Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore พุทธวจน "ก้าวย่างอย่างพุทธะ"

พุทธวจน "ก้าวย่างอย่างพุทธะ"

Description: พุทธวจน "ก้าวย่างอย่างพุทธะ"

Search

Read the Text Version

เปิดธรรมทีถ่ กู ปดิ : กา้ วยา่ งอย่างพุทธะ ภิกษุท้ังหลาย !   ระหว่างการได้ทวีปทั้งส่ี  กับ การไดธ้ รรม ๔ ประการน้นี ้นั การได้ทวีปทั้งสี่มีคา่ ไมถ่ ึง เสี้ยวที่สิบหก ของการได้ธรรม ๔ ประการนี้ เลย. 81

พุทธวจน - หมวดธรรม เปดิ ธรรมทถ่ี กู ปดิ : ก้าวย่างอย่างพทุ ธะ คณุ สมบตั ขิ องโสดาบัน 28 -บาลี นิทาน. สํ. ๑๖/๘๒-๘๕/๑๕๑-๑๕๕. คหบดี !   ในกาลใด  ภัยเวรห้าประการ  อัน อริยสาวกท�ำให้สงบร�ำงับได้แล้ว อริยสาวกประกอบ พร้อมแล้วด้วยโสตาปัตติยังคะสี่ อริยญายธรรมเป็น ธรรมที่อริยสาวกเห็นแล้วด้วยดี  แทงตลอดแล้วด้วย ดี ด้วยปัญญา ในกาลนน้ั อรยิ สาวกนน้ั เมอ่ื หวงั อยกู่ พ็ ยากรณ์ ตนดว้ ยตน นน่ั แหละ วา่ “เราเปน็ ผมู้ นี รกสน้ิ แลว้ มกี �ำ เนดิ เดรัจฉานส้ินแล้ว  มีเปรตวิสัยสิ้นแล้ว  มีอบาย  ทุคติ วนิ บิ าตสน้ิ แลว้   เราเปน็ ผถู้ งึ แลว้ ซง่ึ กระแส  (แหง่ นพิ พาน) มคี วามไมต่ กต�ำ่ เปน็ ธรรมดา  เปน็ ผเู้ ทย่ี งแทต้ อ่ นพิ พาน มกี ารตรัสร้พู รอ้ มเป็นเบอ้ื งหนา้ ” ดงั น้.ี คหบด ี !   ภัยเวร ๕ ประการ เหล่าไหนเล่า อันอริยสาวกท�ำใหส้ งบร�ำงบั ได้แลว้  ? 82

เปิดธรรมทถี่ กู ปิด : กา้ วยา่ งอยา่ งพทุ ธะ (๑)  คหบดี !   บุคคลผู้  ฆ่าสัตว์อยู่เป็นปกติ ย่อมประสบภัยเวรใดในทิฏฐธรรม (ปัจจุบัน) บ้าง  ย่อม ประสบภัยเวรใดในสัมปรายิก (ในเวลาถัดมา) บ้าง  ย่อม เสวยทุกขโทมนัสแห่งจิตบ้าง  เพราะปาณาติบาตเป็น ปจั จยั ภยั เวรนน้ั ๆ เปน็ สง่ิ ทอ่ี รยิ สาวกผเู้ วน้ ขาดแลว้ จาก ปาณาติบาต  ท�ำ ใหส้ งบร�ำ งบั ไดแ้ ลว้ . (๒)  คหบดี !   บุคคลผู้  ถือเอาสิ่งของที่เขา ไม่ไดใ้ ห้อยู่เป็นปกติ ย่อมประสบภยั เวรใดในทฏิ ฐธรรม บ้าง ย่อมประสบภัยเวรใดในสัมปรายกิ บา้ ง ยอ่ มเสวย ทุกขโทมนัสแห่งจิตบ้าง เพราะอทินนาทานเป็นปัจจัย ภยั เวรนน้ั ๆ เปน็ สง่ิ ทอ่ี รยิ สาวกผเู้ วน้ ขาดแลว้ จากอทนิ นาทาน ทำ�ใหส้ งบร�ำ งับไดแ้ ลว้ . (๓)  คหบดี !   บุคคลผู้  ประพฤติผิดในกาม ทัง้ หลายอยู่เปน็ ปกติ ยอ่ มประสบภยั เวรใดในทิฏฐธรรม บา้ ง ยอ่ มประสบภยั เวรใดในสมั ปรายิกบา้ ง ย่อมเสวย ทุกขโทมนัสแห่งจิตบ้าง  เพราะกาเมสุมิจฉาจารเป็น ปัจจัย ภัยเวรนั้นๆ เป็นสิ่งที่อริยสาวกผู้เว้นขาดแล้ว จากกาเมสุมิจฉาจาร  ท�ำ ให้สงบร�ำ งับได้แล้ว. 83

พทุ ธวจน - หมวดธรรม (๔)  คหบดี !   บคุ คลผู้ กลา่ วค�ำ เทจ็ อยเู่ ปน็ ปกติ ยอ่ มประสบภยั เวรใดในทฏิ ฐธรรมบา้ ง ยอ่ มประสบภยั เวรใด ในสัมปรายิกบ้าง  ย่อมเสวยทุกขโทมนัสแห่งจิตบ้าง  เพราะมสุ าวาทเปน็ ปจั จยั ภยั เวรนน้ั ๆ เปน็ สง่ิ ทอ่ี รยิ สาวกผู้ เวน้ ขาดแล้วจากมสุ าวาท  ทำ�ใหส้ งบรำ�งบั ไดแ้ ลว้ . (๕)  คหบด ี !   บคุ คลผู้ ด่ืมสุราและเมรัยเปน็ ทต่ี ง้ั ของความประมาทอยเู่ ปน็ ปกติ ยอ่ มประสบภยั เวรใด ในทิฏฐธรรมบ้าง  ย่อมประสบภยั เวรใดในสมั ปรายิกบ้าง ย่อมเสวยทุกขโทมนสั แหง่ จิตบา้ ง เพราะสรุ าเมรยปานะ เป็นปัจจยั ภยั เวรนน้ั ๆ เปน็ สงิ่ ทีอ่ ริยสาวกผู้เว้นขาดแลว้ จากสุราเมรยปานะ  ทำ�ใหส้ งบรำ�งบั ได้แลว้ . คหบด ี !   ภยั เวร ๕ ประการเหลา่ นแ้ี ล อนั อรยิ สาวก ท�ำ ให้สงบรำ�งับไดแ้ ลว้ . ....  ....  ....  .... คหบด ี !   อริยสาวก เป็นผปู้ ระกอบพรอ้ มแล้ว ดว้ ยองคแ์ ห่งโสดาบนั ๔ ประการ เหลา่ ไหนเล่า ? 84

เปดิ ธรรมท่ถี กู ปดิ : ก้าวย่างอย่างพทุ ธะ (๑)  คหบด ี !   อริยสาวกในธรรมวินัยนี้ เปน็ ผปู้ ระกอบพรอ้ มแล้ว ด้วยความเล่อื มใสอนั หยงั่ ลงมน่ั ไม่หวั่นไหว ในพระพุทธเจ้า (พุทธอเวจจัปปสาท) ว่า “เพราะเหตุอยา่ งนๆ้ี พระผมู้ ีพระภาคเจา้ นน้ั เปน็ ผไู้ กล จากกิเลส ตรัสรู้ชอบได้โดยพระองค์เอง เปน็ ผู้ถึงพร้อม ด้วยวชิ ชาและจรณะ เปน็ ผ้ไู ปแล้วดว้ ยดี เปน็ ผู้รู้โลกอยา่ ง แจม่ แจ้ง เป็นผสู้ ามารถฝึกคนท่ีควรฝกึ ได้ อยา่ งไม่มใี คร ย่ิงกว่า  เป็นครูของเทวดาและมนุษย์ทั้งหลาย  เป็นผู้รู้ ผู้ต่นื ผู้เบิกบานดว้ ยธรรม เป็นผู้มคี วามจ�ำ เรญิ จ�ำ แนก ธรรมส่งั สอนสัตว”์ ดงั น.ี้ (๒)  คหบด ี !   อริยสาวกในธรรมวนิ ยั นี้ เป็น ผู้ประกอบพร้อมแล้ว  ด้วยความเล่ือมใสอันหย่ังลงม่ัน ไม่หวั่นไหว  ในพระธรรม  (ธัมมอเวจจัปปสาท)  ว่า “พระธรรม เป็นสิ่งที่พระผู้มีพระภาคเจ้า ตรัสไว้ดีแล้ว เป็นสิ่งที่ผู้ศึกษาและปฏิบัติพึงเห็นได้ด้วยตนเอง  เป็น สงิ่ ทปี่ ฏบิ ัติได้ และใหผ้ ลได้ ไมจ่ �ำ กัดกาล เป็นสิง่ ท่ีควร กลา่ วกะผูอ้ นื่ ว่าท่านจงมาดเู ถดิ เปน็ สิ่งทค่ี วรนอ้ มเขา้ มา ใส่ตัว เปน็ ส่ิงทผ่ี ู้ร้กู ็รูไ้ ดเ้ ฉพาะตน” ดังน้.ี 85

พทุ ธวจน - หมวดธรรม (๓)  คหบดี !   อริยสาวกในธรรมวินัยน้ี  เป็น ผู้ประกอบพร้อมแล้ว  ด้วยความเล่ือมใสอันหยั่งลงม่ัน ไม่หว่ันไหว  ในพระสงฆ์  (สังฆอเวจจัปปสาท)  ว่า “สงฆ์สาวกของพระผู้มีพระภาคเจ้า  เป็นผู้ปฏิบัติดีแล้ว เปน็ ผปู้ ฏบิ ตั ติ รงแลว้   เปน็ ผปู้ ฏบิ ตั เิ พอ่ื รธู้ รรมเปน็ เครอื่ งออก จากทกุ ขแ์ ลว้ เปน็ ผปู้ ฏบิ ตั สิ มควรแลว้ ไดแ้ กบ่ คุ คลเหลา่ นี้ คอื คแู่ ห่งบุรุษสคี่ ู่ นับเรยี งตวั ได้แปดบรุ ษุ น่นั แหละคอื สงฆส์ าวกของพระผมู้ พี ระภาคเจา้ เปน็ สงฆค์ วรแกส่ กั การะ ทเ่ี ขาน�ำมาบชู า เปน็ สงฆค์ วรแกส่ กั การะทเี่ ขาจดั ไวต้ อ้ นรบั เปน็ สงฆค์ วรรบั ทกั ษณิ าทาน เปน็ สงฆ์ทบ่ี ุคคลทว่ั ไป จะ พงึ ท�ำอญั ชลี เป็นสงฆท์ ี่เป็นนาบญุ ของโลก ไมม่ นี าบญุ อน่ื ยิ่งกว่า” ดงั นี้. (๔)  คหบดี !   อรยิ สาวกในธรรมวินัยน้ี เปน็ ผู้ ประกอบพรอ้ มแลว้ ดว้ ยศลี ทง้ั หลายในลกั ษณะเปน็ ทพ่ี อใจ ของพระอริยเจา้   (อรยิ กันตศลี )  เป็นศีลที่ไม่ขาด ไมท่ ะลุ ไมด่ ่าง ไมพ่ รอ้ ย เปน็ ศีลที่เปน็ ไทจากตณั หา วิญญชู น สรรเสริญ ไมถ่ ูกทิฏฐลิ บู คลำ� เปน็ ศีลทเี่ ป็นไปพรอ้ มเพอื่ สมาธิ ดงั น้ี. 86

