Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore เทคโนโลยีการเพิ่มผลผลิต : ถั่วลิสง

เทคโนโลยีการเพิ่มผลผลิต : ถั่วลิสง

Description: เทคโนโลยีการเพิ่มผลผลิต : ถั่วลิสง

Search

Read the Text Version

เทคโนโลยกี ารเพม่ิ ผลผลติ โดย รศ.ดร.อารยี  วรัญูวัฒก ภาควิชาพืชไรนา คณะเกษตร มหาวทิ ยาลยั เกษตรศาสตร • ลกั ษณะทว่ั ไปของถว่ั ลสิ ง • ฤดปู ลกู • พันธุ • การเตรยี มดนิ • วิธีปลกู • การเตรยี มเมลด็ กอ นปลกู • การปฏบิ ตั ดิ แู ลหลงั ปลกู • ปยุ สําหรบั ถว่ั ลสิ ง • โรคแมลงศัตรูถั่วลิสง • การเกบ็ เกย่ี ว • การตาก • การกะเทาะ • การเก็บรักษา • การใชประโยชน

2 คํานํา เอกสารฉบับนี้ ผเู รียบเรียงตองการใหค วามรูทัว่ ๆ ไปเกี่ยวกับถั่วลิสง ถึงแมจะสอด แทรกวิชาการบาง เพอ่ื ใหผ อู า นไดป ระโยชน แตก พ็ ยายามใหง า ย ดังนั้นจึงถือวาเปน “เทคโนโลยใี นระดบั ปฏบิ ตั ิ” ซึ่งเกษตรกรสามารถนําไปใชได เนื้อหาสวนใหญจึงเปนกึ่ง วชิ าการและกึ่งปฏิบตั ิทเ่ี รียบเรยี งขน้ึ จากประสบการณข องผเู ขยี น สง่ิ ทอ่ี ยากเนน ในทน่ี อ้ี ยา งหนง่ึ คอื การนําถว่ั ลสิ งมาใชประโยชนในระดบั ไรนา จึง ใครข อเชญิ ชวนใหม กี ารบรโิ ภคถว่ั ลสิ งกนั อยา งกวา งขวาง เพอ่ื ใหส ภาวะการขาดแคลนสาร อาหารโปรตนี และพลงั งานในเดก็ ตามชนบทลดนอ ยลง ถา หากครอบครวั เกษตรกรจะไดน ํา ผลติ ผลบางสว นมาใชบรโิ ภคแทนท่ีจะปลูกเพอื่ การจําหนา ยเพยี งอยา งเดยี ว ผูเขยี นหวงั วา เอกสารฉบบั น้ี จะชว ยใหเ ทคโนโลยกี ารปลกู ถ่วั ลิสงของเกษตรกรไปสู จุดหมายสดุ ทา ยเดยี วกนั คอื ผลผลิตสูงและคุณภาพดี อารี วรัญูวัฒก

3 เทคโนโลยกี ารเพม่ิ ผลผลติ : ถั่วลิสง ถั่วลิสง ที่เรียกกันทั่วไปวา ถั่วดิน นบั วา เปน พชื ตระกลู ถว่ั ชนดิ เดยี วทม่ี กี ารนํามาใช บรโิ ภคแพรห ลายทส่ี ุดในประเทศ ซึ่งอาจจะอยใู นรูปใดรูปหนง่ึ แตท น่ี ยิ มกนั กวา งขวางทส่ี ดุ คอื ถว่ั ตม และถว่ั ทอด นอกจากนีถ้ ั่วลสิ งสามารถนําไปแปรรูปทําผลิตภณั ฑไดอกี มากมาย หลายชนดิ ดงั นน้ั ประมาณไดว า กวา รอ ยละ 90 ของผลผลติ จะถกู นํามาใชภ ายในประเทศ ถ่ัวลสิ งเปน แหลง สารอาหารโปรตนี อนั อดุ มสมบรู ณท ม่ี รี าคาถกู และยงั ใหส ารอาหาร ประเภทพลังงาน หรือไขมนั ท่ีมีคุณภาพดีกวา ไขมนั ทไ่ี ดจากสัตว ถา ทกุ ๆ ฝา ยทง้ั ภาครฐั บาลและเอกชนรว มกสั นับสนุนและสงเสรมิ ใหประชาชนบรโิ ภคถ่วั ลสิ งกันมากขน้ึ โดยเฉพาะ อยา งยงิ่ ชาวชนบท ทกุ ครอบครวั ในชนบททห่ี า งไกลกจ็ ะไดส ารอาหารประเภทโปรตนี และ ไขมนั ถา หากบรโิ ภคถ่วั ลิสงทม่ี คี ุณภาพดีอยูเปนประจํา “ดอกถว่ั ลสิ ง “ ฝก ถว่ั ลสิ ง ลกั ษณะทั่วไปของถั่วลิสง ถ่ัวลสิ งเปน พชื ลม ลกุ ขนาดเลก็ สูงประมาณ 40-50 เซนตเิ มตร อายตุ ง้ั แตป ลกู จนถึงเก็บเกี่ยวประมาณ 3-5 เดอื น ขน้ึ อยกู บั พนั ธแุ ละฤดปู ลกู ออกดอกเมอ่ื อายุ ประมาณ 30-40 วัน ดอกสเี หลอื งเกดิ ตามขอ เปนดอกสมบูรณเพศ คอื มีทง้ั เพศผแู ละ เพศเมยี อยใู นดอกเดยี วกนั เมื่อดอกบานก็จะเกิดการผสมพันธุในตัวเอง หลงั จากนน้ั รงั ไข จะยน่ื ยาวโผลอ อกมาเรยี กวา เข็ม ซึ่งจะงอลงดิน ปลายเขม็ เมอ่ื แทงลงดนิ แลว จะขยายตวั

4 กลายเปน ฝก ซึ่งปลายเข็มนี้ถาแทงลงไมถึงดิน ก็จะไมพัฒนาเปนฝก ภายในฝก จะมเี มลด็ สวนใหญม ปี ระมาณ 1-4 เมลด็ และมขี นาดเลก็ จนถงึ ใหญ เยอ่ื หมุ เมลด็ จะมสี แี ตกตา ง กนั ตามพนั ธุ ประเภทและพนั ธขุ องถว่ั ลสิ ง ทส่ี ําคัญ ๆ สามารถจะจําแนกประเภท ไดดังนี้ 1. ประเภทสแปนชี ถ่ัวลิสงประเภทนม้ี กั จะมใี บขนาดใหญ สเี ขยี วไมเ ขม นกั ออกดอกทกุ ขอ ในหนง่ึ ฝกมักมี 2 เมลด็ เมลด็ มขี นาดเลก็ ถงึ ปานกลาง ตัวอยางพันธทุ ีม่ ีปลูกในประเทศไทย คอื ไทนาน 9 2. ประเภทวาเลน็ เซีย ถั่วลิสงประเภทนี้มีลักษณะคลายกับประเภทแรก แตในฝกหนึง่ จะมี 3-4 เมลด็ เมลด็ มขี นาดเลก็ ถงึ ปานกลาง ตัวอยา งพนั ธทุ ป่ี ลกู ในประเทศไทย เชน ลําปาง ขอนแกน 60-2 และ พนั ธพุ นื้ เมอื งทม่ี เี มล็ดสแี ดงหรือสชี มพซู ดี มฝี กยาว พนั ธไุ ทนาน พนั ธุ สข.38 “พนั ธเุ กษตร 1

