Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore Phatthalung ข้อมูลจังหวัดพัทลุง

Description: Phatthalung ข้อมูลจังหวัดพัทลุง

Search

Read the Text Version

ตน้ นา้ํ ลำ�ธารทไ่ี หลรวมกันเปน็ ทะเลสาบสงขลาในพนื้ ที่ ๔ จังหวดั คอื พทั ลงุ ตรงั สตูล และสงขลา ชนิดป่าและพรรณไม้พื้นท่ีของเขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่าเขาบรรทัดส่วนใหญ่ เปน็ ปา่ ดงดบิ ชน้ื ประมาณ ๘๐% ของพน้ื ทท่ี ง้ั หมด พน้ื ทภี่ เู ขามลี กั ษณะเปน็ ดนิ มากกวา่ หิน พรรณไมท้ มี่ ีคา่ และส�ำ คญั ของพ้นื ท่ี ได้แก่ ไมต้ ระกลู ยาง หลมุ พอ ตะเคียนต่าง ๆ ไข่เขยี ว ขานาง ฯลฯ นอกจากป่าดบิ ชืน้ แล้วยังประกอบด้วยป่าดบิ เขาซึ่งมีอยู่ประมาณ ๒๐% ของพน้ื ท่ี พน้ื ทป่ี า่ ของเขตรกั ษาพนั ธสุ์ ตั วป์ า่ เขาบรรทดั เปน็ ปา่ ดงดบิ ชนื้ จงึ มสี ตั ว์ ปา่ ชกุ ชมุ ท้ังสตั วค์ ร่งึ บกครงึ่ น้ํา สัตวป์ ีก เชน่ นกเงอื ก นกกาฮัง นกหว้า เป็นต้น สัตว์ เลย้ี งลูกด้วยนม เชน่ กวาง เสือ สมเสรจ็ กระจง เลยี งผา เม่น เก้ง ชะนี ลิง ค่าง บา่ ง กระรอก ฯลฯ และสตั ว์เล้อื ยคลาน สถานทที่ ่องเท่ยี ว คอื นา้ํ ตกลานหมอ่ มจยุ้ อยูใ่ นพ้ืนทข่ี องหนว่ ยพทิ กั ษป์ า่ บา้ น ตะโหมด อำ�เภอตะโหมด จังหวดั พทั ลงุ น้าํ ตกไพรวลั ย์อย่ใู นพืน้ ทข่ี องหน่วยพิทักษป์ า่ บ้านพูด อำ�เภอกงหรา จงั หวัดพทั ลุง นํา้ ตกโตนแพรทองอยใู่ นพนื้ ทีข่ องหนว่ ยพิทกั ษ์ ปา่ บา้ นโตน อ�ำ เภอศรนี ครินทร์ จงั หวดั พัทลุง ๔) โลมาอิรวดี พบในพ้นื ท่ีเขตห้ามล่าสตั วป์ ่าทะเลหลวง สถานการณค์ วาม อยู่รอดของโลมาอิรวดีในประเทศไทยมีแนวโน้มจำ�นวนลดลง เนื่องจากลักษณะทาง ชวี วทิ ยาหรอื พฤตกิ รรมของโลมาอริ วดมี คี วามเสยี่ งตอ่ การสญู พนั ธส์ุ งู เชน่ ความตอ้ งการ พ้นื ทอ่ี าศัยท่มี ลี ักษณะเฉพาะ หรอื การตกลูกเพยี งคราวละ ๑ ตวั ๕) หมูเ่ กาะส่ี – เกาะหา้ (เกาะรงั นก) จังหวดั พัทลงุ มีรงั นกนางแอ่นทดี่ ีและมี คณุ ภาพ บรเิ วณเกาะสี่ – เกาะหา้ ต�ำ บลเกาะหมาก อำ�เภอปากพะยนู จังหวดั พทั ลงุ มกี ารสมั ปทานเพอ่ื น�ำ รงั นกไปจ�ำ หนา่ ย สภาพธรรมชาตขิ อง เกาะสี่ – เกาะหา้ สวยงาม มากแห่งหน่ึงของจังหวัดพัทลุง แนวโน้มอาจเป็นจุดขายด้านการท่องเท่ียวเชิงอนุรักษ์ ทสี่ �ำ คญั ของจงั หวดั พทั ลงุ และเปน็ แหลง่ ทอ่ งเทย่ี วทางประวตั ศิ าสตร์ “ตามรอยประพาส สมเด็จพระพทุ ธเจา้ หลวง” บรรยายสรุปจังหวัดพัทลุง ๒๕๕๙ 51

แหล่งท่องเท่ียว จังหวัดพัทลุงมีทรัพยากรด้านการท่องเที่ยวมากมาย ประกอบด้วย สถานที่ ท่องเท่ยี วประเภทธรรมชาติ สถานทีท่ อ่ งเทยี่ วทางประวตั ศิ าสตร์ และศลิ ปวฒั นธรรม เปน็ แหลง่ ก�ำ เนดิ หนงั ตะลงุ มโนราหแ์ ละยงั คงรกั ษาเอกลกั ษณศ์ ลิ ปะการแสดง สบื ทอด มาถงึ ปจั จบุ ัน แหลง่ ท่องเทีย่ วทางธรรมชาติ อุทยานนกนา้ํ ทะเลนอ้ ย เปน็ อทุ ยานนกนา้ํ ทใี่ หญ่ที่สดุ ในประเทศไทย ต้ังอยู่ ทีต่ ำ�บลทะเลนอ้ ย อ�ำ เภอควนขนุน มเี นอื้ ท่ปี ระมาณ ๔๕๐ ตารางกโิ ลเมตร (พื้นดิน ๔๒๒ ตร.กม. และพนื้ นา้ํ ๒๘ ตร.กม.) เปน็ ทอี่ าศยั ของนกนา้ํ หลากพนั ธุ์ ประมาณ ๑๘๗ ชนิด และมพี ืชไมน้ านาพันธุ์มากมาย ใช้เสน้ ทางหลวงหมายเลข ๔๐๔๘ จากอำ�เภอ เมอื งพัทลุง อำ�เภอควนขนุน ระยะทาง ๓๒ กโิ ลเมตร 52 บรรยายสรุปจังหวดั พัทลงุ ๒๕๕๙

อทุ ยานแหง่ ชาตเิ ขาปู่ – เขายา่ มีเนอื้ ทปี่ ระมาณ ๔๓๓,๗๕๐ ไร่ หรือ ๖๙๔ ตารางกโิ ลเมตร มสี ภาพเปน็ ปา่ ดงดบิ ชน้ื พรรณไมท้ ส่ี �ำ คญั เชน่ หลมุ พอ เคย่ี ม ตะเคยี นทอง และมสี ตั วป์ า่ ทส่ี �ำ คญั เชน่ สมเสรจ็ แรด ลงิ คา่ ง และนกตา่ งๆ ใชเ้ สน้ ทางหมายเลข ๔๑ ไปอำ�เภอควนขนุน แยกซ้ายเขา้ ทางหลวงหมายเลข ๔๑๖๔ สูอ่ �ำ เภอศรบี รรพต เข้าไป ประมาณ ๑๗ กโิ ลเมตร และแยกซ้ายเข้าอีก ๔ กิโลเมตร ถึงทที่ �ำ การอทุ ยาน เขตรกั ษาพนั ธส์ุ ตั วป์ า่ เทอื กเขาบรรทดั มเี นอื้ ทปี่ ระมาณ ๑๖๗ ตารางกโิ ลเมตร ครอบคลมุ พนื้ ทต่ี รงั สงขลา สตลู ภมู ปิ ระเทศเปน็ เทอื กเขา เปน็ แหลง่ ตน้ นา้ํ ล�ำ ธารและ พรรณไมม้ คี า่ มากมาย ทที่ �ำ การตง้ั อยตู่ �ำ บลบา้ นนา อ�ำ เภอศรนี ครนิ ทร์ หา่ งจากตวั เมอื ง พัทลุงไปตามทางหลวงแผ่นดิน หมายเลข ๔ ระยะทาง ๒๗ กโิ ลเมตร หาดแสนสขุ ลำ�ป�ำ เปน็ หาดทรายทมี่ ที วิ สนรม่ ร่ืน เปน็ ทะเลสาบน้ําจืดที่ใหญ่ ท่ีสุดในเอเซีย (ทะเลสาบสงขลา) กลางวงเวียนมีรูปป้ันปูนฝูงปลาลำ�ปำ� ซึ่งเป็นปลา ท้องถิ่นที่อาศัยในบริเวณหาดแสนสุขลำ�ปำ� มีศาลากลางนํ้า ชื่อว่า “ศาลาลำ�ปำ� ท่ีรัก”สำ�หรับชมทิวทัศน์ทะเลสาบสงขลา และจากบริเวณชายหาดมีสะพานเชื่อมไป ยังเกาะลอยซ่งึ เป็นเกาะที่เกิดจากการทับถมของดินตะกอนปากน้ําล�ำ ป�ำ เดินทางจาก เมอื งพทั ลงุ ไปตามถนนทางหลวงหมายเลข ๔๐๔๗ ระยะทาง ๑๐ กโิ ลเมตร แหลมจอง ถนน ตั้งอยู่ตำ�บลจองถนน จากเมืองพทั ลงุ ไปตามเสน้ ทางสายเพชรเกษม เลยี้ วซ้าย ผา่ นอ�ำ เภอเขาชยั สนไปอกี ประมาณ ๑๒ กิโลเมตร เปน็ หมู่บ้านชาวประมง อยู่บนเนนิ ดนิ และลาดชนั ลงไปยงั ทะเลสาบสงขลา สามารถมองเหน็ ทวิ ทศั นเ์ กาะแกง่ ตา่ งๆ ไดเ้ ปน็ อยา่ งดี บรรยายสรุปจงั หวัดพัทลุง ๒๕๕๙ 53

บอ่ นํ้ารอ้ น บ่อน้ําเยน็ (ธารนา้ํ เยน็ ) ต้ังอย่ตู �ำ บลเขาชยั สน อำ�เภอเขาชัยสน เชอ่ื กนั วา่ เปน็ นาํ้ ศกั ดส์ิ ทิ ธทิ์ ใ่ี ชร้ กั ษาโรคบางอยา่ งได้ อยหู่ า่ งจากตวั จงั หวดั พทั ลงุ ไปทาง ทิศใต้ตามทางหลวงหมายเลข ๔ ประมาณ ๒๕ กิโลเมตร แยกซา้ ย (บา้ นทา่ นางพรหม) เขา้ ทางหลวงหมายเลข ๔๐๘๑ ไปอ�ำ เภอเขาชยั สน ระยะทาง ๗ กโิ ลเมตรบริเวณถนน สุขาภบิ าลซอย ๒ ตดิ ท่ีวา่ การอ�ำ เภอเขาชยั สน จะมีถนนลาดยางแยกขวามือเข้าไปอีก ประมาณ ๑ กโิ ลเมตร ถึงหน้าผาเชงิ เขาชยั สนอันเปน็ ทต่ี ้ังของบ่อน้าํ เย็น แต่เป็นสวน พกั ผ่อนเลยไปอกี ๓๐๐ เมตร เป็นบอ่ นํา้ ร้อน ลักษณะเป็นแอ่งน้าํ รอ้ น 54 บรรยายสรุปจังหวดั พัทลุง ๒๕๕๙

