Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore ยโสธร

Description: ยโสธร

Search

Read the Text Version

ยโสธร ยโสธร 1

๑๐ เท.่ ..นา่ เท่ยี ว ๑๐ เท.่ ..น่าเทย่ี ว ธาตกุ อ่ งขา้ วนอ้ ย บญุ บัง้ ไฟยโสธร พระธาตกุ ู่จาน พิพธิ ภัณฑพ์ ญาคันคาก ประเพณกี ารแห่มาลยั ข้าวตอก 2 ยโสธร

โบสถ์ครสิ ต์ บ้านซง่ แย้ (วัดอคั รเทวดามคิ าแอล) วัดพระพทุ ธบาทยโสธร แหล่งโบราณบ้านสงเปือย ยา่ นเมืองเกา่ บา้ นสิงหท์ า่ การท�ำหมอนขิด บ้านศรฐี าน แบบประเมินความพงึ พอใจ เอกสารท่องเที่ยว Satisfaction Questionnaire of Tourist Information Brochures ยโสธร 3

วัดพลบั ประเพณบี ุญบ้ังไฟ 4 ยโสธร

สารบัญ การเดนิ ทาง ๗ สถานทท่ี ่องเท่ียว ๘ อ�ำเภอเมืองยโสธร ๘ อ�ำเภอทรายมลู ๑๔ อำ� เภอเลิงนกทา ๑๕ อ�ำเภอไทยเจริญ ๑๖ อ�ำเภอป่าติ้ว ๑๗ อำ� เภอคำ� เขือ่ นแก้ว ๑๘ อำ� เภอมหาชนะชัย ๑๙ เทศกาลงานประเพณี ๒๑ สนิ คา้ พื้นเมือง ๒๓ ร้านจ�ำหนา่ ยสินค้าทรี่ ะลกึ ๒๔ ตวั อยา่ งรายการนำ� เทย่ี ว ๒๕ ข้อแนะน�ำในการทอ่ งเท่ียว ๒๕ แผนท ี่ ๒๖ หมายเลขโทรศัพทส์ ำ� คัญ ๓๐ ศนู ย์บรกิ ารข่าวสารทอ่ งเท่ยี ว ททท. ๓๑ ยโสธร 5

บุญบัง้ ไฟยโสธร ยโสธร เมอื งบั้งไฟโก้ แตงโมหวาน หมอนขวานผา้ ขดิ แหลง่ ผลิตขา้ วหอมมะลิ 6 ยโสธร

ยโสธร จากพงศาวดารบันทึกไว้ว่าเม่ือราวปี การเดนิ ทาง พ.ศ. ๒๓๔๐ พระเจ้าวรวงศา (พระวอ) เสนาบดีเกา่ รถยนต์ จากกรงุ เทพฯ สามารถไปได้ ๒ เลน้ ทางหลกั เมืองเวียงจันทน์กับสมัครพรรคพวกเดินทางอพยพ ไดแ้ ก่ จะไปอาศัยอยู่กับเจ้านครจ�ำปาศักดิ์ เมื่อเดินทางถึง ๑. ใช้ทางหลวงหมายเลข ๑ (ถนนพหลโยธิน) ถึง “บ้านสิงห์ท่า” หรือ “เมืองสิงห์ท่า” เห็นว่าเป็น จังหวัดสระบุรี เลี้ยวขวาเข้าทางหลวงหมายเลข ๒ ทำ� เลทด่ี ี จงึ ไดต้ ง้ั หลกั ปกั ฐานและสรา้ งเมอื งขน้ึ ตอ่ มา (ถนนมิตรภาพ) ผ่านตัวเมืองนครราชสีมา จากน้ัน ในปี พ.ศ. ๒๓๕๗ พระบาทสมเด็จพระพุทธเลิศ เลี้ยวขวาเข้าทางหลวงหมายเลข ๒๐๗ จนถงึ อำ� เภอ หล้านภาลัย ได้ทรงพระกรุณาโปรดเกล้าฯ ให้ยก ประทาย ต่อด้วยทางหลวงหมายเลข ๒๐๒ ผ่าน ฐานะบา้ นสงิ ห์ทา่ ข้นึ เปน็ “เมืองยโสธร” ข้ึนตรงตอ่ อ�ำเภอพยัคฆภูมิพิสัย จังหวัดมหาสารคาม อ�ำเภอ กรงุ เทพมหานคร มเี จา้ เมอื งดำ� รงบรรดาศกั ดเ์ิ ปน็ พระ เกษตรวิสัยและอ�ำเภอสุวรรณภูมิ จังหวัดร้อยเอ็ด สนุ ทรราชวงศา และในปี พ.ศ. ๒๕๑๕ ไดย้ กฐานะขน้ึ จนถึงจังหวัดยโสธร รวมระยะทางประมาณ ๕๓๑ เป็นจงั หวัดยโสธร กิโลเมตร ๒. ใช้ทางหลวงหมายเลข ๑ (ถนนพหลโยธิน) ถึง จังหวัดยโสธรมีเนื้อท่ีประมาณ ๔,๑๖๑ ตาราง จังหวัดสระบุรี เลี้ยวขวาเข้าทางหลวงหมายเลข กโิ ลเมตร แบง่ ออกเปน็ ๙ อ�ำเภอ ได้แก่ อำ� เภอเมือง ๒ (ถนนมิตรภาพ) ผ่านตัวเมืองนครราชสีมา ผ่าน ยโสธร อำ� เภอทรายมลู อำ� เภอกดุ ชมุ อำ� เภอเลงิ นกทา อ�ำเภอพิมาย จนถึงอ�ำเภอบ้านไผ่ แล้วแยกขวาเข้า อ�ำเภอไทยเจริญ อ�ำเภอป่าติ้ว อ�ำเภอค�ำเขื่อนแก้ว ทางหลวงหมายเลข ๒๓ ผ่านอ�ำเภอบรบือ จังหวัด อ�ำเภอค้อวัง และอำ� เภอมหาชนะชยั มหาสารคาม อำ� เภอธวชั บรุ แี ละอำ� เภอเสลภมู ิ จงั หวดั ร้อยเอด็ จนถึงจังหวดั ยโสธร รวมระยะทางประมาณ ระยะทางจากจงั หวดั อบุ ลราชธานไี ปจงั หวดั ใกลเ้ คยี ง ๖๐๐ กิโลเมตร จังหวดั อ�ำนาจเจริญ ๕๔ กโิ ลเมตร จงั หวัดอุบลราชธานี ๙๘ กโิ ลเมตร รถโดยสารประจ�ำทาง จงั หวดั ศรสี ะเกษ ๑๕๙ กโิ ลเมตร จากสถานีขนส่งผู้โดยสารกรุงเทพฯ (จตุจักร) จังหวัดรอ้ ยเอด็ ๗๑ กิโลเมตร ถนนก�ำแพงเพชร ๒ มีรถปรับอากาศให้บริการไป จงั หวดั ยโสธรทุกวนั สอบถามข้อมูลไดท้ ่ี ระยะทางจากอ�ำเภอเมืองยโสธรไปอำ� เภอตา่ งๆ - บรษิ ัท ขนส่ง จำ� กดั โทร. ๑๔๙๐, ๐ ๒๙๓๖ อ�ำเภอทรายมลู ๑๘ กโิ ลเมตร ๒๘๕๒-๖๖ สำ� นักงานยโสธร โทร. ๐ ๔๕๗๑ ๒๙๖๕ อำ� เภอเลงิ นกทา ๖๙ กโิ ลเมตร หรอื www.transport.co.th อ�ำเภอไทยเจรญิ ๕๐ กโิ ลเมตร - บรษิ ัท นครชยั แอร์ จำ� กัด โทร. ๑๖๒๔ หรอื อำ� เภอปา่ ติว้ ๒๘ กิโลเมตร www.nakhonchaiair.com หรือสอบถามข้อมูล อ�ำเภอคำ� เข่อื นแก้ว ๒๓ กิโลเมตร ได้ที่ สถานีขนส่งผู้โดยสารจังหวัดยโสธร โทร. อำ� เภอมหาชนะชัย ๔๑ กิโลเมตร ๐ ๔๕๗๑ ๔๕๐๐ ยโสธร 7