5 3. ประเภทเวอรจิเนีย ถั่วลิสงประเภทนี้มีลักษณะแตกตางจากอีก 2 ประเภททก่ี ลา วแลว กลา วคอื ใบมีขนาดเลก็ สเี ขยี วเขม กวา 2 ประเภทแรก ดอกจะเกดิ ทกุ 2 ขอ สลับกับ 2 ขอ ท่ี แตกออกเปนกิ่ง ดงั นน้ั การเกดิ ฝก จะกระจายไมแ นน เหมอื น 2 ประเภทแรก ในหนึ่งฝกมัก มี 2 เมลด็ และเมลด็ มขี นาดคอ นขา งใหญบ างพนั ธมุ เี มลด็ ใหญก วา 2 ประเภทแรกถึง 3 เทา ในประเทศไทยพนั ธทุ ่เี ปน ประเภทเวอรจเิ นียยงั ไมปลูกแพรหลายนัก ขณะนี้ก็มีพันธุ “เกษตร 1” ของมหาวทิ ยาลยั เกษตรศาสตรเ ทา นน้ั ที่มีเกษตรกรบางทองที่ใชปลูกเพื่อ ปอนโรงงานแปรรูปถั่วลิสง นอกจากลักษณะภายนอกของถ่ัวลิสงแตละประเภทจะแตกตางแลวองคประกอบทาง เคมภี ายในเมลด็ กม็ คี วามแตกตา งกนั ดว ย ดงั นน้ั ถ่ัวลิสงแตละประเภทจงึ มคี วามเหมาะ สมในการนําไปใชประโยชนแตกตางกัน แตในประเทศไทยยงั ไมม ีพนั ธถุ ่วั ลสิ งที่มคี ณุ สมบตั ิ เหมาะสมเฉพาะอยาง ดังนั้นเกษตรกรจงึ เลือกใชพันธทุ ่ีปลูกเพอ่ื ใชประโยชนท ั้งบริโภคโดย ตรงและเพอ่ื นําไปสกัดนํ้ามนั ได โดยทั่วไปถั่วลิสงประเภทเวอรจิเนยี มปี ริมาณนํ้ามนั ต่ํา จงึ เหมาะสําหรบั ใชท ําผลติ ภณั ฑแ ปรรปู เพราะมีอายุการเก็บรักษานาน ไมเ หม็นหนื งาย เหมอื นกับพันธุที่มีนํ้ามนั มาก และรสชาตใิ นการบรโิ ภคกย็ งั แตกตา งกนั อกี ดว ย สวนพันธุที่ มนี า้ํ มนั มากจึงเหมาะสําหรบั สกดั น้ํามนั และใชก ากทเ่ี หลอื ในอตุ สาหกรรมผลติ อาหารสตั ว ฤดูปลูก ถว่ั ลสิ งสามารถปลกู ไดต ลอดปถ า พน้ื ทป่ี ลกู มนี ้ํา ดงั นน้ั เกษตรกรอาจจะปลูกถั่ว ลิสงไวบริโภคเองไดในลักษณะปลูกเปนพืชสวนครัวไวใกล ๆ บาน แตโ ดยทว่ั ๆ ไปถั่วลิสง สามารถปลูกไดชวงเวลาดังนี้ 1. ฤดูแลง สวนใหญจ ะปลกู กนั ในบรเิ วณทม่ี คี ลองสง น้ําไปถงึ และเปน ทน่ี า หลงั จากเกบ็ เกย่ี ว ขาวแลว ปลูกตั้งแตเดือน พฤศจกิ ายนจนถงึ มกราคม 2. ตนฤดูฝน มักจะปลกู กนั ในทไ่ี ร กอ นทจ่ี ะปลกู พชื หลกั อยา งอน่ื ในบางแหงสามารถปลูกได ประมาณเดอื นมนี าคมหรอื เมษายน การปลูกถั่วลิสงตนฤดูฝนนี้ เกษตรกรในแตละทอ งทจ่ี ะ

6 ตองพิจารณาถงึ ความเหมาะสมในทอ งทน่ี น้ั ๆ ตามลกั ษณะของสภาพดนิ ฟา อากาศ ซง่ึ อาจ จะปลูกไดผลดีหรือไมดี เนอ่ื งจากความแปรปรวนของฝนในแตล ะป 3. ปลายฤดูฝน เปนการปลูกในที่ไรเชนเดียวกัน แตอ าจจะปลกู ตามพชื หลกั ชนดิ อน่ื ทเ่ี กบ็ เกย่ี วแลว เชน ขา ว โพด เปน ตน การปลูกในฤดูนี้จะมีความเสย่ี งเชน เดยี วกับตน ฤดูฝน ถาปใดฝนตกลาออกไป ถ่ัวลสิ งกจ็ ะไดค วามชน้ื พอเพยี ง แตเ ปน การเสย่ี งเกนิ ไปสําหรบั ปลกู ถว่ั ลสิ งทม่ี อี ายยุ าว การจะปลูกถั่วลิสงใหไดผลดีนั้น จะตองพิจารณาถึงอายุของพันธุที่ใชเปนเกณฑ สิ่ง ทต่ี อ งคํานึงถึง คอื ถั่วลิสงจะตองไดรับนํ้าฝนพอเพียงในชวงเจริญเติบโตและไดรับใน ปรมิ าณทน่ี อ ยลงเมอ่ื จะเกบ็ เกย่ี ว เพราะเมื่อเก็บเกี่ยว ดนิ จะตอ งมคี วามชน้ื พอควร เพื่อ สะดวกในการถอนตน ถา ดนิ แหง เกนิ ไป จะทําใหก ารดงึ ถอนตน ลําบาก และขาดจากกนั ได ทาํ ใหส ญู เสยี ผลผลติ ไป ดงั นน้ั จากประสบการณของผูเขียนพบวา ชว งทเ่ี หมาะทส่ี ดุ ของ การปลูกถั่วลิสงในฤดูฝน คอื ประมาณตน ถงึ กลางเดอื นกรกฎาคม อยางไรก็ตาม เกษตรกรควรพิจารณาดสู ถิติการตกของฝนในแตล ะทองที่ประกอบดวย การปลกู และเกบ็ เกย่ี ว ถวั่ ลิสงที่เหมาะสมกับฤดูกาลจะไดผลิตผลที่ดี มีคุณภาพ พันธุ การเลอื กใชพ นั ธปุ ลกู ขน้ึ อยกู บั ความตอ งการของตลาดในแตล ะทอ งที่ พนั ธทุ น่ี ยิ ม ปลูกกันทั่วไป คอื ประเภทสแปนีช และ วาเล็นเซีย สวนประเภทเวอรจิเนีย* นบั วา เปน ชนดิ ใหม และมีปลูกในบางแหงสําหรบั การอตุ สาหกรรมแปรรปู ถ่ัวลิสงทงั้ 3 ประเภท มพี นั ธุที่แนะนําใหรจู ัก คอื 1. พนั ธุไทนาน 9 เปนพวกสแปนีช ขนาดฝก เลก็ มี 2 เมลด็ ตอ ฝก เมล็ดสีชมพูซีด อายเุ กบ็ เก่ียว เมื่อปลูกในฤดูฝนประมาณ 100 วัน 2. พนั ธุพื้นเมือง มีปลกู หลายพนั ธุ แตพ นั ธทุ ป่ี ลกู สําหรบั ขายฝก สดทําถั่วตม มีเมล็ดสีแดง ฝกมี 3- 4 เมล็ด ฝกคอนขา งตรง เมลด็ แนน อายเุ กบ็ เกย่ี วประมาณ 95 วนั 3. พนั ธุเกษตร 1 อายุประมาณ 120 วัน ขนาดฝก ใหญ มี 2 เมลด็ ตอ ฝก เมล็ดสีชมพูสด

