงเพศเมยี ถงึ วยั เจริญพนั ธเุ ม่ืออายุ 5-6 ป หรือความยาว 2.50-3.0 เมตร - ทาํ รังโดยพูนดนิ และวชั พืชขน้ึ บนชายฝง - วางไขคร้งั ละ 20-60 ฟอง ในฤดแู ลง - ระยะฟก ไขร าว 2.5-3 เดือน เปน ตัวประมาณตนฤดฝู น - การขยายพันธใุ นทกี่ ักขัง หรอื เพาะเลี้ยงยังไมประสบความสาํ เรจ็ จระเขที่ใชเปนสัตวเ ศรษฐกจิ จระเขทีน่ าํ มาเลย้ี งเปนสัตวเศรษฐกิจของประเทศไทยนนั้ มีอยู 2 ชนดิ คือ 1. จระเขนาํ้ จดื หรือจระเขพ ันธไุ ทย 2. จระเขน าํ้ เคม็ หรือจระเขต ีนเปด หรือไอเ ค่ยี ม สําหรบั ประเทศไทยแลว นยิ มเลย้ี งจระเขน ํา้ จดื หรือจระเขพ ันธไุ ทยมากกวา จระเข น้าํ เค็ม ทงั้ นีอ้ าจเน่ืองมาจากเหตผุ ลดงั ตอ ไปนี้ 1. พนั ธจุ ระเขน าํ้ จดื หางา ยกวาพันธุจระเขน ้ําเคม็ ทั้งนเี้ พราะมีฟารม ท่ีเลี้ยงขายลูกจระเข นํา้ จดื อยูหลายแหง 2. จระเขน า้ํ จดื เลยี้ งใหลูกเรว็ กวาคอื เรมิ่ เมือ่ อายุ 10-12 ป สว นจระเขน ้าํ เคม็ จะเรมิ่ เจริญพนั ธใุ นตวั ผเู มื่ออายุ 16 ป และตัวเมียทอ่ี ายุ 10 ป 3. มกี ารนาํ ลกู จระเขน ้ําจดื จากประเทศเพือ่ นบานเขามาเล้ยี ง จงึ นบั เปน อีกแหลง ทค่ี อย สนบั สนนุ เรื่องพนั ธมุ ากข้ึน

4 4. ผูค นเชือ่ วา จระเขนาํ้ เค็มตองเล้ยี งดว ยนํา้ เคม็ เทา นั้น จึงหนั มาเลีย้ งพันธนุ า้ํ จดื ซ่ึงหา แหลงนาํ้ งา ยกวา แตความเปน จรงิ แลว จระเขน ้ําเคม็ สามารถเลี้ยงไดเ ปน อยางดีในนาํ้ จืด 5. พอแมพ ันธจุ ระเขน้าํ เคม็ มีนอ ย ทงั้ นเ้ี พราะในอดตี ถกู ลาและสง หนงั ออกขายยัง ตา งประเทศเปน สวนใหญ เน่ืองจากตลาดโลกนยิ มหนังจระเขพนั ธนุ าํ้ เคม็ มาก สวนตะโขงน้นั ไม นาํ มาเพาะเลย้ี ง เน่อื งจากหนงั ไมมีราคาและขยายพนั ธยุ าก การตง้ั วตั ถุประสงคของการเลย้ี งจระเข 1. การรับเลี้ยงหรอื เลย้ี งขนุ คือ การซ้ือลกู จระเข ขนาดประมาณ 30 ซ.ม. มาเลีย้ งขุนจนโต ยาวราว 1.50 ถึง 1.80 เมตร หรอื จนโตเต็มท่ี 2.5 ถงึ 3.0 เมตร บางคนใชจระเขเปนเสมอื น \"ถังขยะทม่ี ี ชวี ติ \" คือถอื เปนตัวทําลายซากสตั ว เชน หมู ไก ทีเ่ ล้ียงใชในฟารม 2. การเล้ยี งเพ่ือเพาะขายลูก คอื การเลยี้ ง เฉพาะพอแมพ นั ธุ เมอื่ ผสมพันธไุ ดล กู ออกมาก็ขายเฉพาะลูกไปปตอป จะตอ งคดั เลือกจระเข ต้ังแตเ ปนวยั รนุ ที่มีประวตั มิ าจากพอแมโดยทราบแนช ดั วา ใหผลผลติ ดี การนาํ มาเขา คูในระยะ ยังเปนวัยรุนเลยี้ งในบอคดู ว ยอตั ราสว น ตัวผูตอ ตวั เมยี เทา กับหนึง่ ตอหนงึ่ น้ัน จะลดอัตราความ เสียหายจากการตอ สูกดั กนั และยงั เพ่มิ อตั ราการผสมตดิ ใหม ากขึ้น 3. การเลย้ี งคร่งึ วงจร คอื มีการเลยี้ งพอ แมพนั ธเุ พือ่ เพาะขยายพันธุ เมอื่ ไดล กู แลวกข็ ุน จนโตไดข นาดจงึ ชาํ แหละสงตอ ไปยงั โรงงานฟอกหนงั หรือกิจการทาํ ผลติ ภัณฑอกี ทหี นงึ่ 4. การเลีย้ งครบวงจร คือ การเพาะขยายพนั ธุ ขุน ชาํ แหละ และสง ออกหนงั รวมทั้ง ผลติ ภณั ฑจากจระเขทกุ ชนดิ อีกท้ังยังมีการผลติ อาหารจระเขอกี ดวย

