Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore สามฤดูในเมืองสามหมอก_TH

Description: สามฤดูในเมืองสามหมอก_TH

Search

Read the Text Version

ส่อื การเรียนรสู้ าระทอ้ งถนิ่ โดย

สามฤดใู นเมอื งสามหมอก เร่อื ง สกุณี ณฐั พูลวฒั น์ ภาพ เทพศริ ิ สุขโสภา โครงการ สรา้ งสรรค์ส่อื การเรยี นรสู้ าระท้องถิ่น เลขมาตรฐานประจำ�หนงั สอื 978-616-235-273-7 บรรณาธกิ ารอ�ำ นวยการ ราเมศ พรหมเย็น ทัศนยั วงศพ์ ิเศษกลุ ผชู้ ว่ ยบรรณาธิการอ�ำ นวยการ วราพร ตยานุกรณ์ ประภาศรี อาจคงหาญ ฉัตราภรณ์ กงสนิ สุพพตา บัวเอย่ี ม ภัทจรยี ์ จนั ทรหนู ปาลดิ า เรอื นวงค์ วิภาศัย นิยมาภา บรรณาธกิ ารด�ำ เนนิ งาน ระพพี รรณ พัฒนาเวช ขอขอบคุณ โยธิน บุญเฉลย ออกแบบปกและรปู เลม่ วชิราวรรณ ทบั เสือ พมิ พค์ รง้ั แรก ๒๕๖๐ จำ�นวน ๓,๐๐๐ เล่ม สงวนลขิ สทิ ธ์ิ © สกุณี ณฐั พลู วฒั น์ เทพศริ ิ สุขโสภา และส�ำ นกั งานอุทยานการเรยี นรู้ ส�ำ นักงานบรหิ ารและพฒั นาองคค์ วามรู้ (องค์การมหาชน) เจ้าของโครงการ สำ�นักงานอทุ ยานการเรยี นรู้ (สอร.) สงั กัดสำ�นกั งานบรหิ ารและพฒั นาองค์ความรู้ (องค์การมหาชน) ส่วนบรกิ าร ศูนย์การค้าเซ็นทรัลเวลิ ด์ ชนั้ ๘ Dazzle Zone ถนนราชด�ำ ริ ปทุมวนั กรุงเทพฯ ๑๐๓๓๐ โทรศพั ท์ ๐ ๒๒๕๗ ๔๓๐๐ โทรสาร ๐ ๒๒๕๗ ๔๓๓๒ ส่วนส�ำ นักงาน ๙๙๙/๙ อาคารสำ�นกั งานเซน็ ทรัลเวลิ ด์ ชน้ั ๑๗ ถนนพระราม ๑ ปทมุ วัน กรุงเทพฯ ๑๐๓๓๐ โทรศพั ท์ ๐ ๒๒๖๔ ๕๙๖๓-๕ โทรสาร ๐ ๒๒๖๔ ๕๙๖๖ www.tkpark.or.th พิมพ์ที่ บริษัท สหมิตรพริน้ ตงิ ้ แอนด์พบั ลสิ ซงิ่ จ�ำกดั โทรศัพท์ ๐ ๒๙๐๓ ๘๒๕๗-๙ โทรสาร ๐ ๒๙๒๑ ๔๕๘๗