7 ถาเกษตรกรปลกู ในฤดแู ลง ซึ่งมักมีอากาศเย็น การงอกและการเจริญเติบโตจะชากวาการ ปลกู ในฤดฝู น ดงั นน้ั อายุเก็บเกี่ยวของพันธุที่กลาวนี้จะลาชาออกไปอีกประมาณ 5-10 วัน การเตรียมดิน 1. ดินไร ไถเตรยี มดินเชน เดียวกบั การปลกู พืชไรท ัว่ ไป คอื ไถดะ แปร และไถพรวน ยอยดินใหเปนกอนเลก็ พอควร ดนิ ทม่ี เี นอ้ื เหนยี วมาก ไมเหมาะที่จะใชปลูกถั่วลิสง เพราะ การลงฝก และการเจรญิ เตบิ โตของฝก จะไมด ี และยงั ทําใหเก็บเกี่ยวลําบากอีกดวย 2. ดินนา ทําเชน เดยี วกบั การเตรยี มดนิ ไร แตใ นบางแหง อาจเตรยี มดนิ นาโดยใชแ รงสตั ว เพอื่ ยกรองสําหรบั ปลูกและสะดวกแกก ารใหน้ํา ดงั นน้ั ระยะหางระหวางสันรองอาจไม สามารถทําไดต ามระยะทต่ี อ งการ ในบางแหง ทเ่ี ปน นาลมุ ความชน้ื ในดนิ ดี และมนี ้ําใตด นิ อยตู น้ื การเตรยี มดนิ อาจทําเชน เดยี วกบั การเตรยี มดนิ ไร คอื ไมต อ งยกรอ ง เพื่อใหนํ้าแตป ลกู บนพน้ื ราบตาม ระยะทก่ี ําหนด กอนการพรวนดนิ ครง้ั สดุ ทา ย ถา ดนิ เปน กรดควรหวา นดว ยปนู ขาว ปริมาณที่ ใชข น้ึ อยกู บั ผลการตรวจวเิ คราะหด นิ นอกจากนี้ควรหวานปุยลงไปกอนพรวน ทั้งนี้เพื่อ เปน การคลกุ เคลา ปยุ ลงดนิ รากพชื จะมโี อกาสดดู ใชป ยุ ไดด ขี น้ึ วิธีปลูก การปลกู ใหย ดึ หลกั “ดินเลวปลูกถี่ดินดีปลูกหาง” คอื ถา ดนิ ดใี หป ลกู แถวหา งกวา ดนิ เลว การเลือกใชระยะระหวางแถวที่พอเหมาะจะทําใหไดผลผลติ สูงสุด และยังเปน การ ควบคุมวัชพืชไดดวย ถาปลูกแถวหางเกินไป เมอ่ื ตน ถว่ั เจรญิ เตบิ โตเตม็ ทแ่ี ลว พุมใบยัง คลมุ ไมช ดิ กนั นอกจากจะเปนการสูญเสียพื้นที่วางเปลาระหวางแถวแลว ยงั ทําใหว ชั พชื ขน้ึ มารบกวนไดด ว ย ระยะแถวที่เหมาะสําหรับพันธุถั่วลิสงที่ใชปลูก มดี งั น้ี 1. ถาปลกู ถว่ั ลสิ งในฤดแู ลง และดนิ ไมค อ ยอดุ มสมบรู ณ ควรใชระยะระหวางแถว ประมาณ 30 เซนตเิ มตร ระยะระหวางหลุม 20 เซนตเิ มตร ยกเวนเมื่อปลูกในนาซึ่ง

8 อาจจะยกรอ งใหแ คบ ตามทก่ี ําหนดไดย าก ระยะแถวอาจกวางกวานี้ เพื่อสะดวกแกการให นา้ํ ดวย 2. ถาปลกู ในฤดฝู นและดนิ คอ นขา งอดุ มสมบรู ณพ ชื จะเจรญิ ไดด ี ดงั นน้ั ควรใชร ะยะ ระหวางแถวกวางประมาณ 50 เซนตเิ มตร บนพน้ื ทด่ี อน หลงั จากพรวนดนิ ครง้ั สดุ ทา ยแลว ใหกะระยะแถวไวดวยหลักเล็ก ๆ แลวใชเ ชอื กขงึ ไปจนสดุ ขอบของแปลงอกี ดา นหนง่ึ จากนน้ั กห็ ยอดเมลด็ เปน หลมุ ๆ ตาม แนวเชอื กทข่ี งึ ใหระยะหางระหวางหลุมประมาณ 20 เซนตเิ มตร ขอแนะนําใหซ อ้ื เครอ่ื ง หยอดเมลด็ แบบใชม อื ถอื ลักษณะแบบเดยี วกับที่ใชหยอดขา วโพด แตค วรสง่ั ทําใหไ ดร ะยะ หางระหวางหลุม 20 เซนตเิ มตร การใชเ ครอ่ื งหยอดแบบนส้ี ามารถปลกู ไดเ รว็ และควร ลกึ สม่าํ เสมอดกี วา ใชว ธิ ขี ดุ หลมุ ปลกู ควรหยอดเมล็ดหลุมละไมเกิน 2 เมลด็ และควรเลอื กใชเ มลด็ พนั ธทุ ด่ี มี คี วามแขง็ แรง ถงึ จะไดต น ทส่ี มบรู ณแ ละเจรญิ เตบิ โตดี การหยอดมากกวา 2 เมลด็ ตอ หลมุ นอก จากไมชว ยเพ่ิมผลผลิตแลว ยงั ทําใหส น้ิ เปลอื งเมลด็ อกี ดว ย ถาปลกู บนรอ งกป็ ฏิบตั ิเชน เดียวกัน คอื หยอดเมลด็ ตามขา งสนั รอ งทง้ั 2 ขา ง วิธี นี้จะไดระยะระหวางแถวบนสันรองเดียวกันหางกันประมาณ 25-30 เซน็ ตเิ มตรเทา นน้ั แตร ะหวางสนั รอ งอาจหางกนั มากกวา 50 เซ็นติเมตรซึ่งใชเปนรองสําหรบั ใหน ้ํา การหยอดเมลด็ ตามระยะปลกู ทก่ี ําหนดดว ยอตั ราดงั กลา ว จะตอ งใชเ มลด็ พนั ธทุ ่ี กะเทาะเปลือกแลวประมาณ 15 ถึง 20 กโิ ลกรมั ตอ ไร ขน้ึ อยกู บั พนั ธทุ ใ่ี ชป ลกู ถาเปน พันธุพวกเมล็ดขนาดกลางอาจใชประมาณ 15 กโิ ลกรมั พนั ธุเมล็ดใหญใ ชประมาณ 20 กโิ ลกรัม หรอื เปน น้ําหนักทั้งเปลือกประมาณ 22 กโิ ลกรมั และ 30 กโิ ลกรมั ตาม ลาํ ดบั เครื่องหยอดเมล็ดแบบมอื ลักษณะการปลกู ถว่ั ลสิ งบนพน้ื ราบ

