Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore Intrapreneur for Change 4 เพื่อนร่วมทางสร้างการเปลี่ยนแปลง

Intrapreneur for Change 4 เพื่อนร่วมทางสร้างการเปลี่ยนแปลง

Description: Intrapreneur for Change 4 เพื่อนร่วมทางสร้างการเปลี่ยนแปลง

Search

Read the Text Version

INTRAPRENEUR 4 Change เพื่อนรว มทาง สรางการเปล่ียนแปลง a



บทนำ� โครงการผนู้ �ำ แหง่ อนาคต คณะวทิ ยาการเรยี นรแู้ ละศกึ ษาศาสตร์ มหาวทิ ยาลยั ธรรมศาสตร์ โดยการสนบั สนุนของสำ�นกั งานกองทนุ สนับสนุนการสร้างเสรมิ สขุ ภาพ (สสส.) มีเป้าหมายในการทำ�งานเพื่อหนุนเสริมกระบวนการขับเคล่ือนทางสังคมให้ สามารถสร้างการเปล่ียนแปลงได้อย่างยั่งยืน ผ่านการเสริมสร้างสุขภาวะทางปัญญา โครงการจงึ ท�ำ หนา้ ทเ่ี สรมิ ศกั ยภาพใหก้ บั เครอื ขา่ ยผนู้ �ำ การเปลย่ี นแปลงจากหลากหลาย ภาคส่วน รวมทั้งเครือข่ายและภาคีของ สสส. ในการปฏิบัติงานจริง เพื่อพัฒนา องคค์ วามรู้ด้านภาวะการนำ�กระบวนทศั น์ใหม่ จากการท�ำ งานทผ่ี า่ นมา ในมติ ขิ องการเชอื่ มโยงงานวชิ าการกบั ภาคปฏบิ ตั กิ าร พบวา่ ผนู้ �ำ การขบั เคลอ่ื นสงั คมหรอื องคก์ รยงั มขี อ้ จ�ำ กดั ในการเขา้ ถงึ เครอ่ื งมอื ใหมแ่ ละ นวัตกรรมในการท�ำ งาน โครงการจึงร่วมมือกับ School of Changemakers (SOC) ใน การทดลองสรา้ งโมเดลใหมเ่ พอื่ สนบั สนนุ การพฒั นาศกั ยภาพและลดขอ้ จ�ำ กดั ดงั กลา่ ว ข้างต้น โดยนำ�เอาแนวคิดรวมถึงวิธีการทำ�งานของการทำ�กิจการเพื่อสังคม (Social Enterprise) และคนทำ�งานภาคธุรกิจ (Entrepreneurship) มาทดลองปรับใช้กับ การทำ�งานของภาคประชาสงั คม (NGOs) ผา่ น “เวทพี ฒั นาศักยภาพเครอื ขา่ ยด้วย เครอ่ื งมอื สนบั สนนุ ความยงั่ ยนื การขบั เคลอื่ นทางสงั คม” ในชว่ งเดอื นพฤศจกิ ายน 2560 ถึงเดือนพฤษภาคม 2561 โดยเป็นการทดลองทำ�งานร่วมกับเครือข่ายภาค ประชาสังคม 4 องคก์ ร คอื สมาคมประชาสังคมพังงาแห่งความสขุ จ.พงั งา, สถาบัน ไทยเบิ้งโคกสลุงเพือ่ การพฒั นา จ.ลพบุรี, มลู นธิ บิ า้ นครูน�้ำ จ.เชยี งราย และขอนแก่น นวิ สปิรติ จ.ขอนแก่น Intrapreneur (อนิ -ทรา-เพรอ-เนอร)์ คอื บคุ ลากรทม่ี สี ว่ นรว่ มในการท�ำ งานภายใตอ้ งคก์ รรปู แบบตา่ งๆ ภาคธรุ กจิ ภาครฐั และ 1 เอกชน ฯลฯ ซ่งึ มีลักษณะเป็นคนปฏิบัติงานท่ีมีสายตากว้างไกล มีความคิดสร้างสรรค์ และมีความมุ่งม่ัน ในการจะสร้าง ความเปลย่ี นแปลง ซึ่งค�ำ วา่ Intrapreneur เปน็ คำ�ทย่ี ืมมาจากภาคธรุ กิจอกี ทหี นึ่ง

ในการจดั กจิ กรรมเชงิ ปฏบิ ตั กิ าร นอกจากทงั้ 4 พน้ื ที่ จะไดร้ วมตวั กนั ในเวทกี ลางเพอื่ แลกเปลี่ยนเรียนรู้เร่ืองการสร้างความย่ังยืนในการทำ�งานและเติมพลังให้แก่กัน ยังมีการ ดำ�เนินงานควบคู่กันไปคือ ‘การนำ�กลยุทธ์เพ่ือพัฒนาการทำ�งานให้ยั่งยืนท่ีเกิดข้ึน ไปทดลองใชจ้ รงิ ’ โดยมี “Intrapreneurs” ซง่ึ เปน็ อาสาสมคั ร (Volunteer) ผมู้ ปี ระสบการณ์ ในการทำ�งานภายในแวดวงธุรกิจ มาร่วมทำ�งานร่วมกับผู้นำ�หลักของแต่ละองค์กรอย่าง ใกลช้ ดิ เพอื่ หาลทู่ างในการพฒั นาจากความตอ้ งการของคนในพนื้ ที่ ปรบั แผนกลยทุ ธ์ ทดลอง รวมถงึ การแลกเปลยี่ นองคค์ วามรู้ ทงั้ นเ้ี พอื่ ใหผ้ นู้ �ำ ภาคประชาสงั คมไดม้ คี คู่ ดิ ซงึ่ มมี มุ มองและ ความถนัดทแี่ ตกตา่ ง ชว่ ยมองปัญหาและทดลองการท�ำ งาน หนุนเสรมิ ประสิทธภิ าพในการ ด�ำ เนนิ งานให้เขม้ แขง็ และยัง่ ยืนยิ่งข้ึนกว่าเดมิ ในการนี้ตลอดการดำ�เนินงานในช่วงระยะเวลาประมาณ 7 เดือน โครงการได้มีนัก วจิ ยั และผตู้ ิดตามการท�ำ งานเพื่อถอดกระบวนการและบทเรยี นทเ่ี กิดข้ึน เป็นหนังสือ 2 เล่ม เลม่ แรกคอื “จดุ นดั พบบนเสน้ ขนาน : ผคู้ น ชมุ ชน การประกอบการทางสงั คม” รวบรวม กระบวนการพฒั นาศกั ยภาพและการเปลยี่ นแปลงทเ่ี กดิ ขน้ึ จากการด�ำ เนนิ กจิ กรรมขององคก์ ร หรือพืน้ ที่ เพ่ือศึกษาบทบาทผ้นู �ำ บริบท ตน้ ทนุ และเง่ือนไขทส่ี ่งผลต่อการพัฒนาศักยภาพ รวมถึงผลที่เกิดขึ้นในพื้นที่จากการหนุนเสริมการทำ�งานของโครงการ เล่มที่ 2 คือ “Intrapreneur for Change : ย่างก้าวการเดนิ ทางรว่ มสร้างความเปลยี่ นแปลง” หนังสือ ถอดบทเรยี นผ้ทู �ำ หน้าที่ Intrapreneur ในเวทีท้ัง 4 ท่าน ถงึ ประสบการณช์ วี ิตท่สี ง่ ผลถงึ การ กา้ วเดนิ สกู่ ารท�ำ งานเพอื่ สงั คม รวมถงึ บทเรยี นและประสบการณท์ เ่ี กดิ ขน้ึ จากการท�ำ งานเปน็ Intrapreneur ในเวทีน้ี นอกจากหนงั สอื ทม่ี กี ารตพี มิ พ์ 2 เลม่ แลว้ ยงั มี E-magazine เลม่ น้ี เปน็ นติ ยสารถอด บทเรยี น ทจี่ ะชวนทกุ ทา่ นร่วมดม่ื ด�ำ่ กับ ประสบการณ์ กระบวนการทำ�งาน บทเรยี น และ ขอ้ คดิ ของท้งั 4 ท่าน จากการท�ำ งานเป็น ‘Intrapreneur’ เพ่อื นรว่ มทางของแกนน�ำ ภาคประชาสังคมในช่วงระยะเวลา 7 เดือน เพื่อเป็นกรณีศึกษาการทำ�งานในบทบาท Intrapreneur รวมถงึ เป็นกรณีศึกษาเร่ืองการสร้างความย่งั ยนื ในการท�ำ งานเพอ่ื สงั คม 2

สารบัญ 5 จังหวะทเ่ี ป็นระบบ 15 ความสมดุลของ “โคกสลงุ ” ของ ธนนั รตั นโชติ โดย “วนั วิสาข์ เหรียญร่งุ เรือง” 25 คน้ หานยิ าม 35 การเสาะหาลทู่ างในพ้ืนท่ีสเี ทา พังงาแหง่ ความสุข ของ ณพี ธีระพจิ ิตร แบบ...ยรุ นนั ท์ ย้มิ สาระ 3

4

จังหวะท่ีเป็นระบบ 5 ของ ธนนั รัตนโชติ ผม “ธนนั รตั นโชต”ิ หรอื “นก” เปน็ ผรู้ ว่ มกอ่ ตงั้ กจิ การเพอ่ื สงั คม PLANT:D ปจั จบุ นั ดำ�รงต�ำ แหน่ง Founder และ CEO มีโอกาสไดท้ �ำ งานเปน็ Intrapreneur ภายในองค์กรขอน แก่นนวิ สปริ ิต ในชว่ งปี 2560 - 2561 จากการเข้าร่วมเป็นส่วนหน่งึ ของเวทีพัฒนาศักยภาพ เครือข่ายด้วยเคร่ืองมือสนับสนุนความยั่งยืนการขับเคล่ือนทางสังคม ที่โครงการผู้นำ�แห่ง อนาคต คณะวทิ ยาการเรยี นรแู้ ละศกึ ษาศาสตร์ มหาวทิ ยาลยั ธรรมศาสตร์ ภายใตก้ ารสนบั สนนุ ของสำ�นักงานกองทุนสนับสนุนการสร้างเสริมสุขภาพ (สสส.) ร่วมมือกับ School of Changemakers (SOC) ในการด�ำ เนนิ งาน เร่มิ ต้นการทำ�งานเพอ่ื สงั คมตงั้ แต่เมื่อไหร?่ ที่ผ่านมา ผมไม่ได้เริ่มต้นการทำ�งานเพ่ือสังคมจากการทำ�ธุรกิจเพื่อสังคม (Social Enterprise) หลงั จากเรียนจบคณะวศิ วกรรมศาสตร์ จฬุ าลงกรณม์ หาวิทยาลยั ผมท�ำ งานเปน็ ฝา่ ยการตลาดให้กบั บริษัท แอดวานซ์ อนิ โฟร์ เซอรว์ สิ จำ�กัด (มหาชน) (AIS) ตอนนน้ั เรามี ความพยายามท่ีจะเปลี่ยนการประชาสัมพันธ์จากการทำ�เพ่ือผลกำ�ไร มาสู่การคิดว่าจะใช้ งบการตลาดตวั น้ีท�ำ อะไรเพ่อื สังคมได้บา้ ง ตอนนน้ั จึงคิดเป็นแคมเปญว่า ค่าโทรศพั ท์ที่ลกู คา้ ทุกท่านใช้บริการในวันแม่ เราจะนำ�ค่าบริการ 1 บาท ของทุกรอบการโทรไปสนับสนุนการ

ทำ�งานให้กับโครงการแม่อุปถัมภ์ (คล้ายกับ เปดิ ทางผมไปตอ่ สกู่ ารเปน็ ทป่ี รกึ ษาและผชู้ แ้ี นะ โครงการศภุ นมิ ติ ) แตพ่ อท�ำ จบผมกฉ็ กุ คดิ ไดว้ า่ (Mentor) ใหก้ บั การประกวดแผนธรุ กจิ เพอ่ื สงั คม “บรษิ ทั ใหญผ่ ลก�ำ ไรดี เขากท็ �ำ กนั แบบน้ี แต่ สิ่งที่ผมได้เห็นจากเวทีและแสดงความคิดเห็น มนั ไมเ่ กดิ การแกป้ ญั หาในระยะยาว ปญั หา ต่อผู้เข้าประกวดไป คือ “ในเวทีนี้น้อยคนท่ี เดิมกย็ ังเกดิ ขน้ึ ซำ้�ๆ ในทุกป”ี นำ�เสนอแผนการดำ�เนินงานที่มีกลยุทธ์ใน ผมท�ำ งานอยู่ AIS มา 8 ปี จนเพื่อน การแก้ปญั หาไปถึงราก และน้อยคนมากท่ี มาชวนไปทำ�งานที่ศูนย์บริการงานวิชาการ มีแผนการท�ำ ธุรกจิ ทช่ี ัดเจน” ของมหาวิทยาลัย ทำ�หน้าที่ให้คำ�ปรึกษาแก่ หลงั จากนน้ั ผมจงึ เรมิ่ สรา้ งตวั อยา่ งการ หน่วยงานภาครัฐเรื่องความเป็นไปได้ในการ แก้ปัญหาสังคมโดยการทำ�ให้เป็นธุรกิจเพื่อ ท�ำ งานของโครงการทท่ี �ำ อยู่ ตอนนน้ั จงึ เปลย่ี น สังคมท่ีมแี ผนการทำ�ธรุ กิจชดั เจน งานทผ่ี มทำ� สายการท�ำ งานจากดา้ นการตลาดมาสทู่ ป่ี รกึ ษา คือการนำ�ปัญหาเรื่องการจำ�ยอมบริโภคผักท่ี ในการทำ�งาน (Consultant) ซึ่งเป็นช่วงเวลา เจือปนสารเคมีของคนไทยมาวิเคราะห์ว่า เดยี วกนั ทก่ี ระแสการท�ำ ธรุ กจิ เพอื่ สงั คมเขา้ มา เพราะอะไรจงึ เกดิ เหตกุ ารณน์ ี้ ค�ำ ตอบทไ่ี ด้ คอื พอดี ผมจึงได้มีโอกาสศึกษาเรื่องน้ีผ่านการ ปญั หาเรอื่ งการเดนิ ทางของสนิ คา้ จากผผู้ ลติ ถงึ จัดอบรมโดย สสส. และมีโอกาสได้เจอกับ มอื ผบู้ รโิ ภค (Supply chain) ดว้ ยรอยตอ่ ทม่ี าก อาจารย์เอด้า จิรไพศาลกุล ผู้อำ�นวยการ ราคาผลผลิตก็ยิ่งสูงขึ้นตาม ยิ่งหากต้องเลือก ศูนย์นวัตกรรมสังคม วิทยาลัยโลกคดีศึกษา ซอื้ จากหา้ งสรรพสนิ คา้ กจ็ ะมคี า่ การตลาดพว่ ง 6 มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ อาจารย์เอด้าได้ มากบั ราคาอาหารอกี ด้วย

“ปัญหาอะไรก็ตามที่ปรากฏอยบู่ นโลกน้ี Hackathon ซึ่งกลไกการดำ�เนินงานนี้เป็นส่วนหนึ่งของ ยาวนาน มีคนพยายามแก้ไขปญั หาน้นั PLANT:D ธุรกิจเพ่ือสังคมที่ผมและทีมงานกำ�ลังทำ�อยู่ใน แล้ว แตป่ ญั หาน้ันก็ยังคงอยู่ มันเกดิ จาก ปัจจุบัน การกำ�ลงั แก้ไขไมถ่ กู จุด” ผมเชอ่ื วา่ ปญั หาอะไรกต็ ามทป่ี รากฏอยบู่ นโลกนี้ เม่ือทราบถึงสาเหตุของปัญหา เราก็ทำ�การสำ�รวจ ยาวนาน มีคนพยายามแก้ไขปัญหาน้ันแล้ว แต่ปัญหา จากกลมุ่ ผบู้ รโิ ภคในพนื้ ทจี่ �ำ กดั ซง่ึ จะเปน็ กรณศี กึ ษาของเรา น้ันก็ยังคงอยู่ มันเกิดจากการกำ�ลังแก้ไขไม่ถูกจุด วา่ ต้องการบริโภคผกั ชนิดไหนบา้ ง ในปรมิ าณเทา่ ไหร่ แล้ว โครงสร้างของการทำ�ธุรกิจไม่เหมือนกับการทำ�งานเพ่ือ เสาะหาว่ามีท่ีไหนบ้างท่ีปลูกผักเหล่านี้แบบอินทรีย์ เราได้ สังคม การทำ�ธุรกิจคือการทำ�เพื่อการแสวงหาผลกำ�ไร แต่ พบกับผู้ผลิตในละแวกปทุมธานีกำ�ลังเผชิญปัญหาว่าปลูก การท�ำ งานเพอ่ื สงั คมคอื การท�ำ เพอื่ ใหป้ ญั หานน้ั หมดไป ถา้ แล้วไม่มีใครรับซ้ือ ไม่มีตลาดในการขายที่แน่นอน เราจึง เราไม่เข้าใจว่ารากของปัญหาคืออะไร มองไม่เห็นความ ทดลองให้เขาปลูกและส่งขายแก่เราเพียงผู้เดียว เพ่ือท่ีเรา เชื่อมโยงของปัญหา หรือไม่รู้กระทั่งว่างานท่ีเราทำ� จะเปน็ ตวั กลางในการสง่ ไปถึงมอื ผ้บู ริโภค ผลลัพธข์ องการ สรา้ งสรรคห์ รอื เปน็ นวตั กรรมเพยี งพอหรอื ไม่ เราอาจก�ำ ลงั ทดลองทำ�มนั ประสบความสำ�เร็จ ทุกฝ่ายมีความสขุ เราจงึ เหนือ่ ยฟรี การทเี่ ราจะตอบไดว้ า่ งานของเราตอบโจทยก์ าร นำ�กลไกการดำ�เนินงานน้ีไปประกวด Startup Thailand แก้ปัญหาหรือยัง มันมีกระบวนการตรวจสอบครับ เป็น 2016 แลว้ ไดร้ างวัลชนะเลศิ Social Impact Startup Grand เคร่ืองมือที่ใช้กันท่ัวโลก Theory of Change กับ Impact Value Chain หรอื หลกั อรยิ สจั 4 นแ่ี หละครบั ทกุ ข์ สมทุ ยั นโิ รจน์ มรรค 7