ภารกิจสำ�คัญต่อสังคมประการหนึ่งของสำ�นักงานอุทยานการเรียนรู้ คือ การปลูกฝังนิสัย รักการอ่านและการกระจายโอกาสในการเข้าถึงแหล่งเรียนรู้ที่ทันสมัยและสอดคล้องกับความสนใจ ของเด็ก เยาวชน และประชาชน ในรูปแบบห้องสมุดมีชีวิตที่สร้างสรรค์บนพ้ืนฐานการมีส่วนร่วม ของภาคสว่ นตา่ งๆ โดยส�ำ นกั งานอทุ ยานการเรยี นรไู้ ดร้ ว่ มกบั องคก์ รปกครองสว่ นทอ้ งถนิ่ ในภมู ภิ าค ต่างๆ เพือ่ ขยายผลการดำ�เนินงานดังกลา่ ว การสร้างสรรค์ส่ือการเรียนรู้สาระท้องถิ่นให้มีรูปแบบการนำ�เสนอที่ทันสมัย และดึงดูด ความสนใจ เปน็ เครอ่ื งมอื ทสี่ ำ�คัญอยา่ งหนงึ่ ซงึ่ ส�ำ นกั งานอุทยานการเรยี นรเู้ ลง็ เห็นวา่ มีสว่ นในการ สร้างแรงบันดาลใจให้เดก็ และเยาวชนสนใจการอ่านและใฝ่หาความรูอ้ ยา่ งต่อเน่ือง โดยนำ�เรอื่ งราว ภูมิปัญญาสาระท้องถ่ินใกล้ตัวที่สอดคล้องกับวัย การดำ�รงชีวิต พร้อมกับสอดแทรกแนวคิดด้าน คณุ ธรรม จริยธรรม มาเปน็ เน้อื หาของสื่อการเรียนรสู้ �ำ หรบั เยาวชนตามชว่ งวยั ตั้งแต่ ๔-๑๒ ปี สื่อการเรียนรู้สาระท้องถ่ินจังหวัดแม่ฮ่องสอน ชุดนี้ สำ�นักงานอุทยานการเรียนรู้ได้ร่วมกัน สร้างสรรค์กับนักวิชาการและนักเขียนในท้องถิ่น เพ่ือให้เด็กและเยาวชน รวมทั้งประชาชนทั่วไป ในจงั หวดั แมฮ่ อ่ งสอน ไดร้ บั ความรแู้ ละความภาคภมู ใิ จในวฒั นธรรมและทอ้ งถน่ิ ตน รวมทง้ั กอ่ ใหเ้ กดิ ความเข้าใจและการยอมรับในวิถีชีวิตวัฒนธรรมที่หลากหลายตามบริบทพื้นท่ีและสภาพแวดล้อม ท่ีแตกตา่ งกันออกไป สำ�นักงานอุทยานการเรียนรู้มุ่งหวังว่าหนังสือชุดนี้จะเป็นสื่อการเรียนรู้อีกชุดหน่ึงที่จะ ส่งเสริมการอ่านและการเรียนรู้ได้อย่างมีประสิทธิภาพ ซ่ึงหมายถึงเป็นหนังสือที่ผู้อ่านอ่านอย่างมี ความสุข สนุกในการอ่าน และก่อให้เกิดความตระหนกั ในคณุ คา่ ของท้องถ่ินตนเอง ได้อย่างแท้จริง สำ�นกั งานอุทยานการเรียนรู้



หมอกหนาว หมอกฝน หรอื หมอกฝนั หมอกขาวหม่ เมอื งแม่ฮอ่ งสอน ป่า เขา เมฆนอ้ ยสัญจร แม่ฮอ่ งสอน “สอน” อะไรใครรู้บา้ ง เรอ่ื ง ภาพ

ส้มส้ม แสดแสด แสงแดด แผดจ้า ปอยสา่ งลอง เขาแหม่ า แม่ฮ่องสอน “สอน” ศรทั ธายามหนา้ รอ้ น 6

7

ดนิ แดนภเู ขาไกล มปี า่ ไม้และชา้ งป่ามากมาย เจา้ เมืองเชียงใหม่ สง่ ไพรพ่ ลเดินทางมาจับชา้ ง แล้วฝกึ ฝนอยนู่ านเป็นปีก่อนกลบั เข้าเมอื ง ที่แห่งหนง่ึ ไม่ไกลนัน้ มรี อ่ งนำ้ �ลำ�ธารใส อาบกนิ ช่ืนใจ เหมาะหยุดพกั เกดิ เปน็ หอ้ งเรียน หอ้ งสอน เปน็ ชมุ ชนช้าง ชมุ นุมคน เปน็ ...แมร่ อ่ งสอน แลว้ ผูค้ นก็หยัง่ ราก ขยายเมอื งรอ่ งน้ำ� จากชุมชนเลก็ เปน็ เมอื งใหญ่ เปน็ “แมฮ่ ่องสอน” นี่ไง ท่ีพวกเราอยกู่ นั 8