9 การเตรียมเมล็ดกอนปลูก เมลด็ พนั ธุท จี่ ะใชปลกู ควรเลอื กเมลด็ ทไ่ี ดม าจากตน ทม่ี ลี กั ษณะตรงตามพนั ธแุ ละ เปน เมลด็ ใหมท ม่ี อี ตั ราความงอกดี ดงั นน้ั เกษตรกรควรแนใ จวา เปน เมลด็ ทม่ี คี ณุ ภาพดี ทางทด่ี คี วรเกบ็ เมลด็ ไวท ําพันธุเอง เมล็ดทม่ี คี ณุ ภาพดคี อื เมลด็ ทก่ี ะเทาะดว ยมอื ถา กะเทาะดว ยเครอ่ื ง จะตอ งคดั เมลด็ แตกหรอื ผวิ ถลอกออก และจะตองรีบนําไปปลูกทันที การทิง้ เมลด็ ท่ีกะเทาะดวยเครื่องไว นาน จะเสื่อมความงอกเร็วกวาเมล็ดที่กะเทาะดวยมือ ถาเกษตรกรใชพันธุประเภทเวอรจิ เนีย เมล็ดจะมีระยะพักตัว เมล็ดใหมจะไมงอก ดงั นน้ั จะตอ งทง้ิ ไวใ นทท่ี ่เี หมาะสมนานกวา 2 เดอื นจงึ นําไปปลูก ถาเปนเมล็ดใหมที่เก็บมาจากไร หากจะนําไปปลูกตอ งทําลายระยะ พกั ตัวกอน คอื หลงั จากกะเทาะเมลด็ แลว ใหน ําไปอบดวยความรอน ใชอ ณุ หภมู ิ 50 องศา เซลเซยี ส เปน เวลานาน 72 ช่ัวโมง (ประมาณ 3 วัน ) ถึงแมจะไมสะดวกในทางปฏิบัติ สาํ หรับเกษตรกร แตก เ็ ปน วธิ เี ดยี วทไ่ี ดผ ลดใี นขณะน้ี การใชเ มลด็ ขนาดเลก็ หรอื ใหญใ หผ ลไมต า งกนั ขอเพยี งแตใ หเ ปน เมลด็ ทส่ี มบรู ณ คือไมเ หย่ี วยน หรอื มตี ําหนิ หรอื เปน เมลด็ ทม่ี กี ลน่ิ เหมน็ หนื ซึ่งแสดงวาเปนเมล็ดเกา และ ไมม คี วามแขง็ แรง ถงึ แมว า อาจงอกแตต น กลา จะเจรญิ เตบิ โตชา และออ นแอกวา เมอ่ื ปลกู ดว ยเมลด็ คณุ ภาพดี กอ นนาํ เมลด็ ไปปลกู ควรปฏิบัติตอเมล็ด ดังตอไปนี้ 1. คลุกสารเคมี ควรคลกุ เมลด็ ดว ยสารเคมกี อ นนําไปปลูก ทง้ั นเ้ี พอ่ื ปอ งกนั เชอ้ื ราเขา ทําลายตน กลาทง่ี อก สารเคมที ใ่ี ชค ลกุ เมลด็ เชน ไวตาแวกซ โดยใชส าร 2 กรัม (ประมาณครึ่ง ชอนชา) ตอ เมลด็ 1 กโิ ลกรมั ใชว ธิ คี ลกุ แหง คอื เขยา สารเคมกี บั เมลด็ ใหท ว่ั 2. คลุกเชื้อไรโซเบี้ยม ถา หากดนิ ไมด แี ละไมเ คยปลกู ถว่ั ลสิ งมากอ น ควรใชไ รโซเบย้ี มคลกุ เมลด็ กอ น ปลูก แตไ มค วรคลกุ สารเคมี ตอ งรบี ปลกู เมลด็ ทค่ี ลกุ ไรโซเบย้ี มทนั ที และระวงั อยา ให เมลด็ ตากแดดเพราะเชอ้ื จะตาย ควรอา นและปฏบิ ตั ติ ามขอ แนะนําการใชเชื้อไรโซเบี้ยมจาก ขา งถงุ อกี ครง้ั หนง่ึ

10 การปฏบิ ตั ดิ แู ลหลงั ปลกู หลงั จากหยอดเมลด็ เสรจ็ แลว ควรปฏบิ ัตดิ แู ลและบํารุงรักษาแปลงปลูก ดงั น้ี 1. ควรฉีดพนแปลงปลกู ดวยสารเคมเี พ่ือควบคุมวชั พืช การฉดี สารเคมปี ระเภท คมุ กําเนิด” วัชพืชน้ีมีขอดีคือ จะชว ยควบคมุ วชั พชื หลายชนดิ ไดน านประมาณ 1 เดอื น ซงึ่ จะชวยใหเกษตรกรไมตองเสียแรงงานกําจดั วชั พชื มาก โดยเฉพาะอยางย่งิ ถา ปลูกถ่ัวลิสง ในพ้ืนทข่ี นาดใหญ มกั จะดายหญา ไมท นั การมวี ชั พชื ขน้ึ แขง ขนั กบั ตน ถว่ั ในระยะแรก จะ ทาํ ใหผ ลผลติ ลดลงมาก หรอื อาจจะไมไดผ ลผลติ เลยถา ไมม ีการกําจัดวชั พืช การฉดี สารเคมตี อ งทําทนั ทหี ลงั ปลกู และดนิ ตอ งมคี วามชน้ื พอควร ถา หลงั จากฉดี แลว ไมม ฝี นตกเลยภายใน 7 วัน จะตอ งฉดี ใหม เพราะสารเคมีจะสูญสลายไมสามารถ ทําลายวชั พชื ทข่ี น้ึ ทหี ลงั ได สารเคมที ใ่ี ชไดผลดกี ับถ่ัวลสิ ง คอื พวกอะลาคลอร เชน แลสโซ หรอื จะใชดูอัลก็ได สารพวกนต้ี อ งฉดี กอ นพชื งอก โดยฉดี พน ใหท ว่ั ทง้ั แปลง ใชส ารเคมี อตั ราประมาณ 500 ซีซี (ครง่ึ ลติ ร) ผสมกับนํ้าฉดี ใหท ว่ั พน้ื ท่ี 1 ไร 2. ในพน้ื ทท่ี ใ่ี หน ้ําได ถา ดนิ ทเ่ี ตรยี มไวแ หง เกนิ ไป และเมอ่ื ฉดี สารเคมดี งั กลา วมา แลว ส่งิ ท่ตี อ งปฏบิ ัตหิ ลงั จากปลกู แลว คอื การใหน ้ําถั่วลิสงจะงอกภายใน 7 วนั หลงั ปลกู จะตอ งใหน ้ําครั้งที่สองและครั้งตอไปประมาณทุก 7-10 วัน ขน้ึ อยกู บั สภาพแวดลอ ม ถั่ว ลสิ งตอ งการน้ํามากในระยะออกดอกและมากทส่ี ดุ เมอ่ื อายปุ ระมาณ 2 เดอื น หลงั จากนน้ั กจ็ ะตองการนํ้านอ ยลง เกษตรกรตอ งหมน่ั สงั เกตดดู ว ย ถาถว่ั ลสิ งเหีย่ วเฉาเวลาเที่ยงวนั แสดงวา ขาดน้าํ ควรรบี ใหน ้ําทดแทน สาํ หรบั ในพน้ื ทท่ี อ่ี าศยั น้ําฝน การใหน ้ําอาจทําตามกําหนดไมไ ด เพราะตองพึ่งพา ธรรมชาตอิ ยา งเดยี วเทา นน้ั 3. เมื่อถั่วอายุประมาณ 28-30 วัน จะเรม่ิ ออกดอก แตป ระเภทเวอรจ เิ นยี จะออก ดอกเมื่ออายุประมาณ 35 วัน หากปลกู ฤดแู ลง ทม่ี อี ากาศเยน็ การออกดอกจะชาออกไป อีกประมาณ 5 วัน ในระยะนส้ี ิ่งทเ่ี กษตรกรจะตองปฏิบัตใิ นคราวเดยี วกันคอื 3.1 การดายหญา ถึงแมจะใชสารเคมีคุมกําเนดิ วชั พชื แตเมื่อถึงชวงนี้จะมีวัชพืช งอกมากขน้ึ เพราะยาปราบวชั พืชหมดฤทธคิ์ มุ จึงจําเปน ตอ งดายหญา ชว ยครง้ั แรก 3.2 เนอ่ื งจากไดใ สป ยุ ไปแลว เมอ่ื ตอนเตรยี มดนิ ดงั นน้ั หลงั จากดายหญา แลว ควรพรวนดนิ กลบโคน โดยเฉพาะอยา งยง่ิ การปลกู บนทร่ี าบ ตามทไ่ี รท ว่ั ๆ ไป การพรวน ดนิ กลบโคนจะชว ยทําใหผ ลผลติ เพม่ิ ขน้ึ ถาเกษตรกรเลือกปลูกถั่วพวกเวอรจิเนีย ซึ่งตองการธาตุแคลเซี่ยมมากกวาถั่วพวก สแปนชี จะตองหวานปุย เชน ผงยิบซมั่ บริเวณขางแถว อัตราไรละประมาณ 25 กโิ ลกรมั แลว จงึ พรวนดนิ กลบโคน

