พทุ ธวจน - หมวดธรรม เปดิ ธรรมท่ีถูกปดิ : ก้าวยา่ งอย่างพทุ ธะ การท�ำ ความเพียรแข่งกับอนาคตภัย 11 -บาลี ปญจฺ ก. อ.ํ ๒๒/๑๑๗-๑๒๑/๗๘. ภิกษุท้ังหลาย ! ภัยในอนาคตเหล่าน้ี มีอยู่ ๕ ประการ ซงึ่ ภกิ ษผุ ู้มองเหน็ อยู่ ควรแทท้ จี่ ะเปน็ ผ้ไู ม่ ประมาท มคี วามเพยี รเผากเิ ลส มตี นสง่ ไปแลว้ ในการทำ� เช่นนัน้ อย่ตู ลอดไป เพ่ือถึงสิง่ ทยี่ ังไมถ่ ึง เพอ่ื บรรลุสงิ่ ทย่ี งั ไมบ่ รรลุ เพอ่ื ท�ำ ใหแ้ จง้ สง่ิ ทย่ี งั ไมท่ �ำ ใหแ้ จง้ เสยี โดยเรว็ . ภัยในอนาคต ๕ ประการนั้น คืออะไรบา้ งเล่า ? ๕ ประการคือ (๑) ภิกษุในกรณนี ี้พิจารณาเหน็ ชดั แจง้ วา่ “บดั นี้ เรายงั หนมุ่ ยงั เยาวว์ ยั ยงั รนุ่ คะนอง มผี มยงั ด�ำ สนทิ ตง้ั อยใู่ น วยั ก�ำ ลงั เจรญิ คอื ปฐมวยั แตจ่ ะมสี กั คราวหนง่ึ ท่ี ความแก ่ จะมาถึงร่างกายนี้ ก็คนแก่ถูกความชราครอบงำ�แล้ว จะมนสกิ ารถงึ ค�ำ สอนของทา่ นผรู้ ทู้ ง้ั หลายนน้ั ไมท่ �ำ ไดส้ ะดวก เลย และจะเสพเสนาสนะอันเงียบสงัดซึ่งเป็นป่าชัฏ ก็ ไมท่ �ำ ไดง้ า่ ยๆ เลย. กอ่ นแตส่ ง่ิ อนั ไมเ่ ปน็ ทต่ี อ้ งการ ไมน่ า่ ใคร่ 31
พทุ ธวจน - หมวดธรรม ไมน่ า่ ชอบใจ (คอื ความแก)่ นน้ั จะมาถงึ เรา เราจะรบี ท�ำ ความเพยี ร เพอ่ื ถงึ สง่ิ ทย่ี งั ไมถ่ งึ เพอ่ื บรรลสุ ง่ิ ทย่ี งั ไมบ่ รรลุ เพือ่ ทำ�ให้แจ้งส่งิ ที่ยังไมท่ �ำ ใหแ้ จง้ เสียโดยเร็ว ซึง่ เป็นสง่ิ ที่ ทำ�ใหผ้ ูถ้ งึ แลว้ กจ็ ักอยเู่ ปน็ ผาสกุ แม้จะแก่เฒา่ ” ดังน้.ี (๒) ภิกษทุ งั้ หลาย ! ขอ้ อน่ื ยงั มอี กี ภกิ ษพุ จิ ารณา เหน็ ชดั แจง้ วา่ “บดั น้ี เรามอี าพาธนอ้ ย มโี รคนอ้ ย มไี ฟธาตุ ใหค้ วามอบอนุ่ สม�ำ่ เสมอ ไมเ่ ยน็ นกั ไมร่ อ้ นนกั พอปานกลาง ควรแกก่ ารทำ�ความเพยี ร แตจ่ ะมสี กั คราวหน่งึ ท่ี ความ เจบ็ ไข้ จะมาถงึ รา่ งกายน้ี กค็ นทเ่ี จบ็ ไขถ้ กู พยาธคิ รอบง�ำ แลว้ จะมนสิการถึงคำ�สอนของท่านผู้รู้ทั้งหลายนั้น ไม่ทำ�ได้ สะดวกเลย และจะเสพเสนาสนะอนั เงยี บสงดั ซง่ึ เปน็ ปา่ ชฏั ก็ไม่ทำ�ได้ง่ายๆ เลย. ก่อนแต่สิ่งอันไม่เป็นที่ต้องการ ไมน่ ่าใคร่ ไมน่ ่าชอบใจ (คอื ความเจบ็ ไข้) นนั้ จะมาถึงเรา เราจะรีบท�ำ ความเพียร เพอื่ ถงึ ส่ิงที่ยงั ไมถ่ งึ เพอื่ บรรลสุ งิ่ ทย่ี งั ไมบ่ รรลุ เพอ่ื ท�ำ ใหแ้ จง้ สง่ิ ทย่ี งั ไมท่ �ำ ใหแ้ จง้ เสยี โดยเรว็ ซง่ึ เปน็ สง่ิ ทท่ี �ำ ใหผ้ ถู้ งึ แลว้ กจ็ กั อยเู่ ปน็ ผาสกุ แมจ้ ะเจบ็ ไข”้ ดงั น.้ี 32
เปิดธรรมทถ่ี กู ปดิ : กา้ วย่างอย่างพุทธะ (๓) ภิกษุทั้งหลาย ! ขอ้ อน่ื ยงั มอี กี ภกิ ษพุ จิ ารณา เหน็ ชัดแจ้งว่า “บัดน้ี ข้าวกลา้ งามดี บิณฑะ (ก้อนข้าว) หาได้ง่าย เป็นการสะดวกที่จะยังชีวิตให้เป็นไป ด้วย ความพยายามแสวงหาบิณฑบาต แต่จะมสี ักคราวหนงึ่ ที่ ภิกษาหายาก ข้าวกล้าเสียหาย บณิ ฑะหาไดย้ าก ไมเ่ ป็น การสะดวกท่ีจะยังชีวิตให้เป็นไปด้วยความพยายาม แสวงหาบิณฑบาต เม่ือภิกษาหายาก ท่ีใดภิกษาหาง่าย คนทง้ั หลายกอ็ พยพกนั ไป ทน่ี น้ั เมอ่ื เปน็ เชน่ นน้ั ความอยู่ คลกุ คลปี ะปนกนั ในหมคู่ นกจ็ ะมขี น้ึ เมอ่ื มกี ารคลกุ คลปี ะปน กนั ในหมคู่ น จะมนสกิ ารถงึ ค�ำ สอนของทา่ นผรู้ ทู้ ง้ั หลายนน้ั ไม่ทำ�ได้สะดวกเลย และจะเสพเสนาสนะอันเงียบสงัดซ่ึง เป็นป่าชัฏ ก็ไม่ทำ�ได้ง่ายๆ เลย. ก่อนแต่สิ่งอันไม่เป็นท่ี ต้องการ ไม่น่าใคร่ ไม่น่าชอบใจ (คือภิกษาหายาก) นั้น จะมาถงึ เรา เราจะรบี ทำ�ความเพยี ร เพ่อื ถึงส่ิงทย่ี งั ไม่ถึง เพอ่ื บรรลสุ ง่ิ ทย่ี งั ไมบ่ รรล ุ เพอ่ื ท�ำ ใหแ้ จง้ สง่ิ ทย่ี งั ไมท่ �ำ ใหแ้ จง้ เสียโดยเร็ว ซึ่งเป็นสิ่งที่ทำ�ให้ผู้ถึงแล้ว จักอยู่เป็นผาสุก แมใ้ นคราวท่ีเกดิ ทพุ ภิกขภยั ” ดังน.้ี 33
พทุ ธวจน - หมวดธรรม (๔) ภกิ ษทุ ง้ั หลาย ! ขอ้ อน่ื ยงั มอี กี ภกิ ษพุ จิ ารณา เหน็ ชดั แจง้ วา่ “บดั น ้ี คนทง้ั หลายสมคั รสมานชน่ื บานตอ่ กนั ไมว่ ิวาทกนั เขา้ กันได้ดุจดง่ั นมผสมกบั น้ำ� มองแลกันด้วย สายตาแหง่ คนทร่ี กั ใครก่ นั เปน็ อยู่ แตจ่ ะมสี กั คราวหนง่ึ ท่ี ภัย คือ โจรปา่ ก�ำ เรบิ ชาวชนบทผขู้ น้ึ อยูใ่ นอาณาจกั ร แตกกระจัดกระจายแยกย้ายกนั ไป เมอ่ื มีภยั เช่นนี้ ทใ่ี ด ปลอดภยั คนทง้ั หลายกอ็ พยพกนั ไป ทน่ี น้ั เมอ่ื เปน็ เชน่ นน้ั ความอยคู่ ลกุ คลปี ะปนกนั ในหมคู่ นกจ็ ะมขี น้ึ เมอ่ื มกี ารอยู่ คลกุ คลปี ะปนกนั ในหมคู่ น จะมนสกิ ารถงึ ค�ำ สอนของทา่ นผ้รู ู้ ทง้ั หลายนน้ั ไมท่ �ำ ไดส้ ะดวกเลย และจะเสพเสนาสนะอนั เงียบสงัดซงึ่ เป็นปา่ ชฏั ก็ไม่ทำ�ไดง้ า่ ยๆ เลย. กอ่ นแตส่ ิ่ง อนั ไมเ่ ปน็ ท่ตี อ้ งการ ไมน่ า่ ใคร่ ไมน่ า่ ชอบใจ (คอื โจรภยั ) นน้ั จะมาถึงเรา เราจะรบี ท�ำ ความเพียร เพอ่ื ถงึ สิง่ ที่ยังไม่ถงึ เพอ่ื บรรลสุ ง่ิ ทย่ี งั ไมบ่ รรลุ เพอ่ื ท�ำ ใหแ้ จง้ สง่ิ ทย่ี งั ไมท่ �ำ ใหแ้ จง้ เสียโดยเร็ว ซึ่งเป็นสิ่งที่ทำ�ให้ผู้ถึงแล้ว จักอยู่เป็นผาสุก แมใ้ นคราวท่เี กิดโจรภัย” ดังนี.้ 34
เปดิ ธรรมท่ถี กู ปิด : ก้าวย่างอย่างพทุ ธะ (๕) ภกิ ษทุ ง้ั หลาย ! ขอ้ อน่ื ยงั มอี กี ภกิ ษพุ จิ ารณา เหน็ ชดั แจง้ วา่ “บดั น้ี สงฆส์ ามคั คปี รองดองกนั ไมว่ วิ าทกนั มีอุทเทสเดียวกัน อยู่เป็นผาสุก แต่จะมีสักคราวหนึ่งท่ี สงฆแ์ ตกกนั เมอ่ื สงฆแ์ ตกกนั แลว้ จะมนสกิ ารถงึ ค�ำ สอน ของทา่ นผรู้ ทู้ ง้ั หลายนน้ั ไมท่ �ำ ไดส้ ะดวกเลย และจะเสพ เสนาสนะอันเงยี บสงัดซง่ึ เป็นปา่ ชฏั กไ็ มท่ ำ�ไดง้ ่ายๆ เลย. ก่อนแต่สิ่งอันไม่เป็นที่ต้องการ ไม่น่าใคร่ ไม่น่าชอบใจ (คอื สงฆ์แตกกัน) นั้น จะมาถึงเรา เราจะรบี ท�ำ ความเพยี ร เพอ่ื ถงึ สง่ิ ทย่ี งั ไมถ่ งึ เพอ่ื บรรลสุ ง่ิ ทย่ี งั ไมบ่ รรลุ เพอ่ื ท�ำ ใหแ้ จง้ สง่ิ ทย่ี งั ไมท่ �ำ ใหแ้ จง้ เสยี โดยเรว็ ซง่ึ เปน็ สง่ิ ทท่ี �ำ ใหผ้ ถู้ งึ แลว้ จักอยเู่ ปน็ ผาสกุ แมใ้ นคราวเมอ่ื สงฆ์แตกกนั ” ดังน.ี้ ภิกษุท้ังหลาย ! ภัยในอนาคต ๕ ประการ เหลา่ นแ้ี ล ซง่ึ ภกิ ษผุ มู้ องเหน็ อยู่ ควรแทท้ จ่ี ะเปน็ ผไู้ มป่ ระมาท มคี วามเพยี รเผากเิ ลส มตี นสง่ ไปแลว้ ในการท�ำ เชน่ นน้ั อยู่ ตลอดไป เพ่อื ถงึ สง่ิ ทย่ี งั ไมถ่ งึ เพอื่ บรรลุสงิ่ ทีย่ ังไมบ่ รรล ุ เพื่อทำ�ใหแ้ จง้ ส่งิ ท่ยี ังไม่ทำ�ใหแ้ จง้ เสียโดยเร็ว. 35