ปา่ เมืองแมฮ่ ่องสอนเขียวขจี น จักจ่ั มีดอกไม้ แมลง พืชพันธ์ุ สมุนไพร เสยี งหนงึ่ เคยก้องกังวานป่า บนเนื้อที่กวา้ งใหญ่ คนทว่ั ไปรูก้ ันทันที เดก็ ๆ ว่งิ เขา้ หา เกบ็ มาเลน่ สนกุ กนั ที่นมี่ ปี า่ ไม้มากทส่ี ดุ ในประเทศไทย ยามแล้ง ดอกยางรกั มันคือจักจ่ันตวั น้อย สะพร่ังท่ัวท้งั เมอื ง ขยับปกี ใสๆ บางๆ เร็วร่ี สง่ สัญญาณวา่ ฤดูร้อนมาเยือนแล้ว 9

ปอยสา่ งลอง ประเพณเี ก่าแก่ของชาวไทใหญ่ เปน็ การบวชเดก็ ชายใหเ้ ปน็ เณรในช่วงฤดรู ้อน ทเี่ รยี กวา่ บวชลูกแกว้ งานแหป่ อยส่างลองจดั ข้ึนสามวนั คอื “วนั เอาสา่ งลอง” ขอขมาผู้ใหญเ่ พอ่ื ขอบวช “วนั ขา่ มแขก” แหค่ รวั หลู่ มญี าตพิ ่ีนอ้ ง ลูกแก้ว ร่วมงานกันคึกคกั เดนิ เปน็ ขบวน โยกย้ายตามจงั หวะดนตรขี องกลองและฆ้อง กุบ “วันขา่ มสา่ ง” ส่างลองบวชเป็นสามเณรอยา่ งเตม็ ตวั ชว่ งงานแห่ กลางวันรอ้ นๆ หลายคนพากันสวมกบุ หมวกเฉพาะท่ีพวกเรา ชาวแม่ฮ่องสอนชอบสวมใส่ 10

ข้าวหย่ากู๊ ระหว่างปอยมขี นมหวานท่ีเด็กๆ รอคอย คอื ข้าวแตกปั้น และข้าวพองต่อ ขา้ วพองตอ่ คลกุ เคล้าแปง้ ขา้ วแตกปน้ั แลว้ นวด แผ่แบนๆ ตดั ให้ กว้างยาวราวนว้ิ คณู น้วิ เอาขา้ วเปลอื กเหนียวมาคว่ั ตากใหแ้ ห้งดกี ็นำ�มาทอด ในหม้อดินใหแ้ ตกเป็นข้าวตอก ฉาบน้ำ�อ้อยเปน็ ขนมหวาน ขา้ วพองตอ่ แล้วคลกุ น้ำ�ออ้ ย ปัน้ เป็น กอ้ นกลมๆ เท่ากำ�ปน้ั 11

12

เขยี วเขยี ว ฉ่ำ�ฉ่ำ� ฝนพรำ� ฝนหนกั ปา่ นา คน สดชื่นนกั แมฮ่ ่องสอน “สอน” ให้รักในสายฝน 13

เด็กๆ เริงร่าเลน่ น้ำ�ฝน ชาวนาชาวไรห่ วา่ นเมลด็ พนั ธ์ุ และผู้คนก็พากนั เขา้ ป่า หาลกู หมากรากไม้เป็นอาหาร เปน็ ยา เตมิ ชวี ติ ใหช้ วี าใหช้ าวแม่ฮอ่ งสอน ถา้ อยากมองเหน็ ความเขยี วชอุม่ ชวนกันไปไหวว้ ดั พระธาตุดอยกองมู แล้วเดินดูวิวมุมสูง เหน็ อะไรบ้างดา้ นลา่ งน่ัน ฤดฝู นเหมอื นฤดูฝัน ฉบั พลันต้นขา้ วงอกงาม เขยี วสดช่ืน พ่อแม่เรายิ้มรื่นยินดี 14