รจู้ กั กบั ‘เวทพี ฒั นาศกั ยภาพเครอื ขา่ ยดว้ ยเครอ่ื งมอื สนบั สนนุ ความยั่งยนื การขับเคล่ือนทางสงั คม’ ไดอ้ ยา่ งไร? กอ่ นหนา้ นผ้ี มมโี อกาสไดร้ ว่ มงานกบั School of Changemakers (SOC) มาประมาณ 5 รอบ ในเวที “Scaling Impact Workshop” ซ่ึงเป็นโปรเจ็คท่ี SOC ทำ�งานร่วมกับ ส�ำ นกั งานกองทนุ สนบั สนนุ การสร้างเสริมสุขภาพ (สสส.) ดว้ ยวตั ถปุ ระสงคเ์ พ่อื การพฒั นา ประสิทธิภาพในการทำ�งานของผู้รับทุนที่เป็นองค์กรขนาดใหญ่ ให้มีความแข็งแรงในการ ดำ�เนินงานและสามารถอย่ไู ดอ้ ย่างยงั่ ยืนแม้จะไมม่ ีทนุ สนบั สนนุ จากหน่วยงานต่างๆ ทาง SOC จึงนำ�เครือ่ งมอื Scaling Impact มาท�ำ การประเมนิ (Assessment) จุดแข็ง จุดอ่อน โดยมแี บบแผน (Template) และเส้นทาง (Journey) ในการคดิ เพ่อื นำ�ไปสกู่ ารหากลยทุ ธ์ เพอื่ ขยายการท�ำ งานใหไ้ ดผ้ ลมากขน้ึ และสรา้ งความยงั่ ยนื เปน็ เหมอื นการวนิ จิ ฉยั ของหมอ วา่ ถา้ จะไปทางนตี้ อ่ ในอนาคตอะไรคอื จดุ ทตี่ อ้ งพฒั นา สงิ่ เหลา่ นอี้ าจหมายถงึ การท�ำ แผน ธรุ กจิ การท�ำ แบรนด์ การสอื่ สาร หรอื การน�ำ เทคโนโลยเี ขา้ มาเกย่ี วขอ้ ง นอกจากนนั้ ส�ำ หรบั องคก์ รทย่ี งั ไมเ่ คยประเมนิ ยงั เปน็ การสรา้ งความตระหนกั ทงั้ ตอ่ ตวั องคก์ รและผมู้ อบทนุ วา่ งานทก่ี ำ�ลังด�ำ เนนิ อย่คู มุ้ คา่ สมั พนั ธก์ บั มลู คา่ เงินท่ีเสยี ไปหรือไม่ เพอ่ื จดั กระบวนการประเมนิ และคดิ แผนในการด�ำ เนินงาน ทาง SOC จึงรบั สมัคร “คนทีอ่ ยู่ในภาคธุรกิจ” ผมู้ มี มุ มองตอ่ การวางแผนการดำ�เนินงานแบบภาคธรุ กจิ มาร่วม ทำ�กิจกรรมเชิงปฏิบตั กิ าร (Workshop) รว่ มกับองคก์ รภาคประชาสงั คม (NGOs) ประมาณ 5 – 6 องคก์ รต่อรอบ ผา่ นกระบวนการ Scaling Impact ที่ SOC จดั เตรียมเอาไว้ให้ โดยท่ี เราทำ�หนา้ ท่ี มอง สงั เกต และซักถาม ในช่วงตา่ งๆ เชน่ การเขยี น Timeline การทำ�งาน ขององค์กร การวเิ คราะหจ์ ุดแข็งจดุ ออ่ น รวมถงึ การประเมินประสบการณ์ท่ีเขามี เปน็ ตน้ หลังจากการรว่ มงานทง้ั 5 คร้ังก่อนหนา้ พอมเี วทีทท่ี างโครงการผู้นำ�แห่งอนาคต ร่วมกับ SOC ในการจัดกระบวนการลักษณะนี้อีกครั้ง โดยรับสมัครคนเข้ามาทำ�งานเป็น Intrapreneur for Change เราจึงมีความสนใจจะมารว่ มท�ำ งานด้วย แต่ด้วยภาระงานปกติ คอ่ นข้างมากจงึ ท�ำ ใหต้ ดั สนิ ใจค่อนขา้ งนาน กว่าจะตกลงใจสมคั รก็ในช่วงทา้ ยของการเปิด รับแล้ว แต่โชคดีที่ทาง SOC เขาก็อยากให้เรามาร่วมทำ�เช่นกัน ติดแต่ว่าเขาเกรงใจที่จะ ชวน เพราะเขาทราบถึงภาระงานเราดี เมอื่ ถงึ การนดั พบเพอื่ คยุ แผนงานครงั้ แรก SOC ใหเ้ ราเลอื กองคก์ รภาคประชาสงั คม ทเี่ ราอยากจะรว่ มท�ำ งานดว้ ย แตส่ ว่ นตวั ของเราเขาเลอื กมาใหเ้ ลยวา่ เหมาะกบั “ขอนแกน่ นิวสปิริต (Khonkaen New Spirit)” เพราะองค์กรกำ�ลังอยู่ในช่วงก่อสร้างรากฐาน (Incubate) ในการสรา้ งชุมชนหรือสงั คมในการท�ำ งาน (Community) ประกอบกบั ผมเคยมี ประสบการณใ์ นการทำ�งานธรุ กิจ (Enterprise) และทำ�ธรุ กจิ เพ่ือสังคม (Social Enterprise) มากอ่ น เริม่ ตน้ การท�ำ งานกบั ขอนแกน่ นวิ สปริ ิตอยา่ งไร? ผมไมร่ จู้ กั พส่ี ยุ้ (คณุ วรรณา จารสุ มบรู ณ์ ผกู้ อ่ ตง้ั ขอนแกน่ นวิ สปริ ติ Khonkaen New Spirits) มากอ่ น ก็เลยพยายามคน้ หาจากชอ่ งทางออนไลนต์ า่ งๆ ไดด้ คู ลิปวิดโี อทม่ี ี 8 พีส่ ยุ้ ไปรว่ มเสวนาของโครงการผนู้ ำ�แหง่ อนาคต เราก็ฟงั ว่าเขาท�ำ อะไร อยา่ งไร ใหพ้ อรูจ้ ัก บ้าง สาเหตุท่ีต้องทำ�ความรู้จักมาก่อนเพราะบรรทัดฐาน (Norm) ในการทำ�งานของคน ภาคประชาสังคมกับภาคธรุ กจิ ไม่เหมือนกนั ภาคประชาสงั คมเขาจะละเมยี ดละไมกับเรื่อง

คนและแรงขับในการทำ�งานมากกว่า ดังนั้นการทำ�งานร่วมกันเราต้องรู้จริต รู้เบ้ืองหลัง จะได้ทำ�งานดว้ ยความสบายใจและไว้วางใจต่อกนั เราได้เจอกับพี่สุ้ยจริงๆ คร้ังแรกในเวทีกลางเวทีแรกช่วงเดือนพฤศจิกายน 2561 เม่ือเข้าสู่กระบวนการประเมินการทำ�งาน (Assessment) ของขอนแก่นนิวสปิริต เราพบ โจทย์ในการท�ำ งาน 2 ระดบั ระดบั แรก คอื ขอนแก่นนวิ สปริ ิตต้องการ “ชว่ ยเหลือองคก์ ร ในการสรา้ งความยงั่ ยืนผ่านเครอื่ งมอื Scaling Impact” ใหส้ ามารถเปลยี่ นสถานะของ องคก์ รที่ตอ้ งพง่ึ พิงทุนสนบั สนุนเพยี งอย่างเดียว มาเปน็ องค์กรท่สี ามารถเลีย้ งดตู นเองได้ ด้วยประสบการณ์ของพี่สุ้ย ทำ�ให้พบว่าองค์กรภาคประชาสังคมหลายองค์กร ยังทำ�งาน แบบเกดิ ผลลพั ธต์ ามส่งิ ทกี่ ระทำ� ณ ขณะนัน้ (Output) แต่ยังไม่สร้างผลกระทบเชิงบวกใน ระยะยาว (Outcome) ในการสร้างการเปลีย่ นแปลงใหก้ ับสงั คม องคก์ รเหลา่ น้ีจึงกำ�ลังเขา้ สู่ช่วงยากลำ�บากในการขอทุนจากแหล่งทุนเพื่อทำ�งานซ้ำ�เดิม พี่สุ้ยจึงอยากให้มี กระบวนการเพื่อสร้างรากฐาน (Incubation) การทำ�งานของภาคประชาสังคมในจังหวัด ขอนแกน่ ใหม้ ีสมรรถนะทีด่ ีข้ึน สร้าง Outcome ไดจ้ รงิ และมีลู่ทางในการเลี้ยงดูตนเอง “คนภาคประชาสงั คมมักจะเจอกับความยากแคน้ ในการทำ�งานและด�ำ เนนิ ชวี ติ 9 พลงั มนั มอดไหมไ้ ปหมด อยากสร้างโอเอซสิ สักท่ี เพอื่ ให้คนในแวดวงนไี้ ด้มา พักใจเติมพลังให้กนั ” ระดบั ทส่ี อง คอื พสี่ ยุ้ พบวา่ คนท�ำ งานภาคสงั คมมกั ตอ้ งเผชญิ กบั ความยากแคน้ ใน การท�ำ งานและการด�ำ เนินชวี ติ พลงั ในการท�ำ งานจึงมอดไหม้ตามไปด้วย ดงั นั้นมันน่าจะ มี “โอเอซสิ สกั ท่ี เพอื่ ใหค้ นในแวดวงนไี้ ดม้ าพกั ใจเตมิ พลงั ใหก้ นั ” ประกอบกบั การมอง ถงึ ผลในระยะยาววา่ การทส่ี ามารถเปลยี่ นจาก ‘ตา่ งคนตา่ งท�ำ ’ มาเปน็ ‘ท�ำ งานดว้ ยกนั ’ นา่ จะมโี อกาสสรา้ งความรว่ มมอื ในการท�ำ งานระหวา่ งองคก์ ร ท�ำ ใหเ้ กดิ การยกระดบั ศกั ยภาพ และพลงั ในการทำ�งาน

บทบาทของเราจงึ เปน็ การ จังหวะที่ 1 : จากโจทยส์ กู่ ารท�ำ งานเปน็ Intrapreneur เข้าไปในฐานะ Intrapreneur for Change เพื่อนคคู่ ดิ ที่ชว่ ยสงั เกต และหาทางพัฒนาระหวา่ ง ขอนแกน่ นวิ สปริ ติ มโี จทยม์ าตง้ั แตแ่ รกเรม่ิ แลว้ ครบั วา่ อยากจดั กจิ กรรมเชงิ ปฏบิ ตั กิ าร การดำ�เนินงาน เรอ่ื งการทำ� Theory of Change และ Impact Value Chain ซงึ่ เปน็ ส่วนหนงึ่ ของการ Scaling Impact มีการอบรมเรอื่ งการส่อื สาร และการถอดบทเรยี นครบรอบหนึง่ ปี สง่ิ ทจี่ ะทำ�ทั้งหมด 10 ของโครงการมีการกำ�หนดเอาไว้แล้ว รวมถึงบุคคลที่จะมาดำ�เนินงานด้วยซึ่งไม่ใช่ผม ผมจึง ไม่มีบทบาทในการกำ�หนดการทำ�งานขององค์กรว่าควรจะเป็นอย่างไร บทบาทของเราจึง เปน็ การเขา้ ไปในฐานะ Intrapreneur เพือ่ นคคู่ ดิ ท่ีช่วยสังเกตและหาทางพัฒนาระหวา่ ง การด�ำ เนินงาน จากการที่พี่สุ้ยมาเข้าร่วมเวทีแรกของโครงการที่นำ�โดย SOC พ่ีสุ้ยมีความกังวลว่า กระบวนการ Scaling Impact ค่อนข้างแขง็ มาก เหมอื นถูกสอบสวนอยา่ งตรงไปตรงมา เชน่ ผมไม่รู้จักคณุ มากอ่ น แล้วผมถามคุณวา่ คุณท�ำ งานได้ดีหรือเปลา่ คุณทำ�งานอย่างไร โดยที่ คุณไม่รู้ด้วยซำ้�ว่าผมเป็นใคร และคุณก็อาจไม่ได้ต้องการจะประเมินตัวเองด้วย มันจึงทำ�ให้ เครอ่ื งมือนี้ดูแขง็ เกินไป พสี่ ยุ้ จงึ ใหท้ มี กระบวนกรซงึ่ เปน็ การรวมตวั กนั ของคนท�ำ งานจาก BlackBox และมลู นธิ ิ สื่อชาวบ้าน (มะขามป้อม) มาชว่ ยกนั ทอนกระบวนการ Scaling Impact ในส่วนของการท�ำ Theory of Change และการทำ� Impact Value Chain ให้นุ่มนวลลง เพอ่ื นำ�ไปใชก้ บั คนใน องค์กรขอนแกน่ นวิ สปริ ติ การอบรมทจ่ี ดั โดยพ่สี ุย้ ครั้งนนั้ เปน็ ครงั้ แรกที่ผมได้ไปเขา้ ร่วม สง่ิ ท่ี ผมทำ�ในเวทีจึงเป็นการสังเกตและสะท้อนสิ่งท่ีพบ พร้อมให้ข้อเสนอแนะจากมุมมอง ของผมกบั ทางพี่สุย้ ทมี งาน และโครงการ

ส่ิงที่พบมี 2 จดุ ใหญ่ คอื “กระบวนการ Scaling เคร่ืองมือไปประเมินผู้อื่นโดยอยู่ดีๆ ก็ใส่เข้าไปเลย โดยที่ 11 Impact ทถี่ กู ลดทอนความเขม้ ขน้ ลง มนั ท�ำ ใหเ้ ครอ่ื งมอื เขายังไม่คุ้นเคยและไว้วางใจเต็มที่ ตัวเคร่ืองมืออาจจะใช่ ไมส่ ามารถวนิ จิ ฉยั อะไรได”้ สมมตวิ า่ เครอ่ื งมอื เปน็ ปรอท ถกู ตอ้ งกับโจทย์ แตจ่ งั หวะยงั ไม่ใช่ วดั ไข้ แตค่ นวดั ไขก้ ลวั วา่ ใสล่ งไปในปากคนไขล้ กึ ไปจะอาเจยี น เลยเอาไปแตะที่แก้มแทน มันก็วัดอุณหภูมิท่ีถูกต้องไม่ได้ หลงั จากเวที Scaling Impact จบลง ทางขอนแกน่ เมื่อวัดสถานะในการทำ�งานและสร้างความตระหนักถึง นิวสปิริตก็ได้มีการนัดพบปะเพื่อพูดคุยถึงเป้าหมายของ ช่องโหว่ในการทำ�งานที่แท้จริงไม่ได้ จึงส่งผลไปถึงการคิด ตวั องคก์ รขอนแกน่ นวิ สปริ ติ เอง เปน็ เวทเี ลก็ ๆ ทไ่ี มไ่ ดม้ กี าร กลยุทธว์ ธิ กี ารทำ�งานใหบ้ รรลุ Output และ Outcome อบรมเรื่องใดและนำ�เวทีโดยพ่ีสุ้ยเอง ผมจึงคิดว่าสถานะ ของผมตอนนที้ ี่ยังอยนู่ อกวงของเขา ถ้าปลอ่ ยให้เวลาผ่าน ในขณะท่ีกระบวนการดำ�เนินงานถูกขับเคลื่อนไป ไปจนเกดิ การจดั เวทคี รง้ั ตอ่ ไปในเดอื นที่ 3 จากระยะเวลา เราก็ได้สังเกตจุดแข็งและจุดที่ควรปรับแก้ของแต่ละหน่วย การทำ�งาน 7 เดอื น ผมจะท�ำ อะไรไม่ไดม้ าก ผมจึงต้องหา งาน รวมถงึ พยายามมองหาความเชอื่ มโยงระหวา่ งหนา้ งาน วิธีการทจ่ี ะกลนื เขา้ ไปเป็นเน้อื เดียวกับเขาใหไ้ ดค้ รับ ของแต่ละคนด้วย ชวนเขามาน่ังด้วยกัน ให้คุยเร่ืองตัวเอง และซกั ถามเรื่องของเพอ่ื น ประเมนิ วา่ การทำ�งานรว่ มกันมี จงั หวะท่ี 2 : กลนื เปน็ เน้อื เดยี วกับ ความเป็นไปได้ที่จะเกิดข้ึนก่ีกลุ่ม เพื่อผลักดันเร่ืองการ ขอนแกน่ นิวสปิรติ ท�ำ งานรว่ มกันเป็นชุมชนต่อไป การจะกลืนเป็นเน้ือเดียวกับเขาให้ได้ ผมพยายาม จดุ ท่ี 2 ผมมองวา่ ปญั หาหลกั คอื เรอ่ื ง “ความสมั พนั ธ”์ นกึ ถงึ กจิ กรรมบางอยา่ งทส่ี นกุ งา่ ย และไดเ้ ปดิ ประสบการณ์ กระบวนการประเมินองค์กร มันก็เหมือนการตรวจภายใน แนวคดิ บางเรื่อง ก็เลยนกึ ถงึ บอร์ดเกม (Board Game) ซง่ึ ถ้าเราไม่รู้สึกอยากตรวจแล้วเพื่อนดันพาหมอมาท่ีบ้าน ประจวบเหมาะพอดีกับท่ีคณะวิทยาการเรียนรู้และศึกษา แนะนำ�ว่าหมอคนนี้เป็นหมอระดับต้นของประเทศเลยนะ ศาสตร์ มหาวทิ ยาลยั ธรรมศาสตร์ ผขู้ บั เคลอ่ื นโครงการผนู้ �ำ ไหนเธอลองนอนใหเ้ ขาตรวจภายในสิ เราคงแบบมงึ เปน็ ใคร แหง่ อนาคต จดั กจิ กรรมเชงิ ปฏบิ ตั กิ ารเรอื่ งการออกแบบเกม จะมาตรวจภายในกู อารมณค์ ลา้ ยๆ แบบนน้ั ครบั (หวั เราะ) เพื่อการวิจัยเชิงทดลองพอดี ผมจึงตั้งใจจะไปเก็บเก่ียว สงิ่ ทเ่ี ราสรปุ ในการถอดบทเรยี นช่วงแรกจงึ เป็น การทจี่ ะนำ� เลือกเกมมาทำ�งานนี้ เม่ือไปถึงผมก็ไปปรึกษากับอาจารย์

เดชรตั สุขกำ�เนิด วทิ ยากรหลักจาก Deschooling by เถอื่ นเกมวา่ ผมมโี จทยท์ ่จี ะใหผ้ เู้ ลน่ ตระหนักถึงความสำ�คัญของการทำ�งานร่วมกัน (Collaboration) แต่ยังไม่ทันได้คำ�ตอบ กระบวนการกเ็ รม่ิ เสยี กอ่ น จนชว่ งทเ่ี ขาใหล้ องท�ำ ความรจู้ กั เกมหลากหลายประเภท เพอ่ื เรยี นรู้ กลไกแฝงภายในเกม จงึ ไดล้ องเลน่ เกม Deep Sea Adventure แลว้ รสู้ กึ วา่ เกมนแ้ี หละ...ใชเ่ ลย!! ก่อนจะเริ่มกิจกรรมในเวทีของขอนแก่นนิวสปิริตที่นำ�โดยพ่ีสุ้ย ผมขอเวลาทำ� กจิ กรรมเลน่ เกม Deep Sea Adventure ประมาณ 1 ชว่ั โมง เพอื่ ทจี่ ะท�ำ ใหเ้ หน็ ถงึ การท�ำ งาน รว่ มกนั (Collaboration Mind) มนั เปน็ กระบวนการที่ทำ�ใหเ้ ขาลืมไปเลยวา่ เราเป็นคนนอก หรือคนใน เพราะมันเป็นการเล่นเกม แล้วตัวบอร์ดเกมยังเป็นการทำ�ให้ผู้เล่นได้สัมผัส ประสบการณผ์ า่ นสถานการณจ์ �ำ ลอง โดยไมต่ อ้ งปกปอ้ งความเปน็ ตวั เองเหมอื นการเผชญิ หนา้ กบั สถานการณ์จริง การเล่นเกมครง้ั น้ันได้ผลมาก ผเู้ ล่นสนทิ สนมกนั ขนึ้ และสามารถ สะทอ้ นมมุ มองเร่ืองการท�ำ งานรว่ มออกมา Deep Sea Adventure เป็นเกมทอยลูกเตา๋ ไปตามเสน้ ทางทีก่ ำ�หนดเพ่อื เก็บสมบัติ โจทย์คือเมื่อเก็บสมบัติในแต่ละคร้ังได้ ก็จะเดินไปต่อได้น้อยลงเพราะแรงเราเหลือน้อย ตัวเราหนัก แตก่ ตกิ าก็ดนั มอี ยูว่ ่าใครเก็บสมบตั ิได้เยอะสดุ เปน็ ผ้ชู นะ ในรอบแรกทุกคนจงึ มงุ่ จะเกบ็ สมบตั ิ แลว้ พบวา่ ...ตายกนั หมด จบรอบแรกกเ็ รม่ิ เอะใจกนั วา่ สาเหตขุ องการตาย คืออะไร คอ่ ยๆ คดิ วิธกี ารแก้ จนรอบท่ี 3 ของการเลน่ จึงมาถงึ จุดท่ที กุ คนชว่ ยกันวางแผน ในการเลน่ ผลลพั ธ์ในการเลน่ เปลยี่ นไป…มนั เร่ิมมคี นรอด 2 จาก 3 คน ส่ิงเหล่าน้ีทำ�ให้เกิดชุดความคิด (Mindset) ใหม่ คือ แม้หน้างานเราต้องการจะ ท�ำ ใหไ้ ดม้ าก แตก่ ารท�ำ คนเดยี วไมใ่ ชเ่ รอื่ งงา่ ย ดงั นนั้ การทเ่ี ราวางแผนการท�ำ งานไปดว้ ยกนั ทำ�ไปพร้อมๆ กัน อาจได้ผลลัพธ์ที่ดีกว่าการคิดและทำ�งานคนเดียว คำ�พูดหนึ่งที่ผู้เล่น สะทอ้ นออกมา คอื “บางทเี รานกึ ถงึ งานตวั เองเปน็ หลกั อยากจะท�ำ ใหม้ ากและดที สี่ ดุ เลยไม่ทันได้คิดเร่ืองอื่นเลย” ส่ิงที่คนขอนแก่นนิวสปิริตสะท้อนออกมามันไปแตะธง ของเรา เพราะตอนท่ีเล่นเกมน้ีอยูท่ ี่ธรรมศาสตร์ ในจังหวะท่ีเลน่ มนั เกิดเหตกุ ารณใ์ หค้ ิด เรือ่ งน้ีเหมือนกัน เราจงึ ตั้งใจเอามาเลน่ และถอดบทเรียนใหเ้ ห็นถงึ เร่อื งนใี้ หไ้ ด้ ต่อจากน้ัน ผลจากการทำ�เร่ืองชุมชนครง้ั น้ี กท็ ำ�ใหเ้ ขาเริม่ ไปมาหาสกู่ นั มากขน้ึ จงั หวะท่ี 3 : เวทีพฒั นาด้านการสอื่ สาร จดุ เปลี่ยนด้านความสมั พันธ์ “สถานการณท์ ีท่ ุกคนต้องมารวมตวั และเรียนรู้การท�ำ งาน รว่ มกนั ...มนั ทำ�ใหม้ คี วามเปน็ ชุมชนมากขน้ึ ” เวทนี เี้ ปน็ เวทที ี่ 3 ของขอนแกน่ นิวสปิรติ อบรมเรือ่ งการสอ่ื สารให้มปี ระสทิ ธภิ าพ ดว้ ยเวลาทีจ่ ำ�กดั เพยี ง 2 วัน สิ่งที่ได้เรียนรู้จากในห้องเรียนจึงยังไม่สมบูรณ์ มีหลายองค์กรที่ต้องการนำ�ส่ือที่ผลิตไปสื่อสารให้ทันช่วงเทศกาล สงกรานต์ โชคดีทขี่ อนแก่นมีน้องทเี่ ชย่ี วชาญเร่ืองการสื่อสารทง้ั ทางดา้ นเน้ือหาและการผลติ เขาจึงนัดกันต่อหลังเวที จบเพ่ือลงแขกท�ำ งานให้เสรจ็ สมบรู ณ์ ซง่ึ เร่ืองนี้เป็นการต่อยอดของการท�ำ งานเป็นชุมชน มันทำ�ให้ชุมชนเหนียวแน่น ขึน้ แม้น่าจะเกดิ ขน้ึ โดยไม่ได้วางแผนไว้ แตถ่ า้ เกดิ โดยการวางแผนไว้ ผมวา่ เปน็ เครอื่ งมอื ทด่ี อี ยา่ งหนงึ่ เปน็ การใชส้ ถานการณจ์ รงิ มาเปน็ ตวั เปดิ ทางให้ ได้ลองทำ�งานร่วมกนั ต้องใช้ความตง้ั ใจในการท�ำ ให้ออกมาดี มีชว่ งเวลามาเป็นตัวก�ำ หนดว่าจะตอ้ งทำ�เดยี๋ วนี้ ไมใ่ ช่ เม่ือไหร่ก็ได้ จึงเป็นสถานการณ์ที่ทุกคนต้องมารวมตัวและเรียนรู้ไปด้วยกันท้ังการทำ�งานหน้างานและการทำ�งาน 12 รว่ มกนั ...มีความเปน็ ชมุ ชนมากขึ้น