5 ปจจยั ที่มผี ลเกยี่ วขอ งตอการเล้ียงจระเข 1. พันธุ การตดั สนิ ใจเลือกวา จะเล้ยี งจระเขพันธใุ ดยอ มขน้ึ กบั 1.1 ความตอ งการของตลาด 1.2 แหลงทม่ี าของพันธุ ซงึ่ ตองเปนพนั ธุแท 1.3 คณุ ภาพของสายพนั ธนุ ั้นวา มาจากพอ แมพ นั ธทุ ใี่ หผ ลผลติ สงู สมบูรณและ แข็งแรง มีขอ บกพรองทางพันธกุ รรมอยา งใดหรือไม 2. สถานท่เี ล้ียง ขอ นรี้ วมทง้ั ทด่ี นิ ทาํ เลทต่ี งั้ และบอทใี่ ชเล้ียง โดยพจิ ารณาจาก 2.1 การรบกวนตอ เพือ่ นบา นใกลเคยี ง 2.2 การคมนาคมขนสง 2.3 ระบบและสถานทห่ี รอื ลทู างระบายกาํ จัดของเสีย ท้งั สิ่งปฏิกูลและนาํ้ เสีย 2.4 คา ลงทนุ ในทด่ี ิน กับคา ตอบแทนจากการเล้ยี ง 2.5 การขยายตัวในอนาคต มเี ผอ่ื ไวห รือไม 2.6 ขนาดบอ ทใ่ี ชเ ลีย้ ง 2.7 วสั ดุ พื้นผวิ และระบบท่ีใชเล้ยี งจระเข ซึ่งขึน้ กบั วตั ถปุ ระสงคท ว่ี างไวต ัง้ แตแ รก 3. แหลง น้ํา ตอ งจัดหานา้ํ ใหเ พยี งพอ สมํา่ เสมอตลอดเวลา อีกทง้ั คณุ ภาพนํา้ ตอ งอยูใ น เกณฑท ด่ี ดี วย การเลี้ยงจึงจะประสบผลสําเร็จไดจระเขท ่ีมีหนังคณุ ภาพสงู ผเู ลยี้ งตอ งคาํ นงึ ถงึ แหลงนาํ้ ดบิ ทด่ี เี พื่อใชเ ลย้ี ง ลา ง และทาํ ความสะอาดบอ จระเขโดยทว่ั ไปใหม าก 4. แหลง อาหาร อาหารทด่ี มี ีคณุ ภาพ ไมว าจะ เปน ซากไก ปลา หมู วัว ฯลฯ ซ่งึ เปน แหลงโปรตีนกด็ ี 5. แหลงวชิ าการ ปจจุบนั การเลี้ยงสัตวไมวา ชนดิ ใดกต็ ามลวนจาํ เปนตอ งอาศัยวทิ ยาการ และเทคโนโลยที ่ี ทนั ยคุ ทนั สมยั เพอื่ ใหไ ดผ ลผลติ คมุ คากบั การลงทุน การ เล้ียงจระเขก เ็ ชน เดียวกัน 6. ทนุ ทรพั ย ปจ จัยนีห้ ากขาดแลวละก็มอิ าจ ดาํ เนินกจิ การอะไรไดเลยไมว า จะเปนการเลยี้ งจระเข หรอื สตั วอน่ื ใด แตเ ราสามารถควบคมุ ปจ จัยนไี้ ด 7. การตลาด เรื่องน้ีมคี วามสาํ คญั อยางมาก หาก เลย้ี งไปแลว ไมม ีตลาดรับซอ้ื ผลผลติ จะทาํ อยา งไร ? ราคา ต่ํา ไมค มุ การลงทุนจะขายหรือไม ? การจะสรา งตลาดลูก จระเข ตลาดหนงั จระเข หรอื ตลาดผลิตภณั ฑจรเข ทัง้ ในและนอกประเทศไดอ ยา งไร ?