ฝนมา เมล็ดทห่ี ลับอยู่ใตด้ ินกต็ ื่นขนึ้ แตกกลา้ รบั น้ำ�ฝนชุ่ม ตองตึง ไม้หนง่ึ ในปา่ ใบเขยี วใหญ่สว่างตา งอกกลา้ ใหม่ๆ มากมายในผืนปา่ ใบสดใช้ห่ออาหารในตลาด ใบแห้งเรียงใบรอ้ ยเปน็ ตบั ใชม้ งุ หลงั คา เรยี กว่า แค้บคา ป่าเหมอื นขุมทรัพยม์ คี า่ มีอาหารซอ่ นอยู่มากมาย นั่นเห็ด นห่ี น่อไม้ โนน่ ผกั กูด และยงั มีมะไฟ 15

หนาวเอ๋ย เหมยหมอก ดอกไมบ้ านท่วั ภเู ขา แม่ฮ่องสอน “สอน” พวกเรา รับพระพทุ ธเจ้า เฮ็ดจองพารา 16

17

หนาวยาวนานในเมืองหนาว ขาวๆ ห่มคลุมทัว่ หุบเขา ท่วั เมืองเตม็ ไปด้วยหมอกขาว ดอกบัวตอง หนาวแค่ไหน หมอกคลมุ มากเพยี งใด ธรรมชาติยงั แตม้ สสี ันให้ชื่นชม เหลืองสวา่ งน่ันไง ดอกบวั ตอง ดอกไม้ประจำ�เมอื งแม่ฮ่องสอน 18

ดอกไม้แหง่ ศรัทธาของชาว แม่ฮ่องสอน ก้ำ�ก่อ ดอกขาวๆ หอมๆ ต้นสูงใหญ่ตระหงา่ น เติบโตอยู่ หลายๆ แหง่ ก้าํ ก่อตน้ ใหญย่ ักษ์ เดก็ หกคนโอบได้เกอื บไม่รอบตน้ เป็นปู่กำ้ �ก่อ อายเุ กือบสองร้อยปีแล้วกระมงั ไป ไป... ไปโอบ... ไปกอด... ไปดูแลให้ก้ำ�ก่อ ได้ค้ำ�จุนลกู หลานอีกนานแสนนาน ซูตองเป้ สะพานแห่งแรง อธิษฐานและศรัทธา เปน็ สะพานไม้ไผย่ าวทอดข้ามท่งุ นา ทชี่ าวบา้ นร่วมกันสรา้ งข้ึน เพอื่ ใหพ้ ระสงฆเ์ ดินจากวดั มาสูห่ มบู่ ้านไดส้ ะดวก เขยี ดแลว “เขยี ดแลว” อาศยั เฉพาะในเขตป่าแม่ฮอ่ งสอน ทกุ วันนเี้ ขียดแลวเหลอื นอ้ ยลงจนถึงข้ันใกล้สูญพันธุ์ 19

จองพารา มีส่แี บบไลเ่ รียงตามขนาดใหญ่ไปเลก็ และวางบูชาตา่ งที่กนั ไดแ้ ก่ “จองยอด”/ “ผาสาด” (ปราสาท) ผู้เฮ็ดหรือทำ�ได้ตอ้ งเป็นช่างช้ันครู ทำ�เพื่อบชู าวัดหรอื หมู่บา้ น “จองคอ” เพ่อื บชู า ท่ีวดั และบ้านของผ้ทู ่มี ฐี านะ สว่ นจองพาราทีท่ ำ�บชู าท่ีบา้ นทัว่ ไป คือ “จองปตี า่ น” และ “จองผาสาน” ตกค่ำ� พี่น้องไทใหญพ่ ากนั ไปกาดพดิ ขา้ วหยา่ กู๊ เพื่อซ้อื ข้าวปลาอาหารมาเตรยี ม ทำ�จากขา้ วเหนยี วแดงกวน ทำ�ก๊อกซอมต่อ เพื่อวางไว้ใน ทจ่ี ะไดล้ ้ิมรสกนั ในปอยหลู่ ขา้ วหยา่ กู๊ เดอื นกมุ ภาพนั ธ์ จองพารา จุดธปู เทยี นบชู า กลา่ วอญั เชิญพระพทุ ธเจา้ ให้ เสด็จมาประทบั ท่จี องพารา เป็นสริ ิมงคล จองพารา 20