11 ในแปลงปลกู ถั่วลิสงแบบวธิ ียกรอง การพรวนดนิ กลบโคนอาจทําไดล ําบาก แตจ ํา เปน ตอ งดายหญา เพราะมกั มหี ญาขน้ึ มาก การใสปุยยิบซมั่ อาจทําไดโ ดยการหวา นบนสนั รอ ง แลว ปยุ จะละลายน้ําลงไปในดนิ เอง 3.3 หลงั จากนอ้ี าจจําเปน ตอ งฉดี สารเคมปี อ งกนั โรค โดยเฉพาะอยา งยง่ิ เมอ่ื ปลกู ถ่ัวลิสงในฤดฝู น โรคใบจุดมักจะเริ่มระบาด การฉดี สารเคมแี ตเ นน่ิ ๆ จะปองกันการระบาด ไดดีกวา การฉดี เยยี วยาแกไ ข สารเคมที ใ่ี ชไ ดผ ลดมี ชี อ่ื การคา วา ดาโคนลิ และ คารเบ็นดาซิม เปน ตน โดยใชส ารประมาณ 30 กรัม ผสมกับนํ้า 20 ลติ ร ฉดี พน ใหท ว่ั ใบ และฉดี หางกันทุก 10-15 วัน รวมฉดี ทง้ั หมด 4-5 ครง้ั 4. ถา พบวา มหี นอนทําลาย หรอื มีเพลยี้ จกั๊ จน่ั ระบาด อาจผสมสารเคมีกําจดั แมลง ฉีดพรอ มกับสารเคมีปองกันโรค แตถาแมลงยังไมรบกวนมาก กไ็ มต อ งใชส ารฆา แมลง 5. การปฏิบัติอื่นๆ ทกี่ ลา วมาแลวนัน้ เปนการปฏบิ ตั ติ ั้งแตปลกู ถั่วลสิ งจนถงึ เมอื่ ถัว่ อายุประมาณ 1 เดอื นเศษๆ หลงั จากนใ้ี หค อยดแู ลเรอ่ื งการใหน ้ําและการฉดี สารเคมปี อ งกนั แมลงตามความจําเปน ถงึ แมจ ะมแี มลงศตั รหู ลายชนดิ ทท่ี ําลายถว่ั ลสิ ง แตท ร่ี นุ แรงและมี ผลตอผลผลติ มเี พียง 2-3 ชนดิ เทา นน้ั ตอ งเลอื กใชส ารเคมใี หถ กู ชนดิ จงึ จะไดผ ล นอกจาก นเ้ี กษตรกรอาจพิจารณากําจดั วชั พชื อกี 1 ครง้ั ข้ึนอยูก ับวา มีวชั พชื มากนอยเพยี งใด ขอ ควรตระหนัก คอื การเขา ไปดายหญา เมอ่ื ถว่ั ลงฝก แลว อาจเปน ผลเสยี มากกวา ผลดี ดงั นน้ั การกําจดั วชั พชื ครง้ั แรกจงึ ตอ งทําใหด ถี า ถว่ั ขน้ึ คลมุ พน้ื ทด่ี แี ลว วชั พชื จะขน้ึ ไดน อ ย จะมี ก็เปน เพยี งหญา ตน เลก็ ๆ หรอื พชื ตน ใหญบ างอยา งทข่ี น้ึ ประปราย ซึ่งสามารถถอนทิ้งดวย มอื ไดส ะดวก เกษตรกรจงึ ตอ งหมน่ั ตรวจตราไรอ ยเู สมอ ไมควรปลอยทิ้งไวรอการเก็บเกี่ยว เทา นน้ั ปยุ สําหรับถั่วลิสง โดยทว่ั ไปดินทีป่ ลูกถั่วลสิ งมกั จะมธี าตุฟอสฟอรัสและไนโตรเจนตํ่า สว นธาตอุ าหาร หลักอื่น ๆ มักจะไมขาด แตจ ําเปนตองไดเพิ่มเติมลงไปในดินในรูปของปุย ธาตอุ าหารหลกั ท่ีจะตอ งใสใ นรปู ของปยุ วทิ ยาศาสตรเ สมอคอื ไนโตรเจน ฟอสฟอรัส และโปแตสเซย่ี ม โดยเฉพาะอยา งยง่ิ ธาตไุ นโตรเจน ควรจะใสล งไปในดนิ พรอ มกับปลกู เพราะพืชตองการใช ในการเจรญิ เตบิ โตตง้ั แตเ ปน ตน กลา หลงั จากนน้ั พชื สามารถตรงึ ธาตไุ นโตรเจนไดเ องโดย เช้ือจุลนิ ทรยี ท อ่ี ยใู นปมราก ความตอ งการปุยของถ่ัวลิสง คลา ยกบั พชื ตระกลู ถว่ั ชนดิ อน่ื ๆ คือ ตอ งการธาตไุ นโตรเจน และโปแตสเซย่ี มคอ นขา งนอ ย แตต อ งการธาตฟุ อสฟอรสั ใน ปรมิ าณท่สี งู กวา ดงั นน้ั สตู รปยุ สําหรบั ถว่ั ลสิ งทท่ี างราชการแนะนําใหใชจึงมักจะเปนอัตรา

12 สวนของธาตอุ าหารทง้ั 3 ชนดิ (ไนโตรเจน : ฟอสฟอรัส : โปแตสเซย่ี ม ) ดงั นน้ั 1 : 3 : 2 หรอื 1 : 3 : 1 หรอื 1 : 2 : 1 เชน ปุย สตู ร 3-9-6 สาํ หรบั ดนิ ทค่ี อ นขา งอดุ มสมบรู ณ 6-18-6 สําหรบั ดนิ ทอ่ี ดุ มสมบรู ณป านกลาง 12-24-12 สําหรบั ดนิ ทอ่ี ดุ มสมบรู ณน อ ย อยางไรก็ตาม การจะไดป ยุ สตู รดงั กลา ว จะตองใชปยุ เด่ยี วมาผสมเองนอกจากสตู ร ท่ี 3 ซึ่งในบางทองที่มีปุยสําเร็จจําหนา ย หรอื จะใชส ตู รใกลเ คยี งกนั เชน 13-27-13 ก็ ได ตวั เลขสตู รปยุ ทแ่ี สดงหมายความวา ปยุ หนกั 100 กโิ ลกรมั จะมีธาตไุ นโตรเจน ฟอสฟอรัส และโปรแตสเซย่ี ม เปนจํานวนกโิ ลกรมั ตามตวั เลขทแ่ี สดงไวต ามลําดบั ฉะนน้ั ในทางปฏบิ ตั แิ ลว ถา เกษตรกรตอ งการจะใชป ยุ สตู ร 6-12-6 อาจจะซื้อปุยสําเรจ็ สตู ร 12-24-12 มาใช โดยใสเ พยี ง 50 กโิ ลกรมั ตอ ไร กจ็ ะไดป ยุ ตามทต่ี อ งการหรอื ใกล เคียง ถา ตอ งการใหไ ดส ตู ร 6-18-6 ก็สามารถเสริมดวยแมปุยที่ใหฟอสฟอรัสเขาไปอีก สําหรบั ธาตอุ าหารชนดิ อน่ื ๆ ดนิ สว นใหญม กั มีพอเพยี ง นอกจากดนิ บางชนดิ เชน ดินดําทม่ี สี ภาพเปน ดา ง ถว่ั ลสิ งจะแสดงอาการขาดธาตเุ หลก็ รนุ แรง จงึ ควรหลกี เลย่ี งการ ปลกู ในพน้ื ทด่ี งั กลา ว โรค และแมลงศัตรูถั่วลิสง โรคของถว่ั ลสิ ง โรคทร่ี ะบาดและทําความเสียหายอยางรุนแรงกับถั่วลิสงและมักพบเสมอ คอื 1. โรคใบจุด มี 2 ชนดิ ๆ แรกคอื ใบจดุ สนี ้ําตาล ซึ่งมักเกิดในระยะแรก และใบจดุ สดี ํา มัก จะระบาดในชว งหลงั ทง้ั 2 ชนดิ อาจเกดิ ดว ยกนั ซึ่งจะทําความเสยี หายจนไมไ ดผ ลผลติ เพราะวาลําตน จะเนา เปอ ยกอ นแก และใบรว งหลน จนหมด ในการปลูกถั่วลิสงมักจะพบโรค ใบจุดเสมอ จงึ ตองฉดี สารเคมีปองกนั ไวก อ นท่เี ชือ้ โรคจะปรากฏอาการใหเ หน็ ลักษณะอาการของโรคทง้ั 2 ชนดิ แตกตา งกนั คอื โรคใบจดุ สนี ้ําตาลจะมวี งรอบ รอยแผลสเี หลอื งสว นใบจดุ สดี ําจะมรี อยแผลสดี ํา การปองกันกําจดั จะตอ งใชส ารเคมเี ทา นน้ั