พทุ ธวจน - หมวดธรรม เปิดธรรมทถ่ี ูกปิด : กา้ วยา่ งอยา่ งพทุ ธะ 36
พุทธวจน - หมวดธรรม เปิดธรรมท่ถี ูกปิด : กา้ วยา่ งอยา่ งพทุ ธะ บทอธิษฐานจติ เพอ่ื ทำ�ความเพยี ร 12 -บาลี ทกุ . อ.ํ ๒๐/๖๔/๒๕๑. ภิกษุทั้งหลาย ! เรายังรู้สึกได้อยู่ซ่ึงธรรม ๒ อยา่ ง คอื ความไมร่ จู้ กั อม่ิ จกั พอ (สนั โดษ) ในกศุ ล ธรรมท้ังหลายและ ความเป็นผู้ไม่ถอยกลับ (อัปปฏิ วานี) ในการท�ำความเพียร. ภิกษุทั้งหลาย ! เราย่อมต้ังไว้ซ่ึงความเพียร อันไม่ถอยกลบั (ดว้ ยการตั้งจติ ) วา่ “หนัง เอน็ กระดกู จกั เหลืออยู่ เน้ือและเลอื ดในสรรี ะจกั เหอื ดแห้งไปกต็ ามที ประโยชนใ์ ด อันบคุ คลจะบรรลไุ ด้ด้วยก�ำ ลงั ด้วยความเพยี ร ดว้ ยความบากบั่น ของบุรษุ ถา้ ยงั ไม่บรรลปุ ระโยชนน์ ั้นแลว้ จกั หยุดความเพียรเสีย เปน็ ไม่มี” ดังน.ี้ 37
พทุ ธวจน - หมวดธรรม ภิกษุทั้งหลาย ! การตรัสรู้เป็นส่ิงท่ีเราถึงทับ แลว้ ดว้ ยความไมป่ ระมาท อนุตตรโยคกั เขมธรรม ก็เป็น สิ่งที่เราถึงทับแลว้ ดว้ ยความไม่ประมาท. ภิกษุท้ังหลาย ! ถ้าแม้ พวกเธอ พึงต้ังไว้ ซ่ึงความเพียรอันไม่ถอยกลับ (ด้วยการต้ังจิต) ว่า “หนัง เอ็น กระดูก จกั เหลืออยู่ เนื้อและเลอื ดในสรรี ะ จักเหือดแห้งไปก็ตามทีประโยชนใ์ ดอันบุคคลจะบรรลุได้ ดว้ ยก�ำ ลงั ดว้ ยความเพยี ร ดว้ ยความบากบน่ั ของบรุ ษุ ถา้ ยงั ไมบ่ รรลปุ ระโยชนน์ น้ั แลว้ จกั หยดุ ความเพยี รเสยี เปน็ ไมม่ ”ี ดังนี้ แล้วไซร้ ภกิ ษทุ ัง้ หลาย ! พวกเธอ ก็จักกระทำ� ให้แจ้งด้วยปัญญาอันย่ิงเอง ซึ่งท่ีสุดแห่งพรหมจรรย์ อนั ไมม่ อี ะไรอน่ื ยง่ิ กวา่ อนั เปน็ ประโยชนท์ ต่ี อ้ งการของกลุ บตุ ร ผ้อู อกจากเรอื น บวชเป็นผูไ้ ม่มีเรือนโดยชอบ ได้ตอ่ กาล ไม่นานในทิฏฐธรรม เข้าถงึ แลว้ แลอยู่ เป็นแนน่ อน. 38
พุทธวจน - หมวดธรรม เปิดธรรมทีถ่ ูกปดิ : กา้ วยา่ งอยา่ งพทุ ธะ ลำ�ดับการปฏิบัติเพือ่ รู้ตาม 13 ซ่ึงสัจจธรรม -บาลี ม. ม. ๑๓/๒๓๓-๒๓๔/๒๓๘. ภิกษุทั้งหลาย ! เราย่อมไม่กล่าวการประสบ ความพอใจในอรหตั ตผล ด้วยการกระทำ�อันดับแรกเพียง อันดับเดยี ว. ภิกษุท้งั หลาย ! ก็แตว่ า่ การประสบความ พอใจในอรหัตตผล ย่อมมีได้เพราะการศึกษาโดย ลำ�ดับ เพราะการกระทำ�โดยลำ�ดับ เพราะการปฏิบัติ โดยล�ำ ดับ. ภิกษุทั้งหลาย ! ก็การประสบความพอใจใน อรหัตตผล ยอ่ มมไี ด้เพราะการศกึ ษาโดยลำ�ดับ เพราะ การกระทำ�โดยล�ำ ดับ เพราะการปฏิบตั ิโดยล�ำ ดบั นน้ั เปน็ อยา่ งไรเล่า ? ภกิ ษุทง้ั หลาย ! บรุ ษุ บุคคลในกรณีนี้ เปน็ ผมู้ ศี รทั ธา เกดิ ขน้ึ แลว้ ยอ่ ม เข้าไปหาผูถ้ งึ อริยสจั (สัปบรุ ษุ ) เม่ือเข้าไปหา ยอ่ ม เข้าไปนง่ั ใกล้ เม่อื เขา้ ไปนั่งใกล้ ย่อม เง่ียโสตลงสดบั 39
พทุ ธวจน - หมวดธรรม ผู้เงี่ยโสตลงสดบั ยอ่ ม ไดฟ้ ังธรรม ครน้ั ฟงั แล้ว ย่อม ทรงจ�ำ ธรรมไว้ ย่อม ใคร่ครวญพิจารณาซ่ึงเนื้อความ แหง่ ธรรม ท้ังหลายทีต่ นทรงจำ�ไว้ เมอ่ื เขาใครค่ รวญพิจารณา ซงึ่ เนอื้ ความแห่งธรรมน้นั อยู่ ธรรมทง้ั หลายยอ่ มทนตอ่ การเพง่ พสิ จู น์ เมื่อธรรมทนตอ่ การเพ่งพสิ จู น์มีอยู่ ฉนั ทะ (ความพอใจ) ย่อมเกดิ ผู้เกิดฉนั ทะแล้ว ย่อม มอี ุตสาหะ ครน้ั มีอุตสาหะแล้ว ยอ่ ม พจิ ารณาหาความสมดลุ แหง่ ธรรม ครนั้ พิจารณาหาความสมดลุ แหง่ ธรรมแลว้ ยอ่ ม ตัง้ ตนไว้ในธรรม น้ัน ผูม้ ตี นส่งไปแล้วในธรรมนน้ั อยู่ ย่อม กระทำ�ให้แจ้ง ซ่ึงบรมสัจจ์ดว้ ยกาย ดว้ ย ยอ่ ม เหน็ แจง้ แทงตลอด ซง่ึ บรมสจั จน์ น้ั ดว้ ยปญั ญา ดว้ ย. 40
พุทธวจน - หมวดธรรม เปดิ ธรรมที่ถูกปดิ : ก้าวยา่ งอยา่ งพทุ ธะ หลักเกณฑ์การเลือกสถานที่และ 14 บคุ คลทค่ี วรเสพ และไม่ควรเสพ -บาลี ม. ม. ๑๒/๒๑๑-๒๑๘/๒๓๕-๒๔๒. ภิกษุทั้งหลาย ! ภิกษุในกรณีน้ี เข้าไปอาศัย วนปตั ถ์ (ปา่ ทบึ ) แหง่ ใดแหง่ หนง่ึ อยู่ สตทิ ย่ี งั ตง้ั ขน้ึ ไมไ่ ด้ กไ็ ม่ตั้งขนึ้ ได้ จติ ทย่ี ังไม่ตัง้ มั่น ก็ไมต่ ้งั มนั่ อาสวะทีย่ งั ไมส่ ้ิน ก็ไมถ่ ึงความสิน้ และอนุตตรโยคักเขมธรรม ท่ียังไม่บรรลุกไ็ ม่บรรลุ ทง้ั จีวร บณิ ฑบาต เสนาสนะ คลิ านปจั จยั เภสชั บรกิ ขาร อนั บรรพชติ พงึ แสวงหามาเพอ่ื เป็นบริขารของชวี ติ ก็หามาได้โดยยาก. ภกิ ษทุ ง้ั หลาย ! ภกิ ษุน้ัน พจิ ารณาเห็นโดยประจักษ์ดงั นแ้ี ล้ว ไมว่ า่ จะเป็น เวลากลางวนั หรอื กลางคนื พงึ หลกี ไปเสยี จากวนปตั ถน์ น้ั อย่าอยูเ่ ลย. ภิกษทุ ง้ั หลาย ! อน่งึ ภิกษุในกรณนี ้ีเขา้ ไปอาศยั วนปัตถ์แหง่ ใดแหง่ หนง่ึ อยู่สตทิ ย่ี งั ตง้ั ขน้ึ ไมไ่ ด้กไ็ มต่ ้งั ขึน้ ได้ จติ ทย่ี งั ไมต่ ง้ั มน่ั กไ็ มต่ ง้ั มน่ั อาสวะทย่ี งั ไมส่ น้ิ กไ็ มถ่ งึ ความสน้ิ และอนุตตรโยคักเขมธรรมที่ยังไม่บรรลุ ก็ไม่บรรลุ แตว่ า่ จวี ร บณิ ฑบาต เสนาสนะ คลิ านปจั จยั เภสชั บรกิ ขาร 41