นํ้าตกไพรวัลย์ ต้ังอยู่ในหน่วยพิทักษ์ป่าบ้านพูด เขตรักษาพันธ์ุสัตว์ป่าเขา บรรทดั ตำ�บลคลองเฉลิม อ�ำ เภอกงหรา ใช้เสน้ ทางจากบา้ นคลองหมวยไปตามถนน ล�ำ สนิ ธบ์ุ ้านกงหรา (ทางหลวงหมายเลข ๔๑๒๒) ระยะทาง ๒๓ กิโลเมตร เป็นนํา้ ตก ขนาดใหญ่ มคี วามงดงามตามธรรมชาติ เงยี บสงบและรม่ เยน็ อดุ มไปดว้ ยพรรณไมน้ านา ชนิด นา้ํ ตกหม่อมจุ้ย ตั้งอยใู่ นบรเิ วณหนว่ ยพิทกั ษป์ า่ ตะโหมด อยหู่ า่ งจากทีท่ ำ�การ อ�ำ เภอตะโหมด ระยะทาง ๑๒ กโิ ลเมตร การเดนิ ทางใชเ้ สน้ ทางหมายเลข ๔๑๒๑ และ ต่อด้วยเส้นทางหมายเลข ๔๑๓๗ (อยู่ทางตอนใต้ของเมืองพัทลุง) แยกทางหลวง หมายเลข ๔ เข้าไปจนถึงวดั ตะโหมด ระยะทางจากอำ�เภอตะโหมดถงึ นํา้ ตกประมาณ ๕ กิโลเมตร เป็นน้ําตกท่ีอยู่ท่ามกลางป่าท่ีร่มร่ืน ลักษณะของนํ้าตกจะแบ่งเป็นชั้นๆ แตล่ ะชน้ั มชี อ่ื ตา่ งกนั มแี อง่ นา้ํ สามารถเลน่ นา้ํ ได้ มลี านกวา้ งเหมาะแกก่ ารพกั ผอ่ นหยอ่ นใจ ภูเขาอกทะลุ จากวัดคหู าสวรรค์ มงุ่ หนา้ ไปบนทางหลวงหมายเลข ๔๐๔๗ จะ พบภูเขาอกทะลุ ตงั้ ตระหง่านอยู่ทางทศิ ตะวันออกของสถานรี ถไฟพัทลุง ภเู ขาอกทะลุ เป็นสญั ลักษณข์ องจังหวัดพัทลุง มีความสงู ๒๕๐ เมตร มบี ันไดขนึ้ ยอดเขาเพือ่ ชมวิว ทวิ ทศั นข์ องเมอื งพทั ลงุ ได้ ลกั ษณะพเิ ศษของภเู ขาลกู นี้ คอื มโี พรงทะลมุ องเหน็ อกี ดา้ น หนึง่ อยบู่ รเิ วณเกือบตอนปลายของยอดเขา ซ่ึงเป็นที่มาของชอื่ ภเู ขา ถ้ําสุมโน ตั้งอยู่ทต่ี �ำ บลบา้ นนา อ�ำ เภอศรีนครนิ ทร์ อยูห่ ่างจากตัวเมืองพัทลงุ ไปตามถนนสายพัทลุง - ตรัง (ทางหลวงแผน่ ดนิ สายเพชรเกษม หมายเลข ๔ ระยะทาง ๒๑ กโิ ลเมตร) เปน็ ถา้ํ ทมี่ หี นิ งอก หนิ ยอ้ ย และมหี อ้ งโถงกวา้ งใหญโ่ ต และรม่ เยน็ สวยงาม วิจิตรตระการตาตามธรรมชาติ ถํ้ามสี องชนั้ คือ ช้นั แรกเสมอกับพนื้ ราบและช้ันใต้ดนิ ภายในถา้ํ มพี ระพทุ ธรปู ปางตา่ งๆ หลายองค์ นอกจากนน้ั ถา้ํ สมุ โนยงั เปน็ สถานทว่ี ปิ สั นา ท่มี ีชือ่ เสียงโดง่ ดงั ในกลุ่มของผู้ทแ่ี สวงธรรม บรรยายสรุปจังหวดั พัทลงุ ๒๕๕๙ 55

ล่องแก่ง จังหวัดพัทลุงมีกิจกรรมล่องแก่งส�ำ หรับผู้ผจญภัยและชอบความต่ืน เตน้ ซงึ่ ปัจจบุ นั เป็นแหลง่ ท่องเที่ยวทไ่ี ด้รบั ความนิยมแพรห่ ลาย เป็นแหลง่ ทอ่ งเทีย่ วที่ ต้ังอยู่ในพื้นท่ีอำ�เภอป่าพะยอม ห่างจากตัวเมืองพัทลุงไปตามถนนสายพัทลุง – นครศรธี รรมราช (ทางหลวงแผ่นดินสายเอเชียหมายเลข ๔๑) ระยะทาง ๔๐ กโิ ลเมตร แหลง่ ท่องเที่ยวโบราณสถานและโบราณวตั ถุ วดั วงั ตงั้ อยตู่ �ำ บลล�ำ ป�ำ อ�ำ เภอเมอื งพทั ลงุ หา่ งจากเมอื งพทั ลงุ ไปตามทางหลวง หมายเลข ๔๐๔๗ ระยะทาง ๖ กโิ ลเมตร เปน็ ปชู นยี สถานทสี่ �ำ คญั แหง่ หนง่ึ ของจงั หวดั พัทลงุ สร้างโดยพระยาพัทลุง (ทองขาว) ในสมยั รัชกาลที่ ๓ และอดตี เป็นสถานทที่ �ำ พธิ ถี อื นาํ้ พพิ ฒั นส์ ตั ยาในสมยั รตั นโกสนิ ทร์ ภายในพระอโุ บสถมภี าพเขยี นฝาผนงั เขยี น ด้วยสีฝุ่น เก่ียวกับพุทธประวัติและเทพพระประธานเป็นพระพุทธรูปปูนปั้น สมัย เดียวกนั ในระเบยี งคตโดยมีพระพทุ ธรูปปูนปน้ั จ�ำ นวน ๑๐๘ องค์ 56 บรรยายสรุปจงั หวัดพัทลงุ ๒๕๕๙

วัดคูหาสวรรค์ ต้ังอยู่เชิงเขาคูหาสวรรค์ ใกล้กับตลาดสดเทศบาลเมืองพัทลุง วัดนี้สร้างสมัยอยุธยา และต่อมาได้ยกฐานะขึ้นเป็นอารามหลวงแห่งแรกของจังหวัด พทั ลงุ ภายในวดั นม้ี ถี าํ้ พระพทุ ธรปู ปางไสยาสนอ์ งคใ์ หญ่ และพระพทุ ธรปู นง่ั ประดษิ ฐาน อยู่ตามผนังถา้ํ และบริเวณหน้าถ้ํามจี ารกึ พระปรมาภิไธยยอ่ ของพระมหากษัตรยิ แ์ ละ เชอื้ พระวงศห์ ลายพระองค์ พระพุทธนิรโรคันตรายชยั วัฒนจ์ ตุรทิศ หรือทเ่ี รยี กกันวา่ พระสมี่ มุ เมอื ง เปน็ พระพทุ ธรปู ประจ�ำ ภาคใตแ้ ละปชู นยี วตั ถคุ เู่ มอื งของจงั หวดั พทั ลงุ ประดษิ ฐานอยภู่ ายใน ศาลาจตรุ มขุ บรเิ วณดา้ นหนา้ ระหวา่ งศาลากลางจงั หวดั พทั ลงุ กบั ศาลจงั หวดั พทั ลงุ เปน็ พระพุทธรูปหล่อสัมฤทธิ์ปางสมาธิที่พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวรัชกาลปัจจุบัน (รัชการที่ ๙) โปรดเกลา้ พระราชทานไว้ที่จังหวัดพัทลงุ เม่อื ปี พ.ศ. ๒๕๑๑ อนสุ าวรยี พ์ ระยาทกุ ขราษฎร์ (ชว่ ย) ประดษิ ฐานอยทู่ สี่ ามแยกทา่ มหิ ร�ำ ต�ำ บล ทา่ มหิ ร�ำ อ�ำ เภอเมอื งพทั ลงุ ตามประวตั กิ ลา่ ววา่ พระยาทกุ ขราษฎร์ (ชว่ ย) เดมิ เปน็ พระ สงฆช์ ื่อพระมหาชว่ ย จ�ำ พรรษาอยูท่ ่ีวดั ปา่ ลไิ ลยก์ในสมยั รัชการที่ ๑ ซึ่งในขณะนน้ั เกดิ สงคราม ๙ ทพั พระมหาช่วยไดช้ ว่ ยเหลอื พระยาพทั ลงุ นำ�ชาวบ้านเข้าตอ่ ต้านกองทัพ พมา่ จนแตกพา่ ย ตอ่ มาจงึ ลาสกิ ขาบทและได้รบั โปรดเกลา้ ให้เป็น พระยาทุกขราษฎร์ (ช่วย) ท�ำ ราชการเมอื งพัทลุง มีต�ำ แหนง่ พระยาเทยี บเทา่ เจ้าเมอื ง วดั เขยี นบางแกว้ ตงั้ อยหู่ มทู่ ๔่ี ต�ำ บลจองถนน อ�ำ เภอเขาชนั สนตามเสน้ หลวง หมายเลข ๔๐๘๑ หา่ งจากที่ว่าการอำ�เภอเขาชัยสน ๗ กิโลเมตร วดั เขียนตั้งอย่ทู ่รี ิม ทะเลสาบสงขลา เปน็ วดั ทเี่ กา่ แกม่ พี ระธาตบุ างแกว้ ซง่ึ สรา้ งแบบเดยี วกบั พระมหาธาตุ เจดยี ์นคร แต่มขี นาดเลก็ กวา่ เป็นปูชนียสถานทเ่ี ก่าแก่ที่สุดแหง่ หนึ่งของจงั หวัดพัทลงุ เชื่อกันว่าสร้างมาต้ังแต่สมัยกรุงศรีอยุธยาตอนต้น สันนิษฐานว่าพ้ืนท่ีบริเวณวัดนี้ เปน็ ทต่ี ง้ั ของเมอื งพทั ลงุ มากอ่ น เพราะไดพ้ บซากปรกั หกั พงั ของศลิ าแลงและพระพทุ ธรปู มากมาย บรรยายสรปุ จังหวดั พทั ลงุ ๒๕๕๙ 57

58 บรรยายสรปุ จังหวดั พทั ลงุ ๒๕๕๙

ศนู ยว์ ฒั นธรรมบา้ นตะโหมด ตง้ั อยใู่ นบรเิ วณโรงเรยี นประชาบ�ำ รงุ จากวดั ตะโหมด ไปศูนย์วฒั นธรรม ระยะทาง ๑ กโิ ลเมตร เป็นศูนยร์ วบรวมวฒั นธรรมท้องถ่ิน วถิ ีชีวิต พน้ื บา้ นของชมุ ชนบา้ นตะโหมด นบั เปน็ สง่ิ ทมี่ คี ณุ คา่ และคนรนุ่ หลงั จะไดส้ บื ทอดความ เปน็ มาของชุนชนตะโหมด หม่บู า้ นหตั ถกรรมรูปหนังตะลงุ ตงั้ อยู่หม่ทู ่ี ๑ ต�ำ บลท่าทะเด่อื ตามเส้นทาง จากสามแยกถนนเพชรเกษมไปทางรถไฟ ระยะทาง ๙ กโิ ลเมตร เปน็ หมบู่ า้ นหตั ถกรรม รูปหนงั ตะลงุ และหนังใหญ่ ส่งจ�ำ หนา่ ยท้งั ในและตา่ งประเทศ วงั เจา้ เมอื งพทั ลงุ หรอื วงั เกา่ – วงั ใหม ่ ตง้ั อยทู่ ตี่ �ำ บลล�ำ ป�ำ อ�ำ เภอเมอื งพทั ลงุ เดมิ เปน็ ทวี่ า่ ราชการและเปน็ ทอ่ี ยอู่ าศยั ของเจา้ เมอื งพทั ลงุ ปจั จบุ นั คงเหลอื อยสู่ ว่ นหนงึ่ คอื วงั เกา่ สรา้ งในสมัยพระยาพัทลงุ (นอ้ ย จันทรโรจนวงษ)์ เป็นผวู้ า่ ราชการจงั หวัด ตอ่ มาวงั ไดต้ กทอดมาจนถงึ ประไพ มตุ ามะระ บตุ รขี องหลวงศวี รฉตั ร สว่ นวงั ใหม่ สรา้ ง เมือ่ พ.ศ.๒๔๖๒ โดยพระยาอภัยบริรักษ์ จักราวิชติ พพิ ิธภักดี (เนตร จนั ทรโรจนวงษ์) บตุ รชายของพระยาพทั ลงุ ซงึ่ เปน็ เจา้ เมอื งพทั ลงุ ปจั จบุ นั ทายาทตระกลู จนั ทรโรจนวงษ์ ไดม้ อบวงั นใ้ี หเ้ ปน็ สมบตั ขิ องชาติ และกรมศลิ ปากรไดป้ ระกาศขน้ึ ทะเบยี นเปน็ โบราณสถาน แหง่ ชาติ เมอ่ื พ.ศ.๒๕๒๖ บรรยายสรปุ จงั หวดั พัทลุง ๒๕๕๙ 59