13 และตอ งทําเมอ่ื ถัว่ ลิสงเริ่มออกดอก หรอื อยา ใหช า กวา นน้ั มากนกั สารเคมที ใ่ี ชไ ดผ ลดี คอื ดาโคนลิ และคารเ บนดาซมิ โรคใบจดุ สดี ํา โรคใบจุดสีนํตา าล 2. โรคราสนมิ บางครง้ั อาจไมร ะบาดหรอื อาจพบระบาดพรอ มกบั โรคใบจดุ จงึ ทําความเสยี หายรนุ แรงได อาการของโรคคอื เปน จดุ เลก็ ๆ สีแดง บริเวณใตใบ ถา เปน รนุ แรงจะทําใหใบรวงและ ทาํ ใหผลผลิตลดลง ดังนั้น จําเปนตองใชส ารเคมผี สมฉดี รวมกับสารเคมที ่ใี ชฆา แมลง เชน เบ็นเลท หรอื ดาโคนีล ทใ่ี ชป อ งกนั โรคใบจดุ 3. โรคโคนเนาขาด เกิดจากเชอ้ื ราทม่ี อี ยใู นดนิ เขา ทําลาย เกิดไดกับถั่วทุกระยะ บรเิ วณโคนเนา มเี สน ใยสีดํา ทําใหต นถว่ั ตายเปน หยอ ม ๆ ปองกันไดโดยการใชสารเคมีคลุกเมล็ดกอนปลูกดังกลาว มาแลว 4. โรคโคนเนาขาว เกิดจากเชอ้ื ราในดนิ เชน เดยี วกนั แตโ คนตน บรเิ วณทเ่ี นา จะมเี สน ใยสขี าว และ มกั จะพบสว นขยายพนั ธขุ องเชอ้ื ราเปน เมด็ เลก็ ๆ สนี ้ําตาล การคลกุ เมลด็ ดว ยสารเคมกี อ น ปลกู จะชว ยปอ งกนั โรคนไ้ี ดด ี

14 แมลง แมลงทเ่ี ปน ศตั รถู ว่ั ลสิ งมหี ลายชนดิ แตท ส่ี ําคัญและมักจะพบระบาดทําความเสยี หาย แกถั่วลิสงเสมอ คอื โรคโคนเนา ขาว 1. หนอนชอนใบ ตวั เตม็ วยั เปน ผเี สอ้ื กลางคนื ซึ่งจะวางไขบนใบถั่วลิสงและจะฟกเปนตัวหนอน ภายใน 3-5 วัน ตวั หนอนมขี นาดเลก็ ยาวประมาณ 0.5 เซนตเิ มตร อาศยั อยใู นใบท่ี หนอนชักใยหอไว และแทะกินผิวใบถั่วลิสงอยูในนั้น ใบทหี่ อนีจ้ ะเปนใบเดยี่ ว ถาระบาด มากจะทําใหตนถั่วไมมีใบปรุงอาหาร ตน ถว่ั ลสิ งจะตายในทส่ี ดุ 2. หนอนมว นใบ ตัวเตม็ วยั เปน ผเี สอ้ื กลางคนื ซึ่งมีอยู 3 ชนดิ ทว่ี างไขบ นตน ถว่ั ไขจะฟกเปนตัว หนอนมีขนาดใหญก วา หนอนชอนใบ คือยาวประมาณ 2 เซนตเิ มตร หนอนจะมวนใบถั่ว หลาย ๆ ใบมาหอ หมุ ตวั แลว อาศยั กดั กนิ ใบในนน้ั ถาระบาดมากจะทําใหต น ถว่ั ตายไดเ ชน เดยี วกนั ท้ังหนอนชอนใบและหนอนมว นใบ มักจะระบาดในระยะที่ฝนทิ้งชวงเมื่อสังเกตเห็น ใบถั่วลิสงมวนหอ ถา คลด่ี เู หน็ วา มตี วั หนอนชนดิ ใดชนดิ หนง่ึ สามารถกําจดั ได ดว ยสาร เคมชี นดิ เดยี วกนั คอื โมโนโครโตฟอส ซง่ึ มชี อ่ื การคา หลายอยา งเชน อะโซดริน อะโกร ดนิ และคอมแบท โดยผสมสารเคมเี ขม ขน 0.05% ฉดี พน ใหท ว่ั ทง้ั แปลง 3. เพลี้ยจกั๊ จั่น ทง้ั ตวั ออ นและตวั เตม็ วยั จะดดู กนิ น้ําเลี้ยงบริเวณใตใบถั่ว มักระบาดในชวงฝนทิ้ง ชว งนานๆ ถาระบาดมากจะทําใหใ บแหง ตายได เมื่อเดินเขาไปในไรและพบวา มแี มลง