พทุ ธวจน - หมวดธรรม อนั บรรพชติ พงึ แสวงหามาเพอ่ื เปน็ บรขิ ารของชวี ติ หามาได้ โดยไม่ยาก. ภิกษุทั้งหลาย ! ภิกษนุ ้นั พิจารณาเห็นโดย ประจักษ์ดังนี้แล้ว คิดว่า “เราเป็นผู้ออกจากเรือนบวช เพราะเหตุแห่งจีวรก็หามิได้ เพราะเหตุแห่งบิณฑบาตก็ หามไิ ด้ เพราะเหตุแหง่ เสนาสนะก็หามิได้ เพราะเหตแุ ห่ง คิลานปัจจัยเภสัชบริกขารก็หามิได้” ครั้นพิจารณาเห็น ดงั นแ้ี ลว้ ภกิ ษนุ น้ั พงึ หลกี ไปจากวนปตั ถน์ น้ั อยา่ อยเู่ ลย. ภิกษุทั้งหลาย ! ภิกษุในกรณีน้ี เข้าไปอาศัย วนปตั ถ์แหง่ ใดแหง่ หนง่ึ อยู่สตทิ ย่ี งั ตง้ั ขน้ึ ไมไ่ ด้ ก็ตง้ั ขึน้ ได้ จติ ทย่ี งั ไมต่ ง้ั มนั่ กต็ งั้ มนั่ อาสวะทยี่ งั ไมส่ น้ิ กถ็ งึ ความสนิ้ และอนตุ ตรโยคกั เขมธรรมทย่ี งั ไมบ่ รรลุ กบ็ รรลุ แตจ่ วี ร บิณฑบาต เสนาสนะ คิลานปัจจัยเภสัชบริกขาร อันบรรพชิตพึงแสวงหาเพ่ือเป็นบริขารของชีวิตน้ันหา มาได้โดยยาก. ภิกษุท้งั หลาย ! ภิกษุน้นั พิจารณาเห็น โดยประจกั ษด์ งั นแ้ี ลว้ คดิ วา่ “เรามไิ ดอ้ อกจากเรอื นบวช เพราะเหตแุ หง่ จวี ร เพราะเหตแุ หง่ บณิ ฑบาต เพราะเหตุ แหง่ เสนาสนะ เพราะเหตุแห่งคิลานปจั จัยเภสัชบรกิ ขาร” ครน้ั พจิ ารณาเหน็ ดงั นแ้ี ลว้ ภกิ ษนุ น้ั พงึ อยใู่ นวนปตั ถน์ น้ั อยา่ หลีกไปเสยี เลย. 42
เปดิ ธรรมท่ีถูกปดิ : กา้ วยา่ งอยา่ งพุทธะ ภิกษทุ ้ังหลาย ! อนง่ึ ภกิ ษุในกรณนี ี้ เข้าไปอาศยั วนปตั ถ์แหง่ ใดแหง่ หนง่ึ อยู่สตทิ ย่ี งั ตง้ั ขน้ึ ไมไ่ ด้กต็ งั้ ขนึ้ ได้ จติ ทยี่ งั ไมต่ ง้ั มน่ั กต็ งั้ มน่ั อาสวะทยี่ งั ไมส่ นิ้ กถ็ งึ ความสน้ิ และอนตุ ตรโยคักเขมธรรมทย่ี งั ไม่บรรลุ ก็บรรลุ ทงั้ จวี ร บิณฑบาต เสนาสนะ คลิ านปจั จยั เภสัชบริกขาร อันบรรพชิตพึงแสวงหามาเพื่อเป็นบริขารของชีวิตน้ัน ก็หาไดโ้ ดยไมย่ าก. ภิกษุทั้งหลาย ! ภกิ ษุน้นั พจิ ารณา เหน็ โดยประจกั ษด์ งั นแ้ี ลว้ พงึ อยใู่ นวนปตั ถน์ น้ั จนตลอดชวี ติ อย่าหลีกไปเสยี เลย. (ในกรณีแห่งการเลือกหมู่บ้าน นิคม นคร ชนบท และบคุ คล ทคี่ วรเสพหรือไม่ควรเสพ กไ็ ด้ตรสั ไวโ้ ดยหลกั เกณฑ์ อย่างเดยี วกัน). 43
พุทธวจน - หมวดธรรม เปดิ ธรรมทถี่ กู ปดิ : ก้าวย่างอย่างพทุ ธะ ความเพลินเปน็ แดนเกิดแห่งทุกข์ 15 -บาลี อปุ ริ. ม. ๑๔/๔๘๐-๔๘๑/๗๕๕. ปุณณะ ! รปู ที่เหน็ ดว้ ยตากด็ ีเสยี งทฟ่ี งั ดว้ ยหกู ด็ ี กลิ่น ทด่ี มดว้ ยจมูกก็ดี รส ที่ลม้ิ ด้วยล้นิ กด็ ี โผฏฐัพพะ ที่สมั ผสั ดว้ ยกายก็ดี และธรรมารมณ์ ทรี่ แู้ จง้ ด้วยใจกด็ ี อนั เป็นสง่ิ ทีน่ ่าปรารถนา น่ารักใคร่ นา่ พอใจ ทย่ี วนตา ยวนใจใหร้ ัก เปน็ ทเี่ ขา้ ไปตั้งอาศยั อยแู่ หง่ ความใคร่ เป็น ทตี่ ัง้ แหง่ ความก�ำ หนดั ยอ้ มใจ มีอย.ู่ ภิกษยุ ่อมเพลิดเพลนิ ยอ่ มพร�ำ่ สรรเสริญ ย่อมเมาหมกอยู่ ซ่ึงอารมณ์ มีรูป เป็นต้นน้นั ไซร้ เมอ่ื ภิกษุน้นั เพลิดเพลิน พรำ่�สรรเสริญ เมาหมกอยู่ ซง่ึ อารมณม์ รี ปู เปน็ ตน้ นน้ั อยู่ นนั ทิ (ความเพลนิ ) ย่อมบังเกิดขึ้น. เรากล่าวว่า เพราะความเพลินเป็นสมุทัย (เครื่องกอ่ ข้ึน) จงึ เกิดมที ุกขสมุทัย (ความกอ่ ขน้ึ แห่งทุกข์) ดงั นี้ แล. 44
พทุ ธวจน - หมวดธรรม เปดิ ธรรมทถี่ กู ปิด : ก้าวยา่ งอย่างพทุ ธะ อาการเกดิ แหง่ ทกุ ขโ์ ดยสังเขป 16 -บาลี สฬา. ส.ํ ๑๘/๔๕/๖๘. มิคชาละ ! รูป ทั้งหลายท่ีเหน็ ดว้ ยตา อันเปน็ รูปท่ีนา่ ปรารถนา นา่ รักใคร่ นา่ พอใจ เปน็ ท่ยี ว่ั ยวนชวน ให้รัก เป็นท่ีเข้าไปต้ังอาศัยอยู่แห่งความใคร่ เป็นท่ีตั้ง แห่งความกำ�หนัดย้อมใจ มีอยู่. ภิกษุย่อมเพลิดเพลิน พร่ำ�สรรเสริญ สยบมัวเมา ในรปู นัน้ ไซร้ เมอ่ื ภกิ ษุน้นั เพลิดเพลิน พร่ำ�สรรเสริญ สยบมัวเมา ในรูปน้ันอยู่ นนั ทิ (ความเพลนิ ) ยอ่ มเกดิ ขึ้น. มคิ ชาละ ! เรากลา่ ววา่ “ความเกดิ ขน้ึ แหง่ ทกุ ข์ มไี ด้ เพราะความเกดิ ขึน้ แห่งนันทิ” ดงั นี.้ (ในกรณแี หง่ เสยี ง ทไ่ี ดย้ นิ ดว้ ยหู กลน่ิ ทด่ี มดว้ ยจมกู รส ทล่ี ม้ิ ดว้ ยลน้ิ โผฏฐพั พะ ทส่ี มั ผสั ดว้ ยผวิ กาย และธรรมารมณ์ ที่รู้แจ้งด้วยใจ ก็ได้ตรัสไว้โดยทำ�นองเดียวกันกับในกรณีแห่งรูป ท่เี หน็ ดว้ ยตา). 45
พุทธวจน - หมวดธรรม เปดิ ธรรมที่ถกู ปดิ : กา้ วย่างอย่างพุทธะ ความดบั ทุกข์มี 17 เพราะความดบั แห่งนนั ทิ -บาลี อปุ ริ. ม. ๑๔/๔๘๑/๗๕๖. ปุณณะ ! รูป ที่เห็นด้วยตาก็ดี เสียง ที่ฟังด้วยหู ก็ดีกลน่ิ ท่ดี มด้วยจมกู กด็ ี รส ทล่ี ิม้ ดว้ ยล้นิ กด็ ี โผฏฐพั พะ ท่ีสัมผัสด้วยกายก็ดี และธรรมารมณ์ ที่รู้แจ้งด้วยใจก็ดี อนั เปน็ สงิ่ ทนี่ า่ ปรารถนา นา่ รกั ใคร่ นา่ พอใจ เปน็ ทยี่ วนตา ยวนใจใหร้ กั เป็นทเ่ี ขา้ ไปตั้งอาศยั อย่แู ห่งความใคร่ เป็น ที่ตั้งแห่งความก�ำหนัด ย้อมใจ มีอยู่. ภิกษุย่อมไม่ เพลิดเพลิน ไม่พร่�ำสรรเสริญ ไม่เมาหมก ซ่ึงอารมณ์ มี รูปเป็นตน้ น้นั . เมือ่ ภิกษุไมเ่ พลิดเพลนิ ไมพ่ ร�่ำสรรเสริญ ไมเ่ มาหมก ซง่ึ อารมณม์ รี ปู เปน็ ตน้ นน้ั อยู่ นนั ทิ (ความเพลนิ ) ย่อมดบั ไป. ปุณณะ ! เรากล่าวว่า “ความดับไม่มีเหลือ แหง่ ทกุ ขม์ ไี ด้ เพราะความดบั ไมเ่ หลอื แหง่ ความเพลนิ ” ดงั น.้ี 46
พุทธวจน - หมวดธรรม เปดิ ธรรมท่ีถูกปดิ : ก้าวยา่ งอย่างพุทธะ ลักษณะแห่งจิตทหี่ ลดุ พ้นดว้ ย 18 การละนนั ทิ (อีกนยั หนึ่ง) -บาลี สฬา. สํ. ๑๘/๑๘๐/๒๔๘. ภกิ ษุท้ังหลาย ! พวกเธอจงกระทำ�ในใจซึ่ง รูป ทง้ั หลาย โดยแยบคาย และเหน็ ความไมเ่ ทย่ี งแหง่ รปู ทง้ั หลาย ใหเ้ หน็ ตามทเี่ ป็นจรงิ . ภิกษุทั้งหลาย ! ภิกษุ เม่อื กระท�ำ ในใจซง่ึ รปู ทง้ั หลายโดยแยบคายอยู่ เหน็ ความไมเ่ ทย่ี งแหง่ รูปทง้ั หลาย ตามท่เี ป็นจรงิ อยู่ ยอ่ มเบ่อื หน่ายแม้ในรูป ทั้งหลาย. เพราะความส้นิ ไปแหง่ นันทิ จงึ มคี วามสน้ิ ไปแหง่ ราคะ เพราะความส้ินไปแหง่ ราคะ จึงมีความสิ้นไปแห่งนันทิ เพราะความส้ินไปแห่งนนั ทิและราคะ กลา่ วได้วา่ จติ หลดุ พน้ แล้วด้วยดี ดงั น.้ี (ในกรณแี ห่ง เสียง กลนิ่ รส โผฏฐัพพะ และ ธรรมารมณ์ กม็ ขี อ้ ความทก่ี ลา่ วไวอ้ ยา่ งเดยี วกนั กบั ในกรณแี หง่ รปู ทีก่ ลา่ วไวข้ ้างบนนี)้ . 47