เปิดธรรมทีถ่ ูกปดิ : ก้าวยา่ งอย่างพทุ ธะ คหบด ี !   อรยิ สาวก เป็นผปู้ ระกอบพร้อมแล้ว ด้วยองค์แห่งโสดาบัน ๔ ประการ เหลา่ นแ้ี ล. ....  ....  ....  .... คหบดี !   ก็ อรยิ ญายธรรม เป็นสิ่งท่อี ริยสาวก เห็นแลว้ ดว้ ยดี แทงตลอดแลว้ ด้วยดี ด้วยปัญญา เป็น อยา่ งไรเล่า ? คหบด ี !   อริยสาวกในธรรมวินยั น้ี ย่อม ทำ�ไว้ ในใจโดยแยบคายเปน็ อยา่ งดี ซง่ึ ปฏจิ จสมปุ บาทนน่ั เทยี ว ดังนี้ว่า “เพราะส่ิงนม้ี ี ส่ิงนจ้ี ึงมี เพราะความเกดิ ขนึ้ แห่งส่ิงนี้ สง่ิ น้ีจึงเกดิ ขึน้ . เพราะสงิ่ น้ไี มม่ ี ส่งิ นี้จึงไม่มี เพราะความดับไปแหง่ ส่งิ นี้ สิ่งนี้จงึ ดับไป ขอ้ นีไ้ ด้แก่ สง่ิ เหลา่ นค้ี อื เพราะมอี วชิ ชาเปน็ ปจั จยั จงึ มสี งั ขารทง้ั หลาย เพราะมีสังขารเป็นปัจจัย จงึ มีวิญญาณ ... ฯลฯ ... ฯลฯ ... ฯลฯ ... เพราะมชี าติเปน็ ปัจจยั ชรามรณะ โสกะ ปรเิ ทวะทกุ ขะโทมนสั อปุ ายาสทง้ั หลาย จงึ เกดิ ขน้ึ ครบถว้ น ความเกดิ ขน้ึ พรอ้ มแหง่ กองทกุ ขท์ ง้ั สน้ิ น้ี ยอ่ มมี ดว้ ยอาการ อย่างน้.ี 87

พทุ ธวจน - หมวดธรรม เพราะความจางคลายดับไปไม่เหลือแห่งอวิชชา นั้นนั่นเทียว จึงมคี วามดับแห่งสงั ขาร เพราะมคี วามดับ แหง่ สงั ขาร จึงมคี วามดบั แห่งวญิ ญาณ ... ฯลฯ ... ฯลฯ ... ฯลฯ ... เพราะมคี วามดับแหง่ ชาตนิ นั่ แล ชรามรณะ โสกะปริเทวะทกุ ขะโทมนัสอปุ ายาสทั้งหลาย จงึ ดบั สิน้ ความดบั ลงแหง่ กองทกุ ขท์ ง้ั สน้ิ น้ี ยอ่ มมี ดว้ ยอาการอยา่ งน”้ี . คหบดี !   อรยิ ญายธรรมนแ้ี ล เปน็ สง่ิ ทอ่ี รยิ สาวก เหน็ แล้วดว้ ยดี แทงตลอดแล้วด้วยดี ด้วยปญั ญา. ....  ....  ....  .... คหบดี !   ในกาลใดแล ภยั เวร ๕ ประการเหลา่ น้ี เป็นสง่ิ ทีอ่ ริยสาวกท�ำใหส้ งบร�ำงับได้แลว้ ดว้ ย อรยิ สาวก เป็น ผปู้ ระกอบพร้อมแล้วดว้ ยโสตาปัตติยังคะสเี่ หล่าน้ี ดว้ ย อรยิ ญายธรรมน้ี เปน็ ธรรมอนั อริยสาวกเห็นแล้ว ดว้ ยดี แทงตลอดแลว้ ด้วยดี ด้วยปญั ญา ดว้ ย 88

เปดิ ธรรมทถ่ี กู ปดิ : กา้ วยา่ งอย่างพุทธะ ในกาลน้ัน อรยิ สาวกน้นั ปรารถนาอยู่ ก็พยากรณต์ นดว้ ยตนน้นั แหละวา่   “เราเปน็ ผูม้ ีนรกสิ้นแลว้   มกี �ำ เนิดเดรัจฉานสิน้ แลว้   มีเปรตวสิ ัยสน้ิ แลว้   มอี บาย ทคุ ติ วินิบาตสิ้นแลว้ เราเป็นผู้ถึงแล้วซ่ึงกระแส (แหง่ นิพพาน) มีธรรมอันไม่ตกต�ำ่ เปน็ ธรรมดา เปน็ ผูเ้ ทยี่ งแทต้ ่อนพิ พาน มกี ารตรสั รูพ้ รอ้ มเปน็ เบือ้ งหน้า” ดงั นี้ แล. 89

พทุ ธวจน - หมวดธรรม เปิดธรรมทถ่ี ูกปิด : กา้ วยา่ งอยา่ งพทุ ธะ 90

พุทธวจน - หมวดธรรม เปิดธรรมที่ถกู ปิด : กา้ วย่างอย่างพทุ ธะ ปาฏิหาริย์ สาม 29 -บาลี ส.ี ที. ๙/๒๗๓–๒๗๗/๓๓๙–๓๔๒. เกวัฏฏะ !   นี่ปาฏิหาริย์สามอย่าง  ท่ีเราได้ทำ� ใหแ้ จง้ ดว้ ยปญั ญาอนั ยง่ิ เอง แล้วประกาศใหผ้ ู้อ่นื ร้ไู ด.้ ๓ อย่างอะไรเลา่  ? ๓ อย่าง คอื (๑) อิทธปิ าฏหิ ารยิ ์ (๒) อาเทสนาปาฏิหารยิ ์ (๓) อนศุ าสนีปาฏิหารยิ ์ (๑) เกวัฏฏะ !   อิทธปิ าฏิหารยิ น์ ั้น เป็นอย่างไรเลา่  ? เกวัฏฏะ !   ภิกษุในกรณีนี้  กระทำ�อิทธิวิธีมี ประการต่างๆ ผ้เู ดยี วแปลงรูปเป็นหลายคน หลายคน เป็นคนเดยี ว ทำ�ทกี่ ำ�บังใหเ้ ปน็ ทแ่ี จง้ ทำ�ทแ่ี จ้งให้เป็นท่ี กำ�บงั ไปได้ไมข่ ดั ขอ้ ง ผ่านทะลุฝา ทะลุก�ำ แพง ทะลุภเู ขา ดุจไปในอากาศว่างๆ  ผุดข้ึนและดำ�รงอยู่ในแผ่นดินได้ 91

พทุ ธวจน - หมวดธรรม เหมือนในน้ำ� เดนิ ไปไดเ้ หนือน้ำ�เหมอื นเดนิ บนแผน่ ดิน ไปได้ในอากาศเหมอื นนกมปี ีก ท้งั ท่ียังนัง่ สมาธคิ บู้ ัลลังก์ ลูบคลำ�ดวงจันทร์และดวงอาทิตย์อันมีฤทธิ์อานุภาพมาก ได้ดว้ ยฝ่ามอื และแสดงอ�ำ นาจทางกายเปน็ ไปตลอดถงึ พรหมโลกได.้ เกวฏั ฏะ !   กุลบุตรผ้มู ีศรทั ธาเลอื่ มใสได้ เหน็ การแสดงนัน้ แล้ว เขาบอกเล่าแกก่ ุลบุตรอน่ื บางคน ทไ่ี มศ่ รทั ธาเลอ่ื มใสวา่ นา่ อศั จรรยน์ กั . กลุ บตุ รผไู้ มม่ ศี รทั ธา เลอ่ื มใสนน้ั กจ็ ะพงึ ตอบวา่ วชิ าชอ่ื คนั ธาร1ี มอี ยู่ ภกิ ษนุ น้ั แสดงอทิ ธวิ ธิ ดี ว้ ยวชิ านน่ั เทา่ นน้ั . เกวฏั ฏะ !   ทา่ นจะเขา้ ใจ ว่าอยา่ งไร กค็ นไม่เช่ือ ไม่เลือ่ มใส ยอ่ มกลา่ วตอบผู้เชื่อผู้ เลื่อมใสไดอ้ ย่างนนั้ มิใช่หรอื  ? “พึงตอบได้ พระเจ้าข้า !”. เกวัฏฏะ !   เราเห็นโทษในการแสดงอิทธิ ปาฏิหาริย์ ดังนี้แล จึงอึดอัด ขยะแขยง เกลียดชัง ต่ออิทธปิ าฏหิ ารยิ .์ 1. คันธารี ช่ือมนต์ แต่งโดยฤษีมีนามคันธาระ อีกความหมายหนึ่งหมายถึง ค�ำแปลว่าในแควน้ คนั ธาระ. 92

เปดิ ธรรมทถ่ี ูกปดิ : ก้าวย่างอย่างพทุ ธะ (๒) เกวัฏฏะ !   อาเทสนาปาฏหิ าริย์นั้น เปน็ อย่างไรเล่า ? เกวฏั ฏะ !   ภกิ ษุในกรณนี ้ี ยอ่ มทายจติ ทาย ความรสู้ กึ ของจติ ทายความตรกึ ทายความตรอง ของสตั ว์ เหล่าอื่น ของบุคคลเหล่าอื่นได้ ว่า ใจของท่านเช่นนี้ ใจของท่านมีประการนี้ ใจของท่านมีด้วยอาการอย่างนี้. ... ฯลฯ ... กุลบตุ รผู้ไม่เช่อื ไม่เลอื่ มใส ยอ่ มค้านกุลบตุ ร ผู้เชื่อ ผู้เลื่อมใส ว่า วิชาชื่อมณิกา มีอยู่ ภิกษุนั้น กลา่ วทายใจไดเ้ ชน่ นน้ั ๆ กด็ ว้ ยวชิ านน้ั (หาใชม่ ปี าฏหิ ารยิ ไ์ ม)่ เกวฏั ฏะ !   ทา่ นจะเขา้ ใจวา่ อยา่ งไร กค็ นไมเ่ ชอ่ื ไมเ่ ลอ่ื มใส ยอ่ มกลา่ วตอบผูเ้ ชอ่ื ผู้เล่อื มใสได้อย่างนนั้ มิใชห่ รอื  ? “พึงตอบได้ พระเจ้าข้า !”. เกวัฏฏะ !   เราเห็นโทษในการแสดงอาเทสนา ปาฏิหาริย์ ดังน้ีแลจึงอึดอัด ขยะแขยง เกลียดชัง ต่ออาเทสนาปาฏิหารยิ .์ 93