6 การสืบพนั ธุของจระเข จระเขเพศเมยี อวยั วะสืบพันธุแบง ไดเ ปน 2 สว นใหญ ๆ คอื 1. รังไข 2. ทอนาํ ไข จระเขเพศผู อวยั วะสืบพนั ธุแ บงไดเ ปน 3 สว นใหญ ๆ คือ 1. อัณฑะ 2. ทอนาํ นา้ํ เชือ้ 3. อวยั วะเพศผู สรีรวทิ ยาการสืบพันธุ จระเขนา้ํ จดื พันธุไทย มีฤดผู สมพนั ธร าวเดอื นพฤศจิกายน โดยจระเขเพศเมยี จะถึงวยั เจริญพนั ธุท่อี ายุระหวา ง 7 ถึง 11 ป (เฉล่ยี ราว 9-10 ป) การกาํ หนดเพศของจระเข จระเขเ ปนสตั วเ ลอ้ื ยคลานท่มี ีการกําหนดเพศในระยะ เปน ตัวออนดว ยอณุ หภูมิ ถาอณุ หภมู ฟิ ก ไขท่ี 30 องศา เซลเซยี สหรอื ตํา่ กวา ลูกจระเขทอ่ี อกมาสว นใหญจ ะเปน เพศ เมยี หากอยูระหวา ง 32 ถึง 33 องศาเซลเซียส สวนใหญจ ะเปน เพศผู แตถา ประมาณ 31 องศาเซลเซยี สแลว ปริมาณลกู จระเข ทอ่ี อกมาจะมสี ัดสวนเพศผูและเพศเมยี จะเทา ๆ กนั เกษตรกรทตี่ อ งการลูกจระเขเ พ่ือขุนขายจึงควรใหอ ณุ หภมู ฟิ ก สูงจะไดรับปรมิ าณลูกจระเขเ พศผูมากขนึ้ ซง่ึ มอี ัตราเจรญิ เติบโตดกี วา จระเขเ พศเมยี

7 อาหารจระเข จระเขจดั เปนสัตวก นิ เน้ืออยางแทจ ริงคือ ไมมีการกินพืชเลยแมแ ตน อย ตาม ธรรมชาติลกู จระเขเ กิดใหมจนถึงขนาด 50 เซนติเมตร จะกินอาหารหลักคอื กงุ ปู แมลง ลกู ปลา ฯลฯ เมื่อโตข้นึ กจ็ ะหาเหยอื่ ทขี่ นาดใหญเปน อาหาร เชน ปลา งู เตา ตะพาบ นกเปดนํ้า ฯลฯ หลกั สาํ คัญในการพจิ ารณาคาํ นึงถงึ การใหอาหารจระเขค อื 1. อาหารสด สะอาด ปราศจากการปนเปอ นของสารพษิ 2. ครบถว นดวยคุณภาพท่ีตอ งการ 3. ปริมาณเพยี งพอ ไมมากเกินไป 4. หางา ย ขนสง ไมไกลเกนิ ไป 5. ราคาพอสมควร ขอควรปฏิบัตคิ อื เกบ็ เศษอาหารท่ีเหลือออกใหห มดทกุ ครง้ั หลงั การกิน การทาํ เครื่องหมายระบตุ วั จระเข วัตถุประสงค : เพอื่ บงบอกหรือช้ีชดั ใหท ราบและแยกแยะจระเขแ ตล ะตัวออกจากกัน อยางแมน ยาํ ถกู ตองที่สุด และทาํ การปลอมแปลงใหไดยากทีส่ ดุ ประโยชน : 1. ใชใ นการจดั การผสมพนั ธุ ทาํ ใหร ูว า ลกู ตัวใดเกิดจากพอพันธแุ มพ นั ธตุ ัวไหน ปอ งกันการผสมในสายเลอื ดเดยี วกนั 2. ปองกันและปราบปรามการลกั ขโมย จระเขได 3. ใชในการขน้ึ ทะเบยี นจระเขของแตล ะ ฟารมกับหนว ยงานทค่ี วบคมุ กิจการเพาะเลีย้ ง และขายจระเขไ มวาจะเปนของรฐั หรอื เอกชน วิธกี าร : 1. การตัดเกลด็ หาง กระทาํ โดยตดั เกลด็ ทีม่ อี ยู 2 ขางดา นบนของหางจระเข มักใชก บั ลูก จระเขท ่เี กดิ ใหม 2. ตัดนว้ิ มักตดั นิ้วเทา ออกขณะเปน ลกู จระเขโดยตดั ท่ีขอปลายสดุ ของแตล ะเทา วธิ นี ้ไี ม เปนที่นิยมนัก