6600 บรรยายสรุปจังหวัดพสงัทขลลุงา๒๒๕๕๕๕๙๘

พทั ลงุสถานการณท์ างเศรษฐกจิ ของจงั หวดั บบรรรรยยาายยสสรรปุ ุปจจังงั หหววดั ดั สพงัทขลงุา ๒๕๕๘๙ 661

โครงสรา้ งเศรษฐกิจและรายไดป้ ระชากร สภาพทางเศรษฐกจิ เศรษฐกจิ ของจงั หวดั พทั ลงุ โครงสรา้ งสว่ นใหญข่ นึ้ อยกู่ บั สาขาการเกษตรกรรมเปน็ หลกั รองลงมา ไดแ้ ก่ สาขาการศกึ ษา และสาขาอตุ สาหกรรม โดยมีสัดส่วนตามผลิตภัณฑ์มวลรวมจังหวัด (GPP) ณ ราคาประจำ�ปี พ.ศ. ๒๕๕๖ 62 บรรยายสรุปจังหวดั พัทลงุ ๒๕๕๙

คิดเป็นรอ้ ยละ ๓๔.๐๖ ,๑๐.๘๘ และ ๑๐.๘๐ ตามล�ำ ดับ รายได้หลกั ของจงั หวัดพทั ลุง มาจากภาคการเกษตร สินค้าเกษตรทสี่ ำ�คญั ได้แก ่ ยางพารา สุกร และขา้ ว โดยมูลคา่ ผลติ ภณั ฑม์ วลรวมจงั หวดั (GPP) ณ ราคาประจ�ำ ปี พ.ศ.๒๕๕๖ เท่ากบั ๓๒,๓๗๓ ล้าน บาท ลดลงจากปีท่ีผ่านมา ๘๙๖ ล้านบาท และมูลค่าผลิตภัณฑ์มวลรวมเฉล่ียของ ประชากรเท่ากับ ๖๕,๔๓๓ บาท ลดลงจากปีทผี่ ่านมา ๒,๔๔๓ บาท เปน็ ลำ�ดบั ท่ี ๑๔ ของภาคใต้ (ข้อมลู : ส�ำ นกั งานคณะกรรมการพฒั นาการเศรษฐกจิ และสังคมแห่งชาต)ิ (ท่มี า : ส�ำ นักงานคลงั จังหวัดพัทลุง) ตารางแสดงผลติ ภณั ฑ์มวลรวมจังหวัดตามราคาประจำ�ปี จำ�แนกตามสาขาการผลิต ปี พ.ศ.๒๕๕๔-๒๕๕๖ p จังหวดั พัทลุง สาขาการผลิต ปี ๒๕๕๔ ปี ๒๕๕๕ ปี ๒๕๕๖ p ภาคการเกษตร ๑๖,๒๓๓ ๑๒,๓๐๘ ๑๑,๔๑๓ เกษตรกรรม การล่าสตั ว์ และการปา่ ไม้ ๑๕,๘๘๐ ๑๑,๙๔๔ ๑๑,๐๒๖ การประมง ภาคนอกการเกษตร ๓๕๓ ๓๖๔ ๓๘๗ การท�ำ เหมอื งแรแ่ ละเหมอื งหนิ ๒๒,๒๐๙ ๒๐,๙๖๑ ๒๐,๙๕๙ การผลติ อตุ สาหกรรม การไฟฟ้า ก๊าซ และการประปา ๑๗๙ ๑๖๘ ๑๖๖ การกอ่ สรา้ ง ๓,๘๗๖ ๓,๑๕๗ ๓,๔๙๕ การขายสง่ การขายปลีก และการซอ่ มแซมฯ ๓๙๐ ๔๔๐ ๕๐๗ โรงแรมและภัตตาคาร ๑,๖๖๔ ๑,๕๗๘ ๑,๓๑๔ ๔,๒๓๒ ๓,๖๐๖ ๓,๔๗๑ ๖๐ ๗๙ ๑๓๖ บรรยายสรุปจงั หวัดพทั ลงุ ๒๕๕๙ 63

สาขาการผลิต ปี ๒๕๕๔ ปี ๒๕๕๕ ปี ๒๕๕๖ การขนสง่ สถานท่เี กบ็ สนิ ค้า และการคมนาคม ๘๕๔ ๙๒๘ ๙๐๕ ตวั กลางทางการเงิน ๑,๖๗๔ ๑,๙๔๒ ๒,๒๓๙ บรกิ ารดา้ นอสงั หารมิ ทรพั ย์ การใหเ้ ชา่ และบรกิ ารทางธรุ กจิ ๑,๙๓๗ ๑,๘๖๗ ๑,๘๘๕ การบรหิ ารราชการแผน่ ดินและการปอ้ งกันประเทศฯ ๒,๔๑๗ ๒,๓๒๓ ๑,๙๕๕ การศึกษา ๓,๖๕๐ ๓,๕๐๕ ๓,๕๒๓ การบรกิ ารดา้ นสุขภาพฯ ๘๗๙ ๙๕๕ ๙๒๕ การใหบ้ รกิ ารชุมชน สงั คม และบรกิ ารส่วนบุคคลอน่ื ๆ ๓๓๙ ๓๗๗ ๔๐๐ ลกู จ้างในครัวเรือนสว่ นบคุ คล ๕๘ ๓๖ ๓๘ ผลติ ภัณฑ์มวลรวมจงั หวัด ๓๘,๔๔๑ ๓๓,๒๖๙ ๓๒,๓๗๓ มูลคา่ ผลติ ภณั ฑ์มวลรวมจงั หวัดเฉล่ยี ตอ่ หัว (บาท) ๗๙,๑๓๘ ๖๗,๘๗๖ ๖๕,๔๓๓ จำ�นวนประชากร (๑,๐๐๐ คน) ๔๘๖ ๔๙๐ ๔๙๕ (ท่ีมา : ส�ำ นักงานคณะกรรมการพัฒนาการเศรษฐกจิ และสังคมแหง่ ชาต)ิ 64 บรรยายสรุปจังหวัดพทั ลงุ ๒๕๕๙

ผลิตภณั ฑม์ วลรวมจังหวดั ณ ราคาคงท่ี จำ�แนกตามสาขาการผลติ ปี พ.ศ.๒๕๕๔-๒๕๕๖ จงั หวัดพัทลงุ สาขาการผลติ ปี ๒๕๕๔ ปี ๒๕๕๕ ปี ๒๕๕๖ ภาคการเกษตร ๔,๓๑๓ ๔,๒๑๒ ๔,๒๔๑ เกษตรกรรม การล่าสตั ว์ และการปา่ ไม้ ๓,๙๑๑ ๓,๘๐๘ ๓,๘๓๖ การประมง ๔๐๒ ๔๐๔ ๔๐๖ ภาคนอกการเกษตร ๑๔,๔๔๐ ๑๓,๗๔๐ ๑๓,๒๔๒ การทำ�เหมอื งแร่และเหมอื งหิน ๑๔๐ ๑๓๐ ๑๑๙ การผลติ อตุ สาหกรรม ๑,๐๑๓ ๑,๐๐๑ ๙๘๑ การไฟฟ้า ก๊าซ และการประปา ๓๘๔ ๔๓๙ ๔๔๖ การก่อสร้าง ๑,๑๗๙ ๑,๐๙๑ ๘๘๗ การขายส่ง การขายปลกี และการซ่อมแซมฯ ๒,๗๒๖ ๒,๑๗๐ ๒,๐๘๔ โรงแรมและภัตตาคาร ๑๑๘ การขนสง่ สถานทเ่ี ก็บสินคา้ และการคมนาคม ๕๗ ๗๒ ๘๒๘ ตัวกลางทางการเงนิ ๗๙๓ ๘๕๘ ๑,๕๔๑ บรกิ ารด้านอสังหารมิ ทรัพย์ การใหเ้ ช่า และบริการทางธรุ กจิ ๑,๑๗๒ ๑,๓๗๕ ๑,๙๗๓ การบริหารราชการแผ่นดินและการปอ้ งกันประเทศฯ ๒,๐๕๒ ๑,๙๖๒ ๑,๒๗๒ การศึกษา ๑,๖๘๐ ๑,๕๖๕ ๒,๐๓๓ การบริการด้านสุขภาพฯ ๒,๒๘๗ ๒,๐๘๐ ๖๔๔ การใหบ้ รกิ ารชุมชน สงั คม และบริการสว่ นบคุ คลอ่ืน ๆ ๖๕๐ ๖๙๐ ๒๘๗ ลูกจา้ งในครวั เรอื นสว่ นบุคคล ๒๕๖ ๒๗๖ ผลิตภัณฑ์มวลรวมจงั หวัด ๕๓ ๓๐ ๒๙ ๑๘,๗๕๓ ๑๗,๙๕๒ ๑๗,๔๘๓ (ทมี่ า : ส�ำ นักงานคณะกรรมการพัฒนาการเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ) บรรยายสรปุ จังหวดั พัทลงุ ๒๕๕๙ 65

การเงินการคลงั ในปงี บประมาณ พ.ศ.๒๕๕๘ (๑ ตลุ าคม ๒๕๕๗-๓๐ กนั ยายน ๒๕๕๘) มรี ายได้ น�ำ สง่ คลงั จงั หวดั พทั ลงุ จ�ำ นวน ๗๗๐.๕๐๙ ลา้ นบาท เพมิ่ ขน้ึ จากปี พ.ศ.๒๕๕๗ จ�ำ นวน ๕๗.๒๑๔ ลา้ นบาท เพม่ิ ขน้ึ รอ้ ยละ ๘.๐๒ และมกี ารเบกิ จา่ ยงบประมาณผา่ นคลงั จงั หวดั พทั ลุง จำ�นวน ๕,๘๙๑.๖๑ ล้านบาท ลดลงจากปี พ.ศ.๒๕๕๗ จำ�นวน ๑,๑๕๕.๒๒ ลา้ นบาท หรอื ลดลงรอ้ ยละ ๑๖.๓๙ ตารางการจัดเกบ็ รายได้จังหวัดพทั ลงุ ตัง้ แต่ ๑ ตุลาคม ๒๕๕๗ - ๓๐ กนั ยายน ๒๕๕๘ ท่ีมาของรายได้ เปรียบเทยี บ ๒๕๕๖ ๒๕๕๗ ๒๕๕๘ จำ�นวน อัตรา สรรพากรพื้นทพี่ ัทลุง สรรพสามติ พ้ืนทพี่ ทั ลงุ เงนิ เพม่ิ /ลด ธนารกั ษ์พื้นทพี่ ัทลงุ สว่ นราชการอนื่ ๖๓๒.๒๘๙ ๖๐๔.๙๑๙ ๖๕๓.๕๗๒ ๔๘.๖๕๓ ๘.๐๔ รวม ๑๓.๔๓๑ ๑๓.๕๕๑ ๑๒.๓๐๒ -๑.๒๔๙ -๙.๒๒ ๔.๑๓๘ ๑๓.๕๐๕ ๓๖.๕๒๕ ๒๓.๐๒ ๑๗๐.๔๖ ๗๔.๗๖ ๘๑.๓๒ ๖๘.๑๑ -๑๓.๒๑ -๑๖.๒๔ ๗๒๔.๖๑๘ ๗๑๓.๒๙๕ ๗๗๐.๕๐๙ ๕๗.๒๑๔ ๘.๐๒ 66 บรรยายสรปุ จังหวัดพทั ลงุ ๒๕๕๙