พทุ ธวจน - หมวดธรรม (๓) เกวัฏฏะ !   อนศุ าสนปี าฏิหาริยน์ น้ั เปน็ อย่างไรเลา่  ? เกวัฏฏะ !   ภิกษุในกรณีน้ี  ย่อมส่ังสอนว่า “ทา่ นจงตรึกอยา่ งนๆ้ี อย่าตรกึ อยา่ งนนั้ ๆ จงทำ�ไว้ในใจ อย่างนีๆ้ อยา่ ท�ำ ไวใ้ นใจอย่างน้นั ๆ จงละสิ่งนี้ จงเข้าถงึ สิ่งนี้ๆ แล้วแลอยู่” ดังนี้. เกวัฏฏะ !   นี้เราเรียกว่า อนศุ าสนีปาฏหิ ารยิ .์ เกวฏั ฏะ !   ข้ออื่นยังมีอีก ตถาคตเกิดขึ้นใน โลกนี้ เป็นพระอรหนั ตต์ รัสรู้ชอบเอง สมบูรณ์ดว้ ยวิชชา และจรณะ ดำ�เนนิ ไปดี รูแ้ จ้งโลก เปน็ สารถฝี กึ คนควร ฝึกได้อย่างไม่มีใครยิ่งกว่า  เป็นครูของเทวดาและมนุษย์ เปน็ ผ้เู บกิ บานแล้ว จำ�แนกธรรมส่งั สอนสัตว์. ตถาคตนัน้ ทำ�ให้แจ้งซึ่งโลกนี้ กับทั้งเทวดา มาร พรหม หมู่สัตว์ พร้อมทั้งสมณพราหมณ์  เทวดาพร้อมทั้งมนุษย์  ด้วยปัญญาอันย่ิงเองแล้ว  สอนผู้อ่ืนให้รู้แจ้งตาม.  ตถาคตนน้ั แสดงธรรมไพเราะในเบอ้ื งตน้ –ทา่ มกลาง–ทส่ี ดุ ประกาศพรหมจรรย์พร้อมทั้งอรรถะและพยัญชนะ บรสิ ทุ ธบ์ิ รบิ รู ณส์ น้ิ เชงิ . คหบดหี รอื บตุ รคหบดหี รอื ผเู้ กดิ ใน 94

เปดิ ธรรมที่ถกู ปดิ : กา้ วย่างอยา่ งพทุ ธะ ตระกลู ใดตระกูลหนง่ึ ในภายหลังกด็ ี ไดฟ้ ังธรรมนน้ั แล้ว เกดิ ศรทั ธาในตถาคต. เขาผู้ประกอบดว้ ยศรัทธา ย่อม พจิ ารณาเหน็ ว่า “ฆราวาสคบั แคบ เปน็ ทางมาแห่งธุลี บรรพชาเปน็ โอกาสวา่ ง การทค่ี นอยคู่ รองเรอื นจะประพฤติ พรหมจรรยใ์ หบ้ รสิ ทุ ธบ์ิ รบิ รู ณโ์ ดยสว่ นเดยี ว เหมอื นสงั ขท์ ่ี เขาขัดแล้วนน้ั ไม่ท�ำ ได้โดยงา่ ย. ถ้ากระไร เราจะปลงผม และหนวด ครองผา้ กาสายะ ออกจากเรอื น บวชเป็นผไู้ ม่ เกี่ยวข้องด้วยเรือนเถิด” ดังนี้. โดยสมัยอื่นต่อมา เขา ละกองสมบตั นิ อ้ ยใหญแ่ ละวงศญ์ าตนิ อ้ ยใหญ่ ปลงผมและ หนวด ออกจากเรอื น บวชเปน็ ผไู้ มเ่ กย่ี วขอ้ งดว้ ยเรอื นแลว้ . ภกิ ษุนั้น ผู้บวชแล้วอยา่ งนี้ สำ�รวมแล้วด้วยความส�ำ รวม ในปาตโิ มกข์ ถึงพร้อมด้วยมรรยาทและโคจร มีปกติ เหน็ เปน็ ภยั ในโทษทง้ั หลายแมว้ า่ เปน็ โทษเลก็ นอ้ ยสมาทาน ศกึ ษาอยใู่ นสกิ ขาบททง้ั หลาย ประกอบแลว้ ดว้ ยกายกรรม วจกี รรมอนั เป็นกุศล มีอาชวี ะบรสิ ุทธ์ิ ถึงพรอ้ มด้วยศีล มที วารอนั คมุ้ ครองแลว้ ในอนิ ทรยี ท์ ง้ั หลาย ประกอบดว้ ย สติสมั ปชัญญะ มีความสันโดษ. 95

พทุ ธวจน - หมวดธรรม เกวัฏฏะ !   ภกิ ษถุ งึ พรอ้ มดว้ ยศลี  เปน็ อยา่ งไรเลา่  ? เกวัฏฏะ !   ภิกษุในธรรมวินัยน้ี  ละการทำ�สัตว์ มีชีวิตให้ตกล่วงไป  เป็นผู้เว้นขาดจากปาณาติบาต  วาง ท่อนไมแ้ ละศสั ตราเสยี แล้ว มคี วามละอาย ถึงความเอน็ ดู กรุณา  หวังประโยชน์เกื้อกูลแก่สัตว์ท้ังหลายทั้งปวงอยู่. เกวฏั ฏะ !   น้เี ราเรียกวา่ อนศุ าสนปี าฏหิ าริย.์ ... เกวัฏฏะ !   ภิกษุน้ัน  คร้ันจิตตั้งม่ันบริสุทธ์ิ ผ่องใส ไม่มกี เิ ลส ปราศจากอปุ กเิ ลส เปน็ ธรรมชาติ ออ่ นโยนควรแกก่ ารงาน ต้งั อยู่ได้อย่างไม่หวั่นไหว เชน่ นี้ แล้ว เธอกน็ ้อมจิตไปเฉพาะต่ออาสวกั ขยญาณ. เธอย่อม รูช้ ัดตามทเี่ ปน็ จริงว่า “น้ีทุกข์ น้เี หตใุ หเ้ กิดข้นึ แห่งทกุ ข์ นค้ี วามดบั ไมเ่ หลอื แหง่ ทกุ ข์ นท้ี างด�ำ เนนิ ใหถ้ งึ ความดบั ไมเ่ หลอื แหง่ ทุกข”์ และรู้ชัดตามทีเ่ ปน็ จรงิ วา่ “เหลา่ นี้ อาสวะ นี้เหตุเกิดขึ้นแหง่ อาสวะ น้คี วามดบั ไม่เหลือ แห่งอาสวะ  น้ีทางดำ�เนินให้ถึงความดับไม่เหลือแห่ง อาสวะ”. เมอ่ื เธอรอู้ ยอู่ ยา่ งนเ้ี หน็ อยอู่ ยา่ งน้ี จติ กพ็ น้ จาก กามาสวะ ภวาสวะ อวิชชาสวะ. ครั้นจิตหลุดพ้นแล้ว 96

เปิดธรรมทถ่ี ูกปดิ : ก้าวยา่ งอย่างพุทธะ ก็เกิดญาณหยัง่ ร้วู ่า “จิตพ้นแล้ว”. เธอรชู้ ัดว่า “ชาติสน้ิ แลว้ พรหมจรรยอ์ ยู่จบแล้ว กจิ ทีค่ วรทำ�ได้ทำ�ส�ำ เร็จแล้ว กจิ อ่ืนที่จะต้องทำ�เพอ่ื ความเปน็ อยา่ งน้ี มไิ ด้มอี กี ” ดงั น.้ี เกวัฏฏะ !   เปรียบเหมือนห้วงนำ้�ใสที่ไหล่เขา ไม่ขนุ่ มวั คนมจี ักษุดียืนอยบู่ นฝัง่ ในท่นี นั้ เขาเห็นหอย ต่างๆ บ้าง กรวดและหินบา้ ง ฝงู ปลาบ้าง อันหยดุ อยู่ และว่ายไปในห้วงน้ำ�นั้น เขาจะสำ�เหนียกใจอย่างนี้ว่า “หว้ งนำ�้ นใ้ี ส ไมข่ ุ่นเลย หอย กอ้ นกรวด ปลาทงั้ หลาย เหลา่ นี้ หยดุ อยบู่ า้ ง วา่ ยไปบ้าง ในห้วงน้ำ�นัน้ ” ดังนี้ ฉนั ใดกฉ็ นั นน้ั .เกวฏั ฏะ !   นเ้ี ราเรยี กวา่ อนศุ าสนปี าฏหิ ารยิ .์ เกวฏั ฏะ !   เหลา่ น้แี ล ปาฏิหาริย์ ๓ อยา่ ง ทีเ่ รา ได้ทำ�ให้แจ้งด้วยปัญญาอันยิ่งเอง แล้วประกาศให้ผู้อื่น รู้ตามดว้ ย. 97

พุทธวจน - หมวดธรรม เปิดธรรมท่ีถูกปดิ : ก้าวยา่ งอยา่ งพุทธะ ผอู้ ยใู่ กลน้ พิ พาน 30 -บาลี จตกุ กฺ . อ.ํ ๒๑/๕๐-๕๒/๓๗. ภิกษุทง้ั หลาย !   ภกิ ษุ เมื่อประกอบพรอ้ มด้วย ธรรมสี่อย่างแล้ว ไม่อาจที่จะเสื่อมเสีย มีแต่จะอยู่ใกล้ นพิ พานอย่างเดียว. ธรรมส่ีอย่างอะไรบ้างเล่า ? ธรรมสี่อย่าง คือ ภิกษุในธรรมวินัยน้ี เปน็ ผูส้ มบูรณ์ด้วยศลี เปน็ ผู้ค้มุ ครองทวารในอนิ ทรยี ท์ ัง้ หลาย เปน็ ผู้ร้ปู ระมาณในโภชนะ เป็นผู้ตามประกอบในชาครยิ ธรรมอยเู่ นอื งนจิ . ภิกษุท้ังหลาย !   ภิกษุ  เป็นผู้สมบูรณ์ด้วยศีล เป็นอย่างไรเลา่  ? 98

เปดิ ธรรมทีถ่ กู ปดิ : กา้ วยา่ งอยา่ งพทุ ธะ ภิกษุท้งั หลาย !   ภกิ ษใุ นธรรมวนิ ยั น้ี เปน็ ผมู้ ศี ลี มีการสำ�รวมด้วยปาติโมกขสังวร มีมรรยาทและโคจร สมบรู ณ์อยู่ เป็นผเู้ หน็ ภัยในโทษท้งั หลาย แมเ้ ล็กนอ้ ย  สมาทานศึกษาอย่ใู นสกิ ขาบททง้ั หลาย. ภกิ ษทุ ง้ั หลาย !   ภิกษอุ ย่างน้ชี อื่ ว่า เปน็ ผสู้ มบูรณ์ด้วยศีล. ภิกษุท้ังหลาย !   ภิกษุ  เป็นผ้คู ้มุ ครองทวารใน อินทรียท์ ง้ั หลาย เป็นอย่างไรเลา่ ? ภกิ ษทุ ัง้ หลาย !   ภกิ ษุในธรรมวนิ ยั นี้ ไดเ้ หน็ รูป ดว้ ยตา ได้ฟังเสยี งด้วยหู ไดด้ มกล่นิ ด้วยจมูก ไดล้ ้มิ รส ดว้ ยลน้ิ ไดส้ มั ผสั โผฏฐพั พะดว้ ยกาย และไดร้ ธู้ รรมารมณ์ ดว้ ยใจแล้ว ก็ไม่รวบถอื เอาท้งั หมด และไมแ่ ยกถือเอา เปน็ สว่ นๆ1 สิ่งท่ีเปน็ บาปอกศุ ล คืออภชิ ฌาและโทมนัส มกั ไหลไปตามภิกษผุ ไู้ ม่สำ�รวม ตา หู จมกู ลิ้น กาย ใจ เพราะการไมส่ �ำ รวมอินทรยี ์ใดเปน็ เหตุ เธอกป็ ฏบิ ัตเิ พ่อื 1. คือการไมร่ วบถือเอาผสั สะทัง้ หมด เปน็ ตัวเรา ของเรา หรือ ไมแ่ ยกถือ แต่ละส่วน ขององค์ประกอบผสั สะว่า เปน็ ตวั เรา ของเรา (สำ� หรบั ผูเ้ ดนิ มรรค ในระดับผสั สะ) และการไมถ่ ือเอาเปน็ อารมณ์สำ� หรับยินดียินรา้ ย ท้งั โดย ส่วนรวม และสว่ นปลกี ย่อย ของอารมณ์นั้นๆ (สำ� หรับผเู้ ดินมรรคในระดบั เวทนา). 99