พุทธวจน - หมวดธรรม เปดิ ธรรมที่ถกู ปิด : ก้าวยา่ งอยา่ งพุทธะ วธิ ีทส่ี ะดวกสบาย 19 เพือ่ การดบั ของกเิ ลส -บาลี สฬา. สํ. ๑๘/๑๖๗/๒๓๒., -บาลี สฬา. ส.ํ ๑๘/๑๖๙/๒๓๕. ภิกษุท้ังหลาย ! เราจกั แสดงปฏปิ ทาเปน็ ทส่ี บาย แกก่ ารบรรลนุ ิพพาน แกพ่ วกเธอ. พวกเธอจงฟงั จงทำ� ในใจให้ดี เราจกั กล่าว. ภิกษุทั้งหลาย ! ปฏิปทาเป็นท่ีสบายแก่การ บรรลนุ ิพพานนนั้ เป็นอยา่ งไรเล่า ? ภกิ ษุทงั้ หลาย ! ภิกษุในกรณนี ี้ ยอ่ มเห็นซึ่ง จกั ษวุ า่ ไม่เทย่ี ง ยอ่ มเหน็ ซง่ึ รปู ท้งั หลายวา่ ไมเ่ ท่ยี ง ย่อมเหน็ ซึง่ จกั ขวุ ิญญาณวา่ ไม่เทย่ี ง ย่อมเหน็ ซึง่ จกั ขสุ มั ผสั วา่ ไมเ่ ทย่ี ง ยอ่ มเหน็ ซง่ึ เวทนา อันเป็นสุข เป็นทุกข์ หรือเป็น อทกุ ขมสขุ ทเ่ี กดิ ขนึ้ เพราะจกั ขสุ มั ผสั เปน็ ปจั จยั วา่ ไมเ่ ทย่ี ง. (ในกรณแี หง่ โสตะ ฆานะ ชวิ หา กายะ และ มนะ กไ็ ด้ ตรสั ต่อไปด้วยขอ้ ความอย่างเดียวกัน ทุกตวั อกั ษร ตา่ งกนั แตช่ อ่ื เทา่ นัน้ ). 48
เปิดธรรมที่ถกู ปิด : ก้าวย่างอยา่ งพทุ ธะ ภิกษุท้ังหลาย ! น้ีแล คือปฏิปทาเป็นท่ีสบาย แกก่ ารบรรลนุ พิ พาน นน้ั . (อกี ๒ นัย ได้ตรสั โดยใชค้ �ำ วา่ ทุกขงั และคำ�วา่ อนตั ตา แทนค�ำ วา่ ไมเ่ ทย่ี ง สว่ นตวั อกั ษรอน่ื ๆ นน้ั เหมอื นเดมิ ทกุ ประการ). (อกี นัยหนึ่ง) ภกิ ษทุ ้ังหลาย ! เราจกั แสดงปฏปิ ทาเปน็ ทส่ี บาย แก่การบรรลุนิพพาน แก่เธอทั้งหลาย. พวกเธอจงฟัง จงท�ำ ในใจให้ดี เราจกั กล่าว. ภิกษุท้ังหลาย ! ปฏิปทาเป็นท่ีสบายแก่การ บรรลนุ ิพพานน้ัน เป็นอยา่ งไรเลา่ ? ภิกษุทั้งหลาย ! พวกเธอจะสำ�คัญความข้อนี้ว่า อย่างไร ? จกั ษุ เท่ียงหรอื ไมเ่ ท่ยี ง ? “ไม่เที่ยง พระเจ้าข้า !”. 49
พทุ ธวจน - หมวดธรรม สง่ิ ใดไม่เท่ยี ง สิง่ น้ันเป็นทกุ ขห์ รือเปน็ สขุ เล่า ? “เป็นทุกข์ พระเจ้าข้า !”. สิ่งใดไมเ่ ทีย่ ง เปน็ ทุกข์มีความแปรปรวนไปเป็น ธรรมดา ควรหรอื หนอทจ่ี ะตามเหน็ สง่ิ นน้ั วา่ “นน่ั ของเรา (เอตํ มม) น่ันเป็นเรา (เอโสหมสมฺ )ิ นั่นเป็นอตั ตาของเรา (เอโส เม อตตฺ า)” ดงั น้ี ? “ไม่ควรตามเห็นอย่างนั้น พระเจ้าข้า !”. (ต่อไปไดต้ รสั ถามและภิกษุทูลตอบ เกี่ยวกับ รปู ... จกั ขวุ ญิ ญาณ ... จักขสุ ัมผัส ... จักขสุ มั ผสั สชาเวทนา ซึ่งมี ข้อความอย่างเดยี วกนั กับในกรณแี หง่ จกั ษุนน้ั ทุกประการ ต่างกนั แตช่ ่อื เทา่ นนั้ ). ภิกษุท้ังหลาย ! อรยิ สาวกผมู้ กี ารสดบั เมอ่ื เหน็ อยู่อยา่ งน้ี ยอ่ มเบอื่ หน่ายแมใ้ นจกั ษุ ย่อมเบื่อหนา่ ยแมใ้ นรูป ยอ่ มเบอ่ื หนา่ ยแมใ้ นจักขวุ ิญญาณ ย่อมเบื่อหนา่ ยแม้ในจักขสุ มั ผสั 50
เปิดธรรมทีถ่ กู ปดิ : กา้ วย่างอยา่ งพุทธะ ยอ่ มเบ่ือหนา่ ยแม้ในเวทนา อันเปน็ สุข เป็นทกุ ข์ หรือเปน็ อทกุ ขมสุข ทเ่ี กิดเพราะจกั ขุสมั ผสั เปน็ ปัจจยั เม่ือเบ่ือหน่าย ย่อม คลายก�ำ หนดั เพราะคลายกำ�หนัด ยอ่ ม หลดุ พ้น เมือ่ หลุดพน้ แลว้ ย่อม มีญาณหย่ังรู้ ว่าหลุดพ้นแลว้ . อรยิ สาวกน้ัน ย่อม รูช้ ัด วา่ “ชาติสิน้ แลว้ พรหมจรรย์อยู่จบแล้ว กิจทค่ี วรทำ�ได้ท�ำ ส�ำ เร็จแลว้ กจิ อน่ื ทจ่ี ะตอ้ งท�ำ เพอื่ ความเป็นอยา่ งน้ี มิได้มีอีก”. ภิกษุทั้งหลาย ! น้ีแล คือปฏิปทาเป็นท่ีสบาย แก่การบรรลุนพิ พาน นั้น. (ในกรณีแหง่ อายตนกิ ธรรมหมวดโสตะ ฆานะ ชวิ หา กายะ และ มนะ กไ็ ดต้ รสั ตอ่ ไปอกี โดยนยั อยา่ งเดยี วกนั กบั ในกรณี แหง่ อายตนกิ ธรรมหมวดจักษุน้ี). 51
พุทธวจน - หมวดธรรม เปิดธรรมทถี่ กู ปดิ : ก้าวย่างอยา่ งพทุ ธะ ทิ้งเสียนน่ั แหละ 20 กลับจะเปน็ ประโยชน์ -บาลี สฬา. ส.ํ ๑๘/๑๖๑/๒๑๙. ภกิ ษุทั้งหลาย ! สิ่งใด ไม่ใช่ของเธอ สิ่งนั้น เธอจงละมนั เสยี ส่ิงน้นั อนั เธอละเสียแล้ว จกั เปน็ ไป เพื่อประโยชน์และความสขุ แก่เธอ. ภกิ ษุทัง้ หลาย ! อะไรเล่า ที่ไมใ่ ชข่ องเธอ ? ภกิ ษทุ งั้ หลาย ! จกั ษุ ไมใ่ ช่ของเธอ เธอจงละ มันเสีย จักษุนั้น อันเธอละเสียแล้ว จักเป็นไปเพื่อ ประโยชน์และความสุขแกเ่ ธอ (ในกรณีแห่ง โสตะ ฆานะ ชิวหา กายะ และ มโน ก็ไดต้ รัสต่อไปดว้ ยขอ้ ความอยา่ งเดยี วกนั ). 53
พทุ ธวจน - หมวดธรรม ภิกษุท้ังหลาย ! เปรียบเหมือน อะไรๆ ใน แควน้ นี้ ท่ีเปน็ หญา้ เป็นไม้ เปน็ กิ่งไม้ เป็นใบไม้ ทคี่ นเขา ขนไปทง้ิ หรอื เผาเสยี หรอื ท�ำ ตามปจั จยั พวกเธอรสู้ กึ อย่างนี้บ้างหรือไม่ว่า คนเขาขนเราไป หรือเผาเรา หรือ ท�ำ แกเ่ ราตามปัจจยั ของเขา ? “ไม่รู้สึกอย่างนั้นเลย พระเจ้าข้า !”. เพราะเหตุไรเล่า ? “ข้าแต่พระองค์ผ้เู จริญ ! เพราะเหตุว่าความร้สู ึกว่าตัว ตน (อตฺตา) ของตน (อตฺตนิยา) ของข้าพระองค์ไม่มีในสิ่งเหล่า นั้น พระเจ้าข้า !”. 54
เปดิ ธรรมทถี่ ูกปดิ : ก้าวย่างอยา่ งพุทธะ ภกิ ษุท้ังหลาย ! ฉนั ใดก็ฉนั นนั้ จักษ.ุ ..โสตะ... ฆานะ...ชวิ หา...กายะ...มโน ไมใ่ ชข่ องเธอ เธอจงละ มันเสีย สงิ่ เหล่านนั้ อันเธอละเสยี แลว้ จกั เป็นไปเพ่ือ ประโยชน์และความสุขแกเ่ ธอ แล. 55
พทุ ธวจน - หมวดธรรม เปดิ ธรรมทีถ่ ูกปดิ : กา้ วย่างอยา่ งพุทธะ อาการเกิดดบั แห่งเวทนา 21 -บาลี สฬา. สํ. ๑๘/๒๖๖-๒๖๗/๓๘๙-๓๙๐. ภิกษุทงั้ หลาย ! เวทนา ๓ อยา่ งเหล่าน้ี เกดิ มา จากผัสสะ มีผสั สะเป็นมูล มีผัสสะเป็นเหตุ มผี สั สะเป็น ปจั จยั . ๓ อยา่ งเหลา่ ไหนเลา่ ? ๓ อย่างคอื สุขเวทนา ทุกขเวทนา อทกุ ขมสขุ เวทนา. ภิกษทุ ัง้ หลาย ! เพราะ อาศยั ผสั สะอนั เปน็ ทต่ี ง้ั แหง่ สุขเวทนา สขุ เวทนายอ่ มเกิดขน้ึ เพราะ ความดบั แหง่ ผสั สะ อนั เปน็ ทต่ี ง้ั แหง่ สขุ เวทนา นน้ั สขุ เวทนา อนั เกิดข้นึ เป็นเพราะอาศัยผัสสะอันเป็นท่ตี ้งั แห่งสุขเวทนาน้นั ย่อมดบั ไป ยอ่ มระงับไป. (ในกรณีแห่ง ทุกขเวทนา และ อทุกขมสุขเวทนา ก็ได้ตรัสไว้ด้วยถ้อยคำ�มีนัยอย่างเดียวกัน). 56