15 กระโดดออกมาจากตน ถว่ั ลสิ ง และพบวาปลายใบถั่วมีสีเหลือง ซึ่งเปนอาการที่แสดงใหรู วา มเี พลีย้ จกั๊ จั่นระบาดมากแลว จะตอ งฉดี สารเคมกี ําจัด โดยใชส ารพวกคารบ ารีล เชน เซฟวิน อตั ราความเขม ขน 0.2 % หรอื โมโนโครโตฟอสทใ่ี ชก บั หนอนชอนใบ หนอน มวนใบ ความเขม ขน 0.03% ฉดี พน ใหท ว่ั แมลงชนดิ นจ้ี ะระบาดรนุ แรงและพบบอ ยเมอ่ื ปลกู ถว่ั ลสิ งในหนา แลง การฉดี สารเคมปี อ งกนั กําจดั แมลงน้ี ยังเปน การควบคุมการระบาดของโรคถั่วลิสง บางชนดิ ทม่ี แี มลงพวกเพลย้ี ออ นเปน พาหะนําโรคไดด ว ย เชน โรคใบดา ง เปน ตน 4. เพลย้ี ออ น เปน แมลงทม่ี กี ารขยายพนั ธรุ วดเรว็ จะระบาดเมอ่ื อากาศแหง แลง เชน เดยี วกบั เพล้ยี จก๊ั จ่นั และเปนพาหะนําโรคใบดางถว่ั ลิสงไดด วย การใชส ารเคมเี ชน เดยี วกบั ทใ่ี ชก บั แมลงศตั รทู ง้ั 3 ชนดิ ทก่ี ลา วแลว สามารถปอ งกนั การระบาดของเพลย้ี ออ นและโรคใบดา ง ไดด ว ย 5. เสี้ยนดิน เปน มดชนดิ หนง่ึ ตวั สนี ้ําตาล อาศยั อยใู นดนิ ใกลป า จะระบาดเมื่อถั่วลิสงสรางฝก มดจะเจาะเขา ไปกินเมล็ดถั่วลิสงภายในหมด และมดี นิ มาแทนท่ี ถาพบวาบริเวณใดมีปญหา เร่ืองเสย้ี นดนิ เคยระบาด ควรใชส ารเคมเี ชน ฟรู าดาน หวานทั้งแปลงเมื่อถั่วลิสงเริ่มออก ดอก และหวา นครง้ั ทส่ี องหลงั จากคร้งั แรกประมาณ 1 เดอื น ไมควรใชส ารเคมที ม่ี กี ารสลายตวั ยาก เชน ดลี ดรนิ หรอื เอ็นดริน เพราะวาสาร เคมีเหลาน้ีจะเขา ไปปนเปอ นในเมลด็ ถั่วลิสง ซง่ึ มอี นั ตรายถงึ คนและยงั สะสมในดนิ นาน เปน การทําใหเ กดิ มลภาวะตอ สง่ิ แวดลอ มดว ย ศัตรูอื่นๆ ศตั รทู ส่ี ําคญั อกี ชนดิ หนง่ึ ของถว่ั ลสิ ง คอื หนู โดยเฉพาะอยางยิ่งจะมีระบาดมากถามี โรงงานหรือฟารมเลี้ยงสัตว เชน ไกแ ละหมอู ยใู กล ๆ พวกหนูจะมาขุดกินฝกถั่วลิสง ซึ่ง อาจทําใหผ ลผลติ ลดลงกวา 50 เปอรเซ็นต การปอ งกันกําจดั สามารถทําไดเ ชน หลกี เลย่ี งการปลกู ถว่ั ลสิ งใกล ๆ ฟารมเลี้ยงสัตว หรือควรถากถางบริเวณใกลกับฟารมเลี้ยงสัตวใหสะอาด ไมรกเปนปา ซง่ึ หนจู ะอาศยั เปน ท่ี หลบซอ นแลว ออกมาทําลายถว่ั ลสิ ง วธิ ใี ชก บั ดกั หนแู ละยาพษิ นน้ั ไดผ ลในระยะแรก ๆ แตถ า มีปริมาณหนูมากจะไดผลนอย

16 การเกบ็ เกย่ี ว อายุของถั่วลิสงเมื่อถึงเวลาเก็บเกี่ยวไดนั้น ขน้ึ อยกู บั พนั ธทุ ใ่ี ชป ลกู และฤดปู ลกู ดงั ไดก ลา วมาแลว ตอนตน อยา งไรกต็ าม แมวาเกษตรกรพอจะทราบอายุการเก็บเกี่ยวของถั่ว แตล ะพนั ธแุ ลว กต็ าม แตค วรจะตอ งตรวจดวู า ถว่ั ลสิ งแกไ ดท ห่ี รอื ยงั วิธีการงาย ๆ กค็ อื ออกไปสุมถอนตนถั่วลิสงจากแปลงมาประมาณ 4-5 ตน เมื่อถึงกําหนดตามอายขุ องพนั ธุ น้ัน เชน ถาปลูกพันธุไทนาน 9 ในฤดฝู น ซึ่งจะมีอายุการเก็บเกี่ยวประมาณ 100 วัน นับจากวนั ปลูกหรือวนั ทีไ่ ดร บั น้ํา กไ็ ปถอนตน แลว แกะฝก ทแ่ี กท ส่ี ดุ ของแตล ะตน ดู ประมาณ ตนละ 2-3 ฝก ถาพบวามีฝกแกจัด 1-2 ฝก โดยสงั เกตดวู า ภายในเปลอื กเปน สนี ้ําตาล หรอื ดาํ แสดงวา ฝก นน้ั แกจ ดั แลว จะตอ งทําการเก็บเกี่ยว เพราะวาเปนระยะที่เหมาะสมที่ สุดท่ีจะไดท ัง้ ผลผลิตสูงและคณุ ภาพเมลด็ ดีดว ย ถา หากทกุ ตน ทส่ี มุ ถอนมานน้ั ยงั ไมม ฝี ก ท่ี แกจ ดั เลย จะตองรอไปอีกประมาณ 5-7 วัน จงึ ออกไปถอนตน มาดใู หม อยา เก็บเก่ียว ถวั่ ทยี่ งั ไมถึงอายุเพราะจะไดผลผลิตตํ่า หรืออยา ปลอยถั่วทิ้งไวใ หแกเ กนิ ไป เพราะเมล็ดจะ มีคุณภาพไมดี และอาจจะงอกคาตน ถา ดนิ มคี วามชน้ื มาก ถา ดนิ มีความชื้นพอเพียง การถอนจะทําไดส ะดวก ไมค วรปลอ ยน้ําเขา ทว มแปลง เพอ่ื ใหด นิ ออ น เพราะจะทําใหฝกถั่วที่เก็บไดมีความชื้นสูงมากเกินไป ถา การตากแดดทําได ไมด จี ะมปี ญ หาเรอ่ื งเชอ้ื ราเขา ทําลาย แลว ทําใหเกิดสารพิษอะฟลาท็อกซิน หรือไมค วรให ถว่ั ลสิ งขาดน้ําจนเกินไปกอนเก็บเกี่ยวเพราะจะทําใหอ อ นแอ เช้อื ราทส่ี รา งสารพษิ ทีม่ ีอยจู ะ เขาทาํ ลายไดง า ย ถา การตากแดดไมแ หง ภายในเวลาสน้ั กจ็ ะเกดิ ปญ หาเชอ้ื ราทําลายรนุ แรงยง่ิ ขน้ึ การเก็บเกี่ยวโดยการขุดและปลิดฝกทันที การเก็บเกี่ยวโดยการถอนแลวผึ่งฝกกอนทําการปลิด

17 เมื่อเก็บเกี่ยวถั่วเสร็จแลว ควรวางฝกผึ่งแดดในแปลง ไมควรกองสุมกันและควรรีบ ปลดิ ฝก ทนั ทเี พอ่ื นําไปตากแดด ถากองถั่วสุมกันขณะที่ฝกมีความชื้นสูงจะทําใหเ กดิ เชอ้ื รา ขน้ึ ได และถา เปน เชอ้ื ราสเี ขยี วเขา ทําลายฝกจะมีปญหาเรื่องสารพิษอะฟลาท็อกซินซึ่งทําให ผลผลติ เสอ่ื มคณุ ภาพและยงั เปน อนั ตรายตอ ผบู รโิ ภค การตาก ควรตากถั่วลิสงที่ปลิดแลวบนพื้นที่สะอาด เชน บนเสื่อ สังกะสี หรอื พน้ื ซเี มนต เพราะจะทําใหฝ กแหง ไดเร็วขึน้ เกลี่ยฝกใหกระจายบาง ๆ และควรใชค ราดไมช ว ยพลกิ กลบั ถวั่ ที่ตากไวบอย ๆ จะทําใหแ หง เรว็ ขน้ึ และอยา งทว่ั ถงึ ถา แดดดถี ว่ั จะแหง ภายในเวลา 4-5 วัน ถา แดดไมด ตี อ งหาวธิ ที ําใหแ หง โดยเรว็ ทส่ี ดุ เพอ่ื หลกี เลย่ี งปญ หาเชอ้ื ราเขยี วเขา ทําลาย อยางนอยที่สุดการผึ่งและลมพัดผานสะดวกจะดีกวาการเก็บกองหรือบรรจุถุง เพราะถาถั่ว ยงั ไมแ หง จะเกดิ เชอ้ื ราขน้ึ ดงั กลา วมาแลว ตากถว่ั ขา งถนน ตากถวั่ บนลานตาก