ตารางการเบิกจา่ ยงบประมาณจังหวดั พทั ลุง ต้งั แต่ ๑ ตลุ าคม ๒๕๕๗ - ๓๐ กนั ยายน ๒๕๕๘ เปรียบเทียบขอ้ มลู ปงี บประมาณ ๒๕๕๗ กบั ๒๕๕๘ ๒๕๕๖ ๒๕๕๗ ๒๕๕๘ จำ�นวนเงนิ รอ้ ยละ ๑.รายจ่ายจรงิ ปปี จั จุบนั ๔,๕๓๕.๔๗ ๖,๑๕๕.๓๕ ๕,๐๓๒.๕๔ -๑,๑๒๒.๘๑ -๑๘.๒๔ ๑.๑ งบประจ�ำ ๔,๗๑๔.๒๑ ๔,๖๘๖.๙๕ ๓,๑๓๗.๘๐ -๑,๕๔๙.๑๕ -๓๓.๐๕ ๑.๒ งบลงทุน ๑,๒๒๑.๒๖ ๑,๔๖๘.๔๐ ๑,๙๘๔.๗๔ ๒๙.๐๓ ๒.รายจ่ายปีกอ่ น ๔๒๖.๓๔ ๒.๑ งบประจำ� ๒.๒ งบลงทุน ๘๘๐.๒๙ ๘๙๑.๔๘ ๘๕๙.๐๗ -๓๒.๔๑ -๓.๖๔ ๓.รวมการเบิกจา่ ย - - - - - ๓.๑ งบประจำ� ๓.๒ งบลงทนุ ๘๘๐.๒๙ ๘๙๑.๔๘ ๘๕๙.๐๗ -๓๒.๔๑ -๓.๖๔ ๖,๘๑๕.๗๖ ๗,๐๔๖.๘๓ ๕,๘๙๑.๖๑ -๑๕๕.๒๒ -๑๖.๓๙ ๔,๗๑๔.๒๑ ๔,๖๘๖.๙๕ ๓,๑๓๗.๘๐ -๑,๕๔๙.๑๕ -๓๓.๐๕ ๒,๑๐๑.๕๕ ๒,๓๕๙.๘๘ ๒,๗๕๓.๘๑ ๑๖.๓๙ ๓๙๓.๙๓ บรรยายสรปุ จังหวัดพัทลงุ ๒๕๕๙ 67

การจดั เกบ็ ภาษีอากร ปีงบประมาณ ๒๕๕๖ -๒๕๕๘ ลักษณะการจัดเกบ็   ๒๕๕๖ ปงี บประมาณ พ.ศ. ๒๕๕๘ ๒๓๓.๘๓๒ ๒๕๕๗ ๑๘๔.๗๕๙ ภาษีเงนิ ไดบ้ ุคคลธรรมดา ๙๑.๐๔๒ ๙๐.๔๙๓ ภาษีเงินได้นิติบคุ คล ๒๑๕.๒๖๔ ภาษีการค้า ๐ ๘๙.๗๗๗ ๐ ภาษมี ลู ค่าเพิม่ ๑๙๐.๙๑๘ ๒๖๙.๖๕๗ ภาษธี ุรกิจเฉพาะ ๔๙.๖๒๗ ๐ ๖๒.๐๖๙ อากรแสตมป์ ๓๓.๓๐๓ ๒๐๕.๘๙๔ ๓๔.๑๔๖ รายไดอ้ น่ื (คา่ ปรับ) ๐.๙๗๙ ๖๗.๘๒๒ ๑.๒๘๕ รวมทกุ ลักษณะจดั เก็บ ๕๙๙.๗๐๑ ๓๐.๗๙๔ ๖๔๒.๔๐๙ กรมสรรพากรจัดเก็บ ๓๐๓.๑๙๙ ๔๗๐.๕๕๒ หน่วยงานอ่นื จดั เกบ็ ๒๙๖.๕๐๒ ๑.๑๔ ๑๗๑.๘๕๗ ๖๑๐.๖๙๑ ๓๔๖.๙๕๔ ๒๖๓.๗๓๗ (ที่มา: ส�ำ นกั งานสรรพากรพืน้ ทพี่ ทั ลุง) 68 บรรยายสรุปจงั หวดั พัทลุง ๒๕๕๙

ด้านการเกษตร การกสกิ รรม ในปี ๒๕๕๘ จงั หวัดพัทลุงมีพน้ื ทีถ่ ือครองเพ่ือท�ำ การเกษตร ๑,๕๓๓,๖๗๖.๙๒ ไร่ หรอื ร้อยละ ๗๑.๖๖ ของพ้นื ทท่ี ัง้ หมด แยกเป็นยางพาราปลูกมากที่สุด พ้ืนทีป่ ลกู จ�ำ นวน ๙๐๓,๔๓๘.๖๖ ไร่ คิดเป็นร้อยละ ๕๘.๙๑ ของพน้ื ที่ท�ำ การเกษตร รองลงมา ปลูกข้าว พนื้ ท่ปี ลูก จ�ำ นวน ๑๓๙,๑๔๘.๐๐ ไร่ คดิ เปน็ ร้อยละ ๙.๐๗ ของพนื้ ทท่ี ำ�การ เกษตร ไมผ้ ล ไมย้ นื ตน้ พชื ไร่ พชื ผกั พน้ื ทป่ี ลกู จ�ำ นวน ๑๒๖,๑๒๔.๙๑ ไร่ คดิ เปน็ รอ้ ยละ ๘.๒๒ ของพืน้ ที่ทำ�การเกษตร และพ้ืนที่อนื่ ๆ เช่น บ่อปลา บอ่ กงุ้ ทุ่งหญ้าเลยี้ งสตั ว์ คอกปศสุ ัตว์ และพนื้ ท่ไี ม่ได้ใชป้ ระโยชน์ จำ�นวน ๓๖๔,๘๗๔ ไร่ คิดเปน็ รอ้ ยละ ๒๓.๘๐ ของพ้ืนทที่ �ำ การเกษตร บรรยายสรุปจังหวดั พทั ลงุ ๒๕๕๙ 69

ยางพารา ปี ๒๕๕๖ ปี ๒๕๕๗ ปี ๒๕๕๘ ๘๙๑,๙๐๓.๔๔ ๘๕๕,๔๔๓.๓๘ ๙๐๓,๔๓๘.๐๐ รายการ ๖๖๒,๗๐๑.๑๕ ๖๕๕,๓๕๘.๓๘ ๗๒๐,๓๐๒.๐๐ ๑. พ้นื ท่ีปลกู (ไร)่ ๑๗๒,๙๐๓.๐๑ ๑๗๔,๘๐๑.๙๕ ๑๙๑,๒๗๗.๙๙ ๒. พื้นท่ใี หผ้ ลผลิต (ไร่) ๓. ผลผลิต (ตัน) ๒๖๑.๐๐ ๒๖๗.๐๐ ๒๖๕.๕๕ ๔. ผลผลติ เฉล่ีย (กก.ไร่) ยางพารา ในปี ๒๕๕๘ มพี น้ื ทีป่ ลูกตอ่ ปี จ�ำ นวน ๙๐๓,๔๓๘ ไร่ พ้ืนทใ่ี ห้ผลผลติ ๗๒๐,๓๐๒ ไร่ ได้ผลผลติ ๑๙๑,๒๗๗.๙๙ ตนั ผลผลติ เฉลยี่ ๒๖๕.๕๕ กิโลกรมั ตอ่ ไร่ ต่อปี ซ่งึ เม่อื เปรียบเทียบกับปี ๒๕๕๗ ท่ผี ่านมา พบว่า มีพ้นื ท่ปี ลูกยางพาราเพ่มิ ข้นึ ๔๗,๙๙๔.๖๒ ไร่ หรือร้อยละ ๕.๖๑ พ้ืนท่ีให้ผลผลิตเพิ่มข้ึน ๖๔,๙๔๓.๖๒ ไร่ หรือ รอ้ ยละ ๙.๙๑ ผลผลิตเพ่ิมขึ้น ๑๖,๔๗๖.๐๔ ตนั หรอื รอ้ ยละ ๙.๔๓ ผลผลิตเฉลยี่ ตอ่ ไร่ เพ่ิมขน้ึ ๑.๔๕ กิโลกรมั ต่อไร่ หรอื รอ้ ยละ ๐.๕๔ ข้าว ปี ๒๕๕๖ ปี ๒๕๕๗ ปี ๒๕๕๘ ข้าวนาปี ข้าวนาปรัง รายการ ขา้ วนาปี ข้าวนาปรัง ข้าวนาปี ข้าวนาปรัง ๑๓๖,๕๓๘.๐๐ ๕๔,๕๐๕.๐๐ ๑๓๔,๙๗๕.๐๐ ๕๔,๑๔๑.๐๐ ๑. พ้นื ที่ปลูก (ไร่) ๑๔๕,๐๕๑.๐๐ ๗๔,๐๗๗.๐๐ ๑๔๑,๒๐๒.๐๐ ๖๗,๕๕๑.๐๐ ๕๕,๙๔๙.๘๗ ๒๙,๔๕๘.๖๕ ๒. พน้ื ทเี่ ก็บเกี่ยว (ไร่) ๔๑๔.๕๒ ๕๔๔.๐๐ ๓. ผลผลิต (ตนั ) ๑๒๘,๒๔๙.๐๐ ๗๓,๗๗๗.๐๐ ๑๓๖,๘๔๖.๐๐ ๖๗,๐๕๙.๐๐ ๔. ผลผลติ เฉล่ีย (กก.ไร่) ๘๕,๔๐๘.๕๒ (ตนั ) ผลผลิตรวม (นาปแี ละนาปรัง) ๕๙,๕๐๒.๐๐ ๔๐,๔๖๙.๐๐ ๖๔,๐๖๕.๐๐ ๓๖,๑๑๘.๗๔ ๔๖๔.๐๐ ๕๔๖.๐๐ ๔๖๘.๐๐ ๔๙๐.๔๕ ๙๙,๙๗๑ (ตัน) ๑๐๐,๑๘๓.๗๔ (ตัน) 70 บรรยายสรุปจังหวดั พัทลงุ ๒๕๕๙

ขา้ วนาปี ในปี ๒๕๕๘ มพี ้ืนท่ที ำ�นา จำ�นวน ๑๓๖,๕๓๘ ไร่ พ้นื ท่เี ก็บเกยี่ วได้ ๑๓๔,๙๗๕ ไร่ ไดผ้ ลผลิต ๕๕,๙๔๙.๘๗ ตนั ผลผลติ เฉลยี่ ต่อไร่ ๔๑๔.๕๒ กโิ ลกรัม ซึ่ง เมือ่ เปรียบเทยี บกบั ปี ๒๕๕๗ ทผ่ี า่ นมา พบวา่ มีพน้ื ทป่ี ลูกข้าวนาปี ลดลง ๔,๖๖๔ ไร่ หรอื รอ้ ยละ ๓.๓๐ พ้ืนท่ีเกบ็ เก่ียวลดลง ๑,๘๗๑ ไร่ หรอื รอ้ ยละ ๑.๓๗ ผลผลติ ลดลง ๘,๑๑๕.๑๓ ตนั หรอื ร้อยละ ๑๒.๖ ผลผลติ เฉลย่ี ตอ่ ไรล่ ดลง ๕๓.๕๕ กิโลกรมั ตอ่ ไร่ หรอื ร้อยละ ๑๑.๔๔ ข้าวนาปรงั ในปี ๒๕๕๘ มพี ืน้ ท่ที ำ�นา จ�ำ นวน ๕๔,๕๐๕ ไร่ พนื้ ทเ่ี กบ็ เกยี่ วได้ ๕๔,๑๔๑ ไร่ ได้ผลผลิต ๒๙,๔๕๘.๖๕ ตนั ผลผลติ เฉลีย่ ๕๔๔ กโิ ลกรัมต่อไร่ ซงึ่ เม่อื เปรยี บเทยี บกบั ปี ๒๕๕๗ ที่ผ่านมา พบว่า มพี ืน้ ท่ีปลกู ขา้ วนาปรัง ลดลง ๑๓,๐๔๖ ไร่ หรอื รอ้ ยละ ๑๙.๓๑ พื้นที่เก็บเกีย่ วลดลง ๑๒,๙๑๘ ไร่ หรอื รอ้ ยละ ๑๙.๒๖ ผลผลติ ลด ลง ๖,๖๖๐.๑๐ ตัน หรือรอ้ ยละ ๑๘.๔๔ ผลผลิตเฉลยี่ ตอ่ ไรเ่ พม่ิ ขึน้ ๕๓.๕๕ กโิ ลกรมั หรอื ร้อยละ ๑๐.๙๓ โดยภาพรวมของการท�ำ นาปแี ละนาปรัง จะเห็นวา่ เกษตรกรมีการท�ำ นาลดลง จากปกี ่อน ซงึ่ สง่ ผลใหผ้ ลผลติ ขา้ วลดลงจำ�นวน ๘๕,๔๐๘.๕๒ ตัน ลดลงจากปี ๒๕๕๗ จ�ำ นวน ๑๔,๗๗๕.๒๒ ตัน หรอื รอ้ ยละ ๑๔.๗๔ ไมผ้ ล ปี ๒๕๕๖ ปี ๒๕๕๗ ปี ๒๕๕๘ เงาะ ๕,๗๐๒.๐๐ ๕,๔๘๘.๐๐ ๔,๖๖๙.๐๐ ๔,๕๖๒.๗๕ ๕,๐๗๑.๐๐ ๔,๐๑๔.๐๐ รายการ ๔,๘๕๐.๙๕ ๑,๖๗๓.๐๐ ๑,๖๔๕.๐๐ ๑. พนื้ ท่ปี ลูก (ไร)่ ๑,๓๔๐.๔๕ ๓๓๐.๐๐ ๔๐๙.๘๒ ๒. พ้ืนทใี่ ห้ผลผลติ (ไร่) ๓. ผลผลติ (ตนั ) ๔. ผลผลิตเฉลีย่ (กก.ไร่) บรรยายสรุปจงั หวัดพทั ลุง ๒๕๕๙ 71