เปดิ ธรรมท่ีถกู ปิด : กา้ วยา่ งอย่างพทุ ธะ ภิกษุทั้งหลาย ! เปรียบเหมือน เม่ือไม้สีไฟ สองอนั สีกัน ก็เกิดความร้อนและเกิดไฟ เมอ่ื ไม้สไี ฟ สองอนั แยกกนั ความรอ้ นกด็ บั ไปสงบไป. ภิกษุทงั้ หลาย ! ฉนั ใดกฉ็ นั นั้น เวทนาทงั้ สามนี้ ซง่ึ เกดิ จากผสั สะ มผี สั สะเปน็ มลู มผี สั สะเปน็ เหตุ มผี สั สะ เปน็ ปจั จยั อาศยั ผสั สะแลว้ ยอ่ มเกดิ ขน้ึ ยอ่ มดบั ไปเพราะ ผสั สะดบั ดงั นีแ้ ล. 57
พทุ ธวจน - หมวดธรรม เปดิ ธรรมทถ่ี ูกปดิ : กา้ วยา่ งอย่างพทุ ธะ ลกั ษณะหนทางแห่งความหมดจด 22 -บาลี ธ. ขุ. ๒๕/๕๑-๕๓/๓๐. ทางมีองค์แปด เป็นทางอันประเสริฐกวา่ ทางท้งั หลาย. บทแห่งอรยิ สัจส่ี ประเสรฐิ กว่าบทท้ังหลาย. วริ าคธรรม ประเสรฐิ กวา่ ธรรมท้งั หลาย. ผมู้ พี ทุ ธจกั ษุ ประเสรฐิ กวา่ สตั วส์ องเทา้ ทง้ั หลาย. นแ่ี หละ ทางเพอ่ื ความหมดจดแหง่ ทสั สนะ ทางอน่ื มไิ ดม้ .ี เธอทงั้ หลาย จงเดินตามทางนัน้ อนั เปน็ ท่ีหลงแหง่ มาร เธอทงั้ หลาย เดนิ ตามทางน้ันแล้ว จกั กระท�ำ ทส่ี ดุ แหง่ ทกุ ข์ได.้ ทาง เราบอกแลว้ แกเ่ ธอทัง้ หลาย เพ่ือการรู้จักการถอนซ่งึ ลูกศร ความเพียรเปน็ กจิ อันเธอท้ังหลายพึงกระท�ำ ตถาคตทงั้ หลายเป็นเพยี งผบู้ อก ผมู้ งุ่ ปฏบิ ตั แิ ลว้ ยอ่ มพน้ จากเครอ่ื งผกู แหง่ มาร. 58
เปดิ ธรรมทถี่ ูกปิด : กา้ วยา่ งอยา่ งพุทธะ เมอ่ื ใด บุคคลเหน็ ด้วยปญั ญาวา่ “สังขารทั้งหลายทง้ั ปวง ไมเ่ ทยี่ ง” เม่ือนน้ั เขาย่อมเบอื่ หนา่ ยในสิ่งที่เปน็ ทกุ ข์ นั่นแหละ เป็นทางแห่งความหมดจด. เม่ือใด บุคคลเห็นด้วยปญั ญาวา่ “สังขารทัง้ หลายทง้ั ปวง เปน็ ทกุ ข์” เมอ่ื นน้ั เขาย่อมเบื่อหน่ายในสง่ิ ทเ่ี ปน็ ทกุ ข์ นน่ั แหละ เปน็ ทางแหง่ ความหมดจด. เมื่อใด บุคคลเห็นดว้ ยปัญญาวา่ “ธรรมทัง้ หลายทั้งปวง เปน็ อนตั ตา” เมือ่ นน้ั เขาย่อมเบ่ือหนา่ ยในสงิ่ ทีเ่ ปน็ ทุกข์ น่นั แหละ เป็นทางแห่งความหมดจด. 59
พทุ ธวจน - หมวดธรรม เปดิ ธรรมท่ีถูกปิด : กา้ วย่างอยา่ งพทุ ธะ ขยายความแหง่ อรยิ มรรคมอี งคแ์ ปด 23 -บาลี มหา. ท.ี ๑๐/๓๔๓-๓๔๕/๒๙๙. ภิกษุทั้งหลาย ! ก็อริยสัจคือหนทางเป็นเคร่อื ง ให้ถงึ ความดับไม่เหลือแห่งทกุ ขน์ ั้น เป็นอย่างไรเลา่ ? คือ หนทางอันประกอบด้วยองค์แปด อันประเสริฐน้ีเอง องค์แปดคอื ความเห็นชอบ ความดำ�ริชอบ วาจาชอบ การงานชอบ อาชวี ะชอบ ความเพยี รชอบ ความระลกึ ชอบ ความตั้งใจมนั่ ชอบ. ภกิ ษุทง้ั หลาย ! ความเหน็ ชอบ เปน็ อยา่ งไร ? ภิกษุทงั้ หลาย ! ความรู้ใน ทกุ ข์ ความรู้ใน เหตุ ใหเ้ กดิ ทกุ ข์ความรใู้ นความดบั ไมเ่ หลอื แหง่ ทกุ ข์ความรใู้ น หนทางเปน็ เครอ่ื งใหถ้ งึ ความดบั ไมเ่ หลอื แหง่ ทกุ ข์ อนั ใด นเี้ ราเรียกว่า สมั มาทฏิ ฐ.ิ ภิกษุทงั้ หลาย ! ความด�ำ รชิ อบ เปน็ อยา่ งไร ? ภิกษุทั้งหลาย ! การละทง้ิ ความคดิ ในทางกาม การละทง้ิ ความคดิ ใน ทางพยาบาท การละทง้ิ ความคดิ ใน ทางเบยี ดเบยี น นเ้ี ราเรยี กวา่ สมั มาสงั กปั ปะ. 60
เปดิ ธรรมทถ่ี กู ปิด : กา้ วย่างอย่างพทุ ธะ ภิกษุทั้งหลาย ! วาจาชอบ เป็นอยา่ งไรเลา่ ? ภิกษุทัง้ หลาย ! การเว้นจากการพูดเท็จ การ เว้นจากการพูดยุให้แตกกัน การเว้นจากการพูดหยาบ การเวน้ จากการพูดเพอ้ เจอ้ นี้เราเรยี กว่า สมั มาวาจา. ภิกษุทั้งหลาย ! การงานชอบ เป็นอย่างไร ? ภิกษุทั้งหลาย ! การเว้นจากการฆ่าสัตว์ การเวน้ จากการถอื เอาสงิ่ ของทเี่ จา้ ของไมไ่ ดใ้ ห ้ การเวน้ จากการประพฤติผิดในกามท้ังหลาย น้ีเราเรียกว่า สมั มากมั มนั ตะ. ภกิ ษทุ ้งั หลาย ! อาชีวะชอบ เป็นอยา่ งไร ? ภิกษุท้ังหลาย ! อริยสาวกในศาสนานี้ ละ มิจฉาชีพเสีย สำ�เร็จความเป็นอยู่ด้วยสัมมาชีพ นี้เรา เรียกวา่ สัมมาอาชวี ะ. ภิกษทุ ้ังหลาย ! ความเพยี รชอบ เปน็ อยา่ งไร ? ภิกษุทั้งหลาย ! ภิกษุในศาสนานี้ ย่อมปลูก ความพอใจ ย่อมพยายาม ย่อมปรารภความเพียร ย่อมประคองจิต ย่อมต้ังจิตไว้ เพื่อความไม่บังเกิดข้ึน แห่งอกุศลธรรมทั้งหลายอันลามก ท่ียังไม่ได้บังเกิด 61
พทุ ธวจน - หมวดธรรม ยอ่ มปลกู ความพอใจ ยอ่ มพยายาม ยอ่ มปรารภความเพยี ร ยอ่ มประคองจติ ยอ่ มตงั้ จติ ไว้ เพอ่ื การละเสยี ซง่ึ อกศุ ลธรรม ทงั้ หลายอนั เปน็ บาป ทบี่ งั เกดิ ขน้ึ แลว้ ยอ่ มปลกู ความพอใจ ยอ่ มพยายาม ย่อมปรารภความเพยี ร ยอ่ มประคองจิต ยอ่ มต้งั จติ ไว้ เพ่ือการบงั เกดิ ขึ้นแหง่ กศุ ลธรรมทง้ั หลาย ทีย่ งั ไมไ่ ดบ้ งั เกิด ย่อมปลูกความพอใจ ย่อมพยายาม ย่อมปรารภความเพียร ยอ่ มประคองจิต ย่อมต้ังจิตไว้ เพอื่ ความยง่ั ยนื ความไมเ่ ลอะเลอื น ความงอกงามยง่ิ ขนึ้ ความไพบลู ย์ ความเจรญิ ความเตม็ รอบแหง่ กศุ ลธรรม ทง้ั หลาย ทบี่ งั เกดิ ขนึ้ แลว้ นเ้ี ราเรยี กวา่ สมั มาวายามะ. ภกิ ษุทัง้ หลาย ! ความระลกึ ชอบ เปน็ อยา่ งไร ? ภิกษุทง้ั หลาย ! ภกิ ษใุ นศาสนาน้ี เป็นผู้มปี กติ พจิ ารณา เหน็ กายในกาย อยู่ มคี วามเพยี รเครอ่ื งเผาบาป มีความรู้สึกตัวทว่ั พรอ้ ม มีสติ น�ำ ความพอใจและความ ไมพ่ อใจในโลกออกเสยี ได ้ เปน็ ผมู้ ปี กตพิ จิ ารณาเหน็ เวทนา ในเวทนาทง้ั หลาย อยู่ มคี วามเพยี รเครอ่ื งเผาบาป มคี วาม รสู้ กึ ตัวทว่ั พรอ้ ม มสี ติ นำ�ความพอใจและความไม่พอใจ ในโลกออกเสยี ได ้ เปน็ ผมู้ ปี กติพิจารณา เห็นจิตในจิต อยู่ 62