18 การกะเทาะ เมอ่ื ถว่ั แหง ดแี ลว ใหน ํามากะเทาะเปลือก ซึ่งทําไดห ลายวธิ ี เชน กะเทาะดวยมือ กะเทาะดว ยเครอ่ื งมอื หมนุ ชนดิ ลอ ยาง หรอื ใชเ ครอ่ื งกะเทาะทใ่ี ชเ ครอ่ื งยนตห รอื ไฟฟา การ กะเทาะดว ยมอื เสยี เวลามาก แตไ ดเ มลด็ ถว่ั ทม่ี คี ณุ ภาพดี ไมแตกหักมาก และสามารถคดั เลอื กเมลด็ เสยี ทง้ิ ไปไดเ ลย โดยเฉพาะอยา งยง่ิ เมลด็ ทจ่ี ะนําไปปลูกควรกะเทาะดวยมือ การกะเทาะดว ยเครอ่ื งมอื หมนุ ชนดิ ลอ ยาง สามารถทําไดเ รว็ ขน้ึ แตอ าจมปี ญ หา เรอ่ื งเมลด็ แตกมาก และเมล็ดทไ่ี ดม ักจะมผี วิ ถลอกมาก ซง่ึ เปน สาเหตใุ หเ ชอ้ื ราเขา ทําลาย ไดงาย ถาหากจะใชปลูก ไมค วรทง้ิ เมลด็ ไวน านหลายวนั เพราะจะเสื่อมคุณภาพลงเรื่อย ๆ และควรคลกุ เมลด็ ทก่ี ะเทาะดว ยเครอ่ื งนด้ี ว ยสารเคมกี อ นปลกู เพอ่ื ปอ งกนั เชอ้ื ราในดนิ เขา ทาํ ลาย สารเคมที ใ่ี ชไ ดผ ลดี คอื ไวตาแวกซ ใชใ นอตั รา 3 กรัม คลกุ เมลด็ หนกั 1 กโิ ลกรมั เครอ่ื งกะเทาะขนาดใหญม รี าคาแพง แตสามารถกะเทาะไดเร็วกวาวิธีการอื่น ๆ เหมาะสาํ หรับการกะเทาะเพื่อจําหนายซ่ึงจะไมขอกลา วถึงในทีน่ ้ี เคร่ืองกะเทาะเปลอื กแบบมอื โยก

19 เคร่ืองมือปลดิ ฝก แบบใชเ ทา เหยยี บ เคร่ืองกะเทาะเปลอื กถว่ั ลสิ งแบบลอ ยางใชม อื หมนุ

20 การเกบ็ รกั ษา การเกบ็ เมล็ดสําหรบั ทําพันธุ ควรตากฝก ใหแ หง ดี แลวเก็บบรรจุถุงพลาสติกปด ปากถงุ ใหแ นน เพอ่ื ไมใหความชน้ื ขา งนอกเขา ไปได ซึ่งจะทําใหเสื่อมคุณภาพเร็ว และควร เก็บไวในบริเวณที่สะอาด และแหง ถาปฏิบัติตามนี้แลวจะสามารถเก็บถั่วไวไดนานถึง 8- 10 เดอื น เมื่อจะปลูกจึงนํามากะเทาะดว ยมือ สาํ หรับเมลด็ ถวั่ ลิสงท่ีกะเทาะแลว ถาจะใหคงคุณภาพดีจะตองเก็บรักษาไวในหอง เยน็ ประมาณ 10-15 องศาเซลเซยี สและความชน้ื ต่ํา ถาเก็บไวในสภาพปกติทั่วไป เชน เก็บไวในบานเรือน ถั่วลิสงที่กะเทาะเปลือกแลวจะเสื่อมความงอกเร็วภายในเวลา 2-3 เดอื นและเสย่ี งตอ การเขา ทําลายของเชอ้ื รา รูปแสดง ถ่ัวลิสงท่ีถกู เชอ้ื ราเขยี วเขา ทําลายเปรยี บเทยี บกบั สายพนั ธทุ ต่ี า นทาน ตอเช้ือราถว่ั ลสิ งทม่ี รี าเขยี วขน้ึ ไมค วรใชบ รโิ ภค เพราะมสี ารอะฟลาทอ กซนิ การใชป ระโยชน เนอ่ื งจากเมลด็ ถว่ั ลสิ งมคี ณุ คา ทางโภชนาการสงู มีโปรตีนประมาณ 25 เปอรเ ซ็นต และไขมันประมาณ 45-50 เปอรเซ็นต จึงเหมาะสําหรบั บรโิ ภค การบรโิ ภคน้ํามนั จาก พชื รา งกายจะไดรับมากกวานํ้ามันจากสัตว ดังนน้ั จงึ ขอแนะนําใหน ําถั่วลิสงมาใชบริโภค รา งกายจะไดร บั สารอาหารทม่ี ปี ระโยชนต อ การเจรญิ เตบิ โต เพราะการรับประทานถั่วลิสง

21 100 กรัมจะไดรับโปรตีน 25 กรัม แปง 20 กรัม พลังงาน 580 แคลอร่ี ไขมัน 50 กรัม ไวตามนิ อกี หลายชนดิ และแรธ าตตุ า ง ๆ เชน โปแตสเซย่ี ม ฟอฟอรัส แมกนเี ซย่ี ม แคลเซี่ยม โซเดยี มและเหลก็ เปน ตน ขอ ควรคํานึง คอื ถาจะนําถ่วั ลสิ งมาใชป ระโยชนจ ะตองใชถ วั่ ลิสงท่มี ีคุณภาพดี นน่ั คอื จะตอ งปฏบิ ตั ติ ามคําแนะนําใหถ กู ตอ ง โดยเฉพาะการปฏิบัติในระยะหลังเก็บเกี่ยว ซึ่งจะ ทาํ ใหไ ดถ ว่ั ทป่ี ราศจากสารพษิ และปลอดภยั ตอ การบรโิ ภค การนําถั่วลิสงไปใชประโยชนในแงอตุ สาหกรรมแปรรูปตาง ๆ เชน ทาํ น้ํามันปรุง อาหาร ทําเนยถว่ั ลสิ ง เนยเทยี ม ถว่ั ตม ถั่วทอด ถว่ั เคลอื บ ถั่วแผน นมถั่วลิสง แปง โปรตนี ถว่ั และอาหารคาวหวานอกี หลายชนดิ กากถั่วลิสงที่เหลือจากการบีบนํ้ามนั แลว ยงั สามารถนําไปใชใ นอตุ สาหกรรมทําอาหารสตั วไ ดอ กี ดว ย เปน ตน ตนสดท่ีเหลือจาการปลดิ ฝก นํามาใหส ตั วก นิ หรอื ตากแหง เกบ็ ไวเ ลย้ี งสตั ว ตน ถว่ั ลสิ งทเ่ี หลอื จากการปลดิ ฝก แลว เมอ่ื นําไปตากแดดกส็ ามารถเกบ็ ไวใชเลีย้ ง สตั วไ ดด วยเพราะมีโปรตีนประมาณ 10 เปอรเซ็นต หรอื นําไปทําปยุ หมักหรือไถกลบลง ในดิน กจ็ ะเปน ปยุ ไดอ ยา งดี เปลอื กถั่วลิสงท่เี หลือจากการกะเทาะสามารถนําไปใชค ลมุ ดนิ หรอื ผสมกับดินเพื่อทําใหด นิ รว นซยุ ขน้ึ จดั ทาํ เอกสารอิเล็กทรอนิกสโดย : สาํ นักสงเสริมและฝกอบรม มหาวทิ ยาลยั เกษตรศาสตร