รถไฟ จากสถานีรถไฟกรุงเทพ (หัวล�ำโพง) การเดนิ ทางภายในจงั หวัดยโสธร มีบริการรถไฟ สายกรุงเทพฯ-อุบลราชธานี จากนั้น ภายในตวั เมอื งยโสธรมรี ถสองแถว สามลอ้ เครอื่ ง และ ต่อรถโดยสารไปจังหวัดยโสธร ระยะทางประมาณ จักรยานยนต์วิ่งให้บริการรอบเมือง จุดจอดรถหลัก ๑๑๑ กิโลเมตร สอบถามข้อมูลได้ท่ี การรถไฟ เช่น สถานีขนส่งผู้โดยสารจังหวัดยโสธร ตลาด แหง่ ประเทศไทย โทร. ๑๖๙๐, ๐ ๒๒๒๐ ๔๓๓๔, เทศบาล เป็นต้น และมีรถโดยสารประจ�ำทางว่ิง ๐ ๒๒๒๐ ๔๒๖๑ หรือ www.railway.co.th ระหว่างอ�ำเภอ เครื่องบิน มีเท่ียวบินให้บริการจากท่าอากาศยาน การเดินทางจากจังหวดั ยโสธรไปจงั หวัดใกลเ้ คียง นานาชาตดิ อนเมอื ง (กรุงเทพฯ) ไปยังทา่ อากาศยาน จากสถานีขนส่งผู้โดยสารจังหวัดยโสธร มีรถ นานาชาติอบุ ลราชธานี ตง้ั อยู่ เลขท่ี ๒๙๗ ถนนเทพ โดยสารและรถตู้ให้บริการไปยังจังหวัดต่างๆ เช่น โยธี อำ� เภอเมอื งอุบลราชธานี โทร. ๐ ๔๕๒๔ ๕๖๑๒ อุบลราชธานี อ�ำนาจเจรญิ มกุ ดาหาร และรอ้ ยเอ็ด ต่อ ๒๑๕๒ สถานที่ท่องเที่ยว จากน้ันใช้บริการรถแท็กซ่ีมิเตอร์ รถสามล้อเครื่อง อำ� เภอเมอื งยโสธร หรือจักรยานยนต์รับจ้าง จากท่าอากาศยาน สวนสาธารณะพญาแถน ต้ังอยู่ถนนแจ้งสนิท นานาชาติอุบลราชธานีไปยังสถานีขนส่งผู้โดยสาร (ทางหลวงหมายเลข ๒๓) ติดกับอ่างเก็บน�้ำล�ำทวน จังหวัดอุบลราชธานี และต่อรถโดยสารประจ�ำ ภายในสวนพญาแถนมีสวนไม้ดอกไม้ประดับ ทางมายังจังหวัดยโสธร ระยะทางประมาณ ๑๐๐ สังคตี ศาลา (เวทีการแสดงกลางแจง้ ) สนามเด็กเล่น กโิ ลเมตร สอบถามข้อมลู เทีย่ วบินไดท้ ี่ และสวนสุขภาพ นอกจากน้ียังเป็นสถานท่ีจัดงาน - สายการบิน นกแอร์ โทร. ๑๓๑๘ หรือ บั้งไฟประจ�ำปี (พญาแถนเป็นชื่อของเทพเจ้าแห่ง www.nokair.com ฝน ตามความเชื่อของชาวอีสานว่าเมื่อถึงเดือนหก - สายการบนิ ไทย ไลออ้ น แอร์ โทร. ๐ ๒๕๒๙ จะต้องท�ำบ้ังไฟจุดขึ้นไปบนท้องฟ้าถวายพญาแถน ๙๙๙๙ หรือ www.lionairthai.com ฝนจะได้ตกต้องตามฤดูกาล) และยังใช้เป็นสถานท่ี - สายการบิน ไทย สมายล์ โทร. ๑๑๘๑, จัดงานแข่งเรือส้ัน (เรือหาปลา) ประจ�ำปี และงาน ๐ ๒๑๑๘ ๘๘๘๘ หรอื www.thaismileair.com สงกรานต์อกี ด้วย - สายการบนิ ไทยแอร์เอเชยี www.airasia.com พพิ ธิ ภณั ฑพ์ ญาคนั คาก (พพิ ธิ ภณั ฑค์ างคก) ตง้ั อยู่ นอกจากนยี้ งั มเี ทย่ี วบนิ จากทา่ อากาศยานนานาชาติ รมิ อา่ งเกบ็ นำ้� ลำ� ทวน บรเิ วณสวนสาธารณะพญาแถน ดอนเมือง (กรุงเทพฯ) ไปยังท่าอากาศยานร้อยเอ็ด ลักษณะเป็นอาคารสูง ๕ ช้ัน จำ� ลองรูปรา่ งคางคกตวั จากน้ันต่อรถโดยสารประจ�ำทางไปยังจังหวัดยโสธร สงู ใหญ่ ภายในตวั อาคารจดั แสดงนทิ รรศการบอกเลา่ ระยะทาง ๖๓ กโิ ลเมตร สอบถามขอ้ มลู เทยี่ วบนิ ไดท้ ี่ ต�ำนานการสู้รบระหว่างพญาคันคากกับพญาแถน - สายการบนิ ไทยแอร์เอเชยี www.airasia.com อันเป็นที่มาของประเพณีบุญบ้ังไฟ รวมถึงข้อมูล 8 ยโสธร

สวนสาธารณะพญาแถน พิพธิ ภัณฑ์พญาคนั คาก (พิพธิ ภัณฑ์คางคก) ใกลเ้ คยี งกนั เปน็ ทต่ี ง้ั ของ พพิ ธิ ภณั ฑพ์ ญานาค ภายใน ทางชีววิทยาของคางคกสายพันธุ์ต่างๆ ประเพณีฮีต จดั แสดงเรอื่ งราวเกย่ี วกบั ตำ� นานพญานาคและงใู หญ่ ๑๒ อัตลกั ษณ์เมืองยโสธร และช้ันบนสุดของอาคาร ท่ัวโลก รวมถึงความเช่ือและประเพณีส�ำคัญของ บริเวณปากพญาคันคากยังเป็นจุดชมวิวตัวเมือง ภาคอสี านท่ีเกย่ี วกบั พญานาค เปน็ การใชแ้ สงสีเสียง ยโสธรและแมน่ ้ำ� ทวน ในการนำ� เสนอได้อยา่ งน่าสนใจ ทั้งพิพิธภัณฑ์พญาคันคากและพิพิธภัณฑ์พญานาค เปิดให้เข้าชมวันพุธ-วันจันทร์ (ปิดวันอังคาร) โดย วันธรรมดา เปิดให้เข้าชมเวลา ๑๐.๐๐-๑๖.๓๐ น. วนั เสาร์-อาทิตย์ เปิดใหเ้ ข้าชมเวลา ๐๙.๐๐-๑๗.๐๐ น. ค่าเข้าชม : ชาวจังหวัดยโสธร คนละ ๒๐ บาท คนต่างจังหวัดและชาวต่างชาติ คนละ ๔๐ บาท สอบถามข้อมูลได้ที่ ส�ำนักงานจังหวัดยโสธร โทร. ๐ ๔๕๗๑ ๔๒๑๑ ยโสธร 9