พุทธวจน - หมวดธรรม ปิดกนั้ อินทรียน์ นั้ ไว้ เธอรกั ษาและถงึ ความส�ำ รวม ตา หู จมูก ลน้ิ กาย และใจ. ภิกษุท้ังหลาย !   ภกิ ษุอย่างนชี้ อ่ื ว่า เปน็ ผูค้ มุ้ ครองทวารในอนิ ทรียท์ งั้ หลาย. ภิกษุทั้งหลาย !   ภิกษุ  เป็นผู้รู้ประมาณใน โภชนะ เปน็ อย่างไรเล่า ? ภิกษุทั้งหลาย !   ภิกษใุ นธรรมวินยั น้ี พจิ ารณา โดยแยบคายแลว้ จงึ ฉนั อาหาร ไมฉ่ นั เพ่อื เล่น ไมฉ่ นั เพอื่ มัวเมา ไมฉ่ ันเพอื่ ประดบั ไม่ฉนั เพอื่ ตกแตง่ แตฉ่ ันเพยี ง เพ่อื ให้กายน้ตี ้ังอยู่ได้ เพอ่ื ให้ชีวิตเป็นไป เพอ่ื ปอ้ งกัน ความล�ำ บาก เพือ่ อนุเคราะห์พรหมจรรย์ โดยก�ำ หนดรูว้ ่า “เราจะก�ำ จดั เวทนาเกา่ (คอื หวิ ) เสยี แลว้ ไมท่ �ำ เวทนาใหม่ (คอื อม่ิ จนอดึ อดั ) ใหเ้ กดิ ขน้ึ ความทอ่ี ายดุ �ำ เนนิ ไปได้ ความ ไมม่ โี ทษเพราะอาหาร และความอยผู่ าสกุ ส�ำ ราญจะมแี กเ่ รา” ดงั นี.้ ภิกษทุ ั้งหลาย !   ภกิ ษอุ ยา่ งนช้ี อ่ื วา่ เปน็ ผรู้ ปู้ ระมาณ ในโภชนะ. ภิกษุทั้งหลาย !   ภิกษุ  เป็นผู้ตามประกอบใน ชาคริยธรรมอยูเ่ นอื งนิจ เป็นอย่างไรเลา่  ? 100

เปิดธรรมทถ่ี ูกปิด : ก้าวยา่ งอย่างพุทธะ ภิกษุทั้งหลาย !   ภิกษุในธรรมวินัยนี้  ย่อม ช�ำ ระจติ ให้หมดจดสิน้ เชงิ จากกิเลสท่กี น้ั จิต ด้วยการเดิน จงกรม ด้วยการนั่ง ตลอดวันยันค่ำ�ไปจนสิ้นยามแรก แห่งราตรี  คร้นั ยามกลางแห่งราตรี  ย่อมสำ�เร็จการนอน อย่างราชสีห์  (คือ)  ตะแคงข้างขวา  เท้าเหล่ือมเท้า  มีสตสิ มั ปชัญญะในการลุกข้ึน ครัน้ ยามสดุ ท้ายแห่งราตรี กลบั ลกุ ขน้ึ แลว้ กช็ �ำ ระจติ ใหห้ มดจดสน้ิ เชงิ จากกเิ ลสทก่ี น้ั จติ ดว้ ยการเดินจงกรม และด้วยการนัง่ อีก. ภกิ ษทุ ั้งหลาย !   ภิกษุอย่างนี้ชื่อว่า เป็นผู้ตามประกอบในชาคริยธรรมอยู่ เนอื งนจิ . ภิกษทุ ้งั หลาย !   ภกิ ษุ เมอ่ื ประกอบพร้อมด้วย ธรรมสอ่ี ย่างเหลา่ น้แี ล้ว ไมอ่ าจทจ่ี ะเสอ่ื มเสีย มแี ตจ่ ะ อยใู่ กลน้ พิ พานอย่างเดียวแล. 101

พุทธวจน - หมวดธรรม เปดิ ธรรมทีถ่ กู ปดิ : ก้าวย่างอยา่ งพทุ ธะ 102

พทุ ธวจน - หมวดธรรม เปิดธรรมทีถ่ ูกปดิ : ก้าวย่างอย่างพทุ ธะ ลักษณะแหง่ อินทรียภาวนาชัน้ เลศิ 31 -บาลี อุปริ. ม. ๑๔/๕๔๑-๕๔๕/๘๕๖-๘๖๑. อานนท์ !   อินทรียภาวนาช้ันเลิศ  (อนุตฺตรา อินฺทฺริยภาวนา) ในอริยวินัย เป็นอย่างไรเล่า ? อานนท์ !   ในกรณนี ้ี อารมณอ์ นั เปน็ ทช่ี อบใจ- ไม่เป็นที่ชอบใจ-เป็นที่ชอบใจและไม่เป็นที่ชอบใจ เกดิ ขน้ึ แกภ่ กิ ษุ เพราะเหน็ รปู ดว้ ยตา. ภกิ ษนุ น้ั รชู้ ดั อยา่ งน้ี วา่ “อารมณท์ เ่ี กดิ ขน้ึ แลว้ แกเ่ ราน้ี เปน็ สง่ิ ทม่ี ปี จั จยั ปรงุ แตง่ (สงขฺ ต) เปน็ ของหยาบๆ (โอฬารกิ ) เปน็ สง่ิ ทอ่ี าศยั เหตปุ จั จยั เกดิ ขน้ึ (ปฏจิ จฺ สมปุ ปฺ นนฺ ) แตม่ สี ง่ิ โนน้ ซง่ึ ร�ำ งบั และประณตี กลา่ วคือ  อุเบกขา”  ดังน.้ี (เมอื่ ร้ชู ัดอยา่ งน)้ี   อารมณ์ อันเป็นที่ชอบใจ-ไม่เป็นที่ชอบใจ-เป็นท่ีชอบใจและ ไม่เป็นที่ชอบใจ อันบังเกิดขึ้นแก่ภิกษุนั้น ย่อมดับไป อุเบกขายังคงดำ�รงอยู่. 103

พทุ ธวจน - หมวดธรรม อานนท์ !   อารมณ์อันเป็นที่ชอบใจ-ไม่เป็นที่ ชอบใจ-เปน็ ทช่ี อบใจและไมเ่ ปน็ ทช่ี อบใจ อนั บงั เกดิ ขน้ึ แลว้ แกภ่ กิ ษนุ น้ั ยอ่ มดบั ไปเรว็ เหมอื นการกะพรบิ ตาของคน ส่วนอเุ บกขายังคงเหลืออย.ู่ อานนท์ !   นี้แล เราเรียกว่า อินทรียภาวนา ชั้นเลศิ ในอรยิ วนิ ัย ในกรณีแห่ง รปู ท่รี ู้แจ้งดว้ ยจักษุ. (ในกรณแี หง่ เสยี งทร่ี แู้ จง้ ดว้ ยโสตะ กลน่ิ ทร่ี แู้ จง้ ดว้ ย ฆานะ รสทร่ี แู้ จง้ ดว้ ยชวิ หา โผฏฐพั พะทร่ี แู้ จง้ ดว้ ยผวิ กาย และ ธรรมารมณท์ ร่ี แู้ จง้ ดว้ ยใจ กไ็ ดต้ รสั ไวโ้ ดยหลกั เกณฑอ์ ยา่ งเดยี วกนั ต่างกันแต่อุปมาแห่งความเร็วในการดับแห่งอารมณ์นั้นๆ เช่น ในกรณแี หง่ เสยี งเปรยี บดว้ ยความเรว็ แหง่ การดดี นว้ิ มอื เปน็ ตน้ ). (เรื่องทค่ี วรดูประกอบดว้ ยกับบทนี้ อยู่ในบทที่ ๓๙ หนา้ ๑๑๙ เร่ือง นิพพาน เพราะไมย่ ดึ ถือธรรมทีไ่ ดบ้ รรล)ุ . 104

พุทธวจน - หมวดธรรม เปิดธรรมที่ถกู ปิด : กา้ วย่างอย่างพทุ ธะ ส้ินกิเลสกแ็ ล้วกัน 32 ไมต่ ้องรูว้ ่าส้ินไปเทา่ ไร -บาลี สตฺตก. อํ. ๒๓/๑๒๗-๑๒๙/๖๘. ภิกษุท้ังหลาย !   เปรียบเหมือนรอยน้ิวมือหรือ รอยนิ้วหวั แมม่ ือ ยอ่ มปรากฏอยทู่ ีด่ ้ามเครื่องมือของพวก ช่างไม้ หรือลูกมอื ของพวกช่างไม้ แต่เขาก็ไม่มีความรูว้ ่า ด้ามเคร่อื งมอื ของเรา วนั นี้สึกไปเท่านี้ วานนสี้ กึ ไปเทา่ น้ี วนั อื่นๆ สกึ ไปเท่านๆี้ คงร้แู ต่ว่ามันสกึ ไปๆ เท่าน้นั นฉี้ นั ใด  ภกิ ษทุ งั้ หลาย !  เมอ่ื ภกิ ษตุ ามประกอบภาวนาอยู่ ก็ไมร่ อู้ ย่างน้วี า่   วนั นีอ้ าสวะของเราสน้ิ ไปเทา่ น้ี วานน้ี สิ้นไปเท่าน้ี วนั อืน่ ๆ สิน้ ไปเทา่ นๆ้ี รูแ้ ตเ่ พียงว่า สิ้นไป ในเมือ่ มนั สิน้ ไปๆ เท่านนั้ ฉนั ใดกฉ็ นั น้ัน. 105