จงั หวะที่ 4 : ถอดบทเรียน จงั หวะสุดท้าย : บทเรยี น คนขอนแก่นนิวสปิริต มาถึงเวทีสุดท้ายของการทำ�งานเป็น ในการท�ำ งานตอ่ Intrapreneur ภายใตโ้ ครงการผนู้ �ำ แหง่ อนาคต ส�ำ หรบั การท�ำ Scaling Impact ผมได้ และ SOC ในส่วนของการพัฒนาศักยภาพ สรุปผลท่ีเกิดข้ึน แจ้งไปกับทาง SOC ว่า การทำ�งาน เรารแู้ ลว้ วา่ มันไปแบบไมค่ อ่ ยสุด เครอ่ื งมอื ช้นิ หนง่ึ ทห่ี ายไป คอื กระบวนการ เทา่ ไหร่ และทราบวา่ สถานการณท์ เ่ี กดิ ขน้ึ คอื “หลอมรวมคนใหม่ หรือในที่นี้คือ อะไร แนวคดิ ของเครอ่ื งมอื มนั มาถกู ทางแลว้ Intrapreneur เขา้ ไปในวงโคจรขององคก์ ร แตจ่ งั หวะในการท�ำ มนั ยังไม่ถกู น้ันๆ” ซ่ึงผมมองว่าหากมีการทำ�โครงการน้ี ในการถอดบทเรียนคร้ังน้ัน เป็นการ ต่อไป กระบวนการน้ีสำ�คัญมากและต้อง ถอดบทเรยี นครบรอบ 1 ปี ขอนแกน่ นวิ สปริ ติ ทำ�เป็นอันดับแรกก่อนจะเร่ิมกระบวนการ เราคุยกันว่าเราเห็นอะไรบ้างจากการทำ�งาน ประเมินองคก์ ร ท่ีผ่านมา และได้เห็นปลายทางร่วมกันว่า ข้นั ตอนการท�ำ Scaling Impact ผม เราจะไปให้ถึงระดับของการมีเป้าหมาย แนะนำ� “เครื่องมือบอร์ดเกม” มันได้ผลดี (Purpose) และคุณคา่ (Value) ในการท�ำ งาน มากกับเร่ืองการปรับแนวคิด เราต้องทำ�ให้ รว่ มกนั กระดาษโพสต์อิทที่ตา่ งคนต่างเขียน เขาเข้าใจก่อนว่ากระบวนการประเมินผล ถึงเป้าหมายถูกติดขึ้นไปบนบอร์ด ข้อความ (Assessment) เปรียบเสมือนเขาเป็นคนไข้ เหลา่ นนั้ หลดุ ไปจากเปา้ หมายงานใครงานมนั ไปหาหมอ เขาต้องรู้สึกถึงอาการผิดปกติ ไปสกู่ รอบทใ่ี หญก่ วา่ นน้ั คอื การไดค้ ดิ รว่ มกนั ไมส่ บายตวั แลว้ เขาก็ต้องเข้าใจกระบวนการ ถึงสถานการณ์ที่จะเกิดข้ึนในอนาคต ว่าจะ ทางการแพทยด์ ว้ ยวา่ จะตอ้ งมกี ารตรวจรา่ งกาย รับมือกบั สง่ิ เหล่านน้ั อย่างไร เชน่ การพฒั นา เพราะฉะนน้ั ผมจึงเสนอไปกับทาง SOC เผอ่ื เมอื งขอนแก่นโดยไม่ทิ้งใครไวข้ า้ งหลงั เกดิ เปน็ อกี โปรเจกตว์ า่ กระบวนการ Theory ถ้าพูดถึงในแง่ของการรวมตัวกันเป็น of Change, Impact Value Chain และ ชุมชน (Community) มันเปลี่ยนแปลงต้ังแต่ Social Impact Assessment ควรสร้าง ระดับฐานคิดในการทำ�งานร่วม ไปถึงระดับ ออกมาเป็นบอร์ดเกม เพื่อให้ผู้ถูกประเมิน ของความสมั พนั ธใ์ นการท�ำ งาน และการมใี จ มีความเข้าใจทั้งสองมุม มุมของผู้ปฏิบัติการ ให้แก่กัน ส่ิงสำ�คัญคือการไปถึงระดับของ อย่างการเป็นผู้ถูกประเมิน และในมุมของ การมีคุณค่าในการได้ทำ�ประโยชน์แก่สังคม ผใู้ หท้ รพั ยากรหรือผใู้ ห้ทุนวา่ ความคมุ้ ค่าใน ร่วมกนั ทง้ั 2 มมุ เหมอื นหรอื ตา่ งกนั อยา่ งไร จะพฒั นา เพอ่ื เพม่ิ ศกั ยภาพในการท�ำ งานในรปู แบบไหน และสง่ิ ทท่ี �ำ อยแู่ กป้ ญั หาไดจ้ รงิ หรอื ไม่ เปน็ ตน้ ท่ีเสนอให้ทำ�เป็นบอร์ดเกมเพราะว่า เปน็ สง่ิ ทท่ี �ำ ใหผ้ เู้ ลน่ สามารถเขา้ ใจสถานการณ์ ในระยะเวลาอันสั้น ได้ประสบการณ์ ได้ อารมณ์จริง แต่ไม่ต้องเจ็บตัวจริง ผู้เล่นจึง หลุดออกจากการป้องกันตัวเองโดยไม่รู้ตัว เพราะถ้าเขารู้ว่าจะถูกตรวจ เขาอาจปิดใจ และปอ้ งกันตวั เองเสียกอ่ น 13

เม่ือการทำ�งานในบทบาทผู้ให้คำ�แนะนำ� (Consultant) ของเรา สามารถนำ�เอาประสบการณ์การทำ�กจิ การเพือ่ สังคม มาชว่ ยแนะน�ำ ให้ คนท�ำ งานเห็นมุมท่อี าจมองไมเ่ ห็นและเกดิ ประโยชน์ได้ ผมกอ็ ยากจะมี สว่ นรว่ มในการผลกั ดนั ขอนแกน่ นวิ ปริ ติ ตอ่ ทง้ั ในเรอ่ื งของ “การพฒั นา ศักยภาพในการทำ�งาน” อย่างการทำ� Scaling Impact และการนำ� เครอื่ งมือใหม่ๆ ในการทำ�กจิ การเพื่อสังคม (Social Enterprise) มาใช้ เพราะเมอื่ สกั องคก์ รหนง่ึ ในชมุ ชนท�ำ ได้ องคก์ รอนื่ กจ็ ะเรมิ่ มองเหน็ ลทู่ าง มากขน้ึ อกี สว่ นหนงึ่ คอื “การสรา้ งความเปน็ ชมุ ชน” กต็ อ้ งคอ่ ยๆ ปรบั ในหลายด้าน ไม่ใช่เพียงการมาเจอกันบ่อยข้ึน แต่รวมไปถึงการสร้าง วัฒนธรรมองคก์ รดว้ ย 14

ความสมดุลของ “โคกสลงุ ” 15 โดย วันวสิ าข์ เหรียญรุ่งเรอื ง “วนั วสิ าข์ เหรยี ญรุ่งเรือง” หรือ “จบ๊ิ ” จบการศึกษาเพ่อื เป็นนายชา่ งในโรงงาน จากภาควชิ าวศิ วกรรมอตุ สาหการ คณะวศิ วกรรมศาสตร์ จฬุ าลงกรณม์ หาวทิ ยาลยั กอ่ น จะพบวา่ การเปน็ นายช่างไม่ใช่สง่ิ ท่อี ยากท�ำ เธอจึงออกคน้ หาความฝนั ตอ่ ผา่ นการเรียน ปริญญาโทด้านบริหารธุรกิจ (MBA) ท่ีสหรัฐอเมริกา จนมาลงตัวกับการทำ�งานเป็นที่ ปรกึ ษา (Consultant) องคก์ รดา้ นการปรบั ปรงุ กระบวนการท�ำ งานและระบบงานในบรษิ ทั เอกชนแหง่ หนึ่งในไทยแทน ด้วยนิสัยใฝ่รู้และมีความสนใจหลากหลาย เธอจึงทำ�อะไรอีกหลายอย่างเพื่อ ค้นหาส่ิงท่ีใช่และเติมเต็มความสุขให้กับตัวเอง เธอเรียนแฟช่ันดีไซน์ เป็นเจ้าของเพจ สอนวาดภาพ เปน็ ครอู าสาด้านการสอนศิลปะ ยังไม่นบั รวมงานอดิเรกอยา่ งการเต้นสวิง (Swing dance) หรอื การเดนิ ทางทอ่ งเทย่ี วไปยงั เมอื งตา่ งๆ ทวั่ โลก เพอ่ื สมั ผสั วถิ ชี วี ติ ใหม่ ทั้งในมุมวัฒนธรรมหรอื ต่างข้วั ออกไปอยา่ งความเจริญก้าวหนา้ ของเทคโนโลยี ในปี 2560 - 2561 เธอไดก้ า้ วสูก่ ารเรยี นรใู้ หม่ รบั บทบาทเป็น ‘Intrapreneur for Change’ ใหก้ ับสถาบนั ไทยเบ้ิงโคกสลุงเพ่อื การพัฒนา จงั หวัดลพบรุ ี ในเวทีพฒั นา ศกั ยภาพเครอื ขา่ ยดว้ ยเครอ่ื งมอื สนบั สนนุ ความยงั่ ยนื การขบั เคลอื่ นทางสงั คม ทโี่ ครงการ ผูน้ �ำ แห่งอนาคต ร่วมมือกับ School of Changemakers (SOC) ในการด�ำ เนินงาน หาก คุณเร่มิ สนใจอยากร้สู ิง่ ทีเ่ ธอทำ�ในระยะ 7 เดอื นท่ผี ่านมา ลองมาอ่านมุมมองการทำ�งาน ของเธอกัน

ทำ�ไมถึงสนใจเขา้ มาร่วม เกือบจะไมไ่ ดท้ �ำ งานกบั เวทนี ?ี้ โคกสลุงแล้ว เราเคยกดติดตามเพจของ School ตอนแรกเขาส่งอีเมล์มาหาเราว่า of Chagemakers (SOC) ไว้เมอ่ื นานมาแล้ว ‘คุณไม่ได้รับเลือก’ ...เราก็คิดว่าไม่เป็นไร หลังจากนัน้ กไ็ ม่ไดเ้ ข้าไปอ่านเลยนะ จนวนั ท่ี สงสัยส่ิงที่เรามียังไม่ตรงกับส่ิงที่เขาอยากได้ เขาโพสตป์ ระกาศรับสมัคร ‘Intrapreneur for แต่ผ่านไปเขาโทรมาหาเราว่า ‘พ่ีคะ พ่ีได้รับ Change’ เราอ่านสิ่งที่จะได้ไปทำ�แล้วรู้สึก อีเมลท่ีเรานัดเจอกันเพื่อคุยเรื่องการทำ�งาน สนใจ เพราะอยากนำ�เวลาที่เหลือจากการ หรือยังคะ?’ อ้าว..ก่อนหน้านี้เขาส่งเมลแจ้ง ท�ำ งาน ไปใชค้ วามรคู้ วามสามารถช่วยเหลอื ผลผดิ นหี่ วา่ กต็ ลกดี (หวั เราะ) วนั ทน่ี ดั เจอกนั ผู้อื่น ช่วยเหลือสังคม แล้วงานน้ีก็มีคีย์เวิร์ด SOC ใหเ้ ราเลอื กองคก์ รทอ่ี ยากจะรว่ มท�ำ งาน ในการรับสมัครตรงกับส่ิงท่ีตามหาพอดี คือ ดว้ ย เรากเ็ ลอื กสถาบนั ไทยเบง้ิ โคกสลงุ เพอ่ื ใชเ้ วลาในการท�ำ งานไม่มากนัก ประกอบกบั การพฒั นา จงั หวดั ลพบรุ ี เพราะพนื้ ฐานเรา ไดใ้ ชค้ วามรคู้ วามสามารถทถ่ี นดั ไปหนนุ เสรมิ สนใจเร่ืองวิถีชีวิต วัฒนธรรม รวมถึงเร่ือง การทำ�งานให้ผู้อื่น รวมถึงได้แลกเปลี่ยน แฟชนั่ โชคดที เี่ ราเลือกตรงกบั ที่ SOC ตัง้ ใจ เรียนรู้กับผู้ท่ีเชี่ยวชาญต่างมุมกับเราด้วย ให้ทำ�อยู่แลว้ พอดี กเ็ ลยลองส่งข้อมลู ไปสมัคร 16

กอ่ นเรม่ิ ท�ำ งาน “อาจารยแ์ ทป็ ” คณุ ชลดิ า จงู พนั ธ์ การท�ำ งานตามล�ำ ดบั เวลากวา่ 10 ปที ผ่ี า่ นมา1 กอ่ นจะเลา่ นักวิจัยผู้เคยศึกษาการทำ�งานของสถาบันไทยเบิ้งโคกสลุง ถึงเป้าหมายผลลัพธ์หรือผลกระทบเชิงบวกในระยะยาว เพอื่ การพฒั นามากอ่ น ไดน้ �ำ งานวจิ ยั ในรปู แบบพอ็ กเกต็ บกุ๊ (Outcome) วา่ ต้องการ “สร้างสมดลุ ระหวา่ งคณุ ค่าทาง 3 เล่ม มาให้เราลองอ่านเพ่ือทำ�ความรู้จักกับพื้นที่ก่อน วัฒนธรรมกับมูลค่าทางเศรษฐกิจ” เพราะต้นทุนทาง จากหนงั สอื เราสมั ผสั ไดเ้ ลยวา่ แกนน�ำ มีความมุ่งม่ันในการ วฒั นธรรมทโ่ี คกสลงุ มี คอื วถิ ชี วี ติ และองคค์ วามรซู้ งึ่ สบื สาน ท�ำ งานมาก มแี นวคดิ นา่ สนใจ เหมอื นเปน็ การเปดิ โลกทศั น์ มายาวนาน แต่การจะรักษาใหส้ บื ตอ่ ไปไดต้ อ้ งอาศัยคนใน ให้กับเราว่า ‘มีคนต้ังใจจริงในการทำ�งานเพ่ือสังคม ชุมชนรุ่นน้ีและรุ่นต่อไปช่วยกันสืบสานต่อด้วยความยินดี มากถึงขนาดน้ดี ้วย’ การจะทำ�เร่ืองน้ีให้เกิดขึ้นอย่างยั่งยืนได้ ก็ต้องมี ‘รายได้’ เข้ามาหนุนการเลี้ยงชีพและกระบวนการดำ�เนินงานตาม เร่มิ ตน้ พบเจอกบั คน “โคกสลุง” สมควร ดังนั้นโจทย์ของเราในการเป็น Intrapreneur คือ ‘จะนำ�ต้นทุนทางวัฒนธรรม ประกอบกับทักษะเฉพาะ ไดเ้ จอกับพอ่ มดื (คณุ ประทีป อ่อนสลุง แกนน�ำ ทางทแี่ ต่ละคนมี มาสร้างรายไดอ้ ย่างยัน่ ยืนอย่างไร?’ สถาบันไทยเบ้ิงโคกสลุงเพื่อการพัฒนา) ครั้งแรกในเวที กิจกรรมเชิงปฏิบัติการ (Workshop) เรื่องการทำ� Scaling 1 อา่ นบทวจิ ยั เกยี่ วกบั สถาบนั ไทยเบง้ิ โคกสลงุ เพอื่ การพฒั นาเพม่ิ เตมิ impact ซ่ึงเป็นเวทีกลางของโครงการ พ่อมืดเล่าเร่ืองราว ได้ทห่ี นงั สอื “จุดนดั พบบนเส้นขนาน : ผ้คู น ชมุ ชน การประกอบการ ทางสงั คม” จดั พิมพโ์ ดยโครงการผ้นู ำ�แหง่ อนาคต ปี 2561 17