เงาะ ในปี ๒๕๕๘ มีพื้นทป่ี ลกู จำ�นวน ๔,๖๖๙ ไร่ พ้นื ทใ่ี ห้ผลผลติ ได้ ๔,๐๑๔ ไร่ ได้ผลผลติ ๑,๖๔๕ ตนั ผลผลิตเฉลีย่ ต่อไร่ ๔๐๙.๘๒ กโิ ลกรัม ซึง่ เม่อื เปรียบเทยี บ กับปี ๒๕๕๗ ที่ผ่านมา พบว่า มีพน้ื ทปี่ ลกู เงาะลดลง ๘๑๙ ไร่ หรอื ร้อยละ ๑๔.๙๒ พน้ื ทใ่ี หผ้ ลผลติ ลดลง ๑,๐๕๗ ไร่ หรอื รอ้ ยละ ๒๐.๘๔ ผลผลติ ลดลง ๒๘ ตนั หรอื รอ้ ยละ ๑.๖๗ ผลผลิตเฉล่ยี ต่อไรเ่ พม่ิ ขน้ึ ๗๙.๘๒ กโิ ลกรมั ต่อไร่หรอื รอ้ ยละ ๒๔.๑๘ มังคดุ รายการ ปี ๒๕๕๖ ปี ๒๕๕๗ ปี ๒๕๕๘ ๑. พนื้ ทป่ี ลูก (ไร)่ ๑๒,๑๓๘.๕๐ ๑๑,๓๗๕.๐๐ ๑๔,๔๖๕.๐๐ ๒. พืน้ ท่ีให้ผลผลติ (ไร)่ ๘,๕๐๓.๒๕ ๑๑,๒๕๙.๐๐ ๑๑,๗๗๔.๐๐ ๓. ผลผลิต (ตัน) ๕,๔๗๖.๑๑ ๖,๕๓๐.๐๐ ๕,๑๘๔.๕๐ ๔. ผลผลติ เฉลี่ย (กก.ไร)่ ๖๗๔.๔๙ ๕๘๐.๐๐ ๔๔๐.๓๓ มงั คดุ ในปี ๒๕๕๘ มพี น้ื ทปี่ ลกู จ�ำ นวน ๑๔,๔๖๕ ไร่ พน้ื ทใ่ี หผ้ ลผลติ ได้ ๑๑,๗๗๔ ไร่ ไดผ้ ลผลติ ๕,๑๘๔.๕๐ ตนั ผลผลติ เฉลย่ี ตอ่ ไร่ ๔๔๐.๓๓ กโิ ลกรมั ซงึ่ เมอ่ื เปรยี บเทยี บ กบั ปี ๒๕๕๗ ท่ีผ่านมาพบวา่ มพี นื้ ท่ีปลูกมงั คุดเพิ่มข้นึ ๓,๐๙๐ ไร่ หรอื รอ้ ยละ ๒๗.๑๖ พนื้ ทใี่ ห้ผลผลติ เพ่มิ ข้นึ ๕๑๕ ไร่ หรอื รอ้ ยละ ๔.๕๗ ผลผลิตลดลง ๑,๓๔๖ ตนั หรือ รอ้ ยละ ๒๐.๖๑ ผลผลิตเฉล่ียต่อไร่ลดลง ๑๔๐ กิโลกรัม หรือร้อยละ ๒๔.๑๔ 72 บรรยายสรุปจงั หวดั พทั ลุง ๒๕๕๙

ทุเรยี น ปี ๒๕๕๖ ปี ๒๕๕๗ ปี ๒๕๕๘ ๓,๘๘๙.๒๕ ๓,๗๖๐.๐๐ ๔,๐๐๕.๐๐ รายการ ๒,๘๕๙.๕๐ ๓,๕๗๖.๐๐ ๓,๔๖๗.๐๐ ๑. พนื้ ที่ปลกู (ไร)่ ๒,๐๙๗.๑๓ ๑,๐๘๔.๐๐ ๑,๕๑๘.๖๐ ๙๐๗.๑๐ ๓๐๓.๐๐ ๔๓๘.๐๒ ๒. พน้ื ทีใ่ หผ้ ลผลติ (ไร่) ๓. ผลผลิต (ตัน) ๔. ผลผลติ เฉลี่ย (กก.ไร่) ทุเรียน ในปี ๒๕๕๘ มีพ้ืนท่ปี ลูก จ�ำ นวน ๔,๐๐๕ ไร่ พ้นื ทใ่ี ห้ผลผลติ ได้ ๓,๔๖๗ ไร่ ได้ผลผลติ ๑,๕๑๘.๖๐ ตนั ผลผลิตเฉล่ีย ๔๓๘.๐๒ กิโลกรัมตอ่ ไร่ ซงึ่ เมอื่ เปรยี บเทยี บ กับปี ๒๕๕๗ ท่ผี า่ นมา พบว่า มีพ้นื ท่ปี ลกู ทเุ รยี นเพิ่มข้ึน ๒๔๕ ไร่ หรือรอ้ ยละ ๖.๕๑ พื้นท่ีให้ผลผลิตลดลง ๑๐๙ ไร่ หรือร้อยละ ๓.๐๕ ผลผลิตเพ่ิมขึ้น ๔๓๔.๖ ตัน หรือ ร้อยละ ๔๐.๐๙ ผลผลิตเฉลย่ี ตอ่ ไรเ่ พิม่ ข้ึน ๑๓๕.๐๒ กโิ ลกรัม หรอื รอ้ ยละ ๔๔.๕๖ ลองกอง ปี ๒๕๕๖ ปี ๒๕๕๗ ปี ๒๕๕๘ ๑๔,๔๖๙.๗๕ ๑๔,๒๙๙.๐๐ ๑๓,๕๐๐.๐๐ รายการ ๑๐,๔๖๐.๐๐ ๑๐,๕๑๔.๐๐ ๑๐,๕๖๑.๐๐ ๑. พนื้ ท่ปี ลูก (ไร่) ๖,๐๒๖.๑๘ ๕,๘๐๗.๐๐ ๔,๒๒๔.๐๐ ๒. พื้นทใี่ หผ้ ลผลิต (ไร)่ ๗๘๐.๔๘ ๕๕๒.๐๐ ๓๙๙.๙๖ ๓. ผลผลิต (ตนั ) ๔. ผลผลติ เฉลย่ี (กก.ไร่) ลองกอง ในปี ๒๕๕๘ มพี นื้ ทปี่ ลกู จ�ำ นวน ๑๓,๕๐๐ ไร่ พนื้ ทใ่ี หผ้ ลผลติ ได้ ๑๐,๕๖๑ ไร่ ได้ผลผลติ ๔,๒๒๔ ตนั ผลผลิตเฉล่ียตอ่ ไร่ ๓๙๙.๙๖ กิโลกรมั ซึง่ เมื่อเปรียบเทยี บกบั ปี ๒๕๕๗ ทผี่ ่านมา พบวา่ มีพืน้ ที่ปลกู ลองกองลดลง ๗๙๙ ไร่ หรือร้อยละ ๕.๕๘ พน้ื ท่ี ให้ผลผลิตเพ่ิมขึ้น ๔๗ ไร่ หรือร้อยละ ๐.๔๔ ผลผลิตลดลง ๑,๕๘๓ ตัน หรือร้อยละ ๒๗.๒๖ ผลผลิตเฉล่ยี ตอ่ ไรล่ ดลง ๑๕๒.๐๔ กิโลกรมั หรือรอ้ ยละ ๒๗.๕๔ บรรยายสรปุ จงั หวัดพัทลงุ ๒๕๕๙ 73

ปาลม์ นํ้ามนั ปี ๒๕๕๖ ปี ๒๕๕๗ ปี ๒๕๕๘ ๓๘,๔๐๐.๐๐ ๓๙,๑๒๒.๕๖ ๔๑,๙๐๑.๐๐ รายการ ๑๔,๔๒๕.๐๐ ๒๒,๕๓๖.๘๐ ๒๖,๗๑๖.๐๐ ๑. พ้นื ทปี่ ลกู (ไร่) ๔๑,๓๓๕.๔๗ ๕๖,๑๙๙.๖๓ ๖๙,๐๕๔.๒๐ ๒,๓๑๐.๐๐ ๒,๑๗๘.๕๙ ๒,๕๘๔.๗๕ ๒. พ้นื ทีใ่ หผ้ ลผลิต (ไร่) ๓. ผลผลติ (ตัน) ๔. ผลผลติ เฉลี่ย (กก.ไร่) ปาล์มนา้ํ มัน ในปี ๒๕๕๘ มพี ื้นทีป่ ลกู จำ�นวน ๔๑,๙๐๑ ไร่ พนื้ ที่ใหผ้ ลผลิตได้ ๒๖,๗๑๖ ไร่ ได้ผลผลิต ๖๙,๐๕๔.๒๐ ตนั ผลผลติ เฉลีย่ ต่อไร่ ๒,๕๘๔.๗๕ กโิ ลกรมั ซงึ่ เมื่อเปรียบเทียบกับปี ๒๕๕๗ ท่ีผ่านมา พบว่า มีพ้ืนท่ีปลูกปาล์มน้ํามันเพ่ิมข้ึน ๒,๗๗๘.๔๔ ไร่ หรือรอ้ ยละ ๗.๑๐ พ้นื ท่ีเกบ็ เกีย่ วเพิ่มขนึ้ ๔,๑๗๙.๒๐ ไร่ หรือร้อยละ ๑๘.๕๔ ผลผลิตเพ่ิมขึ้น ๑๒,๘๕๔.๕๗ ตัน หรือร้อยละ ๒๒.๘๗ ผลผลิตเฉลี่ยต่อไร่ เพิ่มขน้ึ ๔๐๖.๑๖ กิโลกรมั หรือรอ้ ยละ ๑๘.๖๔ พชื ผกั ปี ๒๕๕๖ ปี ๒๕๕๗ ปี ๒๕๕๘ พริกขีห้ นู ๔,๖๓๘.๕๐ ๕,๑๑๘.๕๐ ๑,๖๐๒.๐๐ ๔,๕๑๐.๕๐ ๕,๐๑๕.๒๕ ๑,๖๐๒.๐๐ รายการ ๓,๔๕๘.๒๓ ๓,๙๘๘.๘๘ ๑,๓๐๓.๕๖ ๑. พ้นื ทป่ี ลกู (ไร)่ ๘๕๘.๓๓ ๗๙๕.๓๕ ๘๑๓.๗๑ ๒. พื้นทใ่ี ห้ผลผลติ (ไร่) ๓. ผลผลติ (ตัน) ๔. ผลผลติ เฉลี่ย (กก.ไร่) 74 บรรยายสรปุ จังหวัดพัทลุง ๒๕๕๙