กา้ ก่ิงกะหร่าและกา้ โต ชาวไทใหญ่เชอ่ื วา่ สงิ สาราสตั ว์ตา่ งดี ใจ กระโดดโลดเต้น ปรดี า ตอ้ นรบั การเสดจ็ มาของพระพุทธเจา้ จงึ มีการฟอ้ นเลยี นแบบสตั ว์ในปา่ หมิ พานต์ กา้ กิง่ กะหรา่ กา้ โต ก้ากงิ่ กะหร่า หรอื การ ก้า แปลว่าการฟอ้ นรำ� ฟอ้ นนกกนิ รีอนั สวยงาม สว่ นโต คือชอ่ื สัตว์ ในป่าหิมพานต์ ใชผ้ ้เู ชดิ สองคน 21

รอความหวาน จากปอย ปลายเดือนกุมภาพนั ธถ์ ึงเดอื นมีนาคม ทั้งข้าวปองตอ่ ขา้ วแตกปน้ั ไปวดั ก้ำ�กอ่ ไปชมดอกกำ้ �ก่อ ดอกไม้ ในปอยส่างลอง หรือจะรอชมิ ขา้ วหยา่ กู๊ ในปอยหลู่ข้าวหย่ากู๊ ที่ไทใหญถ่ อื วา่ ชว่ ยค้ําจนุ ใหช้ วี ติ รงุ่ เรืองและดงี าม ช่วงเดือนกมุ ภาพันธ์ ชว่ งปอยเหลนิ สบิ เอ็ด เดนิ ชมจองพาราของแต่ละบา้ น ข้ึนดอยกองมูชมเมืองจากท่สี ูง แต่ละฤดมู องเห็นเมืองแม่ฮอ่ งสอน แตกตา่ งกนั ไป 22