“สรา้ งสมดลุ ระหวา่ งคุณค่าทางวฒั นธรรม กับมูลค่าทางเศรษฐกิจ” หลังจากจบเวทีแรก เราเห็นธงแน่วแน่ของพ่อมืดแล้วว่า จะต้อง ‘ยกระดับเร่ือง มลู คา่ ทางเศรษฐกจิ ’ ซง่ึ การยกระดบั นจ้ี ะตอ้ งสมดลุ กบั คณุ คา่ ทางวฒั นธรรม เราจงึ ลงพน้ื ท่ี ไปท�ำ ความรู้จกั กับชมุ ชนใหม้ ากขึน้ เพือ่ วิเคราะห์ว่าชว่ งเวลาจากนี้ (ระยะเวลารวมในการ ท�ำ งานประมาณ 7 เดอื น) เราจะเขา้ ไปมสี ว่ นช่วยหนนุ เสริมเร่ืองใดไดบ้ ้างค่ะ จากการลงไปศกึ ษาพดู คยุ กบั ทกุ สว่ นการท�ำ งานภายในสถาบนั ไทยเบง้ิ โคกสลงุ เพอื่ การพัฒนา หรือ ‘ชุมชนโคกสลุง’ ทำ�ให้เราเห็นกระบวนการทำ�งานเพ่ือสร้างรายได้ของ คนในพื้นที่ เหน็ จดุ แขง็ อยา่ งเรอื่ งคณุ คา่ ทางวัฒนธรรมท่แี ฝงอยใู่ นทกุ หยอ่ มหญา้ อาหาร การแตง่ กาย วิถชี วี ติ รวมถึงสินค้าและบรกิ าร และเหน็ จดุ ทยี่ งั ขาดอย่างมมุ มองทางธุรกิจ เช่น เรื่องหลังบ้านอย่างการไม่ทราบถึงต้นทุนและผลประกอบการในการท�ำ งานท่ีชัดเจน ซง่ึ มผี ลอยา่ งมากตอ่ การท�ำ ธรุ กจิ แมจ้ ะเปน็ ธรุ กจิ เพอ่ื สงั คม (Social Enterprise) กต็ าม สว่ น เรอ่ื งหนา้ บา้ นอยา่ งการสรา้ งรายได้ (Income) เรามองวา่ จะท�ำ อยา่ งไรใหเ้ ขาเหน็ ความเชอื่ ม โยงของรายได้สัมพันธ์กับการส่ือสารและสืบสานคุณค่าทางวัฒนธรรม จึงนึกถึงเรื่องการ สรา้ งแบรนด์ (Branding) รวมถงึ การท�ำ การตลาดทางชอ่ งทางออนไลน์ (Online marketing) ไดอ้ อกมาเปน็ แผน 3 ล�ำ ดับ ในการท�ำ งานร่วมกบั โคกสลุง รา่ งออกมาคุยกบั พ่อมดื และ แกนน�ำ ท่านอน่ื ๆ วา่ มาถูกทางหรอื ไม่ ตอ้ งปรบั ตรงไหน 18

ปรับรากฐานจากงานหลังบา้ น ก่อนที่จะลงพื้นท่ีไปจัดกิจกรรมเชิงปฏิบัติการให้กับกลุ่มอาชีพ เป็นจังหวะ ประจวบเหมาะพอดที ที่ างเวทสี ว่ นกลางจดั การอบรมเรอื่ งการคดิ ค�ำ นวณตน้ ทนุ เพอื่ น�ำ มา วิเคราะห์ความคุ้มค่าในการทำ�งาน (Impact value) เช่นกัน เราจึงนำ�เอารูปแบบการจัด กระบวนการในเวทีส่วนกลางมาประยุกต์ใช้ เช่น แบบตารางกรอกข้อมูลท่ีจะช่วยให้กลุ่ม เหน็ ขอ้ มูลแตล่ ะสว่ นในการคดิ เรอื่ งผลประกอบการชดั ขึ้น วนั ทล่ี งไป ผดิ แผนจากทเ่ี ราวางไวม้ าก กจิ กรรม 2 วนั ตง้ั ใจจะใชค้ รง่ึ บา่ ยของวนั แรก และครง่ึ เชา้ ของวนั ท่ี 2 ในการจดั กระบวนการเรยี นรู้ แตก่ ลมุ่ อาชพี เขาไปตลาดนดั ไปขายของ กันหมด แกนนำ�แต่ละท่านมีคิวงานแน่นมาก วันแรกเลยไม่ได้ทำ�อะไรเลย เวลาหายไป คร่งึ หนึ่ง วันท่สี องจงึ ตอ้ งปรับเวลาในการจัดกระบวนการให้กระชบั ขึ้น ตอนเช้าไดเ้ จอกบั กลมุ่ อาชพี หลัก 3 กลมุ่ คือ ทอผา้ โฮมเสตย์ และอาหาร เรายก เอากรณีศึกษาจากกลุ่มอาชีพหน่ึงมาเป็นตัวอย่างให้ทุกคนเรียนรู้พร้อมกันก่อน ชวนเขา ถอดกระบวนการต้ังแต่ต้นน้ำ�ถึงปลายน้ำ� คลี่ให้เห็นว่ามีการทำ�อะไรและมีต้นทุนเกิดข้ึน จากส่วนไหนบา้ ง ตอนน้ันยกเป็นเรอ่ื งการทอผ้าขาว (ผา้ ขาวม้า) เพือ่ จำ�หนา่ ย มคี า่ ใช้จ่าย ทางตรงทเี่ กดิ ขนึ้ เหน็ ไดช้ ดั เปน็ พวกคา่ วตั ถดุ บิ อยา่ งเสน้ ดา้ ย และมคี า่ ใชจ้ า่ ยแฝงทมี่ กั ไมไ่ ด้ นึกถึงกัน เช่น คา่ เดินทาง ค่าโทรศพั ท์ ค่านำ้� ค่าไฟ รวมถึงคา่ แรงในการทำ�งานจนเสร็จ สมบรู ณ์ ซงึ่ ค่าใช้จ่ายตน้ ทุนแท้จริงของสินคา้ จะตอ้ งรวมทงั้ หมดน้เี ข้าดว้ ยกัน ตอนนนั้ เรา วาดเปน็ แผนภาพตามล�ำ ดบั พรอ้ มชวนถอดทลี ะขน้ั เพอ่ื ใหท้ กุ คนเหน็ ภาพและเขา้ ใจตรงกนั หลังจากน้นั ทกุ คนจึงไดล้ องน�ำ เอาวธิ ีการไปปรับค�ำ นวณตามสว่ นหนา้ งานของตนเอง การเรียนรู้เป็นไปดว้ ยดี มีอุปสรรคบ้างในเร่ืองภาษา พ่อมดื จะช่วยแปลคำ�บางค�ำ ให้เป็นภาษาถิ่นหรือคำ�ที่เข้าใจง่ายขึ้น ผลลัพธ์ท่ีได้เกินคาด...พอเขาทราบแล้วว่ามีต้นทุน เท่าไหร่ ผลประกอบการเท่าไหร่ เขาเห็นความคุ้มค่าในการทำ�งานและอยากทำ�งานมาก ข้ึนกว่าเดิม นอกจากนั้นเม่ือกลุ่มอาชีพแต่ละส่วนได้มาคิดวิเคราะห์เชิงธุรกิจร่วมกัน ยัง ทำ�ใหต้ ระหนกั เรือ่ งความเชือ่ มโยงของสินค้าและบรกิ ารทม่ี คี วามเกือ้ หนนุ กันอยู่ เช่น การท�ำ โฮมเสตย์อาจสร้างรายได้ไม่มากเมื่อเทียบกบั สว่ นอืน่ แตก่ ารทีน่ ักทอ่ งเท่ยี วเขา้ มา เรียนรู้วัฒนธรรมผ่านการพักโฮมเสตย์ ก็เป็นการกระตุ้นให้เกิดการซ้ือสินค้าตามไปด้วย เปน็ เสมอื นชน้ิ สว่ นจก๊ิ ซอวท์ เ่ี ขา้ มาตอ่ เปน็ ภาพใหญก่ ระตนุ้ มลู คา่ ทางเศรษฐกจิ ใหแ้ กก่ นั และกนั อกี สงิ่ หนงึ่ ทชี่ าวบา้ นเลง็ เหน็ คอื กระบวนการเรยี นรถู้ งึ คณุ คา่ ทางวฒั นธรรมภายใน พพิ ธิ ภัณฑ์ กม็ สี ว่ นในการกระตุ้นให้นักทอ่ งเทย่ี วซ้อื สินคา้ และบรกิ ารเช่นกัน เพราะสนิ คา้ ในชมุ ชน เชน่ ผ้าขาว (ผา้ ขาวมา้ ) หากมองอยา่ งผวิ เผินอาจไม่ตา่ งจากสินคา้ ทมี่ ีจำ�หน่าย ทั่วไปในท้องตลาด แต่การทอมือด้วยความประณีตผ่านก่ีทอผ้าโบราณ เรียงร้อยเป็น ลวดลายเอกลกั ษณข์ องโคกสลงุ การใส่ใจกระทัง่ นำ้�หนกั ของผา้ ทอทบ่ี ง่ บอกถึงความแน่น หนาและความแข็งแรงของเนอ้ื ผ้า ล้วนเป็นอตั ลักษณ์ของโคกสลงุ และน่ันคือสิ่งทสี่ ามารถ สรา้ งมูลค่าเพิ่มใหก้ บั ผลงานได้ค่ะ “กระบวนการเรียนร้ถู งึ คุณคา่ ทางวัฒนธรรม ภายในพิพธิ ภัณฑ์ มสี ่วนในการกระตุน้ ให้ นกั ท่องเทีย่ วซอ้ื สินคา้ และบรกิ าร” 19

“แบรนดค์ ือสงิ่ ท่ี “อัตลักษณ์ของโคกสลงุ ” คณุ คา่ ทางวฒั นธรรม น�ำ เสนอความเปน็ ตัวตน ทเ่ี ดินหน้าพรอ้ มมูลคา่ ทางเศรษฐกจิ ของเรา สร้างการรับรู้ และการจดจ�ำ ” ผลลพั ธจ์ ากกจิ กรรมกอ่ นหนา้ เดนิ หนา้ ไปเกนิ ความคาดหมายนะ คนในชมุ ชนตระหนกั ถึงความเช่ือมโยงของคุณค่าทางวัฒนธรรมที่สามารถเดินหน้าไปพร้อมมูลค่าทางเศรษฐกิจ 20 ดว้ ยตนเอง จากเพยี งแคเ่ ขาไดม้ านง่ั ขบคดิ และทบทวนกระบวนการท�ำ งานทผ่ี า่ นมาไปดว้ ยกนั เราจงึ สามารถตอ่ ยอดเรอื่ งการสรา้ งแบรนด์ (Branding) ใหแ้ ขง็ แรงตามแผนทว่ี างไวก้ บั พอ่ มดื และแกนนำ�ได้ทันที แต่หัวเรื่องน้ีไม่ใช่ความถนัดของเราเหมือนกระบวนการเรียนรู้ก่อนหน้า เราจงึ ขอความชว่ ยเหลอื จากเพอ่ื นทส่ี นทิ กนั จากงานอดเิ รกเตน้ สวงิ อาจารยจ์ ม้ั (คณุ ชนกมณฐ์ รักษาเกียรติ) ผู้เชี่ยวชาญด้านการออกแบบอัตลักษณ์ (Identity Design Consultant) จาก บรษิ ทั ดี อลั เคเดม่ี จ�ำ กดั นกั สรา้ งแบรนดผ์ มู้ ปี ระสบการณใ์ นการท�ำ งานเพอ่ื สงั คม ผลงานเดน่ คอื การสรา้ งแบรนด์ใหก้ ับจังหวดั ยะลา ‘Yala Bird City’ เมื่อเราเล่าเรอ่ื งเก่ียวกบั ‘โคกสลุง’ ให้อาจารย์จัม้ ฟัง พรอ้ มเหตผุ ลว่าเพราะอะไรท่นี ี่ จึงควรเรียนรู้เร่ืองนี้ อาจารย์ก็ตอบรับยินดีมาร่วมงานทันที โดยสามารถจัดสรรเวลาลงตัว ท้งั ทางอาจารย์และชมุ ชนได้ 2 วัน อาจารยจ์ มั้ ยอ่ เอาสงิ่ ทต่ี อ้ งสอนในรวั้ มหาวทิ ยาลยั 1 เทอม มาเปน็ บทเรยี นสน้ั กระชบั 1 วนั บรรยายใหก้ ลมุ่ อาชพี และแกนน�ำ เขา้ ใจวา่ ‘แบรนดค์ อื สงิ่ ทน่ี �ำ เสนอความเปน็ ตวั ตนของ เรา สรา้ งการรบั รแู้ ละการจดจ�ำ เพราะปจั จบุ นั สนิ คา้ มหี ลากหลายมากขนึ้ มกี ารแขง่ ขนั สงู ถา้ สนิ คา้ เราไมไ่ ดร้ บั การจดจ�ำ สนิ คา้ กอ็ าจขายไมไ่ ด’้ ในวนั แรกอาจารยจ์ ม้ั ไดน้ �ำ ตวั อยา่ งแบรนด์ มากมายมาให้ลองสังเกตและวิเคราะห์ด้วยกัน รวมถึงยกเอาตัวอย่างการพัฒนาแบรนด์

‘Yala Bird City’ ให้กับจังหวดั ยะลามาใหด้ ูกรณีศึกษาการ เมื่อได้ตัวชูแบรนด์แล้ว อาจารย์จั้มชวนวิเคราะห์ สร้างสรรค์แบรนด์เพ่ือสังคม ซึ่งเป็นกรณีคล้ายกับโคกสลุง เร่ืองสีสันท่ีจะสื่อสารถึงความเป็นโคกสลุง ได้ออกมาเป็น อาจารย์จั้มมองว่า ‘การท่ีโคกสลุงมีแบรนด์ จะสามารถ ‘สีครีม’ สื่อถึงการเป็นคนโอบอ้อมอารีย์ของคนท่ีน่ี คู่กับ สรา้ งเมด็ เงนิ เขา้ สชู่ มุ ชนได้ และยงั เปน็ เศรษฐกจิ สรา้ งสรรค์ ‘สีนำ้�ตาล’ สะท้อนถึงความอุดมสมบูรณ์และการใช้ชีวิต (Creative Economy) ทผี่ สานความสมดลุ ระหวา่ งคณุ คา่ ทา่ มกลางธรรมชาติ ทัง้ สองสีน้ีเป็นสีของผา้ ย้อมธรรมชาติ ทางวัฒนธรรมและมลู คา่ ทางเศรษฐกจิ ได้เปน็ อย่างดี’ ทค่ี นโคกสลงุ ไดท้ �ำ ชดุ สี (Color tone) ขน้ึ มาจากการยอ้ มดว้ ย ในวันท่ี 2 อาจารย์จั้มชวนแกนนำ�และกลุ่มอาชีพ วัสดุธรรมชาติด้วยตนเอง โดยอัตลักษณ์ตัวชูโรงท้ังหมด สรา้ ง ‘แบรนดโ์ คกสลงุ ’ ต่อ ดังนนั้ เพ่อื ใหส้ ามารถส่ือสาร ผู้ดำ�เนินงานด้านกราฟิกของชุมชนจะเป็นผู้นำ�ไปออกแบบ ความเป็นโคกสลุงออกมาได้ดีท่ีสุด อาจารย์จึงให้ทุกคน โลโก้ (Logo) และบรรจุภณั ฑ์ (Package) ใหมต่ ่อไป คิดถึงอัตลักษณค์ วามเป็นโคกสลุง 3 อยา่ ง โดย 3 อันดับ ชว่ งสุดท้ายของการพัฒนาแบรนด์ อาจารยจ์ ้มั ชวน ผลโหวตสูงสุด คือ ‘ย่ามผ้าขาว’ ย่ามที่เกิดจากการทอ คุยเร่ืองการพัฒนาผลิตภัณฑ์ให้น่าสนใจ ตอบโจทย์กลุ่ม ผ้าขาวเป็นลวดลายสำ�หรับการผลิตย่ามของโคกสลุง เปา้ หมายหลากหลาย และมรี าคาเหมาะสมกบั นกั ทอ่ งเทย่ี ว โดยเฉพาะ ‘พรกิ ตะเกลอื ’ เครอ่ื งจมิ้ สตู รเฉพาะโดดเดน่ ดว้ ย ทจ่ี ะยนิ ดเี ลอื กซอ้ื สนิ คา้ โดยสง่ิ ทช่ี วนคยุ ควบคกู่ นั คอื การขาย รสมะแขว่นเคล้ากับรสเค็มเผ็ดปะแล่มของเกลือและ เรอ่ื งราว (Story) ไปพรอ้ มสนิ คา้ และบรกิ าร เชน่ ผา้ ทอกอ็ าจ พริกแห้ง น่ารับประทานจนต้องฉวยมะม่วงมาคดเอา ใส่คำ�อธิบายกระบวนการทอ ลวดลาย รวมถึงวันท่ีเร่ิมทอ เครื่องปรุงรสนี้เข้าปาก อีกอย่างที่ขาดไม่ได้คือ ‘สกุลสลุง’ และวันท่ีผ้าทอผืนน้ีเสร็จสมบูรณ์พร้อมจำ�หน่ายลงไปบน คนสว่ นใหญใ่ นชมุ ชนล้วนมีค�ำ ว่า ‘สลุง’ เป็นส่วนประกอบ บรรจภุ ณั ฑ์ เพอ่ื ใหเ้ ปน็ มากกวา่ ผา้ ทอผนื หนง่ึ แตเ่ ปน็ คณุ คา่ 21 ของนามสกุล ทางใจด้วย

“คนในชุมชนเก่งและเขม้ แข็งมาก เราได้เรียนรู้ความมุง่ ม่ันของคนทน่ี ี่” ปัจจบุ ันผลงานท้งั สินค้า บรรจภุ ัณฑ์ และโลโก้ กำ�ลังอย่ใู นช่วงการพัฒนา โดยมกี ารสง่ มาให้เราและอาจารยจ์ ้มั ช่วยใหค้ �ำ แนะน�ำ เปน็ ระยะคะ่ หลงั บ้านพร้อม หน้าบ้านพร้อม ถึงเวลานำ�เสนอ ตอนนที้ งั้ หลงั บา้ นและหนา้ บา้ นพรอ้ มแลว้ คะ่ อาจจะยงั ไมไ่ ดถ้ งึ ขนั้ สมบรู ณ์ แต่ทุกคนเข้าใจส่งิ ที่กำ�ลงั ท�ำ อยู่ เปน็ ไปตามแผนที่เราคุยไวก้ บั พ่อมืด แผนช่วงที่ 3 เปน็ เร่อื งการท�ำ การตลาดทางออนไลน์ (Online marketing) ซึ่งการพฒั นาเรือ่ งการ สอ่ื สารจะมที มี งานสว่ นกลางของโครงการเขา้ มาชว่ ยจดั กระบวนการเรยี นรเู้ พอ่ื หนนุ เสริมแนวทางแผนงานที่เราวางไว้ วันน้ันตอนไปเจอทีมส่ือท่ีหน้างานตกใจค่ะ ขนกนั มาเยอะมาก 7 - 8 คน (หัวเราะ) ช่วงน้ีกลุ่มคนทีเ่ ขา้ มาร่วมกระบวนการเรียนรู้จะเยอะกว่า 2 ช่วงกอ่ นหน้า น้ี ในรอบนีเ้ ราชวนน้องๆ ‘กลมุ่ เมลด็ ข้าวเปลือก’ ซงึ่ เปน็ เยาวชนรุ่นใหมข่ องชุมชน เขา้ มามสี ว่ นรว่ มดว้ ย เพราะมองวา่ การสอื่ สารควรใชส้ อ่ื โซเชยี ลมเี ดยี (Social media) ทมี่ ตี น้ ทนุ ในการผลติ ไมม่ าก แตส่ ามารถน�ำ เสนอเปน็ สอ่ื ไดห้ ลากหลาย ทงั้ เรอื่ งราว ภาพน่งิ และภาพเคลอื่ นไหว เดก็ วัยรุ่นสมยั น้มี พี นื้ ฐานการใชโ้ ซเชียลมเี ดยี อยแู่ ล้ว จึงอยากให้เข้ามาเรียนร้เู ปน็ ประสบการณ์ และเปน็ กำ�ลงั เรื่องการท�ำ งานสื่อสารให้ กบั พนื้ ที่ เทคนิคการสื่อสารท่ีทีมสื่อเอามาสอนเข้าใจง่ายมาก เขาสอนต้ังแต่การ คดั เลอื กเนอ้ื หาเพอ่ื สอ่ื สารไปถงึ กลมุ่ เปา้ หมาย การน�ำ เสนอเรอ่ื งราว ไปจนถงึ ขน้ั ตอน การผลิต โดยมีพ่ีเล้ียงประกบอย่างใกล้ชิดทุกกลุ่ม เหมือนเป็นการฝึกทำ�งานจริง (Job training) เลย อกี สว่ นหนงึ่ ทน่ี า่ สนใจคอื อปุ กรณใ์ นการผลติ สอ่ื เขาใหใ้ ชอ้ ปุ กรณ์ ที่มีอยแู่ ล้วอย่างมอื ถือมาผลิตสือ่ ทำ�เสรจ็ แลว้ ก็โพสตไ์ ดเ้ ลย เห็นผลทนั ที ผลลพั ธ์ เปน็ ทนี่ า่ พอใจ มกี ระแสตอบรบั ดมี าก เรอ่ื งราวความนา่ สนใจของโคกสลงุ เขา้ ถงึ คน มากกวา่ ครึ่งแสนภายในเวลาเพยี งไม่กีว่ ัน ความประทับใจอย่างหน่งึ ทเี่ ราได้เหน็ จากเวทนี ้ี คอื การท�ำ งานร่วมกนั ของ ผู้ใหญ่และเด็กในชุมชน เขาทำ�งานร่วมกันได้เป็นอย่างดี ต่างฝ่ายต่างเข้าหาและ เรียนรู้ไปด้วยกัน ให้เกียรติและรับฟังความคิดเห็นท่ีแตกต่าง ผสานเข้าหากัน บรรยากาศในการเรียนร้ไู หลล่นื เป็นอย่างดี เปน็ การปดิ ฉากการทำ�งานของร่วมกับ พ่อมืด แกนน�ำ และคนในพ้ืนที่อยา่ งน่าประทับใจ 22