พรกิ ขห้ี นู ในปี ๒๕๕๘ มพี นื้ ทป่ี ลกู จ�ำ นวน ๑,๖๐๒ ไร่ พน้ื ทใ่ี หผ้ ลผลติ ได้ ๑,๖๐๒ ไร่ ไดผ้ ลผลติ ๑,๓๐๓.๕๖ ตนั ผลผลติ เฉลย่ี ตอ่ ไร่ ๘๑๓.๗๑ กโิ ลกรมั ซง่ึ เมอ่ื เปรยี บเทยี บ กับปี ๒๕๕๗ ท่ผี ่านมา พบวา่ มพี ้นื ท่ีปลูกพรกิ ขหี้ นลู ดลง ๓,๕๑๖.๕ ไร่ หรือ รอ้ ยละ ๖๘.๗๐ พื้นที่ให้ผลผลิตลดลง ๓,๔๑๓.๒๕ ไร่ หรือร้อยละ ๖๘.๐๕ ผลผลิตลดลง ๒,๖๘๕.๓๒ ตัน หรือร้อยละ ๖๗.๓๒ ผลผลิตเฉล่ียตอ่ ไร่เพิม่ ขึน้ ๑๘.๓๖ กิโลกรมั ต่อไร่ หรือรอ้ ยละ ๒.๓๑ ขา้ วโพดหวาน รายการ ปี ๒๕๕๖ ปี ๒๕๕๗ ปี ๒๕๕๘ ๑. พ้ืนทีป่ ลูก (ไร)่ ๒,๓๔๗.๗๕ ๒,๕๒๔.๕๐ ๑,๑๙๘.๐๐ ๒. พืน้ ทใ่ี หผ้ ลผลิต (ไร่) ๒,๑๗๘.๗๕ ๒,๔๒๑.๒๕ ๑,๑๙๘.๐๐ ๓. ผลผลติ (ตัน) ๒,๒๑๘.๙๙ ๓,๐๑๒.๕๒ ๑,๐๒๗.๔๗ ๔. ผลผลติ เฉล่ีย (กก.ไร)่ ๑,๐๓๒.๘๓ ๑,๒๔๔.๒๐ ๙๓๙.๔๐ ข้าวโพดหวาน ในปี ๒๕๕๘ มีพื้นที่ปลูก จำ�นวน ๑,๑๙๘ ไร่ พน้ื ทใ่ี ห้ผลผลติ ได้ ๑,๑๙๘ ไร่ ไดผ้ ลผลิต ๑,๐๒๗.๔๗ ตัน ผลผลิตเฉลีย่ ต่อไร่ ๙๓๙.๔๐ กโิ ลกรมั ซ่ึงเม่อื เปรยี บเทยี บกบั ปี ๒๕๕๗ ทผี่ า่ นมา พบวา่ มพี นื้ ทป่ี ลกู ขา้ วโพดหวานลดลง ๑,๓๒๖.๕๐ ไร่ หรือร้อยละ ๕๒.๕๕ พื้นท่ีให้ผลผลิตลดลง ๑,๒๒๓.๒๕ ไร่ หรือร้อยละ ๕๐.๕๒ ผลผลิตลดลง ๑,๙๘๕.๐๕ ตัน หรือรอ้ ยละ ๖๕.๘๙ ผลผลติ เฉล่ยี ต่อไรล่ ดลง ๓๐๔.๘ กโิ ลกรมั ตอ่ ไร่ หรือร้อยละ ๒๔.๕๐ บรรยายสรุปจังหวดั พทั ลุง ๒๕๕๙ 75

ขมิ้น ปี ๒๕๕๖ ปี ๒๕๕๗ ปี ๒๕๕๘ ๑,๐๖๑.๐๐ ๑,๓๑๕.๐๐ ๑,๐๓๘.๐๐ รายการ ๑,๐๕๐.๐๐ ๑,๑๗๕.๐๐ ๑,๐๒๘.๐๐ ๑. พนื้ ท่ปี ลูก (ไร่) ๑,๑๒๗.๔๐ ๑,๑๖๙.๓๐ ๑,๓๓๘.๔๙ ๙๑๕.๐๐ ๙๙๕.๑๕ ๑,๒๑๗.๔๗ ๒. พ้ืนที่ให้ผลผลิต (ไร่) ๓. ผลผลติ (ตนั ) ๔. ผลผลิตเฉลย่ี (กก.ไร)่ ขมน้ิ ในปี ๒๕๕๘ มพี น้ื ทป่ี ลกู จ�ำ นวน ๑,๐๓๘ ไร่ พน้ื ทใ่ี หผ้ ลผลติ ได้ ๑,๐๒๘ ไร่ ไดผ้ ลผลติ ๑,๓๓๘.๔๙ ตนั ผลผลติ เฉลยี่ ตอ่ ไร่ ๑,๒๑๗.๔๗ กโิ ลกรมั ซงึ่ เมอ่ื เปรยี บเทยี บ กบั ปี ๒๕๕๗ ทผี่ า่ นมา พบวา่ มพี น้ื ทป่ี ลกู ขมน้ิ ลดลง ๒๗๗ ไร่ หรอื รอ้ ยละ ๒๑.๐๖ พนื้ ท่ี ให้ผลผลิตลดลง ๑๔๗ ไร่ หรือร้อยละ ๑๒.๕๑ ผลผลิตเพ่ิมข้ึน ๑๖๙.๑๙ ตัน หรือ ร้อยละ ๑๔.๔๗ ผลผลิตเฉล่ยี ตอ่ ไร่เพ่มิ ข้ึน ๒๒๒.๓๒ กิโลกรัม หรอื รอ้ ยละ ๒๒.๓๔ พืชไร ่ สับปะรด รายการ ปี ๒๕๕๖ ปี ๒๕๕๗ ปี ๒๕๕๘ ๑. พื้นท่ปี ลกู (ไร)่ ๔,๙๘๘.๐๐ ๔,๗๓๕.๐๐ ๔,๖๗๕.๐๐ ๒. พ้ืนทใี่ ห้ผลผลิต (ไร)่ ๓,๑๑๙.๐๐ ๓,๓๑๒.๐๐ ๔,๖๗๓.๐๐ ๓. ผลผลิต (ตนั ) ๑๐,๒๒๕.๘๐ ๑๑,๒๔๕.๗๐ ๑๓,๑๗๖.๕๐ ๔. ผลผลิตเฉลี่ย (กก.ไร)่ ๓,๒๗๘.๕๕ ๓,๓๙๕.๔๔ ๒,๘๑๙.๗๑ สปั ปะรด ในปี ๒๕๕๘ มพี น้ื ทป่ี ลกู จ�ำ นวน ๔,๖๗๕ ไร่ พน้ื ทใ่ี หผ้ ลผลติ ได้ ๔,๖๗๓ ไร่ ได้ผลผลิต ๑๓,๑๗๖.๕๐ ตันผลผลิตเฉลี่ยต่อไร่ละ ๒,๘๑๙.๗๑ กิโลกรัม ซึ่งเม่ือ 76 บรรยายสรุปจงั หวดั พัทลุง ๒๕๕๙

เปรียบเทียบกับปี ๒๕๕๗ ท่ีผ่านมา พบว่า มีพื้นท่ีปลูกสัปปะรดลดลง ๖๐ ไร่ หรือ ร้อยละ ๑.๒๗ พน้ื ทใี่ หผ้ ลผลิตเพิ่มข้ึน ๑,๓๖๑ ไร่ หรอื ร้อยละ ๔๑.๐๙ ผลผลิตเพิม่ ขนึ้ ๑,๙๓๐.๘ ตัน หรือรอ้ ยละ ๑๗.๑๗ ผลผลิตเฉลย่ี ตอ่ ไร่ลดลง ๕๗๕.๗๓ กโิ ลกรมั ต่อไร่ หรือรอ้ ยละ ๑๖.๙๕ ถั่วปนั หยี รายการ ปี ๒๕๕๖ ปี ๒๕๕๗ ปี ๒๕๕๘ ๑. พ้ืนท่ีปลูก (ไร่) ๑,๙๐๗.๐๐ ๒,๕๗๙.๐๐ ๒,๖๓๑.๐๐ ๒. พน้ื ที่ใหผ้ ลผลิต (ไร)่ ๑,๖๑๖.๐๐ ๒,๔๕๕.๐๐ ๒,๖๒๑.๐๐ ๓. ผลผลิต (ตนั ) ๔๖๗.๕๕ ๒,๓๒๗.๙๒ ๑,๓๕๙.๗๔ ๔. ผลผลิตเฉล่ยี (กก.ไร่) ๒๘๙.๓๓ ๙๔๘.๒๔ ๓๐๐.๘๐ ถว่ั ปนั หยี ในปี ๒๕๕๘ มพี น้ื ทป่ี ลกู จ�ำ นวน ๒,๖๓๑ ไร่ พน้ื ทเ่ี กบ็ เกย่ี วได้ ๒,๖๒๑ ไร่ ได้ผลผลติ ๑,๓๕๙.๗๔ ตนั ผลผลิตเฉลยี่ ตอ่ ไร่ ๓๐๐.๘๐ กิโลกรัม ซง่ึ เม่อื เปรยี บเทียบ กบั ปี ๒๕๕๗ ทีผ่ ่านมา พบว่า มีพนื้ ทีป่ ลกู ถัวปนั หยีเพ่ิมข้นึ ๕๑ ไร่ หรือร้อยละ ๑.๙๘ พืน้ ท่ีให้ผลผลิตเพิ่มขึน้ ๑๖๖ ไร่ หรือรอ้ ยละ ๖.๗๖ ผลผลิตลดลง ๙๖๘.๑๗ ตัน หรอื รอ้ ยละ ๔๑.๕๙ ผลผลิตเฉลย่ี ต่อไร่ลดลง ๖๔๗.๔๔ กิโลกรัมตอ่ ไร่ หรอื รอ้ ยละ ๖๘.๒๘ ถ่วั ลสิ ง ปี ๒๕๕๖ ปี ๒๕๕๗ ปี ๒๕๕๘ ๑,๙๑๕.๒๕ ๒,๑๔๒.๕๐ ๙๑๐.๐๐ รายการ ๑,๗๕๒.๒๕ ๒,๐๓๑.๕๐ ๙๐๘.๐๐ ๑. พื้นทีป่ ลกู (ไร)่ ๔๑๐.๐๒ ๖๑๐.๔๗ ๓๘๙.๔๕ ๒. พื้นทีใ่ ห้ผลผลิต (ไร)่ ๒๓๓.๙๙ ๓๐๐.๕๐ ๔๒๘.๙๑ ๓. ผลผลิต (ตัน) ๔. ผลผลิตเฉลย่ี (กก.ไร่) บรรยายสรปุ จังหวัดพัทลงุ ๒๕๕๙ 77