พทุ ธวจน - หมวดธรรม เปดิ ธรรมท่ีถูกปดิ : ก้าวยา่ งอย่างพทุ ธะ ตถาคตเป็นเพยี งผ้บู อก 33 จะถงึ ทห่ี มายต้องเดนิ เอาเอง -บาลี อุปร.ิ ม. ๑๔/๘๕-๘๗/๑๐๑-๑๐๓. “กส็ าวกของพระโคดมผเู้ จรญิ  !   เมอ่ื พระโคดมกลา่ วสอน พร่ำ�สอนอยู่อย่างนี้  ทุกๆ  รูปได้บรรลุนิพพานอันเป็นผลสำ�เร็จ ถงึ ทส่ี ดุ อยา่ งยง่ิ หรือ ? หรือว่าไม่ได้บรรลุ ?”. พราหมณ์ผู้หนึ่งทูลถาม พระผู้มีพระภาค. พราหมณ์ !   สาวกของเรา  แม้เรากล่าวสอน พร�่ำ สอนอยูอ่ ยา่ งน้ี น้อยพวกท่ไี ดบ้ รรลนุ ิพพาน อันเปน็ ผลสำ�เร็จถงึ ทส่ี ุดอย่างยงิ่ บางพวกไมไ่ ด้บรรลุ. “พระโคดมผู้เจริญ !   อะไรเล่าเป็นเหตุ อะไรเล่าเป็น ปัจจัย ที่พระนิพพานก็ยังตั้งอยู่ หนทางที่ยังสัตว์ให้ถึงนิพพาน ก็ยังตั้งอยู่. พระโคดมผู้ชักชวน (เพื่อดำ�เนินไป) ก็ยังตั้งอยู่ ทำ�ไมน้อยพวกที่บรรลุ และบางพวกไม่บรรลุ ?”. 106

เปิดธรรมที่ถูกปดิ : กา้ วยา่ งอย่างพุทธะ พราหมณ์ !   เราจักย้อนถามท่านในเรื่องน้ี ท่านจงตอบตามควร.  ท่านเป็นผู้ช่�ำชองในหนทางไปสู่ เมืองราชคฤห์มิใช่หรือ ? มีบุรุษผู้จะไปเมืองราชคฤห์ เข้ามาหาและกล่าวกับท่านว่า “ทา่ นผู้เจรญิ  !   ขา้ พเจ้า ปรารถนาจะไปเมืองราชคฤห์  ขอท่านจงช้ีบอกทางไป เมอื งราชคฤห์ แกข่ า้ พเจ้าเถดิ ” ดงั นี้ ทา่ นกจ็ ะกล่าวกะ บรุ ษุ ผนู้ น้ั วา่ “มาซทิ า่ น ทางนไ้ี ปเมอื งราชคฤห์ ไปไดค้ รหู่ นงึ่ จกั พบบา้ นชอ่ื โนน้ แลว้ จกั เหน็ นคิ มชอื่ โนน้ จกั เหน็ สวนและ ปา่ อนั นา่ รนื่ รมย์ จกั เหน็ ภมู ภิ าคอนั นา่ รน่ื รมย์ สระโบกขรณี อนั นา่ รน่ื รมยข์ องเมอื งราชคฤห”์ ดงั น.้ี บรุ ษุ นน้ั อนั ทา่ นพรำ่� บอก พรำ่� ชใ้ี หอ้ ยา่ งน้ี กย็ งั ถอื เอาทางผดิ กลบั หลงั ตรงกนั ขา้ มไป สว่ นบรุ ษุ อีกคนหนึ่ง ไปถงึ เมอื งราชคฤหไ์ ดโ้ ดยสวสั ด.ี พราหมณเ์ อย !   อะไรเล่าเป็นเหตุ อะไรเล่าเป็นปัจจัย ทเี่ มอื งราชคฤหก์ ย็ งั ตง้ั อยู่ ทา่ นผชู้ บ้ี อกกย็ งั ตง้ั อยู่ แตท่ �ำไม บุรษุ ผูห้ นึ่งกลับหลงผดิ ทาง ส่วนบุรษุ อกี ผ้หู นง่ึ ไปถงึ เมอื ง ราชคฤห์ไดโ้ ดยสวสั ด ี ? “พระโคดมผู้เจริญ !   ในเร่ืองน้ี  ข้าพเจ้าจักทำ�อย่างไร ไดเ้ ล่า เพราะขา้ พเจ้าเป็นแตเ่ พยี งผ้บู อกทางเทา่ นัน้ ”. 107

พทุ ธวจน - หมวดธรรม พราหมณ ์ !   ฉันใดก็ฉันนั้นแล ที่พระนิพพาน กย็ ังตง้ั อยู่ ทางเป็นเครอ่ื งถึงพระนพิ พาน ก็ยังต้ังอยู่ เรา ผู้ชักชวนก็ยังตั้งอยู่ แต่สาวกแม้เรากล่าวสอนพร่ำ�สอน อย่อู ยา่ งนี้ น้อยพวกทไ่ี ดบ้ รรลนุ พิ พานอนั เป็นผลสำ�เรจ็ ถงึ ท่สี ดุ อยา่ งยง่ิ บางพวกไมไ่ ด้บรรล.ุ พราหมณ์ !   ในเร่อื งน้ ี เราจักทำ�อย่างไรได้เล่า เพราะเราเป็นแตเ่ พยี งผบู้ อกทางเท่านนั้ . 108

พุทธวจน - หมวดธรรม เปิดธรรมที่ถูกปิด : กา้ วยา่ งอย่างพทุ ธะ เหตุใหไ้ มป่ รินพิ พานในปัจจบุ นั 34 -บาลี สฬา. ส.ํ ๑๘/๑๒๘/๑๗๘. “ข้าแต่พระองค์ผู้เจริญ !   อะไรหนอเปน็ เหตุ อะไรหนอ เปน็ ปจั จยั ทท่ี �ำ ใหส้ ตั วบ์ างพวกในโลกน้ี ไมป่ รนิ พิ พานในทฏิ ฐธรรม (ปัจจุบัน) ?”. ท่านผ้เู ป็นจอมเทพ !   รปู ทง้ั หลาย ทจ่ี ะพงึ รไู้ ด้ ด้วยจกั ษุ มีอยู่ เปน็ รูปทีน่ ่าปรารถนา นา่ ใคร่ น่าพอใจ มีลกั ษณะน่ารกั เป็นทเ่ี ข้าไปตงั้ อาศัยแห่งความใคร่ เป็น ทีต่ ั้งแห่งความกำ�หนัด. ถา้ ว่า ภิกษุย่อมเพลดิ เพลนิ พร�ำ่ สรรเสริญ เมาหมกอยู่ ซึ่งรูปน้ันแลว้ ไซร้ เม่อื ภิกษุนน้ั เพลดิ เพลนิ พร�ำ่ สรรเสรญิ เมาหมกซง่ึ รปู นน้ั อยู่ วญิ ญาณ น้ัน เปน็ วิญญาณอนั ตณั หาในอารมณค์ ือรปู อาศยั แล้ว วญิ ญาณนนั้ คืออปุ าทาน.1 ท่านผูเ้ ปน็ จอมเทพ !   ภกิ ษุผู้ มอี ุปาทาน ย่อม ไมป่ รนิ ิพพาน. 1. ในท่ีนห้ี มายถึงวญิ ญาณท่รี ้สู กึ ตอ่ ความเพลิน และความมวั เมาในรปู น้นั ไมใ่ ช่จักขวุ ญิ ญาณทเี่ หน็ รปู ตามธรรมดา. 109

พทุ ธวจน - หมวดธรรม [ในกรณีแหง่ เสยี ง ทจ่ี ะพงึ รู้สกึ ดว้ ยโสตะ กล่ิน ที่จะพึง รสู้ กึ ดว้ ยฆานะ รส ทจ่ี ะพงึ รสู้ กึ ดว้ ยชวิ หา สมั ผัสทางกาย ทจ่ี ะพงึ รสู้ กึ ดว้ ยกายะ (ผวิ กายทว่ั ไป) และธรรมารมณ์ ทจ่ี ะพงึ รสู้ กึ ดว้ ยมนะ กไ็ ด้ตรสั ไว้ดว้ ยข้อความทำ�นองเดยี วกันกับในกรณแี หง่ รปู ท่จี ะพึง รู้ไดด้ ้วยจักษุ ข้างบนน้ัน]. ท่านผเู้ ป็นจอมเทพ !   นแ้ี ลเปน็ เหตุ นเ้ี ปน็ ปจั จยั ทีท่ ำ�ใหส้ ัตว์บางพวกในโลกน้ี ไม่ปรินพิ พานในทิฏฐธรรม (ปัจจบุ นั ). 110

พทุ ธวจน - หมวดธรรม เปดิ ธรรมทีถ่ ูกปิด : กา้ วย่างอยา่ งพุทธะ หมด “อาหาร” ก็นพิ พาน 35 -บาลี นทิ าน. สํ. ๑๖/๑๒๔-๑๒๖/๒๔๘-๒๔๙. ภกิ ษุท้ังหลาย !   ถ้าไม่มีราคะ ไมม่ นี นั ทิ ไม่มี ตณั หา ใน อาหารคือคำ�ข้าว กด็ ี ใน อาหารคอื ผสั สะ กด็ ี ใน  อาหารคือมโนสญั เจตนา  กด็ ี ใน อาหารคือ วิญญาณ กด็ ี แล้วไซร้ วิญญาณก็เปน็ สิ่งทต่ี ง้ั อยไู่ ม่ได้ เจริญงอกงามอยู่ไม่ได้ในส่ิงน้ันๆ.  วิญญาณตั้งอยู่ไม่ได้ เจริญงอกงามอยู่ไม่ได้ในที่ใด การก้าวลงแห่งนามรูป ย่อมไม่มีในที่นั้น การก้าวลงแห่งนามรูป ไม่มีในที่ใด ความเจรญิ แหง่ สงั ขารทง้ั หลาย ยอ่ มไมม่ ใี นทน่ี น้ั ความเจรญิ แห่งสังขารทั้งหลาย ไม่มีในที่ใด การบังเกิดในภพใหม่ ต่อไป  ย่อมไม่มีในที่นั้น  การบังเกิดในภพใหม่ต่อไป ไม่มใี นทใ่ี ด ชาติชราและมรณะต่อไป ย่อมไม่มใี นที่นน้ั   ชาตชิ ราและมรณะต่อไป ไมม่ ใี นทใ่ี ด ภกิ ษทุ งั้ หลาย !   เราเรียก “ที่” น้ันวา่ เป็น “ท่ไี ม่โศก ไม่มีธุลี และไมม่ ี ความคับแค้น” ดังน้ี. 111

พุทธวจน - หมวดธรรม ภิกษุท้ังหลาย !   เปรียบเหมือนเรือนยอดหรือ ศาลาเรือนยอด ท่ีตัง้ อยูท่ างทิศเหนอื หรือใตก้ ็ตาม เป็น เรอื นมหี นา้ ตา่ งทางทศิ ตะวนั ออก. ครน้ั ดวงอาทติ ยข์ น้ึ มา แสงสว่างแห่งดวงอาทิตย์ส่องเข้าไปทางช่องหน้าต่างแล้ว จักตั้งอยทู่ ีส่ ว่ นไหนแหง่ เรอื นน้ันเล่า ? “ข้าแต่พระองค์ผู้เจริญ !   แสงสว่างแห่งดวงอาทิตย์ จกั ปรากฏทฝ่ี าเรือนขา้ งในด้านทศิ ตะวันตก พระเจา้ ข้า !”. ภิกษุท้ังหลาย !   ถ้าฝาเรือนทางทิศตะวันตก ไมม่ ีเลา่ แสงแห่งดวงอาทิตย์นน้ั จักปรากฏอยู่ท่ไี หน ? “ขา้ แต่พระองค์ผูเ้ จรญิ  !   แสงสว่างแหง่ ดวงอาทิตย์น้นั จักปรากฏที่พื้นดิน พระเจ้าข้า !”. ภกิ ษุทงั้ หลาย !   ถา้ พน้ื ดนิ ไมม่ เี ลา่ แสงสวา่ งแหง่ ดวงอาทิตยน์ ้ัน จกั ปรากฏทีไ่ หน ? “ข้าแต่พระองค์ผเู้ จรญิ  !   แสงสวา่ งแห่งดวงอาทติ ยน์ ัน้ จักปรากฏในน้ำ�พระเจ้าข้า !”. ภกิ ษุทั้งหลาย !   ถ้าน้ำ�ไม่มีเล่า แสงสว่างแห่ง ดวงอาทติ ยน์ น้ั จกั ปรากฏที่ไหนอกี  ? “ขา้ แต่พระองคผ์ เู้ จรญิ  !   แสงสว่างแหง่ ดวงอาทติ ยน์ นั้ ย่อมเป็นสิ่งที่ไม่ปรากฏแล้ว พระเจ้าข้า !”. 112