หว่ งเรอื่ งมลู ค่าทางเศรษฐกจิ จะแซงหน้าคณุ คา่ ทาง ไดห้ นนุ เสรมิ เรอ่ื ง วฒั นธรรมหรือไม?่ ‘การสร้างสมดุลระหวา่ ง คุณค่าทางวฒั นธรรม ต้ังแต่ต้นจบจบกระบวนการทำ�งานไม่ห่วงเลยค่ะ พ่อมืดมีจุดยืนท่ีชัดเจน แกนนำ� กบั มลู คา่ ทางเศรษฐกิจ’ กลุ่มอาชีพต่างๆ รวมถึงคนในชุมชนทุกช่วงวัยต่างเข้าใจส่ิงท่ีกำ�ลังทำ�อยู่ คนวัยทำ�งานใน ...ผลลัพธอ์ าจไม่ได้ ปัจจุบันต่างตระหนักว่าสิ่งท่ีกำ�ลังทำ�มีเป้าหมายเพื่อ ‘สร้างทางกลับบ้านให้กับลูกหลาน’ ไปถงึ ความเช่ียวชาญ เป็นการสร้างความมน่ั คงให้อาชีพ และรกั ษาคุณคา่ ทางวฒั นธรรมอย่างย่ังยนื การที่ชมุ ชนนี้ หรือความสำ�เร็จ มีพิพิธภัณฑ์เป็นศูนย์กลางของคนในชุมชน มันทำ�ให้เกิดความผูกพัน หล่อหลอมทัศนคติ แตค่ นในชมุ ชน ในการเป็นส่วนหน่ึงของคุณค่าทางวัฒนธรรม และทำ�ให้ชุมชนแห่งนี้เข้มแข็งจากภายใน เห็นถงึ แนวทาง ภายนอกจึงเขา้ มาแทรกแซงไดย้ าก ในการจะยกระดับ มลู คา่ ทางเศรษฐกิจ ผลลัพธ์ 7 เดอื นของการท�ำ งาน พอใจหรอื ไม?่ เพ่ือสร้างความยง่ั ยืน มคี วามสขุ (ยม้ิ ) เปน็ ไปตามเปา้ ทเี่ ราวางไว้ ไดห้ นนุ เสรมิ เรอื่ ง ‘การสรา้ งสมดลุ ระหวา่ ง 23 คุณค่าทางวัฒนธรรมกับมูลค่าทางเศรษฐกิจ’ ทุกอย่างเป็นไปตามแผนและตามลำ�ดับใน การเรยี นรทู้ เ่ี หมาะสม ผลลพั ธข์ องกระบวนการอาจไมไ่ ดไ้ ปถงึ ความเชยี่ วชาญหรอื ความส�ำ เรจ็ แต่คนในชุมชนเห็นถึงแนวทางในการจะยกระดับมูลค่าทางเศรษฐกิจเพ่ือสร้างความยั่งยืน ถ้าถามว่าตอนน้ีอยากจะเสริมอะไรให้ที่น่ีอีกหรือไม่ ก็ยังไม่มีค่ะ ตอนนี้เราอยากให้เขานำ� สิง่ ทีไ่ ด้เรียนรไู้ ปพัฒนาอย่างตอ่ เนอ่ื งจนเห็นผลไปตามล�ำ ดับ

คนในชมุ ชนเกง่ และเขม้ แขง็ มาก เราไดเ้ รยี นรคู้ วามมงุ่ มนั่ ของ คนท่ีนี่ การใช้ชีวิตแบบสโลว์ไลฟ์ (Slow life) อยู่กับวิถีธรรมชาติ ใกลช้ ดิ กบั คนมนี �ำ้ ใจ ลองกนิ อาหารรสชาตใิ หม่ เปน็ ประสบการณท์ ด่ี ี มากค่ะ เราชอบช่วงเวลา 7 เดอื นท่ผี ่านมานะ สนุกดี ได้ใช้ทักษะท่ี เรามีอย่างการบริหารโครงการ (Project management) มาบริหาร การท�ำ งานใหบ้ รรลเุ ปา้ หมายตามทเ่ี ราวางไว้ การท�ำ งานทน่ี แ่ี ตกตา่ ง จากการท�ำ ธรุ กจิ เพอื่ ผลก�ำ ไร แตเ่ ปน็ ‘Intrapreneur’ หรอื ‘เพอ่ื น ทเ่ี ดนิ ไปด้วยกนั ’ 24

คน้ หานยิ าม 25 พังงาแหง่ ความสขุ แบบ...ยรุ นันท์ ย้มิ สาระ “ยรุ นนั ท์ ยิม้ สาระ” หรอื “ทอม” ผู้ชายท่ี ‘แค่อยากมีความสขุ กบั ชวี ติ ’ ทุกเส้นทางทเ่ี ขาเลอื ก ทกุ เรอ่ื งท่ีเขาท�ำ มนั จึงเป็นการเตมิ เตม็ ความสขุ ในชีวติ ของเขา การไดท้ ำ�งานเป็นส่วนหนงึ่ ของพังงาแหง่ ความสขุ ครั้งน้ีกเ็ ช่นกัน กา้ วแรกสูพ่ ังงาแหง่ ความสุข เริ่มแรกเลยเราเห็นประกาศหาคนไปร่วมงานเป็น ‘Intrapreneur for Change’ ในเพจของ School of Changemakers (SOC) ก็สนใจ เพราะงานน้ีใช้ เวลาวา่ งวนั เสาร-์ อาทติ ย์ อกี อยา่ งมนั เปน็ งานทพ่ี น่ี ยุ้ (พรจรรย์ ไกรวตั นสุ สรณ์ รองผู้อำ�นวยการมูลนิธิ อโชก้า ประเทศไทย) ดูแล เราเคยเข้าไปช่วยงาน พี่นุ้ยเป็นโคชอาสาช่วยให้คำ�ปรึกษาและแลกเปล่ียนมุมมองจากการทำ�งาน เรื่องการออกแบบหลักสูตร (Training) ของเราให้กับคนรุ่นใหม่ท่ีอยากทำ�งาน เพอื่ เปลีย่ นแปลงสงั คมอยู่ 1 ปี พ่ีนยุ้ เป็นคนเอาจรงิ เอาจงั กับงาน ทำ�อะไรแล้ว ต้องได้เน้ือจริง ถ้าเราเข้าไปทำ�งานตรงน้ี น่าจะได้ฝึกตัวเอง ได้ความรู้และ ประสบการณ์ ไม่มีอะไรต้องเสียเลยนอกจากเวลากับแรงนิดหน่อย แล้วเราก็ สนใจอยากลองทำ�งานกับภาคประชาสังคม (NGOs) เป็นทุนเดิมอยูแ่ ล้วดว้ ย

ท�ำ ไมต้องพงั งา แรกพบ...ทมี พงั งา วนั แรกทไ่ี ดป้ ระชมุ กนั พน่ี ยุ้ ใหเ้ ลอื กวา่ ครั้งแรกที่เจอกันเป็นตอนท่ีพี่ไมตรี อยากทำ�พ้ืนที่ไหนจาก 4 พ้ืนท่ี ขอนแก่น (ไมตรี จงไกรจกั ร)์ พ่จี ้ี (ชาตรี มลู สาร) และ เชยี งราย ลพบรุ ี และพงั งา ในใจมีอยู่ 2 ที่คอื พ่ีน้อย (กำ�ธร ขันธรรม) จากสมาคมประชา ลพบรุ ี กบั พงั งา แตส่ ดุ ทา้ ยกเ็ ลอื กพงั งาเพราะ สังคมพังงาแห่งความสุขที่ขึ้นมาร่วมเวที พี่นุ้ยเล่าให้ฟังว่าที่นี่จะทำ�งานยากหน่อย กิจกรรมเชงิ ปฏิบตั ิการ (Workshop) เกี่ยวกับ พีๆ่ ไม่คอ่ ยมีเวลา แต่เขาเป็นคนจรงิ จรงิ จงั การทำ� Scaling Impact ท่กี รงุ เทพฯ เป็นเวที กบั การท�ำ งาน ท�ำ อะไรตอ้ งไดผ้ ลงานออกมา ท่ีให้พ้ืนที่ต่างๆ ได้มาทบทวนเป้าหมาย ซ่ึงเหมาะกับเราเพราะเป็นคนจริงจังกับงาน ว่าส่ิงที่กำ�ลังทำ�อยู่มันใช่ตัวเองหรือเปล่า เหมือนกัน อีกอย่างพ่ีนุ้ยมองว่าเราเป็นคน ระหว่างการทำ�งานผ่านเร่ืองราวอะไรมาบ้าง ใจเย็น ฟังมากกว่าพูด น่าจะเข้ากับพื้นท่ี จุดเด่นขององค์กรคืออะไร สิ่งท่ีอยากจะ ไดง้ า่ ย จะไดไ้ ปชว่ ยเกบ็ ประเดน็ ชว่ ยฟงั ชว่ ย เปลีย่ นแปลงคืออะไร แล้วกลยุทธท์ ่ีจะน�ำ พา เขยี น ช่วยสรุปความตอ้ งการของพวกพ่เี ขา ไปสู่ความเปล่ียนแปลงนั้นเพื่อให้องค์กร โจทย์แรกท่ีได้จากพี่นุ้ยคือ อยากให้ อยรู่ อดไดเ้ ปน็ อยา่ งไร ตอนพดู คยุ กนั เกย่ี วกบั เข้าไปแลกเปลี่ยนมุมมองการทำ�งาน เรียนรู้ การท�ำ งานทผ่ี า่ นมาของพวกพเ่ี ขา เหน็ เลยวา่ ไปพร้อมกันกับพ้ืนที่ แล้วเอาประสบการณ์ ทำ�งานกันจริงจังและทำ�กันมาเยอะมาก 26 ด้านธุรกิจของเราไปช่วยทำ�ให้พ่ีเขามองเห็น สุดท้ายวันน้ันก็ได้สามประเด็นหลักที่ต้องทำ� ความเป็นไปได้ในการทำ�ให้องค์กรอยู่รอด ในตอนนน้ั เลย โดยไมต่ อ้ งพง่ึ พาเงนิ ทนุ จากภายนอก ทงั้ จาก ภาครัฐหรอื จากหนว่ ยงานอ่ืนๆ

เร่ิมจากการจัดองค์กรของตัวเองก่อน เพราะ เปน็ เงนิ เดอื นใหค้ นทจ่ี ะเขา้ มาชว่ ยท�ำ งาน การจดั อบรมตา่ งๆ ตอนนยี้ งั เปน็ องคก์ รทหี่ ลวมมาก คนท�ำ งานหลกั ๆ มกี นั แค่ ตามทเ่ี ครอื ขา่ ยการท�ำ งานตอ้ งการเพอ่ื การพฒั นาศกั ยภาพ สามคน ไม่มีค่าจ้าง ใครว่างก็เข้ามาทำ�งานตรงน้ี ซ่ึงมัน ของตวั เอง เป็นทุนหมนุ เวียนในองคก์ ร กจ็ ะท�ำ ใหส้ ามารถ ไมต่ อ่ เนอ่ื ง อยากใหม้ คี นทที่ �ำ งานเปน็ ประจ�ำ และแบง่ หนา้ ที่ ทำ�งานบนโจทย์ของตัวเองได้เต็มท่ี ไม่ต้องกลับไปพ่ึงพิง ให้ชัดเจน จะได้ช่วยกันให้การดำ�เนินงานมันไปต่อได้ ทนุ จากภายนอกอีก อย่างท่ีสองคือ การทำ�ประชาสัมพันธ์และทำ�การตลาด (Marketing) เพราะท�ำ งานกนั มาเยอะ แตค่ นขา้ งนอกกย็ งั งง เมื่อความต้องการชัด พวกเรามาน่ังคุยกันว่าแล้ว ว่าพังงาแห่งความสุขคืออะไร ถ้ามีการจัดระบบงานใหม่ ตอนน้ีพวกพี่เขามีอะไรบ้างท่ีจะนำ�ไปสู่การสร้างรายได้ รวบรวมผลงานทท่ี �ำ อยู่ ผลงานทท่ี �ำ เสรจ็ แลว้ และผลกระทบ ข้ึนมาได้ พี่ๆ เขาก็บอกว่าในพังงามีพื้นที่คล้ายแหล่ง ท่ีเกิดข้ึน เอาไปประชาสัมพันธ์ น่าจะช่วยให้ภาพการรับรู้ เรียนรู้อยู่ 5 - 6 พื้นท่ี แต่ละพืน้ ทีม่ ีผู้มปี ระสบการณ์ท่สี อน ของพังงาแห่งความสุขชัดเจนขึ้น สุดท้ายคือเร่ืองของการ เรือ่ งตา่ งๆ ได้ เราฟงั ตอนแรก ก็เอ๊ะ...มนั เปน็ อยา่ งไร มันดี หารายได้ ตอนน้ีรายได้หลักในการทำ�งานมาจากแหล่งทุน อยา่ งไร มนั พรอ้ มขนาดไหน เรายงั ไมเ่ หน็ ภาพ แตเ่ หน็ ภาพ ต่างๆ ซ่ึงแต่ละแหล่งทุนก็มีเป้าหมายต่างกัน ทำ�ให้งาน ครา่ วๆ วา่ ถา้ มตี รงนก้ี อ็ าจสรา้ งเปน็ หลกั สตู ร “มหาลยั พงั งา ท่ีองค์กรทำ�อยู่ตอนนี้ต้องไปตอบโจทย์แต่ละแหล่งทุน แห่งความสุข” ท่ีเกี่ยวกับการเรียนรู้ดูงานควบคู่ไปกับการ ถา้ สามารถสร้างรายได้ปลี ะประมาณ 1.7 ลา้ นบาท เพือ่ ใช้ ท่องเที่ยว เพอื่ สร้างรายได้จากคนท่เี ข้ามาเรยี นรู้ได้ 27

พงั งาเท่ียวท่ี 1 ลงพื้นท.ี่ ..ตามหาความสุขแบบพงั งา หลงั จากตกลงกนั ว่าจะลงพืน้ ท่ี เราก็ต้งั ประเด็นกบั ตวั เองไว้วา่ การลงคร้งั นจ้ี ะต้อง มองหาจดุ ขายทส่ี รา้ งความแตกตา่ ง เพอ่ื จะสรา้ งหลกั สตู รทน่ี า่ สนใจของแตล่ ะพน้ื ทใ่ี หเ้ กดิ ขน้ึ ความสนุกมันเร่ิมตั้งแต่เตรียมลงพื้นท่ีคร้ังแรกเลย ตอนแรกคิดว่าพวกพี่ไมตรีจะไปด้วย แตพ่ วกพเ่ี ขาไมว่ า่ ง แลว้ จะไปกนั อยา่ งไร แตพ่ ไ่ี มตรบี อกวา่ ไมเ่ ปน็ ไรพจี่ ดั ให้ แกกไ็ ปประสาน พ้ืนท่ีให้เราไว้ก่อน แล้วก็บอกเราว่า ‘ทอมโทรไปเบอร์นี้นะ หาพ่ีคนน้ีนะ เขาจะอยู่ที่น่ี ไปหาเขาเดีย๋ วเขาพาไปเอง’ งงเหมือนกันนะ แตไ่ ม่เปน็ ไรลองดู (หัวเราะ) พอไปถงึ ทพ่ี งั งาเรากท็ �ำ ตามทพ่ี ไ่ี มตรบี อกเลย โทรหาพด่ี า (วนดิ า ชสู วุ รรณ ประธาน สภาองคก์ รชมุ ชนต�ำ บลโคกเจริญ) นดั เจอกันที่โรงพยาบาลซง่ึ เปน็ เหมอื นจดุ ศนู ย์รวมของ ชมุ ชน เขากพ็ าไปดโู รงเรยี นเกษยี ณวยั พาผสู้ งู อายแุ ตง่ ตวั ชดุ นกั เรยี นมาใหเ้ ราชม ท�ำ ปนิ่ โต อาหารสขุ ภาพทีเ่ ป็นอาหารพน้ื บา้ นงา่ ยๆ มาใหเ้ รากนิ ดว้ ย ก็รสู้ กึ เออ ครบเลยในครงึ่ วนั เรว็ มาก แลว้ ทุกอย่างจัดการไดด้ มี าก แคท่ แี่ รกเรากพ็ อจะเหน็ ภาพแล้วว่าพังงาไมธ่ รรมดา ท่นี ่ีเจ๋งจรงิ ช่วงบา่ ยไปท่ีโคกไคร ต�ำ บลมะรุย่ ซงึ่ เน้นการทอ่ งเทยี่ วทางทะเล น่งั เรอื หวั โทง ชมวิวป่าชายเลน เที่ยวถ้ำ�ลอด สปาโคลน ร้านอาหารชุมชน ได้กินอาหารท่ีใช้วัตถุดิบ มคี ุณภาพ ราคาไมแ่ พง แลว้ นอนพกั กันที่โฮมสเตยใ์ นชมุ ชน รุง่ ขึน้ ไปตอ่ กันท่ตี ำ�บลรมณีย์ ทน่ี น่ั มกี ารบรหิ ารกองทนุ สวสั ดกิ ารชมุ ชนทเ่ี ขม้ แขง็ และมสี ถานทท่ี อ่ งเทย่ี วเปน็ บอ่ น�ำ้ พรุ อ้ น ซ่ึงบริหารจดั การโดยชุมชนเอง น่าท่งึ มากทช่ี มุ ชนทำ�กนั ไดข้ นาดนี้ การลงพืน้ ทีค่ รัง้ แรกท�ำ ใหภ้ าพทัง้ หมดมนั ชดั ขน้ึ แต่ละพนื้ ท่ีท�ำ งานกนั จริง ประสบ ความส�ำ เรจ็ จริง มคี นทำ�งานอยตู่ รงนน้ั เปน็ กลุม่ ที่มที งั้ ความร้แู ละประสบการณ์ แลว้ ก็มี ผลงานท่ีผ่านการยืนยัน เรามองว่าเป็นจุดที่พีคพอดี เขาเหมาะกับการเป็นคนถ่ายทอด เรื่องราวความสุขของคนพังงาให้กับผู้อ่ืนต่อแล้ว ข้อดีอีกอย่างคือแต่ละพ้ืนท่ีทำ�เรื่องของ ตวั เองจนเช่ยี วชาญและโดดเดน่ ขึ้นมาโดยไม่ซ้ำ�กันเลย ทำ�ใหเ้ รามหี ลายมุมท่ีจะน�ำ เสนอ ทำ�เป็นแพ็คเกจขายได้ เสริมด้วยทรัพยากรท่ีพังงามีอยู่แล้ว ทั้งชายหาด ทะเล วัตถุดิบ อาหาร ทพ่ี กั ซงึ่ มรี าคาถกู แตค่ ณุ ภาพดี ทน่ี ยี่ งั ใหม่ ยงั ไมไ่ ดถ้ กู โปรโมทมากจนช�้ำ ยงั มอี ะไร ท่ีเอามาขายได้อีกเยอะ พอได้ลงพ้ืนท่ียิ่งทำ�ให้ม่ันใจว่าการเอาเร่ืองการท่องเท่ียวมารวม กับการเรียนรู้มาสร้างเป็นคอร์สมันน่าจะประสบความสำ�เร็จ พงั งาเทย่ี วที่ 2 : เปลยี่ นความคดิ ทศั นคตกิ ารท�ำ งาน ครงั้ นไี้ ดม้ โี อกาสไปดพู ๆ่ี เขาจดั อบรมหลกั สตู รพฒั นาศกั ยภาพแกนน�ำ ภาคประชา สงั คมในพนื้ ที่ กไ็ ดเ้ หน็ กลมุ่ แกนน�ำ ทท่ี �ำ งานยทุ ธศาสตรจ์ งั หวดั พงั งา เขาดเู ปน็ ทมี ท�ำ งานที่ เข้มแข็งมาก น่าจะสร้างอะไรดีๆ ให้เกิดขึ้นได้ ช่วงเย็นได้ข้ึนไปพักบนเขาไข่นุ้ยร่วมกับ พวกพ่ีเขา เราได้สรุปใหเ้ ขาฟังวา่ เราไดพ้ บเหน็ ได้เจออะไรมาบ้างจากการลงพื้นทค่ี รัง้ แรก แล้วก็ถามพๆ่ี เขาในเชิงลกึ เก่ยี วกับการจดั อบรมวา่ พวกพี่เขาเคยทำ�กันอย่างไร เคยจดั ให้ ใครบา้ ง สถานที่ไหน ผลเป็นอยา่ งไร คดิ เงินเท่าไหร่ ซง่ึ เขาก็บอกวา่ เขาคือตวั กลางในการ ประสานงาน ใครอยากดูงานที่ไหนก็จะเป็นคนประสานพื้นที่ให้ แล้วส่งให้พื้นท่ีดูแลต่อ ไม่ได้คิดค่าใช้จ่ายอะไร ใหเ้ ท่าไหร่กเ็ ท่านนั้ สว่ นใหญ่ก็ท�ำ ให้ฟรี สิง่ ท่พี เี่ ขาบอกเหมือนว่า เขาไมไ่ ดท้ �ำ อะไร แต่ส�ำ หรับตวั เราคิดว่ามนั เป็นอีกหนึง่ หลกั สูตรได้เลยนะ คนตรงกลางเขา มวี ธิ กี ารท�ำ งานอยา่ งไรถงึ เชอื่ มพนื้ ทมี่ ากมายใหเ้ ขา้ มาท�ำ งานรว่ มกนั ได้ ตรงนนี้ า่ สนใจมาก 28