8 3. ใชสีหรอื สารเคมที า โดยการใชสีนํา้ มนั หรอื สารเคมี เชน สารละลายซลิ เวอรไนเต รท (SILVER NITRATE) ทาบนผิวหนงั 4. จําเอกลักษณ ใชการจดจาํ ลกั ษณะเดนของจระเขแ ตล ะตัว เชน หางกดุ บาดแผลทาํ ใหเกิดรอ งรอยแผลเปน ตามที่ตา ง ๆ ฯลฯ 5. การติดเบอร โดยการใชแผน พลาสติคแบบเดียวกบั ทใี่ ชติดเบอรหวู วั มาเจาะตดิ กบั เกลด็ ท่มี ีอยู 2 ขางดา นบนของหางจระเข 6. การฝง หมายเลขอิเล็กทรอนิคส หรอื ฉดี ไมโครชพิ นิยมใชกนั แพรห ลายในปศุสตั ว และสตั วเ ล้ยี ง โดยการฝงชนิ้ สว นหนวยความจํารหสั เลขประจาํ ตวั ซ่ึงบรรจใุ นแคปซูลขนาดจว๋ิ เขา ไปในกลามเนื้อโคนหางดา นซา ยของจระเข ซงึ่ กระทาํ โดยฉดี ผานเข็มฉดี ยาเชน เดียวกบั การ ฉีดยาเขา กลา มเนือ้ ตลาดจระเข ผลผลิตจากจระเขทสี่ ามารถสงสูตลาด ไดแ ก 1. จระเขม ชี วี ติ 1.1 ลกู พนั ธุ 1.2 จระเขร ุน ความยาวประมาณ 70 ถงึ 80 เซนตเิ มตร บางคร้งั ก็ 1 ถงึ 1.20 เมตร มกั ซ้อื ไปเลย้ี งตอ 1.3 พอ แมพันธุ พรอมท่จี ะนําไปผสมพนั ธุ 1.4 สง โรงเชอื ด 2. จระเขเ ชอื ด 2.1 ขายทั้งตวั หรอื ถาเปน ฟารม จดทะเบียน 2.2 ขายเนอ้ื 2.3 หนัง มักขายเปนหนังดิบแชเ กลือ สงยังโรงฟอก ไซเตสแลว สามารถสง ออกตางประเทศได 2.4 เลือด 2.5 เครอื่ งใน ขายพรอ มตวั ซาก

9 แหลงรบั ซ้ือจระเข 1. พอคาและนายหนา คา จระเข 2. เจาของระบบลูกเลา 3. ฟารม จระเขขนาดใหญท ค่ี รบวงจร ตองการจระเขไปเพื่อเสรมิ ปรมิ าณการผลติ ของตน 4. สง ออก ปจจบุ นั การสง ออกมกั เปน รูปหนงั ดิบหมักเกลอื ซึ่งอนาคตจะเปนการ สงออกในรปู หนังฟอก และผลติ ภณั ฑส าํ เรจ็ รปู ปจ จุบนั ฟารม จระเขท ่ไี ดร บั การรบั รองจากองคก รไซเตส ซงึ่ อยูภ ายใตการดแู ลของ สมาคมสงเสรมิ การอนรุ ักษแ ละเพาะเลยี้ งจระเขแ หงประเทศไทยคอื 1. ฟารมจระเขศ รรี าชา 2. ฟารมจระเขหนองใหญ 3. ฟารม จระเขสามพราน 4. ฟารมจระเขพ ัทยา 5. ฟารมจระเขวดั สิงห 6. ฟารมจระเข เจ.อาร 7. ฟารมจระเขก มั ปนาท 8. ฟารม จระเขป ระสทิ ธิ์ อนาคตของธรุ กจิ การเพาะเลย้ี งจระเข ตลอดจนธรุ กจิ อตุ สาหกรรมเกย่ี วเนอื่ งจะยงั คง กา วตอไปอยา งไมหยดุ ย้งั ตลอดจนสามารถนาํ เงินตราเขาประเทศอยางมากมาย การครอบครองและจดทะเบยี นฟารม จระเข ตามพระราชบัญญัติสงวนและคมุ ครองสตั วป า พ.ศ. 2535 น้ัน ผทู จี่ ะครอบครองสัตวป า คุมครองและทําฟารมเพาะเล้ยี งสัตวป าตอ งไดร บั อนญุ าตจากเจา หนา ทีผ่ คู วบคุมดแู ล สําหรับ จระเขซึง่ เปนสตั วปาคุมครองชนิดหน่งึ อยูภ ายใตการควบคมุ ดแู ลของ \"กรมประมง\"

10