เปดิ ธรรมทถ่ี กู ปิด : ก้าวย่างอยา่ งพทุ ธะ ภกิ ษุทงั้ หลาย !   ฉันใดก็ฉนั นน้ั แล ถา้ ไมม่ รี าคะ ไมม่ นี นั ทิ ไมม่ ตี ณั หา ในอาหารคอื ค�ำ ขา้ วกด็ ี ในอาหารคอื ผสั สะกด็ ี ในอาหารคอื มโนสญั เจตนา กด็ ี ในอาหารคือวิญญาณก็ดี แลว้ ไซร้ วิญญาณกเ็ ป็นสิง่ ทตี่ ง้ั อยไู่ มไ่ ด้ เจรญิ งอกงามอย่ไู ม่ได้ ในอาหารคอื คำ�ขา้ ว เปน็ ต้นนน้ั ๆ. วญิ ญาณตง้ั อยไู่ มไ่ ด้ เจรญิ งอกงามอยไู่ มไ่ ดใ้ นทใ่ี ด การกา้ วลงแห่งนามรูป ยอ่ มไมม่ ใี นทนี่ ัน้ การก้าวลงแห่งนามรปู ไม่มีในทใ่ี ด ความเจรญิ แห่งสังขารทงั้ หลาย ยอ่ มไมม่ ใี นทีน่ ั้น ความเจริญแห่งสังขารทั้งหลาย ไม่มีในที่ใด การบังเกิดในภพใหมต่ อ่ ไป ย่อมไม่มใี นทีน่ ั้น การบงั เกดิ ในภพใหมต่ อ่ ไป ไมม่ ใี นทใ่ี ด ชาตชิ รา และมรณะตอ่ ไป ยอ่ มไม่มีในทน่ี น้ั ชาตชิ รามรณะตอ่ ไป ไมม่ ใี นทใ่ี ด ภกิ ษุทง้ั หลาย !   เราเรียก “ท่ี” นน้ั วา่ เป็น “ที่ไม่โศก ไม่มีธุลี และไม่มี ความคับแค้น” ดงั น้.ี 113

พทุ ธวจน - หมวดธรรม เปดิ ธรรมทถี่ กู ปดิ : ก้าวย่างอย่างพทุ ธะ กฎอิทปั ปัจจยตา 36 หรอื หวั ใจปฏิจจสมุปบาท -บาลี ม. ม. ๑๓/๓๕๔-๓๕๖/๓๗๑., -บาลี นิทาน. ส.ํ ๑๖/๘๔/๑๔๔., ...ฯลฯ... อิมสมฺ ึ สติ อทิ ํ โหติ เมอื่ ส่งิ น้ี มี สิง่ นี้ ย่อมมี อมิ สสฺ ปุ ปฺ าทา อทิ ํ อปุ ฺปชฺชติ เพราะความเกิดข้ึนแหง่ สิ่งน ้ี สิ่งน้จี ึงเกิดข้ึน อมิ สมฺ ึ อสติ อิทํ นโหติ เมือ่ สิ่งนี้ ไม่ม ี สิ่งนี้ ยอ่ มไมม่ ี อิมสสฺ นิโรธา อิทํ นิรชุ ฺฌติ เพราะความดับไปแหง่ สง่ิ น ี้ ส่งิ น้ี จึงดบั ไป 114

พุทธวจน - หมวดธรรม เปิดธรรมที่ถกู ปิด : กา้ วย่างอยา่ งพทุ ธะ ปฏจิ จสมุปบาท คือ ธรรมอันเป็น 37 ธรรมชาติ อาศยั กันแลว้ เกดิ ขน้ึ -บาลี นทิ าน. ส.ํ ๑๖/๑/๑. ภกิ ษทุ ง้ั หลาย !   อะไรเลา่ ทเ่ี รยี กวา่  ปฏจิ จสมปุ บาท ภกิ ษทุ ง้ั หลาย !   เพราะมอี วชิ ชา เป็นปจั จัย จงึ มี สงั ขารทงั้ หลาย เพราะมสี งั ขาร เป็นปัจจัย จึงมี วญิ ญาณ เพราะมวี ิญญาณ เปน็ ปจั จัย จงึ มี นามรูป เพราะมนี ามรูป เป็นปจั จยั จงึ มี สฬายตนะ เพราะมสี ฬายตนะ เปน็ ปัจจัย จงึ มี ผัสสะ เพราะมผี สั สะ เป็นปจั จยั จึงมี เวทนา เพราะมเี วทนา เปน็ ปจั จัย จึงมี ตัณหา เพราะมตี ัณหา เปน็ ปัจจัย จึงมี อปุ าทาน เพราะมอี ปุ าทาน เปน็ ปัจจยั จึงมี ภพ เพราะมภี พ เป็นปัจจัย จึงมี ชาติ เพราะมชี าติ เปน็ ปัจจัย ชรามรณะโสกะปริเทวะ ทุกขะโทมนสั อุปายาสท้ังหลาย จึงเกดิ ข้นึ ครบถ้วน 115

พทุ ธวจน - หมวดธรรม ความเกิดขึ้นพร้อมแห่งกองทุกข์ทั้งสิ้นนี้ ย่อมมีด้วยอาการอย่างนี้. ภกิ ษุทัง้ หลาย !   นีเ้ รียกว่า ปฏจิ จสมุปบาท. เพราะความจางคลายดับไปโดยไม่เหลือแห่งอวิชชาน้ัน น่ันเทียว จงึ มคี วามดับแห่งสงั ขาร เพราะมคี วามดับแห่งสังขาร จงึ มีความดับแหง่ วิญญาณ เพราะมคี วามดบั แห่งวญิ ญาณ จึงมีความดบั แห่งนามรปู เพราะมคี วามดบั แห่งนามรูป จงึ มคี วามดับแหง่ สฬายตนะ เพราะมีความดับแหง่ สฬายตนะ จึงมีความดับแห่งผัสสะ เพราะมีความดับแหง่ ผัสสะ จึงมคี วามดบั แหง่ เวทนา 116

เปิดธรรมทีถ่ กู ปดิ : ก้าวยา่ งอย่างพุทธะ เพราะมคี วามดบั แหง่ เวทนา จึงมีความดับแหง่ ตณั หา เพราะมคี วามดับแหง่ ตัณหา จงึ มคี วามดับแห่งอปุ าทาน เพราะมีความดับแหง่ อุปาทาน จึงมีความดับแหง่ ภพ เพราะมีความดบั แหง่ ภพ จงึ มคี วามดับแห่งชาติ เพราะมีความดบั แห่งชาติ นน่ั แล ชรามรณะ  โสกะปริเทวะทุกขะโทมนัสอุปายาสทั้งหลาย จงึ ดับสน้ิ ความดับลงแห่งกองทุกข์ทั้งสิ้นนี้ ย่อมมี ด้วยอาการอย่างนี้ ดังนี้. 117

พุทธวจน - หมวดธรรม เปดิ ธรรมทถี่ กู ปดิ : ก้าวย่างอยา่ งพทุ ธะ ปญั ญา สติ กบั นามรปู ดับ 38 เพราะวิญญาณดับ -บาลี สุตฺต. ข.ุ ๒๕/๕๓๐-๕๓๑/๔๒๕., -บาลี จูฬนิ. ข.ุ ๓๐/๒๐-๒๑/๘๐,๘๕. “ข้าแต่พระองค์ผู้นิรทุกข์ !   ข้าพระองค์กราบทูลถามแล้ว ขอพระองค์จงตรัสบอกธรรมนั้น คือ ปัญญาและสติกับนามรูป แก่ข้าพระองค์เถิด ปัญญาและสติกับนามรูปนั้น จะดับไปที่ไหน ?”. อชติ ะ !   ทา่ นถามปัญหานน้ั ข้อใด เราจะแก้ปญั หา ขอ้ น้ันแกท่ ่าน นามและรูป ยอ่ มดับไมเ่ หลือในทีใ่ ด ปัญญาและสติกับนามรปู นั้น ก็ย่อมดบั ไปในทีน่ น้ั เพราะความดับไปแหง่ วิญญาณ แล. 118

พุทธวจน - หมวดธรรม เปิดธรรมทถี่ ูกปดิ : กา้ วย่างอย่างพทุ ธะ นิพพานเพราะ 39 ไมย่ ึดถอื ธรรมทไ่ี ดบ้ รรลุ -บาลี อุปริ. ม. ๑๔/๗๙/๙๑. อานนท์ !   ส่วนภิกษุบางรูปในธรรมวินัยน้ี เป็นผู้ปฏิบัติอย่างนั้นแล้ว ย่อมได้เฉพาะซึ่งอุเบกขา ว่า “ถ้าไม่ควรมี  และไม่พึงมีแก่เรา  ก็ต้องไม่มีแก่เรา สิ่งใดมีอยู่ สิ่งใดมีแล้ว เราจะละสิ่งนั้นเสีย” ดังนี้. ภกิ ษุ (บางรปู ) น้นั ยอ่ มไมเ่ พลิดเพลิน ไมพ่ ร�ำ่ สรรเสรญิ ไม่เมาหมกอยู่  ซึ่งอุเบกขานั้น  เมื่อไม่เพลิดเพลิน ไม่พร่ำ�สรรเสริญ  ไม่เมาหมกอยู่  ซึ่งอุเบกขานั้น วิญญาณของเธอก็ไม่เป็นธรรมชาติอาศัยซึ่งอุเบกขาน้ัน ไม่มอี เุ บกขานน้ั เปน็ อปุ าทาน. อานนท์ !   ภิกษุผู้ไม่มีอุปาทาน ย่อมปรินิพพานแล. 119