ก่อนกลับได้ไปดูหาดท้ายเหมือง เป็นแหล่งท่องเท่ียวที่น่า ไปมาก มันสวยจริงๆ จุดสุดท้ายไปท่ีเป็นจุดหลักของการลงพื้นท่ี คร้งั นคี้ อื บา้ นน�้ำ เคม็ ได้ไปเจอกบั พีเ่ ล็ก (ประยรู จงไกรจกั ร์) พช่ี าย ของพไ่ี มตรี พอไดค้ ยุ รเู้ ลยวา่ แกเปน็ เทพดา้ นการอบรม ปหี นง่ึ มคี น มาอบรมกบั แกกวา่ 20 คณะ มีตั้งแต่ 5 คน ไปถึง 100 คน ตอนนี้ มีคนกวา่ 65 ประเทศแล้ว ทเี่ คยมาดงู านท่ีน่ี วิธีการสอนจะสอน เปน็ ทมี แบง่ บทบาทใหค้ นในทมี ไดส้ อนในเรอ่ื งทถี่ นดั ไมม่ กี ารสอน คนเดยี ว โดยอบรมใหต้ ามทผ่ี เู้ รยี นตอ้ งการ อยากรเู้ รอื่ งอะไรไดห้ มด ทง้ั เรื่องการจัดการภยั พบิ ัติ การซ้อมหลบภยั การจดั การทมี ฯลฯ เราก็คอยถามว่าเร่ืองไหนคนสนใจมาเรียนเยอะท่ีสุด สอนแล้วดี คนชอบ เราต้องดงึ มาเปน็ จดุ ขายของหลักสตู ร จากการพูดคุยครั้งน้ีทำ�ให้เราเปลี่ยนความคิดการทำ�งาน ไปเหมือนกัน ปกติการสร้างหลักสูตรเราจะมองในมุมว่าถ้าสอน เร่ืองใดเร่ืองหน่ึง มันต้องเรียนตามลำ�ดับหน่ึง สอง สาม ส่ี ตาม ทฤษฎี แต่ในความเป็นจริงพี่เขาอาจจะไม่สามารถสอนได้ทุกเร่ือง อย่างท่ีเราอยากได้ เขาอาจถนัดแค่เร่อื งท่สี องกับส่ี เลยพยายาม มองมมุ ใหม่ เปลยี่ นความคดิ เปน็ การมองวา่ เขามอี ะไรดี มอี ะไรเดน่ แล้วเอาเรื่องพวกนั้นมาทำ�เป็นหลักสูตรที่เน้นการเรียนรู้จาก ประสบการณ์จรงิ ให้เขาเอาเรือ่ งทถ่ี นดั มาสอน ไมใ่ ชเ่ อาทฤษฎีไป จับไปครอบเขาไว้ ไปบังคับใหเ้ ขาสอนตามที่เราวาง พงั งาเทีย่ วที่ 3 กอ่ ร่างสร้างหลกั สตู ร สองครงั้ ทผี่ า่ นมาท�ำ ใหเ้ รามขี อ้ มลู มากขน้ึ เรม่ิ ทจ่ี ะหาไอเดยี 29 แลว้ วา่ แตล่ ะพน้ื ทจ่ี ะท�ำ หลกั สตู รอะไร จะขายอะไร ทเี่ นน้ ความถนดั ของแต่ละพื้นที่ ครัง้ นเ้ี ราไปพ้นื ท่สี ุดทา้ ยเกาะยาวน้อย ซง่ึ เดน่ เรือ่ ง การจดั การชมุ ชนและจดั การขยะ เปน็ ครง้ั แรกทจี่ ะไดอ้ ยกู่ บั พวกพๆ่ี ตลอดสองวัน เราจึงเตรียมตัวเต็มท่ีเลยว่าจะคุยเรื่องอะไรบ้าง ท้ังเรื่องการสร้างหลักสูตรและเร่ืองแผนงานที่จะทำ�ต่อไป เตรียม เคร่อื งมอื ท่จี ะท�ำ ใหพ้ ่เี ขาเห็นภาพการทำ�ธรุ กิจ การขายหลกั สตู รไว้ เต็มเลย ทัง้ เครือ่ งมือ Bussiness Model Canvas เพอื่ ทบทวนการ ท�ำ ธุรกจิ อย่างรอบด้าน เคร่ืองมือ Business Model Strategy เพอื่ ก�ำ หนดกลยทุ ธก์ ารด�ำ เนนิ การ และ SWOT Model เพอื่ ประเมนิ ผล เบื้องต้นของรูปแบบธุรกิจรวมถึงความเป็นไปได้ แต่สรุปวันแรก ไม่ได้คุยกันเลย ไปดูพ้ืนที่กัน... กินข้าวก่อนทอม... แล้วก็นอน (หัวเราะ) อีกวันเราเลยรบี ขายไอเดียของเราเลย ลองใหพ้ ่ีๆ เขาใช้ เคร่ืองมือเลย แต่เรารู้สึกเลยว่ามันไม่ใช่ มันยังไม่เหมาะกับพ่ีเขา น่าจะเพราะเขาเห็นภาพไมช่ ดั กบั เรอื่ งเครื่องมือทีเ่ ราให้ไป รู้เลยวา่ ไมด่ เี ทา่ ไหร่ แต่กโ็ อเคไม่เป็นไร ไมฝ่ ืน เดย๋ี วค่อยหาเวลาว่างคุยกนั อกี ที

‘จะทำ�ยงั ไงใหค้ นท่ี ระหวา่ งนั้นเรากเ็ รม่ิ โยง 5 พื้นที่ท่ีคิดจะทำ�เป็นหลักสตู รเข้ากบั 10 กลยทุ ธ์พังงาแหง่ เขา้ ร่วมการท�ำ หลักสูตร ความสุขว่ามันตอบโจทย์ได้หรือเปล่า ปรากฏว่ามันตรงกันพอดี ท้ัง 5 พื้นท่ีมันตอบแต่ละ เห็นภาพเดียวกบั เรา โจทย์ได้ ซ่ึงตรงกันกับท่ีพวกพ่ีเขาคิดไว้พอดี ตรงนี้ก็เป็นอีกส่ิงที่เราได้จากการทำ�งานว่า แล้วใหเ้ ขาดึงเอาสิ่งทม่ี ีอยู่ การจะท�ำ อะไรกต็ าม ตอ้ งเชอ่ื มโยงกบั สง่ิ ทเ่ี ขาท�ำ อยกู่ อ่ นแลว้ ดว้ ย ไมใ่ ชไ่ ปท�ำ อะไรใหมๆ่ แลว้ ทั้งทรัพยากรและความรู้ โยนให้เขาทำ�ตาม แต่เราต้องพยายามโยงสิ่งท่ีเขาทำ�ให้เข้ากับส่ิงที่เราจะทำ�ด้วย ให้มันเป็น ท่ีมีอยใู่ นพนื้ ที่ ออกมา เรื่องเดยี วกัน เหน็ ภาพเดียวกนั เลยตกลงกนั วา่ ครั้งหนา้ ตอ้ งทำ�เรอื่ งหลกั สูตรกนั เลย สรา้ งเปน็ หลกั สตู รได้ ด้วยตวั เอง’ พงั งาเทย่ี วท่ี 4 เรยี นรูจ้ ากประสบการณ์ 30 โจทยใ์ หญข่ องการจะลงไปพงั งาครงั้ นกี้ ค็ อื ‘จะท�ำ ยงั ไงใหค้ นทเี่ ขา้ รว่ มการท�ำ หลกั สตู ร เหน็ ภาพเดยี วกบั เรา แลว้ ใหเ้ ขาดงึ เอาสง่ิ ทม่ี อี ยทู่ ง้ั ทรพั ยากรและความรทู้ ม่ี อี ยใู่ นพน้ื ทอ่ี อกมา สรา้ งเปน็ หลกั สตู รไดด้ ้วยตัวเอง’ กล็ องคดิ หาวธิ ีการอยู่นาน จนไปเจอทฤษฏีวงจรการเรียนรู้ จากประสบการณ์ (Experiential Learning Cycles) 4 ข้ันตอน ซ่ึงเป็นการเรียนรู้จาก ประสบการณ์จรงิ เรยี นรู้ผา่ นการลงมือทำ� ได้ลองผดิ ลองถกู แล้วทบทวนรว่ มกัน เพอื่ มองหา วิธีการใหมท่ ่ดี ีขึ้น ซ่งึ คิดว่านา่ จะเปน็ วิธที ่เี หมาะกบั ทมี พงั งาทสี่ ุด เพราะมันตรงกับวิธที เี่ ขาใช้ ท�ำ งานกันอย่แู ลว้ ครัง้ น้ีเราลงไปชวนพๆ่ี เขาทำ� 2 เร่อื ง คอื เรอ่ื งของการทำ�แผนที่ พ่ีๆ เขารู้อยู่แลว้ วา่ ตวั เองมดี อี ะไร อยตู่ รงไหน แตเ่ ราอยากใหเ้ ขาชว่ ยจดั ระบบหนอ่ ยวา่ ของดที ว่ี า่ มนั อยตู่ รงไหน ใช้เวลาเดินทางจากจุดแรกไปจดุ ตอ่ ไปเท่าไหร่ แต่ละทเี่ รียนร้อู ะไรไดบ้ ้าง เดนิ ทางไปอยา่ งไร กนิ ขา้ วที่ไหน นอนที่ไหน พอทุกอย่างมนั ชัดเจน ก็เอามาทำ�เปน็ หลักสูตรไดง้ ่าย คนทีจ่ ะเอา ไปขายตอ่ กง็ า่ ย เร่อื งทีส่ องคอื เร่ืองของการขาย เพราะหลักสตู รท่กี �ำ ลงั ท�ำ รว่ มกนั นี้ สุดทา้ ย มันต้องมคี นขาย ขายใหก้ ับคนทอ่ี ยากมาเรียนรู้รวมถึงองคก์ รต่างๆ ซง่ึ พเี่ ขาต้องไปขายดว้ ย ตัวเอง แล้วเราจะทำ�อย่างไรให้พวกพ่ีเขามีประสบการณ์กับเร่ืองนี้ ก็เลยให้เรียนรู้ผ่านเกม

จำ�ลองสถานการณ์ ชื่อเกมขายปลา ท่ีให้คนเข้าอบรม เข้าสถานที่ ค่าวิทยากร ค่าห้องประชุม หรือต้นทุนแฝงที่ 31 ได้รับ 2 บทบาท เปน็ ท้งั คนขายปลาและคนซื้อปลา โดยให้ คนทำ�งานมกั จะลืมคิด เช่น คา่ รถ คา่ น�้ำ มนั เพ่อื ทจ่ี ะนำ�มา โจทยไ์ ปเพยี งวา่ ถา้ เปน็ คนขาย ตอ้ งขายปลาใหไ้ ดม้ ากทสี่ ดุ ตั้งเปน็ ราคาของแตล่ ะหลักสตู ร เร่อื งนเ้ี ปน็ เรื่องท่ีดูจะสร้าง ส่วนถ้าเป็นคนซ้ือปลาก็ต้องซ้ือปลาให้ได้มากท่ีสุดเช่นกัน ความลำ�บากใจกับทีมพังงาพอสมควร เพราะปกติเวลา โดยมเี ราเปน็ แพปลาทค่ี อยก�ำ หนดราคาปลาและขายสง่ ปลา มีงานอบรมก็จะมาจากคนรู้จัก พ่ีๆ ก็ทำ�ให้ฟรี หรือมีให้ ด้วย โดยทุกคนจะได้เงินคนละ 100 บาทในการเล่นเกม แค่ไหนก็เอาแคน่ น้ั แตส่ �ำ หรับเรามองว่าเพือ่ ท่ีจะให้องคก์ ร ตอนเลน่ เกมกส็ นกุ มาก เพราะคนขายกพ็ ยายามซอื้ ปลาจาก อยู่รอดได้ คุณค่าท่ีพ่ีๆ สร้างไว้ ต้องแปลงเป็นมูลค่าได้ แพปลาให้ได้ราคาที่ถูกที่สุดแล้วเอาไปขายให้ผู้ซ้ือให้ได้ คนทำ�งานต้องอยู่ได้ องค์กรต้องอยู่ได้ ถ้าสร้างระบบดีๆ มากทีส่ ุด คนซือ้ ก็ต้องพยายามซอ้ื ปลาใหไ้ ด้ราคาที่ถูกท่สี ุด มงี านอบรมเขา้ มาใหท้ มี สว่ นกลางรบั ไว้ แจง้ รายละเอยี ดของ บรรยากาศมันเลยเต็มไปด้วยการตอ่ รอง การแขง่ ขนั คนท่ี การอบรมพร้อมค่าใช้จ่ายให้ชัดเจน ตกลงกันให้เรียบร้อย พดู เกง่ เรยี กลกู คา้ เกง่ กจ็ ะขายปลาไดม้ าก ตอ่ รองกบั แพปลา แล้วค่อยส่งต่อให้กับพ้ืนที่ต่างๆ ดำ�เนินการอบรมตาม และคนซอ้ื ไดม้ าก ตวั เองกไ็ ดเ้ งนิ มาก คนซอ้ื กต็ อ่ ราคาอยา่ ง หลกั สูตรของพ้ืนท่ี ก็น่าจะช่วยให้พๆ่ี ทำ�งานกนั ไดส้ บายใจ เมามนั พอเลน่ เกมเสรจ็ ใหพ้ ๆ่ี เขามานง่ั คยุ กนั วา่ ตอนเลน่ เกม ขนึ้ เปน็ อยา่ งไรบา้ ง วธิ กี ารทแ่ี ตล่ ะคนใชเ้ ปน็ อยา่ งไร แลกเปลย่ี น พดู คยุ กนั มขี อ้ แนะน�ำ หรอื สงิ่ ทอ่ี ยากท�ำ เพม่ิ เพอื่ ใหก้ ารเลน่ เตรยี มความพร้อม...กอ่ นทำ�จริง เกมดขี น้ึ บา้ งหรอื เปลา่ กค็ ยุ กนั สนกุ เลยครบั เกมนม้ี นั ท�ำ ให้ เหน็ ภาพครบเลยส�ำ หรับงานขาย การอบรมคร้ังนี้ทำ�ให้ได้ 5 หลักสูตรนำ�ร่องของ มหาลยั พงั งาแหง่ ความสขุ หลกั สตู รแรก คอื ‘หลกั สตู รการ แลว้ กเ็ อาทง้ั สองเรอื่ งทไ่ี ดเ้ รยี นรไู้ ปมาชว่ ยกนั พฒั นา จดั การเครอื ขา่ ยเพอ่ื การพฒั นาภาคประชาสงั คม’ พน้ื ที่ เป็นหลักสูตรของแต่ละพื้นท่ี ท่ีต้องมีวงจรการเรียนรู้จาก อ.เมือง ท่ีเน้นที่วิธีการบูรณาการทำ�งานของกลุ่มแกนนำ� ประสบการณ์เป็นส่วนหนึ่งของหลักสูตรด้วย ก็ให้พวกพ่ีๆ สมาคมพังงาแห่งความสุข ว่ามีเคล็ดลับวิธีการสร้างพลัง ทำ�กันเอง เราเขา้ ไปช่วยตง้ั คำ�ถามเพ่อื จะรอ้ ยเรยี งเรือ่ งราว ประชาสังคม บูรณาการทุกภาคส่วน กำ�หนดอนาคตด้วย ในการเรยี นรขู้ องแตล่ ะพน้ื ทใ่ี หเ้ ขา้ รปู เขา้ รอย อกี เรอื่ งทย่ี าก ตวั เองท�ำ ได้อย่างไร ‘หลกั สตู รการสง่ เสรมิ สขุ ภาพชมุ ชน คือการต้ังราคา ต้องชวนคิดถึงต้นทุนจริงท่ีเกิดข้ึน ท้ังค่า