พระธาตยุ โสธร หรอื พระธาตอุ านนท์ วดั มหาธาตุ วดั มหาธาตุ พระอารามหลวง ตง้ั อยถู่ นนวารรี าชเดช ต้นรัตนโกสินทร์ ตรงกับประวัติการตั้งเมืองและ ตำ� บลในเมอื ง เปน็ วดั คบู่ า้ นคเู่ มอื งของยโสธรมาตง้ั แต่ ประวตั ขิ องวดั มหาธาตฉุ บบั หนง่ึ วา่ พระธาตฯุ สรา้ งราว แรกสร้างเมือง โบราณสถานท่สี ำ� คัญในวัด ได้แก่ ปี พ.ศ. ๒๓๒๑ โดยท้าวหน้า ท้าวค�ำสิงห์ ท้าวคำ� ผา พระพุทธบุษยรัตน์ หรือ พระแก้วหยดน�้ำค้าง เป็น ซึ่งเดิมเป็นเสนาบดีเก่าของกรุงศรีสัตนาคนหุต พระพทุ ธรปู ปางสมาธิ ศลิ ปะสมยั เชยี งแสน สรา้ งจาก (เวียงจันทน์) ต่อมาได้อพยพผู้คนภายใต้การน�ำ เนอ้ื แก้วใส ขนาดหนา้ ตกั กว้าง ๑.๙ น้วิ เป็นพระคู่ ของพระวอ พระตา ราวปี พ.ศ. ๒๓๑๓-๒๓๑๙ มา บ้านคู่เมืองของยโสธรที่พระบาทสมเด็จพระน่ังเกล้า ตง้ั ถนิ่ ฐาน ณ ท่ีน้ี เจา้ อยู่หัว รัชกาลที่ ๓ โปรดเกลา้ ฯ พระราชทานให้ ลักษณะพระธาตุมีฐานรูปส่ีเหลี่ยมจัตุรัส ยาวด้าน พระสุนทรราชวงศาเจา้ เมืองยโสธรคนแรก ละ ๘๑ เมตร ก่ออิฐถือปูน เอวฐานคอดเป็นรูปบัว พระธาตุยโสธร หรือ พระธาตุอานนท์ ต้ังอยู่หน้า คว่ำ� บัวหงาย เหนอื ขนึ้ ไปเป็นเรือนธาตุ มซี ุ้ม ๔ ทิศ พระอุโบสถ เป็นพระธาตุรุ่นเก่าท่ีส�ำคัญองค์หน่ึง ประดิษฐานพระพุทธรูปประทับยืน ส่วนยอดธาตุมี ในภาคอีสาน เจดีย์ทรงสี่เหล่ียมส่วนยอดคล้าย ยอดปลีเล็กแซมทั้ง ๔ ด้าน ยอดกลางทรงส่ีเหลี่ยม พระธาตุพนม ภายในพระธาตุบรรจุอัฐิธาตุของ สอบ มี ๒ ชนั้ รูปแบบการก่อสร้างคล้ายกับพระธาตุ พระอานนท์ การก่อสร้างได้รับอิทธิพลศิลปะลาว ก่องข้าวน้อย และทางวัดจะจัดให้มีงานสมโภชพระ ที่นิยมสร้างข้ึนเม่ือปลายสมัยกรุงศรีอยุธยาถึง ธาตอุ านนทข์ ึ้นเปน็ ประจ�ำทกุ ปใี นเดือนมีนาคม 10 ยโสธร

หอไตร เป็นที่เก็บคัมภีร์ใบลานของวัด ตั้งอยู่กลาง สระน�้ำทางทิศตะวันออกเฉียงเหนือของพระธาตุ เปน็ รปู สเ่ี หลย่ี มผนื ผา้ ลกั ษณะแบบหอไตรภาคอสี าน ทั่วไป มีทางเดินโดยรอบติดกันใต้ชายคา บริเวณนี้ เปน็ ทีเ่ ก็บรักษาต้พู ระธรรม หีบพระธรรม เสลยี่ งชัน้ วางคมั ภรี ซ์ งึ่ นำ� มาจากเวยี งจนั ทน์ ซมุ้ ประตแู ละบาน ประตูไม้สลักลวดลายเครือเถาลงรักปิดทองอย่าง สวยงาม การตกแต่งฝาผนังมีลวดลายเป็นลักษณะ ผสมแบบภาคกลาง สันนิษฐานว่าหอไตรสร้างขึ้นใน สมยั รชั กาลที่ ๔-๕ แหง่ กรุงรตั นโกสนิ ทร์ หอไตร วัดมหาธาตุ ยา่ นเมืองเกา่ บา้ นสงิ หท์ ่า ตั้งอยบู่ รเิ วณคุม้ บ้านสิงห์ ทา่ ในเขตเทศบาลเมอื งยโสธร เป็นย่านการค้าตงั้ แต่ สมัยโบราณและได้เจริญขึ้นเม่ือสมัยฝร่ังเศสเข้ามา มีอิทธิพลมากในภูมิภาคนี้ ช่วงนั้นเองผู้ที่มีฐานะดี ได้มีการน�ำเข้าช่างฝีมือจากเวียดนามจ�ำนวนมาก เขา้ มาสรา้ งบา้ นเรอื น ทำ� ใหบ้ า้ นเรอื นมสี ถาปตั ยกรรม แบบจนี ผสมยโุ รป (ชโิ นโปรตกุ สี ) ทงี่ ดงาม ปจั จบุ นั ยงั ปรากฏใหเ้ หน็ บนถนนศรสี นุ ทร นครทมุ อทุ ยั รามฤทธ์ิ และวทิ ยะธำ� รงค์ บางแหง่ ยงั คงความสมบรู ณอ์ ยมู่ าก บอกถึงบรรยากาศของความเปน็ อดีต สรา้ งเสน่หใ์ ห้ บา้ นสิงห์ท่าสวยงามมาจนทุกวันน้ี และในยา่ นน้เี ป็น แหล่งท�ำปลาส้มและลอดช่องยโสธร ของฝากช่ือดัง ทไ่ี มค่ วรพลาดชิมอีกดว้ ย ยา่ นเมืองเก่าบ้านสิงหท์ า่ ยโสธร 11

พระธาตุก่องข้าวน้อย ต้ังอยู่ในเขตวัดพระธาตุ ด้วยสาเหตุเพียงว่าข้าวที่เอามาส่งดูจะน้อยไปไม่พอ ก่องข้าวน้อย ต�ำบลตาดทอง สร้างในพุทธศตวรรษ กนิ ครนั้ เมอ่ื กนิ ขา้ วอม่ิ แลว้ ขา้ วยงั ไมห่ มดจงึ ไดส้ ตคิ ดิ ท่ี ๒๓-๒๕ ตรงกับสมัยอยุธยาตอนปลาย พระธาตุ ส�ำนึกผิดท่ีกระท�ำรุนแรงต่อมารดาของตนเองจนถึง ก่องข้าวน้อยเป็นเจดีย์เก่าสมัยขอม ก่ออิฐถือปูน แก่ความตาย จึงได้สร้างพระธาตุก่องข้าวน้อยแห่ง รปู ทรงแปลกไปจากเจดียโ์ ดยทวั่ ไปคอื มีลักษณะเป็น น้ีขึ้น เพ่ือเป็นการอุทิศส่วนกุศลขออโหสิกรรมและ ก่องข้าว บริเวณด้านหลังพระธาตุมีพระพุทธรูปอยู่ ลา้ งบาปทต่ี นกระทำ� มาตฆุ าต องค์หนึ่งก่อด้วยอิฐ ชาวบ้านนับถือว่าศักดิ์สิทธิ์มาก และในเดือนห้าจะมีผู้คนนิยมมาสรงน�้ำพระและ นอกจากนี้ที่บริเวณบ้านตาดทอง กรมศิลปากร ปดิ ทอง เชอื่ กันว่าถ้าไมท่ ำ� เชน่ นฝ้ี นจะแลง้ ในปนี ัน้ ได้ด�ำเนินการขุดค้นเร่ืองราวของมนุษย์สมัยก่อน ประวัติศาสตร์ ได้ค้นพบโครงกระดูกมนุษย์สมัย พระธาตุก่องขา้ วนอ้ ยมปี ระวตั คิ วามเปน็ มาที่นา่ สนใจ ก่อนประวัติศาสตร์ และภาชนะลายเขียนสีแบบ ซ่ึงผิดไปจากปูชนียสถานแห่งอื่นๆ ที่มักเกี่ยวพัน บ้านเชยี ง กับเรื่องพุทธศาสนา แต่ประวัติความเป็นมาของ พระธาตกุ อ่ งขา้ วนอ้ ยกลบั เปน็ เรอ่ื งของหนมุ่ ชาวนาท่ี ทำ� นาตัง้ แตเ่ ช้าจนเพล มารดาสง่ ข้าวสายเกิดหวิ ขา้ ว จนตาลาย อารมณ์ชั่ววูบท�ำให้เขากระท�ำมาตุฆาต พระธาตุก่องข้าวน้อย 12 ยโสธร