พุทธวจน - หมวดธรรม เปดิ ธรรมทถ่ี กู ปดิ : กา้ วยา่ งอยา่ งพทุ ธะ การปรินพิ พาน 40 -บาลี มหา. ที. ๑๐/๑๔๑-๑๔๒/๑๐๘. สัตว์ทงั้ ปวง ทง้ั ทเ่ี ปน็ คนหนุ่ม คนแก่ ทงั้ ท่ีเป็น คนพาลและบัณฑิต ทั้งที่มั่งมี และยากจน ล้วนแต่มี ความตายเปน็ ทไ่ี ปถงึ ในเบอ้ื งหนา้ . เปรยี บเหมอื นภาชนะดนิ ทช่ี า่ งหมอ้ ปน้ั แลว้ ทง้ั เลก็ และใหญ่ ทง้ั ทส่ี กุ แลว้ และยงั ดบิ ลว้ นแตม่ กี ารแตกท�ำ ลายเป็นทสี่ ุด ฉนั ใด ชวี ิตแห่งสตั วท์ ั้ง หลายก็มีความตายเปน็ เบ้อื งหนา้ ฉันน้ัน. วัยของเราแก่หง่อมแล้ว ชีวิตของเราริบหรี่แล้ว เราจักละพวกเธอไป. สรณะของตัวเองเราได้ท�ำ ไวแ้ ล้ว. ภิกษุทั้งหลาย !   พวกเธอจงเป็นผู้ไม่ประมาท มสี ติ มีศลี เป็นอยา่ งดี มีความดำ�รอิ ันต้ังไว้แล้วดว้ ยดี ตามรกั ษาซึ่งจิตของตนเถดิ . ในธรรมวนิ ัยนี้ ภิกษใุ ดเปน็ ผไู้ มป่ ระมาทแลว้ จักละชาติสงสาร ทำ�ที่สุดแห่งทุกขไ์ ด.้ 120

พทุ ธวจน - หมวดธรรม เปดิ ธรรมทถ่ี ูกปิด : กา้ วยา่ งอย่างพทุ ธะ ผูห้ ลุดพ้นไดเ้ พราะไม่ยึดมัน่ ถอื ม่นั 41 -บาลี อปุ ร.ิ ม. ๑๔/๓๔๖-๓๔๗/๕๒๕. ในกาลไหนๆ ทา่ นเหล่าใด เหน็ ภยั ในความยดึ ถือ อนั เปน็ ตวั เหตุให้เกดิ และใหต้ ายแล้ว เลกิ ยดึ ม่ัน ถอื มั่น หลดุ พน้ ไปได้ เพราะอาศัยนพิ พาน อนั เป็นธรรมทสี่ ้ินไปแห่งความเกดิ ความตาย เหล่าท่านผ้เู ชน่ นั้น ยอ่ มประสบความสุข ลุพระนิพพานอันเปน็ ธรรมเกษม เป็นผดู้ บั เย็นได้ ในปัจจุบนั น้เี อง ลว่ งเวรลว่ งภยั ทุกอย่างเสียได้ และกา้ วล่วงเสียได้ ซง่ึ ความทุกขท์ ้ังปวง. 121

พุทธวจน - หมวดธรรม เปดิ ธรรมทถี่ กู ปดิ : ก้าวย่างอยา่ งพทุ ธะ ธรรมเปน็ ส่วนแห่งวิชชา 42 -บาลี ทกุ . อํ. ๒๐/๗๗-๗๘/๒๗๕. ภกิ ษุทงั้ หลาย !   ธรรม ๒ อย่างเหล่านี้ เป็น ส่วนแห่งวิชชา มอี ย.ู่ ๒ อย่าง อะไรเล่า ? ๒ อย่าง คอื สมถะและวิปสั สนา. ภิกษุท้ังหลาย !   สมถะ  เมื่ออบรมแล้ว  จะได้ ประโยชนอ์ ะไร ? อบรมแล้ว จติ จะเจริญ. จิตเจริญแล้ว จะได้ประโยชน์อะไร ? เจรญิ แลว้ จะละราคะได.้ ภิกษุท้ังหลาย !   วิปัสสนาเล่า  เม่ือเจริญแล้ว จะได้ประโยชน์อะไร ?  เจริญแล้ว  ปัญญาจะเจริญ. ปัญญาเจริญแล้ว  จะได้ประโยชน์อะไร ?  เจริญแล้ว จะละอวชิ ชาได้ ภิกษุทั้งหลาย !   จิตที่เศร้าหมองด้วยราคะ ย่อมไม่หลุดพ้น  หรือปัญญาที่เศร้าหมองด้วยอวิชชา ย่อมไม่เจริญดว้ ยอาการอยา่ งน้ี ภิกษทุ ้งั หลาย !   เพราะส�ำ รอกราคะได้ จงึ ชือ่ ว่า เจโตวมิ ุตติ เพราะส�ำ รอกอวิชชาไดจ้ งึ ชือ่ ว่าปญั ญาวิมุตติ 122

พทุ ธวจน - หมวดธรรม เปดิ ธรรมทีถ่ ูกปิด : กา้ วย่างอย่างพทุ ธะ ค�ำ ช้ชี วนวิงวอน 43 -บาลี มหาวาร. สํ. ๑๙/๔๑๓/๑๖๕๔., -บาลี สฬา. ส.ํ ๑๘/๔๕๒/๗๔๑. ภิกษุทั้งหลาย !  โยคกรรม อนั เธอพงึ กระท�ำ เพอ่ื ใหร้ วู้ า่ “น้ีทกุ ข์ น้ีเหตุใหเ้ กดิ ทกุ ข์ น้คี วามดบั สนิทแห่งทุกข์ นีท้ างใหถ้ งึ ความดับสนทิ แหง่ ทุกข”์ . นพิ พาน เราได้แสดงแล้ว ทางให้ถึงนิพพาน เรากไ็ ด้แสดงแลว้ แก่เธอทงั้ หลาย. กิจใด ทศี่ าสดาผู้เอน็ ดู แสวงหาประโยชนเ์ กอ้ื กลู อาศัยความเอน็ ดแู ล้ว จะพงึ ทำ�แกส่ าวกทงั้ หลาย กิจน้นั เราได้ท�ำ แลว้ แกพ่ วกเธอ. นัน่ โคนไม้ น่นั เรอื นวา่ ง. พวกเธอจงเพยี รเผากเิ ลส อยา่ ได้ประมาท อย่าเป็นผู้ท่ตี ้องรอ้ นใจ ในภายหลังเลย. นี่แหละ วาจาเคร่อื งพรำ�่ สอนของเรา แก่เธอทงั้ หลาย. 123



ขอนอบนอ้ มแด่ ตถาคตอรหันตสัมมาสัมพทุ ธะ พระองค์นน้ั ด้วยเศยี รเกลา้ (สาวกตถาคต) คณะงานธมั มะ วดั นาปา พง (กลมุ่ อาสาสมคั รพุทธวจน-หมวดธรรม)

มลู นธิ พิ ทุ ธโฆษณ์ มูลนิธิแห่งมหาชนชาวพทุ ธ ผซู้ งึ่ ชดั เจน และมั่นคงในพุทธวจน เรม่ิ จากชาวพทุ ธกลมุ่ เลก็ ๆ กลมุ่ หนง่ึ ไดม้ โี อกาสมาฟงั ธรรมบรรยายจาก ทา่ นพระอาจารยค์ กึ ฤทธ์ิ โสตถฺ ผิ โล ทเี่ นน้ การนา� พทุ ธวจน (ธรรมวนิ ยั จากพทุ ธโอษฐ์ ทพี่ ระพทุ ธองคท์ รงยนื ยนั วา่ ทรงตรสั ไวด้ แี ลว้ บรสิ ทุ ธบิ์ รบิ รู ณส์ นิ้ เชงิ ทง้ั เนอื้ ความและ พยญั ชนะ) มาใชใ้ นการถา่ ยทอดบอกสอน ซงึ่ เปน็ รปู แบบการแสดงธรรมทต่ี รงตาม พุทธบญั ญตั ิตามท่ี ทรงรบั ส่งั แกพ่ ระอรหันต์ ๖๐ รปู แรกที่ปาอสิ ิปตนมฤคทายวัน ในการประกาศพระสัทธรรม และเปน็ ลกั ษณะเฉพาะทภี่ กิ ษใุ นครง้ั พทุ ธกาลใชเ้ ปน็ มาตรฐานเดยี ว หลกั พทุ ธวจนนี้ ไดเ้ ขา้ มาตอบคา� ถาม ตอ่ ความลงั เลสงสยั ไดเ้ ขา้ มาสรา้ ง ความชดั เจน ต่อความพร่าเลอื นสับสน ในขอ้ ธรรมต่างๆ ทม่ี ีอยู่ในสงั คมชาวพทุ ธ ซง่ึ ท้งั หมดนี้ เป็นผลจากสาเหตเุ ดียวคือ การไมใ่ ช้คา� ของพระพุทธเจา้ เป็นตัวต้งั ต้น ในการศกึ ษาเลา่ เรยี น ดว้ ยศรทั ธาอยา่ งไมห่ วน่ั ไหวตอ่ องคส์ มั มาสมั พทุ ธะ ในฐานะพระศาสดา ทา่ นพระอาจารยค์ กึ ฤทธ์ิ ไดป้ ระกาศอยา่ งเปน็ ทางการวา่ “อาตมาไมม่ คี า� สอนของตวั เอง” และใช้เวลาท่ีมีอยู่ ไปกับการรับสนองพุทธประสงค์ ด้วยการโฆษณาพุทธวจน เพื่อความตั้งมนั่ แหง่ พระสทั ธรรม และความประสานเป็นหน่ึงเดยี วของชาวพุทธ เมอื่ กลบั มาใชห้ ลกั พทุ ธวจน เหมอื นทเี่ คยเปน็ ในครง้ั พทุ ธกาล สงิ่ ทเ่ี กดิ ขน้ึ คือ ความชัดเจนสอดคล้องลงตัว ในความรู้ความเข้าใจ ไม่ว่าในแง่ของหลักธรรม ตลอดจนมรรควธิ ที ต่ี รง และสามารถนา� ไปใชป้ ฏบิ ตั ใิ หเ้ กดิ ผล รเู้ หน็ ประจกั ษไ์ ดจ้ รงิ ดว้ ยตนเองทนั ที ดว้ ยเหตนุ ้ี ชาวพทุ ธทเ่ี หน็ คณุ คา่ ในคา� ของพระพทุ ธเจา้ จงึ ขยายตวั มากขึ้นเรอ่ื ยๆ เกิดเป็น “กระแสพทุ ธวจน” ซง่ึ เปน็ พลงั เงียบท่กี �าลงั จะกลายเป็น คลนื่ ลกู ใหม่ ในการกลบั ไปใชร้ ะบบการเรยี นรพู้ ระสทั ธรรม เหมอื นดงั ครง้ั พทุ ธกาล