และคณุ ภาพชีวติ ผ้สู ูงอาย’ุ พ้ืนท่ี อ.ทับปดุ เขา้ ไปเรยี นรู้การสร้างชุมชนสขุ ภาพดี มรี ายไดเ้ พมิ่ สร้างคณุ คา่ ให้ผู้สูงอายุ โดยไมต่ ้องลงทนุ ว่าชาวบา้ นเขาท�ำ ได้อย่างไร ‘หลักสูตรการจัดการทุนชุมชนและสวัสดิการชุมชนเพ่ือความย่ังยืน’ พื้นที่ อ.กะปง ไปดูกันว่าการสร้างหมู่บ้านปลอดหน้ี ไม่ง้อธนาคาร มีระบบสวัสดิการ เกดิ เจบ็ ตาย ไดเ้ งนิ ท�ำ ไดอ้ ยา่ งไร ‘หลกั สตู รการรบั มอื ภยั พบิ ตั แิ ละความปลอดภยั ในชุมชน’ พื้นที่ อ.ตะกั่วป่า พื้นที่ต้นแบบจัดการภัยพิบัติระดับโลก พร้อมรับ ทุกวกิ ฤตดว้ ยพลงั จติ อาสา มวี ธิ กี ารทำ�งานอยา่ งไร สุดท้าย ‘หลักสตู รการจดั การ ขยะเพอ่ื สรา้ งระบบเกษตรอนิ ทรยี ’์ พน้ื ท่ี อ.เกาะยาว คน้ เคลด็ ลบั การพลกิ กองขยะ ไรค้ า่ สกู่ ารท�ำ นาออรแ์ กนคิ แบบธรรมชาตกิ วา่ 400 ไร่ ท�ำ ไดอ้ ยา่ งไร ตอนนหี้ ลกั สตู ร พรอ้ มแลว้ แตอ่ กี เรอ่ื งทสี่ �ำ คญั ไมแ่ พก้ นั และตอ้ งเตรยี มความพรอ้ มกอ่ นทจ่ี ะเรม่ิ ขาย หลักสตู รคอื เรือ่ งวทิ ยากร แม้ทุกพ้ืนท่ีจะมีคนทำ�งานจริง เป็นวิทยากรที่สามารถถ่ายทอดเรื่องราว ความรู้ได้ แตถ่ ้าเพิม่ เทคนิควิธีการ หรอื เคร่อื งมอื ทีช่ ว่ ยให้การถ่ายทอดเร่อื งราวให้ นา่ สนใจขน้ึ งานทก่ี �ำ ลงั จะเกดิ ขน้ึ กน็ า่ จะสมบรู ณข์ น้ึ จงึ เชญิ อาจารยพ์ ากร อตั ตนนท์ ไปอบรมการเป็นวิทยากรมืออาชีพให้กับคณะทำ�งานของทั้ง 5 หลักสูตรนำ�ร่อง เพ่ือเสริมความรู้พื้นฐานในการเป็นวิทยากร ต้ังแต่การแนะนำ�ตัว การเคล่ือนไหว รา่ งกาย การสรา้ งการจดจำ� ไปจนถงึ การฝึกทักษะในการนำ�เสนอเน้อื หาความรใู้ ห้ น่าสนใจ พี่ๆ ทุกคนจะได้ลองนำ�หลักสูตรของแต่ละพ้ืนที่มานำ�เสนอให้เพ่ือนและ อาจารย์ดูดว้ ย ไดเ้ รียนรูผ้ า่ นการลงมอื ทำ�จรงิ เป็นการสร้างประสบการณท์ ี่ดีให้กับ พ่ีเขา ซงึ่ มันจะทำ�ให้พร้อมสำ�หรบั การท�ำ จรงิ คนพรอ้ ม หลกั สูตรพร้อม ลองท�ำ จรงิ หลงั จากไดท้ �ำ งานมาหลายเดอื นเรากเ็ รม่ิ เหน็ รปู เหน็ รา่ งของงานทเ่ี รารว่ มกนั ท�ำ ไวก้ บั พๆ่ี สมาคมประชาสงั คมพงั งาแหง่ ความสขุ แลว้ มหี ลกั สตู รการเรยี นรสู้ �ำ หรบั 5 พื้นที่นำ�ร่อง คนก็เตรียมความพร้อมไว้แล้ว เหลือแค่ลองนำ�สิ่งท่ีมีอยู่ทั้งหมด ไปใชจ้ รงิ โดยโครงการผนู้ �ำ แหง่ อนาคต ไดเ้ ชญิ ผทู้ รงคณุ วฒุ แิ ละสอ่ื มวลชน รวมแลว้ กว่า 60 คน มาเข้ารว่ มเวทแี ลกเปลย่ี นเรียนรู้ในพน้ื ท่ีพงั งาแหง่ ความสขุ เพ่อื ใหม้ า การทดลองใช้หลักสูตรที่สร้างข้ึน โดยหลักสูตรแรกท่ีได้ทดลองใช้คือ หลักสูตรการ จัดการขยะเพ่ือสร้างระบบเกษตรอินทรีย์ ท่ีได้กำ�นันบัญญัติ ศรีสมุทร มาเป็น วทิ ยากรหลัก ก่อนงานก็เตรียมตัวกันเต็มที่ นั่งทบทวนว่าจะพาคนเขา้ อบรมไปทไ่ี หนบ้าง แต่ละท่ีต้องสอนอะไร ต้องพูดอย่างไรตามท่ีได้เรียนมา อยากให้คนท่ีมาได้เรียนรู้ และสมั ผสั กบั ตวั ตนของพนื้ ทไี่ ดอ้ ยา่ งเตม็ ท่ี เราเองตน่ื เตน้ แทนก�ำ นนั มาก แตก่ �ำ นนั บอกว่าไม่เป็นไร พวกเขาพร้อมแล้ว พอถึงวันงานทีมงานทุกคนก็กระจายตัวไป ทำ�หน้าท่ีของตัวเอง จุดแรกท่ีพาผู้เข้าอบรมไปเรียนรู้คือที่โรงแยกขยะของชุมชน ไปเรยี นรเู้ รอ่ื งการจดั การขยะในสถานทจ่ี รงิ เลย พดู คยุ ซกั ถามกนั ในพน้ื ท่ี แลว้ ไปตอ่ ท่ีโรงผลิตปุ๋ยอินทรีย์จากขยะในชุมชน สุดท้ายไปเรียนรู้เร่ืองการทำ�เกษตรอินทรีย์ แล้วกเ็ ปิดเวทีพูดคุยแลกเปลยี่ นการเรียนรู้รว่ มกัน ซง่ึ ในการท�ำ งานครง้ั แรกน้ี แมจ้ ะ มอี กี หลายเร่อื งทต่ี ้องปรบั ปรุง แตก่ ถ็ ือว่าผา่ นไปได้ดว้ ยดี ผเู้ ข้ารว่ มอบรมประทับใจ 32 กับส่ิงท่ีชาวบ้านได้เล่าให้ฟัง การได้ชมสถานที่จริง สัมผัสกับวิถีของชุมชนที่ ไม่ได้ปั้นแต่ง ตัวคนทำ�งานเองก็ได้รับความภาคภูมิใจและมีแรงจูงใจท่ีจะพัฒนา หลักสูตรของตัวเองให้ดีข้ึน คนในชุมชนเองก็อยากเข้ามามีส่วนร่วมในการทำ�งาน มากขึน้ มนั เป็นช่วงเวลาทด่ี ีมาก ดใี จท่พี ืน้ ทีท่ ำ�กนั ได้ขนาดนี้

พังงาแห่งความสขุ ...นยิ ามความสขุ แบบ ท�ำ งานกบั คนท่นี ี่ 33 ยรุ นันท์ ย้มิ สาระ เราใช้ “ใจ” น�ำ ก่อนเลย ครั้งแรกพ่เี ขายงั มองเรา การทำ�งาน 7 เดือนน้ี มันให้ความรู้สึกแปลกแต่ดีนะ ที่แปลกเพราะปกติเราอยู่ใน เป็นคนนอก แตท่ ุกครงั้ งานขาย ขายหลักสูตร ต้องเขา้ ไปคยุ กับลกู ค้า เอาความต้องการเขามาคดิ มาออกแบบงาน ทีเ่ จอกนั เรากใ็ สท่ ั้ง แล้วก็น�ำ ไปเสนอ ถา้ ผา่ นงานก็จบ มันยงั มภี าพของคนขาย คนซอื้ อยู่ แตก่ ารทำ�งานกับพงั งา ความจริงจงั และ มนั เปน็ ภาพของคนทเี่ ขา้ ไปรว่ มมอื กนั ท�ำ งาน เราตอ้ งเขา้ ไปเปน็ สว่ นหนงึ่ ในทมี เลย เขา้ ไปพดู แสดงความจรงิ ใจวา่ ไปคยุ ไปช่วยกันคดิ ทสี่ นกุ คือตอ้ งลงมอื ทำ�กับพวกพีๆ่ ด้วย เวลามนั แค่ 7 เดอื นเรากต็ ้อง เราต้องการชว่ ยจริงๆ เขา้ ไปกระตุ้น ไปตามงานบา้ ง แอบจิกบ้าง (หวั เราะ) แต่พๆี่ เขาก็ช่วยเหลอื ตลอดเพื่อให้งาน อยากใหง้ านทีพ่ ีเ่ ขาท�ำ มนั ไปไดม้ ากทส่ี ดุ สำ�เรจ็ ซึ่งเราสัมผสั จาก เขาได้เหมือนกันนะว่า ท�ำ งานกบั คนทน่ี เ่ี ราใช้ “ใจ” น�ำ กอ่ นเลย ครง้ั แรกพเ่ี ขายงั มองเราเปน็ คนนอก แตท่ กุ ครง้ั เขาก็ใหใ้ จเรามาเหมือนกนั ทเี่ จอกนั เรากใ็ สท่ งั้ ความจรงิ จงั และแสดงความจรงิ ใจวา่ เราตอ้ งการมาชว่ ยจรงิ ๆ อยากใหง้ าน ที่พเ่ี ขาทำ�สำ�เร็จ ซ่ึงเราสัมผสั จากเขาได้เหมอื นกันนะวา่ เขากใ็ ห้ใจเรามาเหมอื นกนั ตอนนเ้ี ขา เหน็ เราเปน็ ลกู เปน็ หลาน ไมไ่ ดเ้ หน็ เราเปน็ คนนอกเหมอื นตอนแรกแลว้ เราเหมอื นเปน็ คนพงั งา เจอใครต่อใครก็บอกว่า ‘มีอะไรโทรมาหาเลยนะ จะมาเม่ือไหร่ เด๋ียวพาไปเท่ียว’ ซึ่งมันก็ มีความสุขมากเลยนะ

อีกอย่างได้เรียนรู้ตัวเองว่าเราชอบอะไร พอคนเรา มาถึงจุดหนึ่งท่ีพอใจกับตัวเองแล้ว ก็จะขยับขยายไปสู่การ อยากจะให้อะไรคืนกับสังคม การที่เราทำ�อะไรให้กับคนอ่ืน ไดน้ อกจากทเ่ี ราท�ำ เพอื่ เลยี้ งชพี ตวั เองแลว้ มนั รสู้ กึ เหมอื นได้ เติมเต็มจิตวิญญาณ มันหาไม่ได้จากการซ้ือของ ไปเท่ียว อันนี้มันได้จากคน ได้เห็นเขาเติบโตข้ึน จากศูนย์ เป็นห้า เปน็ สบิ แลว้ กย็ งั ไปตอ่ ไดอ้ กี เราไดเ้ ขา้ ไปเปน็ สว่ นเลก็ ๆ ในนน้ั เรากด็ ใี จไปกบั เขาดว้ ย ท�ำ ใหเ้ ราเหน็ ภาพตวั เองชดั ขน้ึ วา่ 5 ปี 10 ปจี ากนค้ี งทำ�งานเพ่อื สังคมมากขนึ้ เพราะเรามคี วามสขุ กับเรือ่ งตรงน้ีจริงๆ 34

การเสาะหาล่ทู าง 35 ในพืน้ ทส่ี เี ทา ของ ณพี ธรี ะพิจติ ร “ณพี ธีระพจิ ิตร” หรอื “ท๊อฟฟี่” ผูส้ บื ทอดกจิ การขนส่งแห่งหนง่ึ ในไทย เติบโตมากบั ประสบการณช์ วี ติ ท่หี ลากหลายท้ังในไทยและการใช้ชีวติ วัยเรียนในสิงคโปรก์ วา่ 10 ปี ผา่ นประสบการณท์ ำ�งานอาสา (Volunteer) หลากหลาย จนเปน็ แรงผลกั ใหเ้ ธอ รกั การทำ�งานอาสาจนถงึ ทุกวนั นี้ การทำ�งานเพื่อสังคมของเธอ..เริ่มต้นข้ึนตอนเธออายุเพียง 13 ปี เมื่อ คณุ พอ่ ของเธอตอ้ งไปท�ำ ธรุ กจิ ท่ีภาคเหนอื จงึ พาเธอขน้ึ ดอยไปบรจิ าคสงิ่ ของให้ กับเด็กชาวเขา เป็นโอกาสให้เธอได้เจอเด็กบนดอยที่เธอเคยเขียนจดหมาย โต้ตอบด้วย การเดินทางครั้งนี้พาให้เธอได้พบกับเพ่ือนทางไกลคนนี้ที่โรงเรียน ของเขา...ท�ำ ใหเ้ ธอไดเ้ หน็ วา่ วถิ ชี วี ติ ของเธอและเขาชา่ งแตกตา่ ง ความรสู้ กึ ตา่ งนี้ ทำ�ให้เด็กอายุ 13 เกิดความฉงนถึงความลำ�บาก เหตุใดชาวเขาต้องแบกลูก ลงดอยมาขายของ...ไดแ้ ตม่ องดว้ ยความสงสยั ไมเ่ คยรวู้ า่ ท�ำ ไมพวกเขาตอ้ งดนิ้ รน ถงึ เพยี งนนั้ จนวนั นวี้ นั ทเ่ี ธอไดม้ าท�ำ งานรว่ มกบั “มลู นธิ บิ า้ นครนู �ำ้ ” ในฐานะ Intrapreneur for Change วนั ท่ีเธอไดเ้ ปดิ โลกทัศนส์ โู่ ลกสเี ทาท่หี ลายอยา่ ง

‘เดก็ ต้องมชี วี ติ อยูไ่ ด.้ .. ดูไม่สมบูรณ์ย่ิงกว่าที่คิด ได้เห็นการต่อสู้ของผู้หญิงคนหนึ่งท่ีทั้งชีวิตคือการทำ�เพื่อ และมีทย่ี นื ในสงั คม’ คนชายขอบ เป็นแรงผลักให้เธอพยายามมองหาทุกลู่ทาง ท่ีคนวัย 20 ปลายจะทำ�ได้ ในฐานะ Intrapreneur1 36 เริม่ ต้นร้จู กั กบั ‘มลู นิธบิ ้านครนู ำ�้ ’ ไดร้ ูจ้ กั กับ “ครนู ำ�้ ” (คุณนุชนารถ บญุ คง ผกู้ อ่ ต้ัง ‘มลู นิธบิ า้ นครูน้ำ�’ สถานท่ใี ห้ ความชว่ ยเหลอื เดก็ เรร่ อ่ นไรส้ ญั ชาติ ในจงั หวดั เชยี งราย) ครงั้ แรกในเวทกี ลางของโครงการ วนั นั้นเป็นการเปิดประตูใหเ้ ราไดร้ ูจ้ กั “ครูน�้ำ ” หรือ “แม่” ของเด็กชายขอบนบั รอ้ ยชวี ิต ไดร้ ูว้ ่าเขาก�ำ ลังทำ�เพ่อื ใคร เผชญิ กับปญั หาอะไร และจะท�ำ สง่ิ ใดตอ่ ไปในอนาคตอันใกลค้ ่ะ2 ปญั หาแรกทเี่ ราเหน็ คอื ‘ปญั หาเรอื่ งสภาพคลอ่ งการเงนิ ’ ถา้ เปน็ บญั ชขี องภาคธรุ กจิ ทกุ อยา่ งคอื ตวั แดงตดิ ลบ จนหากมองแบบคนนอกคงคดิ วา่ ‘คณุ ไมม่ เี ดก็ เลยดกี วา่ ไหม’ มลู นธิ ิ ก�ำ ลงั เผชญิ ปญั หามเี งนิ ทนุ เขา้ มาหนนุ ไมเ่ พยี งพอ ตอ่ ใหบ้ รหิ ารจดั การการเงนิ ดเี พยี งไรกต็ าม แต่สำ�หรับครูนำ้�แล้วเร่ืองนี้ไม่ทำ�ให้แม่อย่างเธอยอมแพ้ เวลาทั้งหมดท่ีมียังคงอุทิศให้กับลูก เธอขอเพียง ‘เด็กตอ้ งมชี วี ติ อยไู่ ด.้ ..และมีทีย่ ืนในสงั คม’ 1 ในเวทพี ฒั นาศกั ยภาพเครอื ขา่ ยดว้ ยเครอ่ื งมอื สนบั สนนุ ความยั่งยืนการขับเคล่ือนทางสังคม ท่ีโครงการผู้นำ�แห่ง อนาคต คณะวิทยาการเรียนรู้และศึกษาศาสตร์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ ภายใต้การสนับสนุนของสำ�นักงาน กองทุนสนบั สนนุ การสร้างเสรมิ สุขภาพ (สสส.) รว่ มมอื กบั School of Changemakers ในการด�ำ เนนิ งาน 2 อา่ นบทวจิ ยั เกย่ี วกบั มลู นธิ บิ า้ นครนู �ำ้ เพม่ิ เตมิ ไดท้ ห่ี นงั สอื “จดุ นดั พบบนเสน้ ขนาน : ผคู้ น ชมุ ชน การประกอบการ ทางสังคม” จดั พมิ พ์โดย โครงการผนู้ �ำ แห่งอนาคต ปี 2561

ปญั หาอันดบั หนงึ่ คือเรอ่ื งการเงนิ หลังจากเจอกันในเวทีกลางของโครงการฯ ฟ่ีไป เมอ่ื แผนความคดิ เขา้ ท่ี เราจงึ ศกึ ษาพน้ื ทโ่ี ดยละเอยี ด ลงพน้ื ท่ี ‘มลู นธิ บิ า้ นครนู �ำ้ ’ ทต่ี �ำ บลโยนก อ�ำ เภอเชยี งแสน เพื่อเตรียมพร้อมลงมือทำ�จริง แต่กลับได้พบว่า...ต้นทุน จงั หวัดเชยี งราย มูลนิธิมีพ้ืนที่กว้างถึง 17 ไร่ มีทด่ี นิ และ ไม่พร้อมอยา่ งท่คี ิด บอ่ น้�ำ ทเี่ ราเคยคดิ วา่ สามารถนำ�นำ้�มา บอ่ น�้ำ มพี น้ื ทสี่ �ำ หรบั ท�ำ การเกษตรปลกู ผกั ไวร้ บั ประทานใน ใชท้ �ำ การเกษตรได้ เม่อื ถึงฤดูแลง้ ...น�้ำ ในบอ่ แหง้ การใชน้ ำ้� มูลนิธิและจำ�หน่ายได้ โปรเจกต์แรกที่เรานึกถึงจึงเป็นการ ประปาแทนจะท�ำ ใหเ้ กดิ ตน้ ทนุ ในการท�ำ ธรุ กจิ มากขนึ้ สง่ ผล ‘สรา้ งรายได’้ และ ‘ลดรายจา่ ย’ ผา่ นตน้ ทนุ ทเี่ ขามอี ยแู่ ลว้ ให้ผลประกอบการลดลงจากท่ีควรจะได้ จากท่ีเราคำ�นวณ โดยการทำ�กิจการเพื่อสังคม (Social Enterprise) ‘ขายผัก มาว่าจะปลูกผักอะไรบ้างให้เหมาะสมกับตลาด และลงตัว ออนไลน์’ ให้กับคนต่างถิ่นท่ีกำ�ลังมองหาผักพื้นเมือง กับความสามารถในการดูแลพ้ืนท่ีการเกษตรรวมถึงต้นทุน ปลอดสารรับประทาน เพราะเพื่อนปริญญาโทของเราทำ� ทีม่ ี...จึงกลายเป็นวา่ ต้องพับแผนไปก่อน เพราะการจะเรม่ิ วิจัยโมเดลการทำ�ธุรกิจลักษณะนี้เอาไว้ และเขายินดีให้นำ� แผนการตลาดนี้ได้จำ�เป็นต้องหาถังเก็บน้ำ�เพ่ิม ซึ่งต้องรอ มาปรับใช้กับมูลนิธิได้เลย ตอนน้ันเราจึงเสนอโปรเจกต์นี้ เงินทุนสนับสนุน หรือมีจังหวะสภาพคล่องทางการเงินท่ี กับครนู ำ้� ซง่ึ ครูนำ�้ ก็เห็นด้วยและยนิ ดที ่จี ะทำ� เหมาะสมในการลงทนุ 37