ตวั อยา่ งวธิ กี ารใชห้ นงั สอื สามฤดูในเมอื งสามหมอก กับแนวการจดั การเรียนรู้โดยใช้กระบวนการสืบเสาะ การจัดการเรยี นรู้โดยใช้กระบวนการสืบเสาะหาความรู้ เป็นกระบวนการทส่ี ่งเสรมิ ใหน้ ักเรยี นได้ สบื คน้ เสาะหา สำ�รวจ ตรวจสอบ และค้นควา้ ดว้ ยวิธีการต่าง ๆ จนเกดิ ความเข้าใจและความรู้น้นั อย่างมี ความหมาย เปน็ การพัฒนากระบวนการคิดระดบั สงู ฝกึ ใช้การสงั เกต การถาม – ตอบ ๑.ขน้ั สรา้ งความสนใจ คณุ ครชู วนนกั เรยี นคยุ เรอ่ื งฤดกู าลในทอ้ งถ่ิน แลว้ แนะนำ�หนงั สอื เรอื่ ง สามฤดู ในเมอื งสามหมอก จากนั้นจดั แบง่ นกั เรียนออกเป็นสามกลุ่ม คือกลมุ่ ฤดรู อ้ น ฝน หนาวเพอื่ สืบค้นประเพณี และวัฒนธรรม การละเลน่ ในแตล่ ะฤดูของทอ้ งถ่ินของตนเอง ๒. ข้นั สำ�รวจและค้นหา ขั้นนคี้ ณุ ครแู นะนำ�วธิ แี ละอุปกรณท์ ี่ต้องใช้ในการสำ�รวจ เชน่ สอบถามจาก ผรู้ ู้ ถา่ ยภาพ วาดภาพหรอื จดบนั ทกึ เพอื่ คน้ หาและบนั ทกึ สงิ่ ที่นกั เรยี นตอ้ งการจะรู้ แลว้ กำ�หนดเวลาในการ สืบค้น และเก็บข้อมลู ในรูปแบบตา่ งๆ ๓. ข้ันอธบิ ายและสรุป เม่อื ได้ขอ้ มลู เพียงพอ คณุ ครูใหน้ ักเรียนนำ�ขอ้ มูลท่ีได้มาวิเคราะห์ สรปุ ผล แล้วนำ�เสนอซงึ่ อาจจะเปน็ งานเดี่ยวหรอื งานกลุ่ม ๔. ขนั้ ขยายความรู้ เปน็ ขัน้ การนำ�ความรู้ที่สรา้ งข้นึ ไปเช่อื มโยงกบั ความร้เู ดิม ในข้นั น้ีคณุ ครสู ามารถ กระตุน้ ใหน้ ักเรยี นเขยี นเนอื้ หาขนึ้ มาใหม่ เชน่ สร้างสรรคส์ ่ือชนิ้ ใหม่ในรูปหนงั สอื หรือคลิปวีดโี อพรอ้ มเสยี ง บรรยาย ๕. ขน้ั ประเมิน เป็นการประเมินการเรียนรดู้ ้วยกระบวนการตา่ ง ๆ ว่านักเรยี นมีความรู้ อะไรบ้าง อยา่ งไร และมากนอ้ ยเพียงใด สกณุ ี ณัฐพูลวฒั น์ เทพศิริ สุขโสภา จบการศึกษาปริญญาตรี คณะเกษตรศาสตร์ นักเขยี น นกั วาดภาพ เกดิ ท่ีจังหวดั สโุ ขทยั เม่ือ พ.ศ. และปริญญาโท คณะการจัดการมนุษย์กับสิ่งแวดล้อม ๒๔๘๖ เขา้ เรยี นทม่ี หาวทิ ยาลยั ศลิ ปากร เปน็ ลกู ศษิ ยข์ อง มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ เร่ิมงานในตำ�แหน่งประจำ�กอง อาจารยศ์ ลิ ป์ พรี ะศรี มีนสิ ยั ส่วนตวั คอื ชอบวาดภาพแจก บรรณาธิการ นิตยสารบ้านและสวน ก่อนไปเป็นผู้ช่วย ถ้าเจอคนถูกใจ เทพศิริ สุขโสภา เป็นศิลปินโดยกำ�เนิด นักวิจัยโครงการทางสังคมศาสตร์ ประเด็นไร่หมุนเวียน เพราะยังไม่เคยทำ�งานอะไรเลยนอกจากงานศิลปะ ชนกลุ่มน้อย และระบบเกษตรบนท่สี งู ทตี่ วั หลงรกั มายาวนานกวา่ หา้ สบิ ปี ในพ.ศ. ๒๕๔๒ ได้ก่อตงั้ รา้ นหนังสอื ชือ่ “ร้านเลา่ ” เทพศริ ิ เปน็ ศิลปินแนว Impressionism ทีเ่ ด่นมาก ที่อำ�เภอเมือง จงั หวดั เชยี งใหม่ คนหน่ึงของไทย ยึดอาชีพวาดภาพประกอบมาต้ังแต่หนุ่ม ผลงานเขยี น จนถงึ ปัจจุบนั ผลงานเขยี น “ทกุ วนั เป็นวนั สนกุ ” ส่อื การเรยี นรู้สาระท้องถ่ินยะลา คนหกคน เรยี นศลิ ป์ คนวาดภาพประกอบ สำ�นกั งานอุทยานการเรยี นรู้ (TK park) ของเล่นเดินทาง รา่ งพระรว่ ง บึงหญ้าป่าใหญ่ ความเขา้ ใจเกี่ยวกบั ศิลปะ งานเขียนเกีย่ วกบั ผตู้ ้องขังในโครงการ “กำ�ลังใจ” ในพระเจ้าหลานเธอ พระองค์เจ้าพชั รกิติยาภา วารสาร “With You” ของ UNHCR หนงั สอื “รา้ นหนงั สอื อสิ ระ” ในโครงการของสำ�นกั งาน คณะกรรมการสุขภาพแหง่ ชาติ (สช.) 23

หนังสือในชดุ ส่ือการเรยี นรสู้ าระทอ้ งถน่ิ จงั หวัดแมฮ่ อ่ งสอน 24