ถว่ั ลิสง ในปี ๒๕๕๘ มพี ้นื ทป่ี ลกู จ�ำ นวน ๙๑๐ ไร่ พน้ื ท่ีใหผ้ ลผลิตได้ ๙๐๘ ไร่ ไดผ้ ลผลิต ๓๘๙.๔๕ ตนั ผลผลิตเฉลย่ี ต่อไรล่ ะ ๔๒๘.๙๑ กโิ ลกรัม ซงึ่ เมื่อเปรียบเทียบ กบั ปี ๒๕๕๗ ทผ่ี า่ นมา พบวา่ มพี น้ื ทป่ี ลกู ถว่ั ลสิ งลดลง ๑,๒๓๒.๕๐ ไร่ หรอื รอ้ ยละ๕๗.๕๓ พืน้ ทีใ่ ห้ผลผลิตลดลง ๑,๑๒๓.๕ ไร่ หรือรอ้ ยละ ๕๕.๓๐ ผลผลติ ลดลง ๒๒๑.๐๒ ตนั หรอื รอ้ ยละ ๓๖.๒๐ ผลผลติ เฉลย่ี ตอ่ ไรเ่ พม่ิ ขน้ึ ๑๒๘.๔๑ กโิ ลกรมั ตอ่ ไร่ หรอื รอ้ ยละ ๔๒.๗๓ การปศุสัตว์ สถานการณ์การเลย้ี งโคเน้ือ ปี ๒๕๕๕ ปี ๒๕๕๖ ปี ๒๕๕๗ ปี ๒๕๕๘ จำ�นวน เกษตรกร จำ�นวน เกษตรกร จำ�นวน เกษตรกร จำ�นวน เกษตรกร โคเน้ือ (ราย) โคเนอ้ื (ราย) โคเนอ้ื (ราย) โคเนอ้ื (ราย) (ตัว) (ตัว) (ตวั ) (ตัว) ๗๖,๒๖๑ ๑๙,๖๔๘ ๗๑,๖๐๘ ๑๗,๔๗๖ ๘๔,๑๙๓ ๒๒,๐๘๘ ๗๗,๕๕๗ ๒๐,๒๔๖ การเลี้ยงโคเน้อื ปี ๒๕๕๘ จำ�นวน ๗๑,๖๐๘ ตัว เกษตรกรจำ�นวน ๑๗,๔๗๖ ราย ซ่ึงเมื่อเทียบกับปี ๒๕๕๗ และปี ๒๕๕๖ จะเห็นว่าเกษตรกรมีการเลี้ยงโคเน้ือ ลดลงอย่างต่อเนื่อง ท้ังในด้านเกษตรกรผู้เล้ียงโคและจำ�นวนโคเน้ือ โดยจำ�นวน เกษตรกรลดลงจากปี ๒๕๕๗ จ�ำ นวน ๒,๑๗๒ ราย หรอื ร้อยละ ๑๑.๐๕ จ�ำ นวนโคเนอื้ ลดลง ๔,๖๕๓ ตัว หรือรอ้ ยละ ๖.๑๐ 78 บรรยายสรุปจังหวัดพัทลุง ๒๕๕๙

สถานการณก์ ารเล้ียงโคนม ปี ๒๕๕๕ ปี ๒๕๕๖ ปี ๒๕๕๗ ปี ๒๕๕๘ จำ�นวน เกษตรกร จำ�นวน เกษตรกร จำ�นวน เกษตรกร จำ�นวน เกษตรกร โคนม (ราย) โคนม (ราย) โคนม (ราย) โคนม (ราย) (ตวั ) (ตัว) (ตัว) (ตัว) ๒,๑๗๐ ๑๕๓ ๓,๐๑๕ ๑๖๔ ๓,๐๖๕ ๑๓๘ ๒,๑๓๙ ๙๓ การเล้ยี งโคนม ปี ๒๕๕๘ จ�ำ นวน ๒,๑๓๙ ตวั เกษตรกรจ�ำ นวน ๙๓ ราย ซงึ่ เม่ือเทยี บกบั ปี ๒๕๕๗ และปี ๒๕๕๖ จะเห็นว่าเกษตรกรมกี ารเลี้ยงโคนมลดลงจากปี ๒๕๕๗ จ�ำ นวน ๔๕ ราย หรอื ร้อยละ ๓๒.๖๐ และจ�ำ นวนโคนมลดลง ๙๒๖ ตัว หรอื ร้อยละ ๓๐.๒๑ สถานการณ์การเล้ียงกระบือ ปี ๒๕๕๕ ปี ๒๕๕๖ ปี ๒๕๕๗ ปี ๒๕๕๘ จำ�นวน เกษตรกร จำ�นวน เกษตรกร จำ�นวน เกษตรกร จำ�นวน เกษตรกร กระบือ (ราย) กระบือ (ราย) กระบือ (ราย) กระบอื (ราย) (ตัว) (ตัว) (ตัว) (ตวั ) ๔,๕๐๘ ๓๓๙ ๒,๘๘๖ ๒๐๙ ๔,๐๑๘ ๓๙๒ ๓,๙๒๐ ๓๔๔ การเล้ียงกระบอื ปี ๒๕๕๘ จ�ำ นวน ๒,๘๘๖ ตัว เกษตรกรจำ�นวน ๒๐๙ ราย ซงึ่ เม่ือเทียบกับปี ๒๕๕๗ และปี ๒๕๕๖ จะเหน็ วา่ เกษตรกรมีการเลี้ยงกระบือลดลง จากปี ๒๕๕๗ จ�ำ นวน ๑๓๐ ราย หรอื รอ้ ยละ ๓๘.๓๕ และจ�ำ นวนกระบอื ลดลง ๑,๖๒๒ ตวั หรือร้อยละ ๓๕.๙๘ บรรยายสรปุ จงั หวดั พัทลงุ ๒๕๕๙ 79

สถานการณ์การเลย้ี งสุกร ปี ๒๕๕๕ ปี ๒๕๕๖ ปี ๒๕๕๗ ปี ๒๕๕๘ จำ�นวนสกุ ร เกษตรกร จำ�นวนสกุ ร เกษตรกร จำ�นวนสุกร เกษตรกร จำ�นวนสกุ ร เกษตรกร (ตัว) (ราย) (ตวั ) (ราย) (ตัว) (ราย) (ตัว) (ราย) ๘๓๖,๗๕๕ ๕,๐๓๕ ๗๕๐,๙๙๙ ๓,๕๐๗ ๙๐๔,๙๔๕ ๖,๗๗๐ ๘๑๗,๘๕๕ ๕,๙๓๗ การเลี้ยงสุกร ปี ๒๕๕๘ จำ�นวน ๗๕๐,๙๙๙ ตัว เกษตรกรจ�ำ นวน ๓,๕๐๗ ราย ซึ่งเม่อื เทยี บกบั ปี ๒๕๕๗ และปี ๒๕๕๖ จะเห็นวา่ เกษตรกรมีการเลยี้ งสกุ รลดลงจาก ปี ๒๕๕๗ จ�ำ นวน ๑,๕๒๘ ราย หรอื รอ้ ยละ ๓๐.๓๘ และจ�ำ นวนสกุ รลดลง ๘๕,๗๕๖ ตวั หรอื รอ้ ยละ ๑๐.๒๔ สถานการณ์การเล้ียงไกเ่ นื้อ ปี ๒๕๕๕ ปี ๒๕๕๖ ปี ๒๕๕๗ ปี ๒๕๕๘ จำ�นวน เกษตรกร จำ�นวน เกษตรกร จำ�นวน เกษตรกร จำ�นวน เกษตรกร ไก่เนื้อ (ตวั ) (ราย) ไก่เนอื้ (ตัว) (ราย) ไกเ่ นื้อ (ตัว) (ราย) ไกเ่ นอ้ื (ตวั ) (ราย) ๑๓,๐๑๙,๑๕๔ ๘๓๗ ๑๓,๔๑๓,๔๘๖ ๗๓๑ ๑๗,๘๓๕,๗๕๐ ๖๓๐ ๑๙,๔๐๙,๔๑๒ ๕๔๗ การเลี้ยงไก่เน้อื ปี ๒๕๕๘ จำ�นวน ๑๙,๔๐๙,๔๑๒ ตวั เกษตรกรจ�ำ นวน ๕๔๗ ราย ซึ่งเม่ือเทียบกับปี ๒๕๕๗ และปี ๒๕๕๖ จะเห็นว่าเกษตรกรมีการเล้ียงไก่เนื้อ ลดลงจากปี ๒๕๕๗ จำ�นวน ๘๓ ราย หรอื รอ้ ยละ ๑๓.๑๗ ส่วนจ�ำ นวนไกเ่ น้ือมีการเพ่มิ ขึ้น ๑,๕๗๓,๖๖๒ ตวั หรอื รอ้ ยละ ๘.๘๒ เนอ่ื งจากมีบริษัทเอกชนรายใหญ่ มาลงทนุ ท่ี จังหวัดพัทลุง เพ่ือการส่งออกซ่ึงมีกำ�ลังการผลิตสูงถึงวันละ ๕๐,๐๐๐ ตัว ทำ�ให้ เกษตรกรเร่งสรา้ งโรงเรอื นเพือ่ ให้มีผลผลติ เพียงพอตอ่ ความต้องการของโรงงาน 80 บรรยายสรปุ จังหวัดพทั ลงุ ๒๕๕๙

สถานการณ์การเลย้ี งเปด็ ปี ๒๕๕๕ ปี ๒๕๕๖ ปี ๒๕๕๗ ปี ๒๕๕๘ จำ�นวนเปด็ เกษตรกร จำ�นวนเป็ด เกษตรกร จำ�นวนเปด็ เกษตรกร จำ�นวนเป็ด เกษตรกร (ตัว) (ราย) (ตัว) (ราย) (ตัว) (ราย) (ตัว) (ราย) ๘๐๓,๗๘๒ ๑๓,๓๒๖ ๖๙๕,๖๖๙ ๑๑,๗๑๑ ๖๒๓,๒๐๔ ๑๐,๘๗๘ ๖๖๙,๘๘๒ ๖,๙๐๐ การเลยี้ งเปด็ ปี ๒๕๕๘ จ�ำ นวน ๖๖๙,๘๘๒ ตัว เกษตรกรจ�ำ นวน ๖,๙๐๐ ราย ซึ่งเม่อื เทยี บกบั ปี ๒๕๕๗ และปี ๒๕๕๖ จะเหน็ วา่ เกษตรกรมีการเลย้ี งเปด็ ลดลงจากปี ๒๕๕๗ จ�ำ นวน ๓,๙๗๘ ราย หรอื รอ้ ยละ ๓๖.๕๗ จ�ำ นวนเปด็ เพม่ิ ขน้ึ จากเดมิ ๔๖,๖๗๘ ตวั หรอื ร้อยละ ๗.๔๙ สถานการณก์ ารเล้ียงแพะ ปี ๒๕๕๕ ปี ๒๕๕๖ ปี ๒๕๕๗ ปี ๒๕๕๘ จำ�นวน เกษตรกร จำ�นวน เกษตรกร จำ�นวน เกษตรกร จำ�นวน เกษตรกร แพะ (ราย) แพะ (ราย) แพะ (ราย) แพะ (ราย) (ตวั ) (ตวั ) (ตวั ) (ตัว) ๑๒,๕๙๑ ๑,๕๔๖ ๑๐,๖๗๕ ๑,๒๐๙ ๑๑,๔๔๔ ๑,๑๒๘ ๑๔,๐๗๖ ๑,๑๖๒ การเลีย้ งแพะปี ๒๕๕๘ จำ�นวน ๑๔,๐๗๖ ตวั เกษตรกรจ�ำ นวน ๑,๑๖๒ ราย ซึ่งเม่ือเทียบกับปี ๒๕๕๗ จะเห็นว่าเกษตรกรมีการเลี้ยงแพะเพ่ิมขึ้นจากปี ๒๕๕๗ จ�ำ นวน ๓๔ ราย หรอื ร้อยละ ๓.๐๑ และจำ�นวนแพะเพม่ิ ขึ้น ๒,๖๓๒ ตัว หรอื รอ้ ยละ ๒๓.๐๐ เน่อื งจากในปี ๒๕๕๗ เปน็ ปที องของเกษตรกรผูเ้ ล้ยี งแพะจำ�หนา่ ยแพะได้ใน ราคาสูง มีการส่งแพะออกไปจำ�หน่ายในพ้ืนที่ ๕ จังหวัดชายแดนใต้ ในปี ๒๕๕๘ เกษตรกรจงึ เพ่มิ ปริมาณการเล้ียงและมีเกษตรกรรายใหม่เพิม่ มากข้ึน บรรยายสรุปจังหวดั พัทลุง ๒๕๕๙ 81