หลงั จากแผนการท�ำ กจิ การเพอื่ สงั คม ‘ขายผกั ออนไลน’์ ทเ่ี ราพอมองเหน็ วา่ มลี ทู่ าง ในการเรม่ิ ท�ำ ไดท้ นั ทไี มเ่ ปน็ ไปดงั คาด ฟแี่ ละครนู �้ำ จงึ ตดั สนิ ใจพบั แผนการท�ำ ธรุ กจิ เพอื่ สงั คม ไว้ก่อน ‘เราเห็นแล้วว่ายังไม่มีการดำ�เนินงานอะไรจะมาตอบโจทย์การหารายได้เพ่ือ หนนุ การท�ำ งานของมลู นธิ ไิ ดภ้ ายในชว่ ง 7 เดอื นน้ี ซง่ึ ตอนนนั้ ยงั เปน็ เพยี งชว่ งตน้ ของ การท�ำ หน้าท่ี Intrapreneur for Change ของเรา ...ฟีเ่ ลยตัดสินใจเบนเขม็ มาสูก่ าร เสาะหาลทู่ างความเปน็ ไปไดใ้ นการหนนุ เสรมิ ความยง่ั ยนื ทงั้ เรอ่ื งรายไดแ้ ละคณุ ภาพ ชีวติ ของเดก็ ในมลู นธิ ิแทนทนั ท’ี ตลาดขวงวฒั นธรรม ฮอมผญาล้านนาเชียงแสน ‘เดก็ ในมูลนิธิได้มาสมั ผัสประสบการณก์ ารประกอบอาชีพ เห็นคุณค่าในตนเอง (Self-esteem) และให้คนภายนอก ได้เห็นความน่ารกั และความสามารถของพวกเขา’ นอกจากแผนการท�ำ กจิ การเพ่อื สงั คมที่ฟีค่ ดิ ร่วมกับครูน้�ำ ยงั มกี จิ กรรมอน่ื ที่ครนู ำ้� คิดทำ�ร่วมกับกลุ่มคุณค่าเชียงแสนและกลุ่มอโรคยาในช่วงปลายปี 2560 คือการทำ� ‘ตลาดขวงวฒั นธรรม ฮอมผญาลา้ นนาเชยี งแสน’ เปน็ สถานทรี่ วบรวมวฒั นธรรมโบราณ ของเชียงแสนที่เลือนหายไปในทุกวัน มานำ�เสนอผ่านรูปแบบพ้ืนท่ีนิทรรศการขนาดย่อม ตลาดจำ�หน่ายสินค้า และลานแสดงฟ้อนรำ� เปิดในพิพิธภัณฑ์สถานแห่งชาติเชียงแสน ทกุ วนั เสาร์ อาทิตย์ เวลา 9 โมงเช้าถงึ 4 โมงเยน็ ซ่งึ พน้ื ท่ตี ลาดน้เี อง คือ อีกพืน้ ทหี่ นงึ่ ที่ ครูน้ำ�และกลุ่มคนทำ�งานเพื่อสังคมในเชียงแสนตั้งใจให้ ‘เด็กในมูลนิธิได้มาสัมผัส ประสบการณ์การประกอบอาชพี เหน็ คณุ คา่ ในตนเอง (Self-esteem) และให้คนภายนอก ได้เห็นความนา่ รักและความสามารถของพวกเขา’ ทตี่ ลาดเดก็ จากมลู นธิ จิ ะไดเ้ รยี นเรอ่ื งการ ‘ตอกเสน้ ’ ใชไ้ มต้ อกนวดไปตามจดุ ตา่ งๆ ของรา่ งกาย และ ‘ย�่ำ ขาง’ การใชฝ้ า่ เทา้ จมุ่ ลงในน�้ำ มนั รอ้ น แลว้ ใชฝ้ า่ เทา้ คลงึ ลงบนตวั เพอื่ ยืดคลายเสน้ ให้แก่นักทอ่ งเทย่ี วผู้มาเยือน โดยกลมุ่ คุณคา่ เชยี งแสนเปน็ ผู้ถ่ายทอดความรู้ รวมถงึ ‘การท�ำ อาหารและจำ�หนา่ ยอาหารเพ่ือสขุ ภาพ’ โดยกลุม่ อโรคยา สิ่งที่เหน็ ไดช้ ัดคงเป็นเพยี ง ‘ความสขุ ’ ...พวกเขารอใหถ้ งึ วนั เปิดตลาด เพือ่ จะได้มาท�ำ งานอกี ครงั้ การที่เด็กมีรายรับจากภายในตลาดไม่ได้มีเป้าหมายเพ่ือให้นำ�มาช่วยแบ่งเบา คา่ ใชจ้ า่ ย เมด็ เงนิ ในตลาดมนั ไมเ่ พยี งพอกบั การทดแทนคา่ ใชจ้ า่ ยทเี่ กดิ ขนึ้ ในมลู นธิ ิ รายรบั ไม่ได้มากและไม่มีความแน่นอน ขึ้นอยู่กับว่าผู้ใช้บริการว่าจะให้มากน้อยเท่าไหร่ เพราะ ‘พวกเขาไม่ไดม้ ีใบประกอบวิชาชีพ’ และ ‘พวกเขาไม่ได้ท�ำ งานได้สมบูรณ์แบบนกั ’ ด้วยช่วงวัยเพียงสิบกว่าปีของเด็ก การเรียนรู้และความเช่ียวชาญย่อมไม่มากเท่า ผู้ใหญ่ แต่การมาเรียนรู้ท่ีตลาด เขาได้ประสบการณ์การทำ�งาน การหารายได้ และยังได้ 38 เรยี นรทู้ กั ษะใหมเ่ พอื่ คน้ หาสงิ่ ทชี่ อบดว้ ยตวั เอง เชน่ หากชอบเรอ่ื งการย�ำ่ ขาง อาจตอ่ ยอด ด้วยการศึกษาทางด้านกายภาพบำ�บัด หรือแพทย์ทางเลือก แต่ถึงอย่างน้ันการพยายาม สร้างจุดยืนให้กับเด็กไม่ใช่ส่ิงที่วัดผลได้ในทันที ส่ิงท่ีเห็นได้ชัดคงเป็นเพียง ‘ความสุข’... พวกเขารอใหถ้ ึงวนั เปิดตลาด เพือ่ จะได้มาท�ำ งานอกี คร้ัง

เร่ืองหน่ึงที่เรายังพะวงอยู่ คือ พื้นที่น้ีเป็นพื้นที่สีเทา ในสายตาของคนภายนอกที่มองอย่างผิวเผิน เขาอาจมองสิ่งท่ีเรา กำ�ลังทำ�อยู่เป็น ‘การใช้แรงงานเด็ก (Child Labour)’ หรือ ‘นำ�เด็กชายขอบมาใช้งานอย่างผิดกฎหมาย’ เราจึงคิดหาทาง ในการจดั การเรอื่ งนเ้ี ปน็ 2 ระดบั เสนอตอ่ ทมี งานทเ่ี ชยี งแสน ระดบั ที่หนึ่ง คือ การประชาสัมพันธ์ให้เกิดการรับรู้ว่าเชียงแสนกำ�ลังทำ� เร่ืองการสืบสานคุณค่าทางวัฒนธรรม ทำ�ให้คนภายนอกตระหนัก ถงึ ความส�ำ คญั ของการถา่ ยทอดองคค์ วามรใู้ หแ้ กเ่ ดก็ เพอ่ื ใหเ้ ดก็ ได้ น�ำ เรอ่ื งนไ้ี ปสรา้ งอาชพี และเกดิ ผลระยะยาวในการสบื สานวฒั นธรรม ตอ่ ไป ซง่ึ น่ันจะเป็นการพว่ งรวมไปถงึ การท�ำ ให้คนภายนอกได้รบั รู้ กลไกการท�ำ งานของมลู นธิ ิ และไดร้ จู้ กั พวกเขาเดก็ ชายขอบมากขน้ึ ด้วย ระดบั ท่ีสอง คอื การผลักดันด้านการศึกษาใหเ้ ด็กชายขอบได้ มีโอกาสเรียนรู้วิชาชีพเฉพาะทาง ในสถาบันที่มีมาตรฐาน เพื่อให้ พวกเขาสามารถมใี บรบั รอง (License) และใบอนญุ าตในการท�ำ งาน (Work permit) ทีถ่ กู ตอ้ งตามกฎหมาย จากทฟ่ี เี่ ลา่ แนวคดิ การจดั การปญั หาดงั ขา้ งตน้ สงิ่ ทฟ่ี ที่ �ำ เพอ่ื หนุนเสริมให้เกิดการดำ�เนินงานดังกล่าว จึงเป็น ‘การช่วยเก็บ ขอ้ มูล’ เดก็ ท่ีเขา้ มามีส่วนร่วมในการท�ำ ตลาด เพือ่ เอาไวใ้ ชต้ ิดตาม ผลการเปลี่ยนแปลงในระยะยาว รวมถึงเอาไว้ยืนยันด้วยว่าที่ผ่าน มาเขามคี วามตง้ั ใจในการเรยี นรแู้ ละสามารถท�ำ ไดจ้ รงิ เปน็ ฐานขอ้ มลู แก่ผู้ท่ีจะเข้ามาสนบั สนุนทางดา้ นน้ีตอ่ ไป ฐานขอ้ มูลของเด็กชายขอบ มลู นธิ มิ กี ารเกบ็ ขอ้ มลู ของเดก็ ทกุ คน โดยมขี อ้ มลู ทไ่ี มส่ ามารถ 39 เปดิ เผยใหค้ นภายนอกอยา่ งฟท่ี ราบไดอ้ ยู่ อยา่ งเดก็ เปน็ บตุ รของใคร ประสบเหตุการณ์อะไรมาจึงต้องมาอาศัยอยู่ท่ีมูลนิธิ เข้ามาอาศัย อยู่ในฝ่ังไทยต้ังแต่เม่ือไหร่ เป็นโรคอะไรท่ีต้องรับการรักษาเพ่ือลด การแพร่ระบาดของโรคหรือไม่ โดยข้อมูลส่วนนี้มูลนิธิจะใช้ในการ ขอสิทธิให้แก่เด็ก รวมถึงใช้ในการของบประมาณสนับสนุนจากรัฐ แต่จากข้อมูลที่มีก็ยังขอทุนสนับสนุนได้ยากอยู่ เพราะการทำ�งาน ไมส่ ามารถเห็นผล (Impact value) ได้ทันทีแบบ 1 ตอ่ 1 สิ่งทม่ี ลู นธิ ิ ท�ำ อาจไมเ่ กดิ ผลลพั ธ์ (Output) เรอ่ื งการเปลย่ี นแปลงของเดก็ ในทนั ที แตส่ ามารถเหน็ ผลในระยะยาว (Outcome) ถงึ คณุ ภาพชวี ติ ทเี่ ปลย่ี น ไปในทางท่ีดีขึ้นของเดก็ คนหน่ึง สงิ่ ทฟ่ี มี่ องวา่ มลู นธิ คิ วรจะตอ้ งท�ำ เพมิ่ คอื ‘การเกบ็ ประวตั ิ เดก็ ในระยะยาว’ ตงั้ แตป่ แี รกทเ่ี ขา้ มาอยู่ เพอื่ ใหเ้ หน็ พฒั นาการและ ความเปลยี่ นแปลงในตวั เดก็ ในรปู แบบเฉพาะของมลู นธิ ิ แมว้ า่ ทผี่ า่ น มามูลนิธิจะมีทุนในการทำ�งานจำ�กัดจำ�เขี่ย แต่ก็สามารถทำ�ให้เด็ก คนหนงึ่ มคี ณุ ภาพชวี ติ ทดี่ ขี นึ้ มจี ดุ ยนื ในสงั คม ประกอบอาชพี สจุ รติ และสร้างประโยชน์ให้กบั ประเทศอยา่ งไร

ในชว่ งระยะเวลาทฟ่ี ย่ี งั ท�ำ งานรว่ มกบั พบเจอหนทาง... มูลนิธิ ฟี่จึงช่วยเก็บบันทึกข้อมูลในประเด็น เสริมอื่นๆ ท่ียังไม่เคยมีการทำ�ฐานข้อมูลไว้ แตย่ งั ไมพ่ ร้อม ดว้ ยค่ะ เช่น ‘ความสามารถ ความถนัด และ นอกจากงานทฟ่ี เ่ี ลา่ ถงึ กอ่ นหนา้ น้ี กย็ งั ความสนใจของเดก็ แตล่ ะคน’ อยา่ งเรอื่ งกฬี า ได้ทำ�เรื่อง ‘การท่องเท่ียวภายในเชียงแสน’ ท�ำ อาหาร วาดภาพ เพอื่ ใหส้ ามารถสนบั สนนุ ฟ่ีมีโอกาสได้ร่วมคิดกับกลุ่มคุณค่าเชียงแสน ‘ความสามารถของเด็ก การพฒั นาศกั ยภาพของเขาไดต้ รงจดุ โดยอาจ ค่ะ เมืองเชียงแสนเป็นเมืองโบราณมีวัดเก่า ที่หลากหลายนอกจากจะ หาอาสาสมคั ร (Volunteer) เขา้ มาหนุนเสรมิ แก่บอกเล่าเรื่องราวทางประวัติศาสตร์เป็น เปน็ ประโยชน์แกเ่ ดก็ ในการ เรอ่ื งนี้ เช่น องคก์ ร Saturday School หรือ จ�ำ นวนมาก มเี สน้ ทางตดิ แมน่ �ำ้ ใหบ้ รรยากาศ สร้างอาชพี ให้กับตวั เองแลว้ นักศกึ ษาที่ก�ำ ลงั มองหาสถานทที่ ำ�งานอาสา เย็นสบายในช่วงเช้า พวกเราจึงนึกถึงการ ยงั อาจเกดิ เปน็ ชุมชน ฟม่ี องถงึ อนาคตวา่ ความสามารถของ ทอ่ งเทีย่ วเรียนร้ผู า่ นการป่ันจกั รยาน และให้ เพื่อการเรยี นรแู้ ละเกิดเปน็ เด็กท่ีหลากหลายนอกจากจะเป็นประโยชน์ เดก็ มลู นธิ บิ า้ นครนู �ำ้ รว่ มเปน็ มคั คเุ ทศกร์ นุ่ เยาว์ ธรุ กจิ หมุนเวยี นสร้างรายได้ แก่เด็กในการสร้างอาชีพให้กับตัวเองแล้ว แตก่ ารจะท�ำ ใหส้ �ำ เรจ็ ยงั ตอ้ งอาศยั การพฒั นา แบบงา่ ยในช่วงที่เขายงั ยังอาจเกิดเป็นชุมชนเพื่อการเรียนรู้และเกิด แผนในระยะยาว เชน่ การท�ำ งานรว่ มกบั ภาค อาศัยอย่ภู ายในมูลนธิ ไิ ด’้ เป็นธุรกิจหมุนเวียนสร้างรายได้แบบง่าย รฐั เรอื่ งการโปรโมทการทอ่ งเทย่ี วเชยี งแสน... ในช่วงท่เี ขายังอาศยั อยูภ่ ายในมูลนธิ ิได้ เช่น ซง่ึ ในตอนนก้ี ารใหค้ วามส�ำ คญั กบั การทอ่ งเทย่ี ว 40 เด็กท่ีหวั ไวดา้ นการตลาด ก็วางแผนเรือ่ งการ ในพน้ื ทนี่ ้มี ีนอ้ ยเหลือเกนิ จากทฟี่ ี่เคยพดู คุย ท�ำ ธรุ กจิ คา้ ขาย เดก็ ทเ่ี กง่ เรอื่ งการท�ำ อาหาร กับเจ้าหน้าที่ของพิพิธภัณฑ์สถานแห่งชาติ และขนม ก็อาจทำ�ไปขายในตลาด เด็กที่ เชียงแสน ชน่ื ชอบดา้ นดนตรี ก็เปดิ หมวกรอ้ งเพลง

นอกจากน้ีฟี่ได้คิดหาหนทางเพื่ออุดช่องโหว่ไว้อีก เป็นอย่างไรบา้ ง 7 เดือนทผี่ า่ นมา? หลายเรอ่ื ง เชน่ มลู นิธิบ้านครูน�้ำ ควรหาคนรับชว่ งต่อหรือ คนที่พร้อมจะทำ�งานและมีศักยภาพในการดูแลมูลนิธิ “ดว้ ยขอ้ จำ�กดั หลายอยา่ ง... แห่งน้ี (Successor) เพอ่ื แบ่งเบาภาระการทำ�งานของครนู ้ำ� เราเลยไม่ฝนื ท�ำ ต่อ” และพรอ้ มหนนุ ในยามทค่ี รนู �ำ้ ท�ำ งานไมไ่ หว อกี เรอื่ งเชน่ การ รบั เดก็ ชายขอบเขา้ มาศกึ ษาในไทย (Drop in) ควรมกี ารสรา้ ง เรารวู้ า่ เราคงเปน็ ผสู้ รา้ งการเปลย่ี นแปลง (Change Maker) รายได้เล็กน้อยจากการทำ�งานตรงนั้น ผ่านการเก็บเงิน ใหก้ บั มลู นธิ ไิ มไ่ ดต้ ง้ั แตท่ �ำ งานได้ 2 เดอื นจาก 7 เดอื น ดว้ ยขอ้ จ�ำ กดั ผปู้ กครองท่สี ง่ บตุ รเขา้ มาศกึ ษาหรือไม่ อาจเพยี ง 10 หรือ หลายอย่าง...เราเลยไม่ฝืนทำ�ต่อ หันมาทำ�แผนในอนาคตแทน 20 บาทก็ได้ ในราคาทีเ่ ขาสามารถจ่ายไหว แนวคิดนีไ้ มใ่ ช่ ชว่ ยเขามองวา่ การจะไปถงึ จดุ หมายของแตล่ ะเรอ่ื งตอ้ งเตมิ เตม็ สว่ น เพ่ือเพียงการแบง่ เบาภาระของศูนย์ Drop in แตเ่ พ่ือใหเ้ ขา ไหนบ้าง พูดคุยกับทีมคนทำ�งานด้วยแผนระยะยาวไม่ใช่ระยะสั้น ตระหนักถึงความลำ�บากในการเข้าถึงโอกาสทางการศึกษา แทน และต้ังใจเรยี นร้อู ยา่ งเตม็ ท่ี อกี งานหลกั ทฟ่ี ท่ี �ำ คอื การน�ำ ขอ้ มลู ทก่ี ระจดั กระจาย (เพราะ มูลนิธิไม่มีคนและเวลามากพอที่จะจัดการเร่ืองน้ี) มาจัดระเบียบ เพ่ือใหเ้ หน็ ว่ามูลนิธิมตี น้ ทนุ มีความพร้อมดา้ นไหน และต้องการ การสนับสนุนเรื่องอะไรบ้าง ถ้าใครสนใจท่จี ะเขา้ มาช่วยหนุนเสริม เร่ืองใดต่อก็สามารถน�ำ ขอ้ มูลที่ฟท่ี �ำ ไวไ้ ปใช้ต่อไดเ้ ลย ไมว่ า่ จะเป็น หน่วยงานภาครัฐ ภาคประชาสังคม อาสาสมัคร หรอื ผู้ท่ีสนใจท�ำ เรื่องกจิ การเพื่อสังคม 7 เดอื นทผ่ี า่ นมาไมเ่ หนอื่ ยนะ มเี รอ่ื งใหป้ ระทบั ใจมากมาย เรื่องหน่ึง คอื วันท่คี รูน�้ำ เลี้ยงรบั เราเขา้ ไปเป็นทมี ท�ำ งาน ไปนอน กันในทุง่ นาแหง้ ๆ มีเกมใหเ้ ลน่ กล่มุ ท่ชี นะจะได้รางวัลเป็นหมูป้งิ ซงึ่ กลมุ่ ฟไ่ี ดท้ ่ี 2 ไดห้ มปู ง้ิ มาจ�ำ นวนไมน้ อ้ ยกวา่ กลมุ่ ทช่ี นะ นอ้ ยเกนิ กวา่ จะกนิ พอทง้ั กลมุ่ แตเ่ ดก็ ๆ กเ็ อามาใหฟ้ ่ี บอกวา่ ‘พฟ่ี ต่ี อ้ งกนิ นะ’ แม้ว่าเขาจะมีน้อยแต่เขาก็ยังเสียสละให้เรา มันเป็นเรื่องเล็กน้อย 41

แตน่ า่ รกั มาก เราเลยบอกใหพ้ วกเขาเอาไปแบง่ ทมี อนื่ ทไ่ี มไ่ ดก้ นิ ‘พวกเขากแ็ บ่งปันกัน’ คะ่ นอกจากน้นั กย็ งั มชี ่วงเวลาดีๆ ท่เี รา ได้เป็นเสมือนพ่ีสาวของพวกเขา เขามาปรึกษาเร่ืองเรียนบ้าง เรอื่ งท่ัวไปบ้าง เวลาเราไปหาเขากด็ ีใจ เดินเขา้ มากอด (ย้ิม) สง่ิ ทใ่ี หมส่ �ำ หรบั ตวั ฟ่ี คอื ‘โลกทศั นใ์ หม’่ ไดม้ าสมั ผสั โลกทเี่ ราไมเ่ คยเหน็ ไดม้ าเรยี นรทู้ �ำ งานรว่ มกนั พน้ื ทส่ี เี ทาที่ หลายอยา่ งดจู ะไมส่ มบรู ณ์ ไดเ้ หน็ การตอ่ สขู้ องผหู้ ญงิ คนหนงึ่ ทีท่ ้งั ชีวติ คอื การท�ำ เพือ่ คนชายขอบ และไดร้ ู้ถึงความอัตคัดท่ีมี มากเกนิ กวา่ เราจะนกึ ถงึ ได้ เชน่ การเดนิ กลบั บา้ นไมถ่ กู หรอื การ กนิ ยาผดิ เพราะอา่ นหนงั สอื ไมอ่ อก การถกู พาไปท�ำ หมนั ทง้ั ทมี่ ี อาการปวดฟนั เขาเชอื่ งา่ ยเพยี งเพราะเขาไมม่ กี ารศกึ ษา ไมต่ อ้ ง พูดถึงการล่อลวงรูปแบบอ่ืน เร่ืองเหล่าน้ีเราคงไม่ได้ตระหนัก ถ้าเราไมไ่ ด้ไปท�ำ งานน้ี 42