การเดินทาง จากตัวเมืองยโสธร ใช้ทางหลวง หมายเลข ๒๑๖๙ (ยโสธร-กุดชุม) จะพบทางแยก ซ้ายเลี้ยวเข้าหมู่บ้านทุ่งนางโอก รวมระยะทางจาก ตวั เมืองยโสธร ๑๑ กิโลเมตร หมู่บ้านนาสะไมย์ ตั้งอยู่ใกล้กับบ้านทุ่งนางโอก ต�ำบลนาสะไมย์ มีช่ือเสียงในเร่ืองการจักสานไม้ไผ่ การแกะสลักเกวยี น การทำ� หมอนขดิ และผลติ ภณั ฑ์ เครื่องทองเหลือง โดยชาวบ้านในพื้นท่ีจะรวม กลุ่มกันผลิตงานฝีมือเพื่อจ�ำหน่ายท้ังปลีกและส่ง นักท่องเท่ียวที่สนใจสามารถเดินเท่ียวชมในหมู่บ้าน และซื้อหาหรือสั่งท�ำผลิตภัณฑ์เหล่านี้กับชาวบ้าน บ้านทุ่งนางโอก มีช่ือเสยี งในการจักสานไม้ไผ่ การเดินทาง จากตัวเมืองยโสธร ใช้ทางหลวง หมายเลข ๒๓ (ยโสธร-อบุ ลราชธาน)ี จนถงึ เขตตำ� บล ตาดทอง เล้ียวซ้ายไปอีก ๑ กิโลเมตร ถึงพระธาตุ กอ่ งขา้ วน้อย รวมระยะทางจากตัวเมอื ง ๙ กิโลเมตร หมู่บ้านทุ่งนางโอก อยตู่ ำ� บลทงุ่ นางโอก เปน็ หมบู่ า้ น ท่ีมีช่ือเสียงในการจักสานไม้ไผ่ เพื่อเป็นเคร่ืองใช้ใน ครัวเรือนและของท่ีระลึก เช่น กระติบข้าว ภาชนะ นึ่งข้าว กระบุง ตะกร้า ฯลฯ นักท่องเท่ียวที่สนใจ สามารถเดินเท่ียวชมในหมู่บ้านและซื้อหาหรือสั่งท�ำ ผลิตภัณฑ์เหล่าน้ีกับชาวบ้านในหมู่บ้านได้โดยตรง สอบถามข้อมูลได้ท่ี องค์การบริหารส่วนต�ำบลทุ่ง นางโอก โทร. ๐ ๔๕๗๖ ๐๘๗๐ การแกะสลักเกวยี นจ�ำลอง บา้ นนาสะไมย์ ยโสธร 13

หอไตร วัดสระไตรนุรักษ์ ในหมู่บ้านได้โดยตรง สอบถามข้อมูลได้ท่ี องค์การ อ�ำเภอทรายมูล บริหารสว่ นตำ� บลนาสะไมย์ โทร. ๐ ๔๕๗๕ ๖๙๕๙ หอไตร วดั สระไตรนรุ กั ษ์ ตงั้ อยใู่ นวดั สระไตรนรุ กั ษ์ กลุม่ ผลิตเคร่อื งจักสานและเกวียน โทร. ๐๘ ๔๙๕๘ บ้านนาเวียง ต�ำบลนาเวียง เป็นหอไตรเก่าแก่กลาง ๕๖๙๓ สระน้�ำ สันนิษฐานว่าสร้างขึ้นช่วงพุทธศตวรรษ ท่ี ๒๓-๒๔ โดยพระครหู ลกั คำ� (ชา) ใชเ้ กบ็ ธรรมคมั ภรี ์ การเดินทาง จากตัวเมืองยโสธร ใช้ทางหลวง ที่น�ำมาจากเมอื งเวียงจันทน์ หมายเลข ๒๑๖๙ (ยโสธร-กุดชุม) ผ่านทางเข้า หมู่บ้านทุ่งนางโอก ตรงต่อไปไม่ไกลจะพบแยกขวา ลกั ษณะสถาปตั ยกรรมเปน็ หอไตรกลางนำ�้ ตวั อาคาร เลย้ี วเขา้ หมบู่ า้ นนาสะไมย์ รวมระยะทางจากตวั เมอื ง สรา้ งด้วยไม้ ในผังส่เี หล่ียมผืนผ้า กวา้ ง ๘.๓๐ เมตร ยโสธร ๑๙ กโิ ลเมตร ยาว ๑๐.๕๐ เมตร ตั้งอยู่บนเสาไม้กลมจ�ำนวน ๓๐ ต้น หันหน้าไปทางทิศตะวันออก ภายในแบ่ง เป็นส่วนห้องเก็บคัมภีร์และส่วนระเบียงโดยรอบ ห้องเก็บคัมภีร์เป็นห้องทึบ ต้ังบนฐานบัวสูง เหนือ 14 ยโสธร

วัดภถู �้ำพระ ฐานบัวประดับกระจกส่ีเหล่ียมเป็นระยะๆ มีประตู อ�ำเภอเลิงนกทา ในตอนกลางด้านหน้า บานประตูเป็นไม้แกะสลัก วัดภูถ้�ำพระ ต้ังอยู่ทางทิศตะวันออกของหมู่บ้าน ลวดลายพันธุ์พฤกษา ผนังระเบียงตีไม้ระแนงทแยง กุดแห่ ต�ำบลกุดเชียงหมี ท่ีเรียกว่า “ภูถ้�ำพระ” เปน็ รปู กา้ งปลา โครงสรา้ งอาคารใชเ้ สาไมร้ บั นำ้� หนกั เนื่องจากมีพระพุทธรูปอยู่ในถ้�ำจ�ำนวนมาก ถ้�ำพระ โครงสร้างหลังคาทรงปั้นหยาซ้อนชั้นลดหล่ันกัน เปน็ ถ้�ำใหญ่กว้างประมาณ ๓ วา ยาวประมาณ ๘ วา ขึ้นไป มงุ ดว้ ยแปน้ เกลด็ ดา้ นหนา้ หอไตรมสี ะพานไม้ ต้ังอยู่ชะง่อนภูด้านทิศใต้ มีทางเข้าไปตามซอกหิน มุงหลังคาจั่วเช่ือมจากฝั่ง ปัจจุบันใช้เป็นพิพิธภัณฑ์ เป็นอุโมงค์ จากปากถ้�ำเลยไปทางทิศเหนือสามารถ หอไตรประวตั ศิ าสตร์ วดั สระไตรนุรักษ์ เดนิ ลอดไปได้ บนภเู ขาลกู นี้นอกจากจะมีบรรยากาศ ร่มเย็นและร่มรื่นไปด้วยป่าไม้หนาทึบแล้ว บริเวณ การเดินทาง จากตัวอ�ำเภอทรายมูล ใช้ทางหลวง โดยรอบยังมถี ้�ำอนื่ ๆ โดบรอบอกี หลายแห่ง อกี หมายเลข ๒๑๖๙ (ยโสธร-เลงิ นกทา) จนถึงสามแยก วดั บ้านโคกยาว ใหเ้ ลี้ยวซา้ ยเข้าทางหลวงชนบท ยส. ๔๐๒๑ ตรงไปสดุ ทางจะพบสามแยกใหเ้ ลยี้ วขวา และ ตรงไปจนถงึ บา้ นนาเวยี ง รวมระยะทางจากตวั อำ� เภอ ทรายมูล ๒๔ กโิ ลเมตร ยโสธร 15