ด้วยการขยายตวั ของกระแสพทุ ธวจนน้ี ส่อื ธรรมที่เปน็ พุทธวจน ไม่ว่า จะเป็นหนังสือ หรือซีดี ซ่ึงแจกฟรีแก่ญาติโยมเร่ิมมีไม่พอเพียงในการแจก ทั้งน้ี เพราะจ�านวนของผู้ท่ีสนใจเห็นความส�าคัญของพุทธวจน ได้ขยายตัวมากขึ้นอย่าง รวดเร็ว ประกอบกับว่าท่านพระอาจารย์คึกฤทธ์ิ โสตฺถิผโล เคร่งครัดในข้อวัตร ปฏิบัติท่ีพระศาสดาบัญญัติไว้ อันเป็นธรรมวินัยท่ีออกจากพระโอษฐ์ของตถาคต โดยตรง การเผยแผ่พุทธวจนที่ผ่านมา จึงเป็นไปในลักษณะสันโดษตามมีตามได้ เมือ่ มีโยมมาปวารณาเป็นเจา้ ภาพในการจดั พิมพ์ ไดม้ าจ�านวนเท่าไหร่ ก็ทยอยแจก ไปตามทมี่ เี ทา่ นน้ั เมอ่ื มมี า กแ็ จกไป เมอื่ หมด กค็ อื หมด เนอ่ื งจากวา่ หนา้ ทใ่ี นการดา� รงพระสทั ธรรมใหต้ ง้ั มน่ั สบื ไป ไมไ่ ดผ้ กู จา� กดั อย่แู ตเ่ พยี งพทุ ธสาวกในฐานะของสงฆ์เทา่ นนั้ ฆราวาสกลมุ่ หนึ่งซึ่งเห็นความส�าคญั ของพทุ ธวจน จงึ รวมตวั กนั เขา้ มาชว่ ยขยายผลในสงิ่ ทที่ า่ นพระอาจารยค์ กึ ฤทธ์ิ โสตถฺ ผิ โล ทา� อยแู่ ลว้ นน่ั คอื การนา� พทุ ธวจนมาเผยแพรโ่ ฆษณา โดยพจิ ารณาตดั สนิ ใจจดทะเบยี น จัดตัง้ เปน็ มลู นธิ อิ ย่างถูกตอ้ งตามกฏหมาย เพือ่ ใหก้ ารด�าเนนิ การตา่ งๆ ทง้ั หมด อยใู่ นรปู แบบทโี่ ปรง่ ใส เปดิ เผย และเปดิ กวา้ งตอ่ สาธารณชนชาวพทุ ธทวั่ ไป สา� หรับผู้ท่ีเหน็ ความสา� คัญของพุทธวจน และมคี วามประสงค์ทจี่ ะด�ารง พระสทั ธรรมใหต้ ง้ั มนั่ ดว้ ยวธิ ขี องพระพทุ ธเจา้ สามารถสนบั สนนุ การดา� เนนิ การตรงนไ้ี ด้ ดว้ ยวิธงี า่ ยๆ น่ันคอื เขา้ มาใส่ใจศึกษาพทุ ธวจน และนา� ไปใช้ปฏิบตั ดิ ้วยตนเอง เม่ือรู้ประจักษ์ เห็นได้ด้วยตนแล้ว ว่ามรรควิธีท่ีได้จากการท�าความเข้าใจ โดย ใช้ค�าของพระพุทธเจ้าเป็นตัวต้ังต้นน้ัน น�าไปสู่ความเห็นที่ถูกต้อง ในหลักธรรม อันสอดคล้องเป็นเหตุเป็นผล และเช่ือมโยงเป็นหน่ึงเดียว กระทั่งได้ผลตามจริง ทา� ใหเ้ กดิ มีจติ ศรทั ธา ในการช่วยเผยแพรข่ ยายส่ือพทุ ธวจน เพียงเท่านี้ คุณก็คอื หนง่ึ หนว่ ยในขบวน “พทุ ธโฆษณ”์ แลว้ น่คี อื เจตนารมณ์ของมูลนิธิพทุ ธโฆษณ์ นน่ั คอื เปน็ มลู นิธิแหง่ มหาชน ชาวพทุ ธ ซง่ึ ชดั เจน และมน่ั คงในพทุ ธวจน

ผูท้ ีส่ นใจรับสือ่ ธรรมทเี่ ปน็ พุทธวจน เพอ่ื ไปใชศ้ กึ ษาส่วนตัว หรือน�าไปแจกเปน็ ธรรมทาน แกพ่ ่อแมพ่ ีน่ ้อง ญาติ หรือเพื่อน สามารถมารบั ไดฟ้ รี ที่วดั นาปาพง หรือตามที่พระอาจารย์คกึ ฤทธ์ไิ ด้รบั นมิ นต์ไปแสดงธรรมนอกสถานที่ สา� หรบั รายละเอยี ดกจิ ธรรมต่างๆ ภายใตเ้ ครอื ข่ายพุทธวจนโดยวัดนาปาพง คน้ หา ขอ้ มลู ไดจ้ าก www.buddhakos.org หรือ www.watnapp.com หากมคี วามจ�านงทจ่ี ะรับไปแจกเปน็ ธรรมทานในจา� นวนหลายสิบชดุ ขอความกรุณาแจง้ ความจ�านงไดท้ ี่ มลู นธิ พิ ทุ ธโฆษณ์ ประสานงานและเผยแผ่ : เลขที่ ๒๙/๓ หมูท่ ่ี ๗ ถนนเลียบคลอง ๑๐ ฝ่ังตะวันออก ตา� บลบึงทองหลาง อา� เภอลา� ลูกกา จงั หวัดปทุมธานี ๑๒๑๕๐ โทรศพั ท์ ๐๘ ๒๒๒๒ ๕๗๙๐-๙๔, ๐๘ ๕๐๕๘ ๖๘๘๘, ๐๘ ๑๕๑๓ ๑๖๑๑ โทรสาร ๐ ๒๑๕๙ ๐๕๒๖ เวบ็ ไซต์ : www.buddhakos.org อเี มล์ : [email protected] สนบั สนนุ การเผยแผ่พุทธวจนไดท้ ี่ ชอื่ บญั ชี “มลู นธิ พิ ทุ ธโฆษณ”์ ธนาคารไทยพาณชิ ย์ สาขา คลอง ๑๐ (ธญั บรุ )ี ประเภท บัญชีออมทรัพย์ เลขทีบ่ ัญชี ๓๑๘-๒-๔๗๔๖๑-๐ วธิ ีการโอนเงนิ จากต่างประเทศ ย่นื แบบฟอร์ม คา� ขอโอนได้ท่ี ธนาคารไทยพาณชิ ย์ Account name: “Buddhakos Foundation” SWIFT CODE : SICOTHBK Branch Number : 318 Siam Commercial Bank PCL, Khlong 10(Thanyaburi) Branch, 33/14 Mu 4 Chuchat Road, Bung Sanun Sub District, Thanyaburi District, Pathum Thani 12110, Thailand Saving Account Number : 318-2-47461-0

ขอกราบขอบพระคุณแด่ พระอาจารยค์ กึ ฤทธิ์ โสตถฺ ผิ โล และคณะสงฆว์ ดั นาปา่ พง ท่กี รณุ าให้ค�าปรกึ ษาในการจดั ทา� หนังสือเลม่ น้ี ติดตามการเผยแผ่พระธรรมคา� สอนตามหลกั พทุ ธวจน โดย พระอาจารยค์ ึกฤทธ์ิ โสตฺถิผโล ไดท้ ่ี เวบ็ ไซต์ • http://www.watnapp.com : หนงั สอื และสื่อธรรมะ บนอินเทอร์เนต็ • http://media.watnapahpong.org : ศูนยบ์ ริการมลั ตมิ เี ดียวัดนาปา พง • http://www.buddha-net.com : เครือขา่ ยพุทธวจน • http://etipitaka.com : โปรแกรมตรวจหาและเทยี บเคยี งพุทธวจน • http://www.watnapahpong.com : เว็บไซตว์ ัดนาปา พง • http://www.buddhakos.org : มลู นิธิพุทธโฆษณ์ • http://www.buddhawajanafund.org : มูลนธิ ิพทุ ธวจน ดาวนโ์ หลดโปรแกรมตรวจหาและเทยี บเคยี งพทุ ธวจน (E-Tipitaka) ส�าหรบั คอมพวิ เตอร์ • ระบบปฏบิ ัตกิ าร Windows, Macintosh, Linux http://etipitaka.com/download หรอื รบั แผน่ โปรแกรมได้ทว่ี ดั นาปาพง ส�าหรับโทรศพั ทเ์ คลอ่ื นทแ่ี ละแทบ็ เลต็ • ระบบปฏิบตั กิ าร Android ดาวน์โหลดได้ท่ี Play Store โดยพิมพค์ �าวา่ พทุ ธวจน หรอื e-tipitaka • ระบบปฏบิ ัตกิ าร iOS (ส�าหรับ iPad, iPhone, iPod) ดาวน์โหลดไดท้ ่ี App Store โดยพมิ พ์คา� ว่า พุทธวจน หรอื e-tipitaka ดาวนโ์ หลดโปรแกรมพุทธวจน (Buddhawajana) เฉพาะโทรศัพทเ์ คลือ่ นทีแ่ ละแทบ็ เล็ต • ระบบปฏบิ ตั กิ าร Android ดาวนโ์ หลดไดท้ ่ี Google Play Store โดยพิมพ์คา� วา่ พุทธวจน หรอื buddhawajana • ระบบปฏบิ ตั ิการ iOS (ส�าหรับ iPad, iPhone, iPod) ดาวน์โหลดได้ท่ี App Store โดยพมิ พ์คา� ว่า พทุ ธวจน หรอื buddhawajana ดาวน์โหลดโปรแกรมวทิ ยวุ ดั นาป่าพง (Watnapahpong Radio) เฉพาะโทรศพั ทเ์ คลื่อนทีแ่ ละแท็บเลต็ • ระบบปฏิบัติการ Android ดาวน์โหลดได้ท่ี Google Play Store โดยพิมพ์ค�าว่า พทุ ธวจน หรือ วทิ ยุวดั นาปาพง • ระบบปฏิบตั ิการ iOS (สา� หรับ iPad, iPhone, iPod) ดาวนโ์ หลดไดท้ ่ี App Store โดยพมิ พค์ �าว่า พทุ ธวจน หรือ วทิ ยุวัดนาปาพง วทิ ยุ • คล่ืน ส.ว.พ. FM ๙๑.๐ MHz ทุกวนั พระ เวลา ๑๗.๔๐ น.

บรรณานกุ รม พระไตรปฎิ กฉบับสยามรัฐ พระไตรปิฎกภาษาไทยฉบบั หลวง หนงั สอื ธรรมโฆษณ์ ชุดจากพระโอษฐ์ (ผลงานแปลพทุ ธวจน โดยทา่ นพุทธทาสภิกขุในนามกองตา� ราคณะธรรมทาน) รว่ มสนับสนุนการจดั ท�าโดย คณะงานธัมมะ วดั นาปา พง (กลมุ่ อาสาสมัครพทุ ธวจน-หมวดธรรม), คณะศิษยว์ ัดนาปาพง, มูลนิธิพุทธวจน, พุทธวจนสถาบันภาคกลาง, พุทธวจนสถาบันภาคเหนือ, พุทธวจนสถาบันภาคตะวันออกเฉียงเหนือ, พุทธวจนสถาบันภาคตะวันออก, พุทธวจนสถาบันภาคใต้, พุทธวจนสถาบันภาคตะวันตก, กลุ่มศิษย์ตถาคต, กลุ่มสมณะศากยะปุตติยะ, กลุ่มชวนม่วนธรรม, กลุ่มละนันทิ, กลุ่มพนักงานต้อนรับบนเครื่องบินบริษัทการบินไทย, กลุ่มมหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ วิทยาเขตหาดใหญ่, ชมรมพุทธวจนอุดรธานี, บจก. สยามคูโบต้า คอร์ปอเรช่ัน, บจก. สยามรักษ์, บจก. เซเว่นสเต็ปส์, บจก. ห้างพระจันทร์โอสถ, สถานกายภาพบ�าบัด คิดดีคลินิค, บจก. ดีเทลส์ โปรดักส์