เปดิ ธรรมทีถ่ กู ปดิ : กา้ วย่างอย่างพทุ ธะ มคี วามเพียรเคร่อื งเผาบาป มีความรู้สึกตวั ท่วั พร้อม มสี ติ นำ�ความพอใจและความไม่พอใจในโลกออกเสียได้ เป็น ผมู้ ปี กตพิ จิ ารณา เหน็ ธรรมในธรรมทง้ั หลาย อยู่ มคี วาม เพยี รเครอ่ื งเผาบาป มคี วามรสู้ กึ ตวั ทว่ั พรอ้ ม มสี ติ น�ำ ความ พอใจและความไมพ่ อใจในโลกออกเสียได้ นเี้ ราเรียกว่า สัมมาสติ. ภิกษุทง้ั หลาย ! ความตง้ั ใจมน่ั ชอบ เปน็ อยา่ งไร ? ภิกษุท้ังหลาย ! ภิกษุในศาสนานี้ เพราะสงัด จากกามท้ังหลาย เพราะสงัดจากอกุศลธรรมท้ังหลาย ยอ่ มเขา้ ถงึ ฌานทห่ี นง่ึ อนั มวี ติ กวจิ าร มปี ตี แิ ละสขุ อนั เกดิ แตว่ เิ วก แลว้ แลอยู่ เพราะวติ กวจิ ารร�ำ งบั ลง เธอเขา้ ถงึ ฌานทสี่ อง อนั เปน็ เครอ่ื งผอ่ งใสแหง่ ใจในภายใน ให้สมาธิ เป็นธรรมอันเอกผุดขน้ึ ไมม่ วี ติ กไม่มวี จิ ารมีแตป่ ตี แิ ละสขุ อนั เกดิ แตส่ มาธแิ ลว้ แลอย ู่ เพราะปตี จิ างหายไป เธอเปน็ ผู้เพ่งเฉยอยู่ได้ มีสติ มีความรู้สึกตัวทั่วพร้อม และได้ เสวยสุขด้วยกาย ย่อมเข้าถึง ฌานที่สาม อันเป็นฌาน ท่ีพระอรยิ เจา้ ทั้งหลายกลา่ วสรรเสริญผไู้ ด้บรรลุวา่ “เป็น ผเู้ ฉยอยู่ได้ มสี ติ มคี วามรู้สึกตัวท่วั พร้อม” แล้วแลอย.ู่ 63
พทุ ธวจน - หมวดธรรม เพราะละสุขและทกุ ขเ์ สียได้ และเพราะความดับหายแหง่ โสมนสั และโทมนัสในกาลกอ่ น เธอย่อมเข้าถงึ ฌานทส่ี ่ี อันไม่ทุกข์และไม่สุข มีแต่สติอันบริสุทธ์ิเพราะอุเบกขา แลว้ แลอยู่ นีเ้ ราเรยี กวา่ สัมมาสมาธิ. ภกิ ษุทัง้ หลาย ! นเ้ี ราเรยี กวา่ อรยิ สจั คอื หนทาง เปน็ เครื่องใหถ้ ึงความดบั ไมเ่ หลอื แห่งทุกข์. 64
พทุ ธวจน - หมวดธรรม เปิดธรรมท่ถี ูกปดิ : กา้ วยา่ งอย่างพุทธะ สมาธิทกุ ขั้นตอนใช้เปน็ บาทฐาน 24 ในการเข้าวมิ ตุ ติไดท้ ั้งหมด -บาลี นวก. อํ. ๒๓/๔๓๘-๔๔๔/๒๔๐. ภิกษทุ ้งั หลาย ! เรากล่าวความสนิ้ อาสวะ เพราะอาศัยปฐมฌานบา้ ง เพราะอาศยั ทตุ ิยฌานบา้ ง เพราะอาศัยตตยิ ฌานบ้าง เพราะอาศัยจตุตถฌานบา้ ง เพราะอาศยั อากาสานญั จายตนะบ้าง เพราะอาศยั วญิ ญาณญั จาตยนะบา้ ง เพราะอาศัยอากิญจญั ญายตนะบา้ ง เพราะอาศยั เนวสญั ญานาสญั ญายตนะบา้ ง เพราะอาศยั สญั ญาเวทยิตนิโรธบา้ ง. 65
พทุ ธวจน - หมวดธรรม ภิกษุท้ังหลาย ! ค�ำ ท่เี รากล่าวแล้ววา่ “ภกิ ษทุ ั้งหลาย ! เรากลา่ วความสน้ิ อาสวะ เพราะ อาศยั ปฐมฌานบา้ ง” ดงั นน้ี น้ั เราอาศยั อะไรกลา่ วเลา่ ? ภิกษทุ ัง้ หลาย ! ในกรณนี ้ี ภกิ ษสุ งัดจากกาม สงัดจากอกศุ ลธรรม เข้าถงึ ปฐมฌาน อนั มีวติ กวจิ าร มปี ตี แิ ละสขุ อนั เกดิ จากวเิ วก แลว้ แลอย.ู่ ในปฐมฌานนน้ั มธี รรมคอื รปู เวทนา สญั ญา สงั ขาร วญิ ญาณ เธอนน้ั ตามเห็นซึ่งธรรมเหล่านั้น โดยความเป็นของไม่เที่ยง โดยความเปน็ ทกุ ข์ เปน็ โรค เป็นหวั ฝี เป็นลกู ศร เป็น ความยากล�ำ บาก เปน็ อาพาธ เปน็ ดงั ผู้อ่นื เป็นของ แตกสลาย เป็นของวา่ ง เป็นของไมใ่ ช่ตน. เธอด�ำ รงจติ ด้วยธรรมเหล่านั้น แล้วจึงน้อมจิตไปสู่อมตธาตุด้วยการ กำ�หนดว่า “น่นั สงบระงับ น่นั ประณีต น่นั คอื ธรรมชาติ เปน็ ทส่ี งบระงบั แหง่ สงั ขารทง้ั ปวง เปน็ ทส่ี ลดั คนื ซง่ึ อปุ ธทิ ง้ั ปวง เปน็ ทส่ี น้ิ ไปแหง่ ตณั หา เปน็ ความจางคลาย เปน็ ความดบั เป็นนพิ พาน” ดังน.้ี เธอด�ำ รงอยใู่ นวิปัสสนาญาณ มี ปฐมฌานเป็นบาทนน้ั ย่อมถึง ความสิ้นไปแหง่ อาสวะ ถ้าไม่ถึงความสิ้นไปแห่งอาสวะ ก็เป็น โอปปาติกะ อนาคามผี ู้ปรินิพพานในภพนั้น มีการไม่เวียนกลับจาก 66
เปดิ ธรรมทถ่ี ูกปดิ : กา้ วย่างอย่างพทุ ธะ โลกนั้นเป็นธรรมดา เพราะความสิ้นไปแห่งสังโยชน์มี ในเบอ้ื งต�ำ่ หา้ ประการ และเพราะอำ�นาจแหง่ ธัมมราคะ ธมั มนันทิ นน้ั ๆ น่ันเอง. ภิกษุท้ังหลาย ! เปรียบเหมือนนายขมังธนู หรือลูกมือของเขา ประกอบการฝึกอยู่กะรูปหุ่นคนท่ี ทำ�ด้วยหญา้ บ้าง กะรูปหนุ่ ดนิ บา้ ง สมยั ตอ่ มา เขากเ็ ป็น นายขมังธนูผู้ยิงไกล ยิงเร็ว ทำ�ลายหมู่พลอันใหญ่ได้. ภกิ ษุทง้ั หลาย ! ฉนั ใดกฉ็ นั นน้ั ทภ่ี กิ ษสุ งดั จากกาม สงดั จากอกศุ ลธรรม เขา้ ถงึ ปฐมฌาน อนั มวี ติ กวจิ ารมปี ตี แิ ละ สุขอันเกิดจากวิเวก แล้วแลอยู่ ดังนี้. ภิกษทุ งั้ หลาย ! ขอ้ ทเ่ี รากลา่ วแลว้ วา่ “ภิกษุทั้งหลาย ! เรากลา่ วความสิ้น อาสวะ เพราะอาศัยปฐมฌานบ้าง” ดังนี้นั้น เราอาศัย ความข้อนี้กล่าวแล้ว. (ในกรณแี หง่ การสน้ิ อาสวะ เพราะอาศยั ทตุ ยิ ฌานบา้ ง เพราะอาศัย ตตยิ ฌานบ้าง เพราะอาศัย จตุตถฌานบ้าง ก็มี คำ�อธิบายท่ีตรัสไว้โดยทำ�นองเดียวกันกับในกรณีแห่งปฐมฌาน ข้างบนน้ที ุกตัวอักษรท้งั ในส่วนอุปไมยและส่วนอุปมา ผิดกันแต่ ชื่อแห่งฌานเท่านั้น). 67
พทุ ธวจน - หมวดธรรม ภิกษทุ ง้ั หลาย ! คำ�ที่เรากล่าวแล้วว่า “ภิกษุท้ังหลาย ! เรากล่าวความส้ินอาสวะ เพราะอาศยั อากาสานญั จายตนะบา้ ง” ดงั นน้ี น้ั เราอาศยั อะไรกล่าวเล่า ? ภกิ ษุทงั้ หลาย ! ในกรณนี ี้ ภกิ ษุเพราะก้าวล่วง รูปสัญญาเสยี ได้โดยประการทัง้ ปวงเพราะความดับไป แหง่ ปฏฆิ สญั ญา เพราะการไมท่ �ำ ไวใ้ นใจซง่ึ นานตั ตสญั ญา จงึ เขา้ ถงึ อากาสานญั จายตนะอนั มกี ารท�ำ ในใจวา่ “อากาศ ไมม่ ที ีส่ ดุ ” ดงั นี้ แลว้ แลอยู่. ในอากาสานัญจายตนะน้นั มีธรรมคอื เวทนา สญั ญา สังขาร วิญญาณ (ท่กี ำ�ลงั ทำ� หนา้ ทอ่ี ย)ู่ 1 เธอนน้ั ตามเหน็ ซง่ึ ธรรมเหลา่ นน้ั โดยความเปน็ ของไมเ่ ทย่ี ง โดยความเป็นทุกข์ เป็นโรค เป็นหัวฝีเป็น ลูกศร เปน็ ความยากลำ�บาก เปน็ อาพาธ เปน็ ดังผอู้ ื่น เป็นของแตกสลาย เป็นของว่าง เปน็ ของไมใ่ ช่ตน. เธอดำ�รงจิตดว้ ยธรรม (คอื ขนั ธ์เพยี งสี)่ เหลา่ นั้น แลว้ จึงน้อมจิตไปส่อู มตธาตุด้วยการกำ�หนดว่า “น่นั สงบระงับ น่ันประณตี นั่นคอื ธรรมชาติ เป็นทสี่ งบระงับแหง่ สังขาร 1. ผู้ศึกษาพึงสังเกตให้เห็นว่า ต้ังแต่ ฌาณ ๑-๔ มีขันธ์ครบห้าส่วน ใน อากาสานัญจายตนะ ถึง อากิญจัญญายตนะน้ัน มีขันธ์เพียงสี่ คือ ขาดรปู ขนั ธไ์ ป. 68