โบสถค์ รสิ ต์ บา้ นซง่ แย้ (วัดอคั รเทวดามคิ าแอล) การเดินทาง จากตัวอ�ำเภอเลิงนกทา ใช้ทางหลวง หมายเลข ๒๑๒ (เลงิ นกทา-มกุ ดาหาร) จนถงึ ชว่ งหลกั กิโลเมตรที่ ๔๖๓ เขตบา้ นดอนม่วง จะมแี ยกขวาไป วดั ภถู ำ�้ พระ ตรงเขา้ ไปอกี ๖ กโิ ลเมตร ถงึ วดั ภถู ำ�้ พระ รวมระยะทางจากตัวอำ� เภอเลิงนกทา ๑๖ กิโลเมตร อ�ำเภอไทยเจรญิ โบสถ์คริสต์บ้านซ่งแย้ (วัดอัครเทวดามิคาแอล) ต้ังอยู่บ้านหนองซ่งแย้ หมู่ท่ี ๒ ต�ำบลค�ำเตย เป็น หนง่ึ ในแหล่งทอ่ งเทย่ี ว Unseen in Thailand เปน็ โบสถ์คริสต์นิกายโรมันคาทอลิกท่ีสร้างด้วยไม้ขนาด ใหญ่ท่ีสุดในประเทศไทย ใช้เสาไม้ทั้งเล็กและใหญ่ เกือบ ๓๐๐ ต้น และไม้มุงหลังคา ๘๐,๐๐๐ แผ่น มีสถาปตั ยกรรมแบบไทย โดยตั้งแต่ปี พ.ศ. ๒๕๔๘ เป็นต้นมา ทางจังหวัดยโสธรได้ร่วมกับหน่วยงาน ทเ่ี กยี่ วขอ้ ง จดั พธิ สี มรสหมแู่ บบคาทอลกิ ใหก้ บั คบู่ า่ ว สาวในวนั วาเลนไทนข์ องทกุ ปี ณ โบสถแ์ ห่งน้ี ภายในโบสถ์ครสิ ต์ บา้ นซ่งแย้ วดั อัครเทวดามิคาแอล 16 ยโสธร

การเดนิ ทาง จากตวั เมอื งยโสธร ใชท้ างหลวงหมายเลข และกระเทียมแทนการซ้ือขาย รวมท้ังเป็นของฝาก ๒๑๖๙ (ยโสธร-เลิงนกทา) จนถึงเขตต�ำบลค�ำเตย ส�ำหรับกับญาติพี่น้องต่างถิ่น การน�ำหมอนขวาน จะพบทางเขา้ โบสถ์อยรู่ มิ ถนนซ้ายมือ รวมระยะทาง ผ้าขิดมาเป็นของฝากน้ีเองท�ำให้หมอนบ้านศรีฐาน จากตัวเมืองยโสธร ๔๕ กิโลเมตร หากมาจากตัว มชี ่อื เสียงและเปน็ ทร่ี ู้จักกว้างขวาง ปัจจบุ นั นอกจาก อำ� เภอไทยเจรญิ ใชถ้ นนเสน้ ผา่ นหนา้ โรงพยาบาลไทย หมอนขิดแล้วยังมีผลิตภัณฑ์อีกหลายอย่าง เช่น เจรญิ ซง่ึ จะมาบรรจบกบั ทางหลวงหมายเลข ๒๑๖๙ ทนี่ อนพบั ทน่ี อนระนาด หมอนกระดกู หมอนรองคอ เส้นทางเดยี วกบั การเดินทางมาจากตวั จงั หวัด หมอนผลไม้ เบาะรองน่งั ฯลฯ นักทอ่ งเที่ยวท่ีสนใจ สามารถไปเที่ยวชมในหมู่บ้านและซื้อหาหรือส่ังท�ำ อ�ำเภอป่าตว้ิ ผลิตภณั ฑก์ บั ชาวบ้านในหมู่บ้านได้โดยตรง หมู่บ้านท�ำหมอนขิดบ้านศรีฐาน ต้ังอยู่ต�ำบล ศรฐี าน เป็นการสบื ทอดภูมปิ ญั ญาทอ้ งถน่ิ ทยี่ าวนาน การเดินทาง จากตัวเมืองยโสธร ใช้ทางหลวง คือการผลิตหมอนขวานผ้าขิด มีการเร่ิมต้นมาจาก หมายเลข ๒๐๒ (ยโสธร-ปา่ ติ้ว-อ�ำนาจเจริญ) จนถงึ การทำ� หมอนหนนุ ซงึ่ ใชใ้ นครวั เรอื น ทำ� บญุ ถวายพระ ระหว่างหลักกิโลเมตรท่ี ๑๘-๑๙ จะมีทางแยกขวา ตลอดจนใช้ในงานประเพณีต่างๆ และใช้ใน เข้าหมบู่ า้ น ตรงเข้าไปอีก ๓ กโิ ลเมตร รวมระยะทาง การแลกเปล่ียนสงิ่ ของเชน่ แลกข้าว ปลา พริก หอม จากตวั เมอื งยโสธร ๒๔ กิโลเมตร การท�ำหมอนขิด บา้ นศรีฐาน ยโสธร 17

อำ� เภอค�ำเขือ่ นแกว้ แหลง่ โบราณสถานบา้ นสงเปอื ย ตง้ั อยตู่ ำ� บลสงเปอื ย ขอม ในพพิ ธิ ภณั ฑน์ ม้ี เี ตยี งบรรทมเจา้ เมอื ง (เปน็ ศลิ า) ปชู นียสถานท่ีนา่ สนใจมดี ังน้ี และศลิ าจารกึ สนั นิษฐานวา่ เปน็ อักษรขอมโบราณ พระพุทธรปู ใหญ่ เป็นพระประธานในพระอโุ บสถวดั ซากเมืองโบราณดงเมืองเตย อยู่ทางทิศใต้ของหมู่ สงเปอื ย มีขนาดหน้าตักกว้าง ๓ เมตร สงู ๘ เมตร บา้ นสงเปอื ยห่าง ภายในบริเวณดงเมืองเตยมีซากวัด เป็นพระพุทธรูปปั้นด้วยอิฐและปูน มีอายุไม่น้อย สระน�้ำ ก�ำแพงเมือง ซึ่งปัจจุบันได้ช�ำรุดลงไปมาก กว่า ๒๐๐ ปี แล้ว แต่ยังมีเค้าโครงเดิมพอจะสันนิษฐานได้ว่าเดิม เจดีย์บรรจุดินจากสังเวชนียสถาน เดิมเป็นเจดีย์เก่า เปน็ ทต่ี งั้ ของชมุ ชนโบราณสมยั เจนละ-ทวารวดี ตงั้ แต่ มอี ายุมากกวา่ ๒๐๐ ปี ในปี พ.ศ. ๒๔๙๘ ได้บูรณะ พทุ ธศตวรรษที่ ๑๒ ขนึ้ ใหม่ โดยนำ� ดินจากสงั เวชนียสถาน ๔ ต�ำบล คือ ท่ีประสูติ ตรัสรู้ แสดงปฐมเทศนา และปรินิพพาน การเดนิ ทาง จากตัวอำ� เภอคำ� เขอ่ื นแก้ว ใช้ทางหลวง จากประเทศอนิ เดยี มาบรรจไุ ว้ หมายเลข ๒๓ ผา่ นหนา้ สำ� นกั งานสาธารณสขุ อ�ำเภอ รอยพระพุทธบาทจ�ำลอง สร้างโดยจอมพลแปลก คำ� เขือ่ นแก้ว จะพบซอยทางซา้ ยมือเล้ยี วเขา้ ไป ผา่ น พิบูลสงคราม และท่านผู้หญิง ในวันสงกรานต์ของ โรงเรียนบ้านสงเปือยไปประมาณ ๑.๕ กิโลเมตร ทกุ ปมี ปี ระชาชนในทอ้ งถน่ิ มาสรงนำ้� เปน็ จำ� นวนมาก จะพบพพิ ธิ ภณั ฑข์ องโบราณบา้ นสงเปอื ยอยใู่ นวดั ดง พิพิธภัณฑ์ของโบราณ เป็นสถานท่ีรวบรวมของ เมืองเตย รวมระยะทางจากตัวอ�ำเภอค�ำเข่ือนแก้ว โบราณซงึ่ เกบ็ และขดุ ไดจ้ ากดงเมอื งเตยเมอื งเกา่ สมยั ๖.๕ กโิ ลเมตร แหล่งโบราณบ้านสงเปอื ย 18 ยโสธร