เปดิ ธรรมทถ่ี กู ปดิ : ก้าวยา่ งอย่างพุทธะ ทง้ั ปวง เปน็ ทส่ี ลดั คนื ซง่ึ อปุ ธทิ ง้ั ปวง เปน็ ทส่ี น้ิ ไปแหง่ ตณั หา เป็นความจางคลาย เปน็ ความดบั เปน็ นิพพาน” ดงั นี้. เธอดำ�รงอยู่ในวปิ สั สนาญาณ มีอากาสานัญจายตะเป็น บาทนั้น ย่อมถึง ความสิ้นไปแห่งอาสวะ ถ้าไม่ถึง ความสนิ้ ไปแห่งอาสวะ ก็เปน็ โอปปาตกิ ะ อนาคามผี ู้ ปรินพิ พานในภพนน้ั มีการไมเ่ วยี นกลบั จากโลกนน้ั เปน็ ธรรมดา เพราะความสิ้นไปแห่งสังโยชน์ มีในเบื้องต่ำ� ห้าประการ และเพราะอ�ำ นาจแหง่ ธัมมราคะ ธัมมนันทิ นนั้ ๆ นั่นเอง. ภิกษุท้ังหลาย ! เปรียบเหมือนนายขมังธนู หรือลูกมือของเขา ประกอบการฝึกอยู่กะรูปหุ่นคนท่ี ทำ�ดว้ ยหญา้ บ้าง กะรปู หนุ่ ดนิ บ้าง สมยั ตอ่ มา เขากเ็ ปน็ นายขมงั ธนผู ู้ยิงไกล ยงิ เรว็ ทำ�ลายหมู่พลอนั ใหญ่ได้. ภกิ ษทุ ้งั หลาย ! ฉันใดก็ฉนั น้นั ทภ่ี กิ ษเุ พราะ ก้าวล่วงซ่ึงรูปสัญญาเสียได้ โดยประการทั้งปวง เพราะ ความดับไปแห่งปฏิฆสัญญา เพราะการไม่ทำ�ไว้ในใจซ่ึง นานัตตสัญญา จึงเข้าถึงอากาสานัญจายตนะ อันมีการทำ� ในใจวา่ “อากาศไมม่ ที ส่ี ดุ ” ดงั น้ี แลว้ แลอย.ู่ ภกิ ษทุ ง้ั หลาย ! 69
พทุ ธวจน - หมวดธรรม ข้อท่เี รากลา่ วแลว้ วา่ “ภกิ ษทุ ง้ั หลาย ! เรากลา่ วความสน้ิ อาสวะ เพราะอาศัยอากาสานัญจายตนะบ้าง” ดังน้ีน้ัน เราอาศยั ความขอ้ นก้ี ลา่ วแล้ว. (ในกรณแี หง่ การสน้ิ อาสวะ เพราะอาศยั วญิ ญาณญั จายตนะ บ้าง เพราะอาศยั อากญิ จัญญายตนะบ้าง ก็มคี ำ�อธิบายท่ีตรสั ไว้ โดยทำ�นองเดียวกันกับในกรณีแห่งอากาสานัญจายตนะข้างบนน้ี ทุกตัวอักษรทั้งในส่วนอุปไมยและส่วนอุปมา ผิดกันแต่ชื่อแห่ง สมาบัตเิ ทา่ น้นั ). ภกิ ษทุ ัง้ หลาย ! ด้วยเหตุดังกล่าวมาน้ีแล เปน็ อนั กลา่ วไดว้ า่ สญั ญาสมาบตั มิ ปี ระมาณเทา่ ใด อญั ญาปฏเิ วธ (การแทงตลอดอรหัตตผล) กม็ ปี ระมาณเทา่ นั้น. ภกิ ษทุ ้ังหลาย ! สว่ นวา่ อายตนะอกี ๒ ประการ กล่าวคือ เนวสัญญานาสัญญายตนสมาบัติ และ สัญญาเวทยิตนิโรธ ซึ่งอาศัยสัญญาสมาบัติ เหล่านั้น น้ันเรากล่าวว่า เป็นสิ่งท่ีฌายีภิกษุผู้ฉลาดในการเข้า สมาบัติ ฉลาดในการออกจากสมาบัติ จะพึงเข้าสมาบัติ ออกจากสมาบัติ แล้วกล่าวว่าเป็นอะไรได้เองโดยชอบ ดังน.้ี 70
พุทธวจน - หมวดธรรม เปิดธรรมท่ถี ูกปดิ : ก้าวย่างอยา่ งพทุ ธะ อรยิ สัจส่ีโดยสังเขป 25 (ทรงแสดงด้วยความยดึ ในขันธ์ ๕) -บาลี มหาวาร. สํ. ๑๙/๕๓๔-๕/๑๖๗๘-๑๖๘๓. ภิกษุท้ังหลาย ! ความจริงอันประเสริฐมีส่อี ย่าง เหลา่ นี้ สอี่ ย่างเหลา่ ไหนเลา่ ? สี่อยา่ ง คือ ความจรงิ อนั ประเสรฐิ คอื ทกุ ข์ ความจรงิ อนั ประเสรฐิ คอื เหตใุ หเ้ กดิ ทกุ ข์ ความจรงิ อนั ประเสรฐิ คอื ความดบั ไมเ่ หลอื ของทกุ ข์ และความจริงอันประเสริฐ คือ ทางดำ�เนนิ ใหถ้ งึ ความดับไม่เหลอื ของทุกข์. ภิกษุทั้งหลาย ! ความจรงิ อนั ประเสรฐิ คอื ทกุ ข์ เป็นอย่างไรเล่า ? คำ�ตอบ คือ ขันธ์อันเป็นที่ต้ังแห่ง ความยดึ มน่ั ถอื มน่ั หา้ อยา่ ง. หา้ อยา่ งน้ันอะไรเล่า ? หา้ อยา่ ง คือ ขนั ธ์อันเป็น ทต่ี ัง้ แหง่ ความยดึ มนั่ ถือมัน่ ไดแ้ ก่ 71
พทุ ธวจน - หมวดธรรม รปู เวทนา สัญญา สงั ขาร และวญิ ญาณ. ภิกษุท้ังหลาย ! อันนี้เรากล่าวว่า ความจริง อันประเสริฐ คือ ทุกข์. ภิกษุท้ังหลาย ! ความจริงอันประเสริฐคือเหตุ ให้เกิดทุกข์ เปน็ อยา่ งไรเล่า ? คอื ตณั หาอนั ใดนท้ี เ่ี ปน็ เครอ่ื งน�ำ ใหม้ กี ารเกดิ อกี อันประกอบด้วยความกำ�หนัด เพราะอำ�นาจความเพลิน มกั ท�ำ ใหเ้ พลดิ เพลนิ ยง่ิ ในอารมณน์ น้ั ๆ ไดแ้ ก่ ตณั หาในกาม ตัณหาในความมคี วามเปน็ ตัณหาในความไม่มีไมเ่ ปน็ . ภิกษุทั้งหลาย ! อันนี้เรากล่าวว่า ความจริง อนั ประเสริฐ คอื เหตใุ ห้เกดิ ทุกข์. ภิกษุท้ังหลาย ! ความจริงอันประเสริฐคือ ความดับไม่เหลอื ของทกุ ข์ เปน็ อย่างไรเลา่ ? คอื ความดบั สนทิ เพราะความจางคลายดบั ไปโดย ไมเ่ หลือของตณั หานนั้ ความสละลงเสยี ความสลดั ท้งิ ไป ความปล่อยวาง ความไมอ่ าลยั ถึงซ่งึ ตัณหา นนั้ เอง อันใด. 72
เปดิ ธรรมทถี่ กู ปิด : กา้ วย่างอยา่ งพทุ ธะ ภิกษุท้ังหลาย ! อันน้ีเรากล่าวว่า ความจริง อันประเสริฐ คือ ความดับไม่เหลือของทุกข์. ภิกษุทั้งหลาย ! ความจริงอันประเสริฐคือ ทางด�ำ เนนิ ใหถ้ งึ ความดบั ไมเ่ หลอื ของทกุ ข ์ เปน็ อยา่ งไรเลา่ ? คือ หนทางอันประเสริฐประกอบด้วยองค์ ๘ น่นั เอง ได้แก่ส่งิ เหล่าน้คี ือความเห็นชอบ ความดำ�ริชอบ การพูดจาชอบ การทำ�งานชอบ การเลี้ยงชีวิตชอบ ความพากเพยี รชอบ ความระลกึ ชอบ ความตง้ั ใจมน่ั ชอบ. ภิกษุทั้งหลาย ! อันนี้เรากล่าวว่า ความจริง อันประเสริฐ คือ ทางด�ำเนินให้ถึงความดับไม่เหลือ ของทุกข์. ภกิ ษทุ งั้ หลาย ! เหลา่ นแ้ี ลคอื ความจรงิ อนั ประเสรฐิ สอ่ี ยา่ ง. 73
พทุ ธวจน - หมวดธรรม ภิกษุทั้งหลาย ! เพราะเหตุนั้นในกรณีน้ี พวกเธอพึงทำ�ความเพียรเพื่อให้รู้ตามเป็นจริงว่า “นี้เป็นทุกข์ นี้เป็นเหตุให้เกิดขึ้นของทุกข์ นี้เป็นความดับไม่เหลือของทุกข์ นี้เป็นทางดำ�เนินให้ถึงความดับไม่เหลือของ ทกุ ข”์ ดังนี้เถิด. 74
พทุ ธวจน - หมวดธรรม เปิดธรรมท่ีถกู ปิด : กา้ วยา่ งอยา่ งพทุ ธะ อรยิ สัจ-ปฏิจจสมุปบาท 26 -บาลี ตกิ . อ.ํ ๒๐/๒๒๒-๒๒๘/๕๐๑. ภกิ ษทุ ้ังหลาย ! ทุกขอริยสัจ เป็นอย่างไรเล่า ? แม้ความเกิด ก็เป็นทุกข์ แม้ความแก่ ก็เป็นทุกข์ แม้ความตาย ก็เป็นทุกข์ แมโ้ สกะปรเิ ทวะทกุ ขะโทมนสั อปุ ายาสทง้ั หลาย กเ็ ปน็ ทกุ ข์ การประสบกับสิ่งไม่เป็นที่รัก เป็นทุกข์ ความพลัดพรากจากสิ่งเป็นที่รัก เป็นทุกข์ ปรารถนาสิ่งใดแล้วไม่ได้สิ่งนั้น นั่นก็เป็นทุกข์ กล่าวโดยย่อ ปัญจุปาทานักขันธ์ทั้งหลาย เป็นทุกข์. ภกิ ษทุ ง้ั หลาย ! นี้เรากล่าวว่า ทุกขอริยสัจ. 75