พระธาตุกู่จาน ต้ังอยู่ภายในวัดกู่จาน ต�ำบลกู่จาน วดั พระพุทธบาทยโสธร เปน็ ปชู นียสถานสำ� คญั ของชาวเมอื งยโสธร ลกั ษณะ เป็นเจดีย์ทรงบัวเหล่ียมรูปทรงคล้ายพระธาตุพนม พระธาตกุ ่จู าน จังหวัดนครพนม แต่มีขนาดเล็กกว่า สันนิษฐานว่า ยโสธร 19 สร้างข้ึนตามคตินิยมในการสร้างพระธาตุทั่วไป คือ เพื่อการบรรจุพระบรมสารีริกธาตุ ในทุกปีจะมีการ จดั พธิ ีสรงนำ้� พระธาตกุ ู่จาน ในชว่ งวนั เพญ็ เดอื น ๖ การเดนิ ทาง จากตัวอ�ำเภอค�ำเข่อื นแกว้ ใช้ทางหลวง หมายเลข ๒๓ (ยโสธร-อบุ ลราชธานี) จนถึงต�ำบลลมุ พกุ ใหเ้ ลย้ี วซา้ ยและตรงไปอกี ๗ กโิ ลเมตร รวมระยะ ทางจากตวั อ�ำเภอคำ� เขอ่ื นแก้ว ๑๐ กิโลเมตร อ�ำเภอมหาชนะชัย วัดพระพุทธบาทยโสธร ตั้งอยู่บนเนินทรายริมฝั่ง แม่น้�ำชี บ้านหนองยาง ต�ำบลหัวเมือง ภายในวัด ประดิษฐานรอยพระพุทธบาทเป็นเนินทรายขาวสูง มีพระพุทธรูปปางนาคปรก (ศิลาแลง) ๑ องค์ และหลักศิลาจารึกท�ำด้วยศิลาแลง ๑ หลัก มีตัว หนงั สอื โบราณบนั ทกึ ไวว้ า่ โบราณวตั ถุทง้ั ๓ อย่างนี้

พระธาตุยโสธร หรอื พระธาตอุ านนท์ วดั มหาธาตุ พระมหาอุตตปัญญาและสิทธิวิหาริก ได้น�ำมาจาก กรงุ ศรอี ยธุ ยา เมอื่ ปี พ.ศ. ๑๓๗๘ ภายในวัดยงั มี พระเจดยี ์มหาชนะชยั สูง ๔๕ เมตร มี ๓ ช้ัน ชั้นท่ี ๑ จัดแสดงศิลปหัตถกรรมเครื่อง ใช้ของคนอีสานในอดีต มีห้องสมุดส�ำหรับค้นคว้า พระธรรมวินัย พระไตรปิฎก ชั้นท่ี ๒ จัดแสดงหุ่น ขี้ผ้ึงรูปเหมือนบูรพาจารย์ ๘ องค์ ชั้นท่ี ๓ เป็น ทบ่ี รรจพุ ระบรมสารรี กิ ธาตแุ ละพระธาตปุ ระดษิ ฐาน ในบุษบกแกะสลักสีทอง นอกจากน้ีภายใน พระอโุ บสถยงั เปน็ ทปี่ ระดษิ ฐานพระพทุ ธรปู หยกขาว ขนาดใหญ่ที่สุดในประเทศไทยอกี ด้วย การเดินทาง จากตัวอ�ำเภอมหาชนะชยั ใชท้ างหลวง หมายเลข ๒๐๘๓ (ทางไปจังหวัดศรีสะเกษ) ผ่าน โรงพยาบาลมหาชนะชยั จะพบสามแยก ใหเ้ ลย้ี วขวา เข้าทางหลวงหมายเลข ๒๒๒๗ ตรงไปจนถึงต�ำบล หัวเมือง จะพบทางเขา้ วดั อย่รู ิมถนนทางขวามือ รวม ระยะทางจากตวั อำ� เภอมหาชนะชยั ๑๑ กโิ ลเมตร พระพทุ ธรูปหยกขาว วดั พระพทุ ธบาทยโสธร วัดหอก่อง 20 ยโสธร

ประเพณแี ห่มาลัยขา้ วตอก มาลยั ขา้ วตอก ณ วดั หอกอ่ ง อยใู่ นศาลาวดั หอกอ่ ง ความเป็นมาของมาลัยข้าวตอก เกิดจากความ ต�ำบลฟ้าหยาด เป็นสถานที่เก็บมาลัยข้าวตอก เชื่อในพระไตรปิฎกส่วนที่ว่าด้วยพระสุตตันตปิฎก ซงึ่ เกดิ ภมู ปิ ญั ญาของชาวบา้ นทไ่ี ดเ้ หน็ ถงึ ความสำ� คญั บทปรนิ ิพพานสูตร กล่าวคอื ดอกมณฑารพ ซึ่งเปน็ ของข้าว จึงได้น�ำเมล็ดข้าวเปลือกมาคั่ว เรียกว่า ดอกไม้บนสวรรค์ชั้นดาวดึงส์ มีความสวยงามและ ข้าวตอก แล้วน�ำมาร้อยเรียงประดิษฐ์ตกแต่งเป็น มีกล่ินหอมเป็นพิเศษ ซ่ึงดอกมณฑารพจะบานและ มาลัยท่ีสวยงาม และน�ำมาถวายเป็นพุทธบูชาใน ร่วงหล่นลงมายังโลกมนุษย์แต่ละคร้ังก็ด้วยเพราะมี วนั มาฆบชู าของทกุ ปี กอ่ นจะถกู รวบรวมนำ� มาเกบ็ ไว้ เหตกุ ารณส์ ำ� คญั เกดิ ขนึ้ เชน่ พระพทุ ธเจา้ ทรงประสตู ิ ในศาลาวดั หอกอ่ ง เพอ่ื ใหน้ กั ทอ่ งเทยี่ วและผสู้ นใจได้ ตรัสรู้ ปรนิ พิ พาน จาตรุ งคสนั นิบาต และทรงแสดง ชืน่ ชมความสวยงามตอ่ ไป ธมั มจกั กปั ปวตั ตนสตู ร ครงั้ เมอ่ื พระพทุ ธเจา้ ทรงเสดจ็ ดบั ขนั ปรนิ พิ พาน ดอกมณฑารพนก้ี ไ็ ดร้ ว่ งหลน่ ลงมา เทศกาลงานประเพณี ท้ังก้านและกิ่ง เปรียบเสมือนความเสียอกเสียใจ ประเพณีแห่มาลัยข้าวตอก จัดข้ึนช่วงวันมาฆบูชา ต่อการเสด็จดับขันปรินิพพานของพระพุทธเจ้า ของทุกปี ณ สนามหน้าที่ว่าการอ�ำเภอมหาชนะชัย เหล่าพระภิกษุผู้ได้ชื่อว่าอรหันต์และประชาชนท้ัง โดยชาวบ้านจะน�ำข้าวตอกขาวท่ีคัดจากข้าวเปลือก หลายได้พากันมาถวายสักการะพระบรมศพของ ท่ีดีที่สุด มาเรียงร้อยเป็นมาลัยและประดับตกแต่ง สมเด็จพระสัมมาสัมพุทธเจ้า โดยน�ำข้าวตอกมา อย่างสวยงาม สื่อความหมายแทนดอกมณฑารพ สักการะ เพราะถือว่าข้าวเป็นส่ิงท่ีมีคุณค่าและเป็น เพือ่ ถวายเป็นพทุ ธบูชาแด่องค์พระสัมมาสมั พทุ ธเจ้า ของสูงท่ีมนุษย์จะขาดไม่ได้ ต่อมาจึงมีการน�ำมา ยโสธร 21

งานประเพณีบุญบั้งไฟ จัดขึ้นในวันเสาร์-อาทิตย์ ที่ ๒ ของเดอื นพฤษภาคม ของทกุ ปี ณ สวนสาธารณะ พญาแถน อ�ำเภอเมืองยโสธร โดยแต่เดิมมี วัตถุประสงค์เพื่อแสดงออกถึงความสามัคคีของ หมคู่ ณะ และมคี วามเชอื่ วา่ เมอื่ จดั งานนแี้ ลว้ เทพยดา และสิ่งศักด์ิสิทธิ์ท้ังหลายจะดลบันดาลให้มีฝนตก ถูกต้องตามฤดูกาล ท�ำให้พืชพันธุ์ธัญญาหารอุดม สมบรู ณ์ ประเพณีแห่มาลยั ขา้ วตอก ประดิษฐ์ตกแต่งเป็นมาลัยท่ีสวยงาม เป็นที่มาของ “มาลยั ขา้ วตอก” ประเพณหี นงึ่ เดยี วในโลก ทอี่ ำ� เภอ มหาชนะชยั จงั หวัดยโสธร ในงานประเพณีแห่มาลยั ข้าวตอก ขบวนแหม่ าลัยจะ ขบวนแหบ่ ญุ บง้ั ไฟ ไปสนิ้ สดุ ณ วดั หอกอ่ ง เพอื่ นำ� มาลยั ไปถวายพระภกิ ษุ เป็นพุทธบูชา จากน้ันมาลัยข้าวตอกจะถูกน�ำไปจัด แสดงทีพ่ ิพิธภัณฑภ์ ายในวัดหอก่องตอ่ ไป นอกจากนี้ ยังมีการแสดงแสงสีเสียงส่ือผสม การประกวดธิดา มาลัย และศลิ ปวัฒนธรรมพื้นบ้านอกี ด้วย พิธีสมรสหมู่แบบคาทอลิกที่โบสถ์คริสต์บ้านซ่งแย้ บง้ั ไฟแตล่ ะอนั ทมี่ าเขา้ ขบวนแห่ จะถกู ตกแตง่ ประดบั (วัดอัครเทวดามิคาแอล) จัดข้ึนในวันวาเลนไทน์ ประดาอย่างสวยงาม หัวบ้ังไฟนั้นส่วนมากนิยมท�ำ (๑๔ กุมภาพนั ธ์ ของทกุ ปี) ณ โบสถ์คริสตบ์ า้ นซ่งแย้ เป็นรูปหัวพญานาคอ้าปากแลบล้ินพ่นน�้ำได้ บ้างก็ ต�ำบลค�ำเตย อ�ำเภอไทยเจริญ โดยมีพิธีสมรสหมู่ ท�ำเป็นรูปอื่น ๆ แต่ก็มีความหมายเข้ากับต�ำนานใน แบบคาทอลิกให้กับคู่บ่าวสาวท่ีปรารถนาจะใช้ การขอฝนท้งั สน้ิ ตวั บ้ังไฟจะถกู น�ำมาตง้ั บนฐาน โดย ชีวิตคู่ร่วมกัน การจัดพิธีดังกล่าวจะถูกจัดข้ึนอย่าง ใช้รถหรือเกวียนเป็นพาหนะแห่ตามประเพณี สมเกียรติแก่คู่บ่าวสาวและแขกที่มาร่วมงาน มขี บวนแหข่ นั หมาก พธิ มี สิ ซา พธิ สี มรสแบบคาทอลกิ นอกจากนี้ยังมีกิจกรรมต่างๆ ที่น่าสนใจในช่วง พิธีอวยพร และการแสดงศิลปวัฒนธรรมเพื่อแสดง ของการจัดงาน ได้แก่ ขบวนแห่บั้งไฟสวยงาม ความยินดกี บั คสู่ มรส การประกวดแห่กาพย์เซ้ิงบ้ังไฟ การสาธิตและ 22 ยโสธร

ร่วมการแกะลายบ้ังไฟ การแสดงรถบ้ังไฟโบราณ ข้าวหอมมะลิ ยโสธรเป็นจังหวัดท่ีจากการส�ำรวจ การประกวดเวทีกองเชียร์บ้ังไฟ การประกวดธิดา พบวา่ เกษตรกรนิยมปลกู ขา้ วหอมมะลแิ บบอนิ ทรยี ์ บง้ั ไฟโก้ การแสดงแสงสสี ่อื ผสมต�ำนานพญาคันคาก กนั มาก และผลผลติ ขา้ วทไ่ี ดน้ นั้ มคี ณุ ภาพสงู นำ� ไปหงุ (ต�ำนานบญุ บั้งไฟยโสธร) การจุดบ้งั ไฟปฐมฤกษแ์ ละ แลว้ มกี ลน่ิ หอมรสชาตดิ ี เปน็ ทนี่ ยิ มของผบู้ รโิ ภคทงั้ ใน บั้งไฟเส่ียงทาย การจุดบั้งไฟแฟนซี (บ้ังไฟติดร่ม และตา่ งประเทศ สามารถหาซอื้ ขา้ วหอมมะลิไดต้ าม มีควันสี) การแข่งขันบ้ังไฟติดร่มแฟนซี และบั้งไฟ ร้านจำ� หน่ายข้าวทกุ อำ� เภอของยโสธร ขนึ้ สงู และการออกรา้ นจำ� หนา่ ยสนิ คา้ และผลติ ภณั ฑ์ ทอ้ งถ่ินของดีจังหวัดยโสธร แตงโม ถือเป็นอีกหน่ึงพืชเศรษฐกิจหลักของยโสธร เนื่องจากสภาพดินในพื้นที่มีแร่ธาตุท่ีเหมาะสมกับ สนิ ค้าพน้ื เมือง การปลูกแตงโม ท�ำให้ผลผลิตท่ีได้มีรสชาติดี เป็น หมอนขิด แหล่งผลิตหมอนขิดท่ีส�ำคัญของยโสธร ที่นิยมของผู้บริโภค พันธุ์แตงโมที่นิยมปลูกในพื้นท่ี อยทู่ ่ี บา้ นศรฐี าน ตำ� บลศรฐี าน อำ� เภอปา่ ตว้ิ ปจั จบุ นั ยโสธร ไดแ้ ก่ แตงโมพนั ธก์ุ นิ รี และพนั ธจ์ุ นิ ตหรา โดย นอกจากหมอนขิดแล้วยังมีผลิตภัณฑ์อีกหลายอย่าง ผลผลติ จะออกสตู่ ลาดในชว่ งเดอื นเมษายน-มถิ นุ ายน เช่น ทน่ี อนพบั ทีน่ อนระนาด หมอนกระดกู หมอน ของทุกปี แหล่งปลูกแตงโมที่มีช่ือเสียงของยโสธร รองคอ หมอนผลไม้ เบาะรองนั่ง ฯลฯ สามารถซอื้ อยทู่ ่ี บา้ นคำ� แดง ตำ� บลเดดิ อำ� เภอเมอื งยโสธร ในชว่ ง หาหรือสั่งท�ำผลิตภัณฑ์กับชาวบ้านในหมู่บ้านได้ เวลาทแี่ ตงโมใหผ้ ลผลติ ออกสตู่ ลาด สามารถซอ้ื หารบั โดยตรง และยังมจี ำ� หนา่ ยตามรา้ นขายสนิ คา้ ทร่ี ะลกึ ประทานได้จากแผงขายแตงโมทั่วทง้ั จงั หวดั ยโสธร ทวั่ ท้ังจงั หวัด หมอนขดิ ยโสธร 23