พทุ ธวจน - หมวดธรรม ภกิ ษทุ งั้ หลาย ! ทุกขสมทุ ยอรยิ สจั เป็นอย่างไรเล่า ? เพราะมีอวชิ ชาเปน็ ปจั จยั จงึ มีสงั ขารทัง้ หลาย เพราะมีสังขารเป็นปจั จยั จงึ มีวิญญาณ เพราะมวี ิญญาณเป็นปัจจัย จีงมีนามรปู เพราะมีนามรปู เปน็ ปจั จัย จงึ มีสฬายตนะ เพราะมีสฬายตนะเป็นปัจจยั จงึ มผี สั สะ เพราะมผี สั สะเปน็ ปจั จยั จึงมีเวทนา เพราะมเี วทนาเป็นปัจจัย จงึ มีตณั หา เพราะมีตณั หาเป็นปจั จยั จงึ มอี ปุ าทาน เพราะมอี ุปาทานเปน็ ปัจจัย จึงมภี พ เพราะมีภพเป็นปัจจัย จงึ มีชาติ เพราะมีชาติเป็นปจั จยั ชรามรณะ โสกะปรเิ ทวะทกุ ขะโทมนัสอุปายาสท้งั หลาย จึงเกิดข้ึนครบถ้วน ความเกดิ ขน้ึ พรอ้ มแห่งกองทุกข์ทั้งสน้ิ นี้ ยอ่ มมี ด้วยอาการอย่างน้ี. ภิกษทุ ้งั หลาย ! นเ้ี รากลา่ ววา่ ทกุ ขสมทุ ยอรยิ สจั . 76
เปิดธรรมที่ถูกปดิ : กา้ วย่างอย่างพทุ ธะ ภกิ ษทุ ้งั หลาย ! ทุกขนิโรธอริยสัจ เป็นอยา่ งไรเลา่ ? เพราะความจางคลายดบั ไปโดย ไมเ่ หลอื แหง่ อวชิ ชานน้ั นน่ั เทยี ว จึงมคี วามดบั แห่งสังขาร เพราะมคี วามดบั แหง่ สงั ขาร จงึ มคี วามดบั แหง่ วญิ ญาณ เพราะมคี วามดบั แหง่ วญิ ญาณ จึงมคี วามดบั แห่งนามรปู เพราะมคี วามดบั แหง่ นามรปู จงึ มีความดบั แหง่ สฬายตนะ เพราะมคี วามดบั แหง่ สฬายตนะ จงึ มคี วามดับแหง่ ผัสสะ เพราะมคี วามดบั แหง่ ผสั สะ จงึ มีความดบั แห่งเวทนา เพราะมคี วามดบั แหง่ เวทนา จึงมคี วามดบั แหง่ ตณั หา เพราะมคี วามดบั แหง่ ตณั หา จงึ มคี วามดบั แหง่ อปุ าทาน เพราะมคี วามดบั แหง่ อปุ าทาน จึงมีความดับแห่งภพ เพราะมคี วามดบั แหง่ ภพ จึงมีความดับแห่งชาติ เพราะมคี วามดบั แหง่ ชาติ นน่ั แล ชรามรณะ โสกะปรเิ ทวะทุกขะโทมนสั อปุ ายาสท้ังหลาย จึงดับส้ิน ความดบั ลงแหง่ กองทกุ ขท์ ง้ั สน้ิ น้ี ยอ่ มมี ดว้ ยอาการอยา่ งน.้ี ภกิ ษุทั้งหลาย ! นเ้ี รากลา่ ววา่ ทกุ ขนโิ รธอรยิ สจั . 77
พทุ ธวจน - หมวดธรรม ภิกษุทั้งหลาย ! ทกุ ขนโิ รธคามนิ ปี ฏปิ ทาอรยิ สจั เป็นอย่างไรเลา่ ? มรรคอันประเสรฐิ ประกอบด้วยองค์ ๘ ประการนน้ี นั่ เอง กล่าวคอื สัมมาทฏิ ฐิ สัมมาสังกัปปะ สมั มาวาจา สมั มากมั มนั ตะ สัมมาอาชีวะ สัมมาวายามะ สัมมาสติ สมั มาสมาธิ. ภกิ ษุท้งั หลาย ! นี้เรากลา่ วว่า ทกุ ขนโิ รธคามินปี ฏิปทาอรยิ สัจ. ภิกษุทั้งหลาย ! ธรรมอันเราแสดงแล้วว่า “เหล่าน้ี คอื อรยิ สัจท้ังหลาย ๔ ประการ” ดังน้ี เป็นธรรม อันสมณพราหมณ์ผรู้ ู้ทั้งหลายข่มขไี่ มไ่ ด้ ท�ำ ใหเ้ ศรา้ หมอง ไมไ่ ด้ ตเิ ตยี นไมไ่ ด้ คดั งา้ งไมไ่ ด้ ดงั น้ี อนั ใด อนั เรากลา่ วแลว้ ข้อนั้น เรากล่าว หมายถึงขอ้ ความนี้ ดงั น้ี แล. 78
พทุ ธวจน - หมวดธรรม เปดิ ธรรมท่ถี ูกปดิ : ก้าวย่างอยา่ งพทุ ธะ ความเปน็ โสดาบัน 27 ประเสริฐกว่าเป็นพระเจา้ จกั รพรรดิ -บาลี มหาวาร. ส.ํ ๑๙/๔๒๘–๔๒๙/๑๔๑๑-๑๔๑๓. ภกิ ษุท้งั หลาย ! แม้พระเจ้าจกั รพรรดิ ได้ครอง ความเป็นใหญ่ย่ิงแห่งทวีปท้ังสี่ เบื้องหน้าจากการตาย เพราะร่างกายแตกดบั อาจได้เขา้ ถึงสุคตโิ ลกสวรรค์ เป็น สหายอยู่ร่วมกับเหล่าเทวดาช้ันดาวดึงส์ ถูกแวดล้อม อยู่ด้วยหมู่นางอัปษรในสวนนันทวัน ท้าวเธอเป็นผู้ เอิบอ่ิมเพียบพร้อมด้วยกามคุณท้ังห้าอันเป็นของทิพย์ อยา่ งนกี้ ็ตาม แต่กระนัน้ ทา้ วเธอกย็ งั รอดพน้ ไปไม่ได้ จากนรก จากกำ�เนิดเดรัจฉาน จากวิสยั แห่งเปรต และ จากอบาย ทุคติ วินิบาต. 79
พทุ ธวจน - หมวดธรรม ภิกษุทั้งหลาย ! ส่วนอริยสาวกในธรรมวินัยนี้ แม้เป็นผู้ยังอัตตภาพให้พอเป็นไปด้วยคำ�ข้าวที่ได้มา จากบิณฑบาตด้วยปลแี ข้งของตนเอง พันกายด้วยการ นุ่งห่มผ้าปอนๆ ไม่มีชาย หากแต่ว่าเป็นผู้ประกอบ พรอ้ มแลว้ ดว้ ยธรรม ๔ ประการ เธอกย็ ังสามารถ รอดพ้นเสียได้ จากนรก จากกำ�เนิดเดรัจฉาน จากวิสยั แหง่ เปรต และจากอบาย ทคุ ติ วนิ ิบาต. ภิกษทุ ้ังหลาย ! ธรรม ๔ ประการนน้ั เปน็ ไฉน ? ๔ ประการ คอื อริยสาวกในธรรมวินัยน้ี เป็นผู้ประกอบพรอ้ มแลว้ ด้วยความเลอ่ื มใส อนั หย่ังลงมั่น ไมห่ วัน่ ไหว ในองค์พระพทุ ธเจ้า... ในองค์พระธรรม... ในองคพ์ ระสงฆ.์ .. เปน็ ผปู้ ระกอบพรอ้ มแลว้ ดว้ ยศลี ทง้ั หลาย ชนดิ เปน็ ท่พี อใจของเหลา่ อรยิ เจ้า ฯลฯ ดงั น้ี. 80
Search
Read the Text Version
- 1
- 2
- 3
- 4
- 5
- 6
- 7
- 8
- 9
- 10
- 11
- 12
- 13
- 14
- 15
- 16
- 17
- 18
- 19
- 20
- 21
- 22
- 23
- 24
- 25
- 26
- 27
- 28
- 29
- 30
- 31
- 32
- 33
- 34
- 35
- 36
- 37
- 38
- 39
- 40
- 41
- 42
- 43
- 44
- 45
- 46
- 47
- 48
- 49
- 50
- 51
- 52
- 53
- 54
- 55
- 56
- 57
- 58
- 59
- 60
- 61
- 62
- 63
- 64
- 65
- 66
- 67
- 68
- 69
- 70
- 71
- 72
- 73
- 74
- 75
- 76
- 77
- 78
- 79
- 80
- 81
- 82
- 83
- 84
- 85
- 86
- 87
- 88
- 89
- 90
- 91
- 92
- 93
- 94
- 95
- 96
- 97
- 98
- 99
- 100
- 101
- 102
- 103
- 104
- 105
- 106
- 107
- 108
- 109
- 110
- 111
- 112
- 113
- 114
- 115
- 116
- 117
- 118
- 119
- 120
- 121
- 122
- 123
- 124
- 125
- 126
- 127
- 128
- 129
- 130
- 131
- 132
- 133
- 134
- 135
- 136
- 137
- 138
- 139
- 140
- 141
- 142
- 143
- 144
- 145
- 146
- 147
- 148
- 149
- 150
- 151
- 152
- 153
- 154
- 155
- 156
- 157
- 158
- 159
- 160
- 161
- 162
- 163
- 164
- 165
- 166
- 167
- 168
- 169
- 170
- 171
- 172
- 173
- 174
- 175
- 176