ร้านจำ� หน่ายสนิ คา้ ทรี่ ะลึก อำ� เภอเมอื งยโสธร กลมุ่ ผลติ เครื่องจกั สานไม้ไผ่ บา้ นทุง่ นางโอก ต�ำบล แม่แยม้ หมอนขดิ ๗๓ หมทู่ ่ี ๑ บา้ นศรฐี าน ตำ� บล ทงุ่ นางโอก โทร. ๐ ๔๕๗๖ ๐๘๗๐ (เครือ่ งจกั สาน ศรฐี าน โทร. ๐๘ ๑๕๗๙ ๐๕๙๒, ๐๘ ๘๑๒๙ ๔๔๓๕ ไมไ้ ผ่ เชน่ กระตบิ ขา้ ว ภาชนะนงึ่ ขา้ ว กระบงุ ตะกรา้ ) (หมอนขิด ทนี่ อนลกู ระนาด ฯลฯ) กลุ่มผลิตเครื่องจักสานและเกวียน บ้านนาสะไมย์ อ�ำเภอค�ำเข่อื นแก้ว ต�ำบลนาสะไมย์ โทร. ๐๘ ๔๙๕๘ ๕๖๙๓, ๐ ๔๕๗๕ ผ้าขาวม้าทอมือบ้านค�ำศิริ หมู่ท่ี ๗ ต�ำบลกู่จาน ๖๙๕๙ (เครอ่ื งจักสานไมไ้ ผ่ เกวยี นไม้) โทร. ๐ ๔๕๗๙ ๐๐๗๗ อำ� เภอป่าติ้ว ตวั อยา่ งรายการนำ� เท่ยี ว (๒ วนั ๑ คืน) กลุ่มสตรีพัฒนาหมอนขิดบ้านศรีฐาน หมู่ท่ี ๔ วนั ที่ ๑ (อ�ำเภอเมอื งยโสธร) บา้ นศรฐี าน ตำ� บลศรฐี าน โทร. ๐๘ ๐๔๗๒ ๐๙๗๙ เช้า - วัดมหาธาตุ พระอารามหลวง (หมอนขิด เบาะรองนัง่ ท่นี อนลกู ระนาด ฯลฯ) - ย่านเมืองเก่าบ้านสิงห์ท่า บ่าย - พระธาตุก่องข้าวน้อย กญั ญาดาหมอนขดิ ๒๕๐ หมทู่ ่ี ๑ บา้ นศรฐี าน ตำ� บล - พิพิธภัณฑ์พญาคันคากและ ศรีฐาน โทร. ๐๘ ๖๘๖๖ ๔๘๘๐ (หมอนขดิ ท่นี อน พิพิธภัณฑ์พญานาค ณ สวนสาธารณะพญาแถน ลูกระนาด ฯลฯ) ยา่ นเมอื งเกา่ บ้านสงิ หท์ ่า 24 ยโสธร

วันที่ ๒ (อ�ำเภอไทยเจริญ-อ�ำเภอป่าต้ิว-อ�ำเภอ ขอ้ แนะนำ� ในการท่องเทีย่ ว มหาชนะชัย) เชา้ - โบสถ์คริสต์บ้านซ่งแย้ - ศึกษาและสอบถามรายละเอียดข้อมูลเก่ียวกับ (วัดอัครเทวดามิคาแอล) สถานท่ีท่องเท่ียวแต่ละประเภทก่อนการเดินทาง - หมู่บ้านท�ำหมอนขิดบ้านศรีฐาน หรือติดต่อวิทยากร หรือผู้น�ำทาง ตามความเหมาะ บา่ ย - วัดพระพุทธบาทยโสธร สมของสถานที่ท่องเท่ียวแต่ละแหง่ - มาลัยข้าวตอก ณ วัดหอก่อง - การท่องเที่ยวแหล่งท่องเท่ียวทางธรรมชาติ ควร ศกึ ษาฤดกู าลและชว่ งเวลาทเี่ หมาะสมในการเดนิ ทาง โบสถค์ รสิ ต์ บา้ นซง่ แย้ (วัดอคั รเทวดามคิ าแอล) และเพ่ือจัดเตรียมอุปกรณ์ส�ำหรับการท่องเท่ียวได้ ถูกต้อง - ร่วมกันรักษาทรัพยากรทางการท่องเท่ียว เพื่อให้ เป็นการท่องเท่ยี วที่ยัง่ ยนื สบื ต่อคนรนุ่ ตอ่ ไป - ไม่ประพฤติปฏิบัติขัดต่อวิถีชีวิตและประเพณนี ยิ ม ของคนในทอ้ งถนิ่ - การแตง่ กายทเี่ หมาะสมสำ� หรบั การทอ่ งเทย่ี วแตล่ ะ สถานที่ เช่น ศาสนสถานตา่ ง ๆ ควรแตง่ กายสภุ าพ - ในการเดินทางไม่ควรประมาท และต้องค�ำนึงถึง ความปลอดภัย - ปฏบิ ตั ติ ามระเบยี บ ขอ้ กำ� หนด และคำ� แนะนำ� ของ เจ้าหนา้ ทใี่ นสถานท่ที ่องเทย่ี วอยา่ งเครง่ ครัด พิพธิ ภัณฑ์พญาคันคาก ยโสธร 25

26 ยโสธร

ยโสธร 27

28 ยโสธร

ยโสธร 29

หมายเลขโทรศพั ท์สำ� คัญ สำ�นกั งานประชาสมั พนั ธจ์ งั หวัด โทร. ๐ ๔๕๗๑ ๑๐๙๓ สำ�นกั งานจงั หวดั โทร. ๐ ๔๕๗๑ ๔๒๑๑-๐ ๔๕๗๑ ๒๗๒๒ โรงพยาบาลยโสธร โทร. ๐ ๔๕๙๗ ๓๙๐๐ โรงพยาบาลนายแพทยห์ าญ โทร. ๐ ๔๕๗๑ ๑๓๕๖, ๐ ๔๕๗๑ ๒๕๔๖ โรงพยาบาลรวมแพทย์ยโสธร โทร. ๐ ๔๕๗๑ ๒๑๔๒ สถานีตำ�รวจภธู รจังหวัดยโสธร โทร. ๑๙๑, ๐ ๔๕๗๑ ๑๖๘๔ สถานีตำ�รวจภธู รเมืองยโสธร โทร. ๐ ๔๕๗๑ ๑๕๗๒ ตำ�รวจทางหลวง โทร. ๑๑๙๓ ตำ�รวจทอ่ งเท่ยี ว โทร. ๑๑๕๕ 30 ยโสธร พิพิธภัณฑ์พญาคันคาก

ศนู ย์ขอ้ มลู ท่องเท่ียว การทอ่ งเท่ยี วแห่งประเทศไทย (ททท.) ส�ำนกั งานใหญ่ ๑๖๐๐ ถนนเพชรบุรี แขวงมกั กะสนั เขตราชเทวี กรุงเทพฯ ๑๐๔๐๐ โทร. ๑๖๗๒, ๐ ๒๒๕๐ ๕๕๐๐ โทรสาร ๐ ๒๒๕๓ ๗๔๔๐ อเี มล : [email protected] www.tourismthailand.org เปดิ บรกิ ารทุกวัน เวลา ๐๘.๓๐-๑๖.๓๐ น. ทา่ อากาศยานสุวรรณภมู ิ ฝง่ั ผ้โู ดยสารขาเข้าในประเทศ ประตู ๓ ชน้ั ๒ โทร. ๐ ๒๑๓๔ ๐๐๔๐ (๒๔ ชวั่ โมง) ททท. ส�ำนกั งานอุบลราชธานี ๒๖๔/๑ ถนนเข่ือนธานี อำ�เภอเมืองอบุ ลราชธานี จังหวดั อุบลราชธานี ๓๔๐๐๐ โทร. ๐ ๔๕๒๔ ๓๗๗๐, ๐ ๔๕๒๕ ๐๗๑๔ โทรสาร ๐ ๔๕๒๔ ๓๗๗๑ อเี มล : [email protected] พืน้ ท่ีความรบั ผดิ ชอบ: อบุ ลราชธานี อ�ำนาจเจรญิ ยโสธร เปิดบรกิ ารทกุ วนั เวลา ๐๘.๓๐-๑๖.๓๐ น. ปรับปรุงขอ้ มูล มกราคม ๒๕๖๓ ยโสธร 31

ประเพณีบญุ บ้งั ไฟ ขอ้ มลู : ททท. สำ�นกั งานอุบลราชธานี บรกิ าร ๒๔ ชวั่ โมง กองขา่ วสารทอ่ งเทยี่ ว (โทร. ๐ ๒๒๕๐ ๕๕๐๐ ตอ่ ๒๑๔๐-๖) อีเมล : [email protected] ออกแบบและจัดพิมพ์ : กองขา่ วสารทอ่ งเทย่ี ว ฝา่ ยบริการการตลาด www.tourismthailand.org ข้อมลู รายละเอยี ดทร่ี ะบใุ นเอกสารน้ีอาจมีการเปลีย่ นแปลงได้ ลขิ สิทธิข์ องการทอ่ งเที่ยวแหง่ ประเทศไทย มกราคม ๒๕๖๓ ห้ามจำ�หน่าย 32 ยโสธร