อุตสาหกรรม ภาวะการผลติ ทีส่ ำ�คญั ด้านอุตสาหกรรม การประกอบการดา้ นอตุ สาหกรรมในจงั หวดั พทั ลงุ สว่ นใหญเ่ ปน็ โรงงานขนาดกลาง และขนาดเลก็ เม่ือแบง่ ขนาดโรงงานแยกตามเงินลงทนุ จะมโี รงงานขนาดใหญเ่ พยี ง ๗ โรงงานที่มกี ารลงทุนมากกว่า ๑๐๐ ลา้ นบาท คือ บรษิ ัท สยามอนิ โดรบั เบอร์ จ�ำ กัด ประกอบกจิ การผลติ ยางแทง่ STR หา้ งหนุ้ สว่ นจ�ำ กดั ท.ี พ.ี แอสฟลั ท์ ประกอบกจิ การผลติ แอสฟลั ทค์ อนกรตี บรษิ ทั เบทาโกรภาคใต้ จ�ำ กดั ประกอบกจิ การการฆา่ สตั ว์ (สกุ ร)/ แปรรปู สกุ ร (ตดั แตง่ ) บรษิ ทั พ.ี เค.ลาเทก็ ซ์ จ�ำ กดั ประกอบกจิ การผลติ นา้ํ ยางขน้ บรษิ ทั เบทาโกรภาคใต้ จ�ำ กดั ประกอบกจิ การแปรรปู ไก่ และผลติ เนอื้ ไกแ่ ชแ่ ขง็ บรษิ ทั พทั ลงุ กรีน เพาเวอร์ จ�ำ กัด ประกอบกจิ การผลิตและจ�ำ หนา่ ยกระแสไฟฟ้า ขนาดก�ำ ลังผลติ ๙.๙ M (ยงั ไมแ่ จง้ ประกอบกจิ การ) และบรษิ ทั พทั ลงุ กรนี โฮลดง้ิ จ�ำ กดั ประกอบกจิ การ ผลิตพลงั งานไฟฟ้าจากเช้อื เพลิงชวี มวล (ยงั ไมแ่ จ้งประกอบกิจการ) การประกอบการ ภาคอุตสาหกรรมของจังหวัด ส่วนใหญ่เป็นการประกอบการที่ยังไม่เพิ่มมูลค่าให้กับ ผลติ ภณั ฑม์ ากนกั เปน็ เพยี งอตุ สาหกรรมตน้ นาํ้ ทจี่ ะน�ำ ไปสกู่ ารผลติ ในขนั้ ตอ่ ไป ลกั ษณะ และการลงทนุ ส่วนใหญจ่ ะเป็นเจ้าของคนเดียว มีการรว่ มลงทุนกับนกั ลงทนุ อืน่ ๆ น้อย ณ วันที่ ๓๐ ตุลาคม ๒๕๕๘ จงั หวัดพทั ลุงมโี รงงานอุตสาหกรรมทง้ั หมด ๘๑๑ โรง เงนิ ลงทนุ รวม ๖,๔๑๙.๕๗ ลา้ นบาท และมจี �ำ นวนคนงาน ๕,๕๑๔ คน โดยจ�ำ แนกออก เป็นจำ�พวกโรงงานจำ�พวกท่ี ๑ จำ�นวน ๓๐๙ โรง เงินทุน ๓๓.๘๐ ล้านบาท คนงาน ๔๓๘ คน โรงงานอตุ สาหกรรมจ�ำ พวก ๒ จ�ำ นวน ๘๙ โรง เงนิ ทุน ๑๕๕.๖๐ ลา้ นบาท คนงาน ๕๙๒ คน โรงงานอุตสาหกรรมจ�ำ พวก ๓ จำ�นวน ๔๑๓ โรง เงินทุน ๖,๒๓๐.๑๗ ลา้ นบาท คนงาน ๔,๔๘๔ คน อ�ำ เภอทม่ี จี �ำ นวนโรงงานอตุ สาหกรรมมากทส่ี ดุ คอื อ�ำ เภอ เมือง มจี �ำ นวนโรงงาน ๒๔๐ โรง เงนิ ทุน ๑,๘๒๔.๕๒ ลา้ นบาท คนงาน ๒,๓๖๖ คน รองลงมาคืออ�ำ เภอควนขนุน มีโรงงาน ๑๗๔ โรง เงินทุน ๓๓๕.๕๒ ล้านบาท คนงาน 82 บรรยายสรปุ จงั หวัดพัทลุง ๒๕๕๙

๖๒๒ คน อำ�เภอที่มีโรงงานน้อยท่ีสุดคือ อำ�เภอศรีบรรพตมีจำ�นวนโรงงาน ๑๙ โรง เงินทุน ๔๖.๖๐ ลา้ นบาท คนงาน ๖๓ คน (หมายเหตุ : ตั้งแต่วนั ที่ ๑ ตุลาคม ๒๕๕๘ เปน็ ตน้ ไป ส�ำ นักงานอุตสาหกรรมจงั หวัดพทั ลงุ ปรับฐานข้อมลู ทะเบียนโรงงาน ยกเลกิ ระบบฐานข้อมูลโรงงานของส�ำ นักงานฯ ไปใช้ฐานข้อมูลของกรมโรงงานอุตสาหกรรม) อุตสาหกรรมท่มี ีการลงทุนมากที่สุด ๓ อันดบั ณ วันที่ ๓๐ ตุลาคม ๒๕๕๘ ได้แก่ ๑. อุตสาหกรรมทั่วไป ประกอบด้วยการขุดตักดิน การดูดทราย การผลิต คอนกรตี บลอ็ ก ทอ่ เสาคอนกรตี การแบง่ บรรจกุ า๊ ซหงุ ตม้ การผลติ และจ�ำ หนา่ ยกระแส ไฟฟ้า และการโม่ บด ย่อยหนิ ปจั จุบนั มจี �ำ นวนโรงงานท้ังสน้ิ ๑๓๑ โรงงาน เงินลงทุน ๒,๐๗๘.๐๐ ลา้ นบาท คนงาน ๕๖๓ คน ผลการพจิ ารณาขอ้ มลู ของอตุ สาหกรรมทว่ั ไป เปรียบเทียบกับช่วงระยะเวลาเดียวกันในปีก่อน พบว่าอัตราการขยายตัวของจำ�นวน โรงงานเพม่ิ ขนึ้ ร้อยละ ๗.๓๘ จ�ำ นวนเงินลงทนุ เพม่ิ ข้ึนร้อยละ ๑๐๐ และอตั ราการจ้าง งาน เพมิ่ ขนึ้ รอ้ ยละ ๒๔.๕๖ เนอื่ งจากมโี รงงานขนาดใหญไ่ ดร้ บั อนญุ าตประกอบกจิ การ โรงงานจำ�นวน ๒ โรง คอื บริษทั พัทลงุ กรีน เพาเวอร์ จำ�กดั และ บรษิ ทั พทั ลงุ กรนี โฮลดิง้ จ�ำ กดั ๒. อุตสาหกรรมอาหาร ประกอบดว้ ย การผลิตเกี่ยวกบั สตั วเ์ ปน็ หลัก เช่น การฆ่าสัตว์ (สุกร) การล้างชำ�แหละ น่ึง แกะ สัตว์นํ้า การผลิตอาหารสำ�เร็จรูปจาก เน้ือสตั ว์ รองลงมา ไดแ้ ก่ การผลิตนาํ้ แข็ง และการผลติ ขนม ปจั จุบนั มจี �ำ นวนโรงงาน ทง้ั สน้ิ ๕๓ โรงงาน เงนิ ลงทนุ ๑,๘๑๔.๒๙ ลา้ นบาท คนงาน ๑,๓๒๑ คน ผลการพจิ ารณา ข้อมูลของอุตสาหกรรมอาหารไปเปรียบเทียบกับช่วงระยะเวลาเดียวกันในปีก่อน พบว่าอัตราการขยายตัวของจำ�นวนโรงงานเพ่ิมข้ึนร้อยละ ๑๐.๔๒ จำ�นวนเงินลงทุน เพมิ่ ขน้ึ รอ้ ยละ ๗๔.๘๙ และอตั ราการจา้ งงาน เพมิ่ ขน้ึ รอ้ ยละ ๑๕.๗๘ เนอ่ื งจากมโี รงงาน ขนาดใหญไ่ ด้รบั ญาตประกอบกจิ การโรงงานจำ�นวน ๑ โรง คอื บริษัท เบทาโกรภาคใต้ จำ�กดั ประกอบกจิ การแปรรูปไก่ และผลติ เน้ือไกแ่ ชแ่ ข็ง บรรยายสรุปจงั หวัดพทั ลุง ๒๕๕๙ 83

๓. อตุ สาหกรรมยาง ประกอบดว้ ย การผลติ เกย่ี วกบั ยางเปน็ หลกั เชน่ การผลติ ยางแผน่ ดบิ ยางแผน่ รมควนั และยางแผน่ ผง่ึ แหง้ รองลงมาไดแ้ กก่ ารตดั แตง่ แผน่ ยาง ธรรมชาตแิ ละอดั กอ้ น ปจั จบุ นั มจี �ำ นวนโรงงานทง้ั สน้ิ ๘๐ โรงงาน เงนิ ลงทนุ ๑,๐๙๒.๓๑ ลา้ นบาท คนงาน ๘๘๖ คน ผลการพจิ ารณาขอ้ มลู ของอตุ สาหกรรมยางไปเปรยี บเทยี บ กบั ชว่ งระยะเวลาเดยี วกนั ในปกี อ่ น พบวา่ อตั ราการขยายตวั ของจ�ำ นวนโรงงานเพม่ิ ขน้ึ ร้อยละ ๓.๙๐ จ�ำ นวนเงนิ ลงทนุ เพมิ่ ขน้ึ รอ้ ยละ ๑๒.๑๖ และอตั ราการจา้ งงาน เพมิ่ ขนึ้ รอ้ ยละ ๓.๗๕ 84 บรรยายสรปุ จังหวัดพัทลุง ๒๕๕๙

ตารางสถติ จิ ำ�นวนโรงงานแยกตามหมวดอตุ สาหกรรม ณ วนั ท่ี ๓๐ ตลุ าคม ๒๕๕๘ เดือนตุลาคม ๒๕๕๘ รายการ จำ�นวน เงินทนุ คนงาน แรงม้า (ล้านบาท) อตุ สาหกรรมการเกษตร ๓๓๙ ๔๐๔.๗๗ ๕๗๑ ๙,๙๙๑.๖๙ อตุ สาหกรรมอาหาร ๕๓ ๑,๘๑๔.๒๙ ๑,๓๒๑ ๒๖,๙๗๒.๕๕ อตุ สาหกรรมไมแ้ ละผลติ ภัณฑจ์ ากไม้ ๕๖ ๒๓๓.๓๙ ๘๑๗ ๘,๘๘๗.๙๓ อตุ สาหกรรมเฟอร์นิเจอร์และเคร่ืองเรือน ๑๘ ๓๒.๙๑ ๑๘๐ อตุ สาหกรรมสง่ิ พมิ พ์ - ๗๖๒.๐๐ อตุ สาหกรรมเคมี ๓ - - - อตุ สาหกรรมปโิ ตรเคมแี ละผลิตภณั ฑ์ ๓ ๒๖.๑๐ ๑๑ อุตสาหกรรมยาง ๘๐ ๔๗.๐๓ ๓๐ ๒๐๔.๘๐ อุตสาหกรรมพลาสตกิ ๒ ๑,๐๙๒.๓๑ ๘๘๖ ๕,๓๘๙.๔๐ อุตสาหกรรมอโลหะ ๕๓ ๑.๑๑ ๙ ๑๐,๙๘๐.๑๓ อุตสาหกรรมผลิตภณั ฑโ์ ลหะ ๒๓ ๓๑๖.๓๑ ๖๕๘ อุตสาหกรรมเคร่อื งจักรกล ๑๑ ๔๒.๙๗ ๘๔ ๘๓.๒๐ อตุ สาหกรรมขนส่ง ๓๙ ๖.๔๓ ๔๑ ๔,๕๖๘.๒๖ อุตสาหกรรมท่ัวไป ๑๓๑ ๓๒๓.๙๗ ๓๔๓ ๙๗๒.๒๓ รวม ๘๑๑ ๒,๐๗๘.๐๐ ๕๖๓ ๓๑๙.๗๓ ๖,๔๑๙.๕๘ ๕,๕๑๔ ๑,๕๔๕.๓๗ ๑๑๘,๕๑๓.๗๑ ๑๘๙,๑๙๑.๐๐ บรรยายสรุปจังหวัดพัทลุง ๒๕๕๙ 85

สถิติจำ�นวนโรงงานอตุ สาหกรรมทมี่ กี ารลงทุนมากทสี่ ุด ๓ อันดับ ไดแ้ ก่ รายการ จำ�นวน เงินทุน จำ�นวนคนงาน (โรง) (ลา้ นบาท) (คน) อตุ สาหกรรมทว่ั ไป ๑๓๑ ๒,๐๗๘.๐๐ ๕๖๓ อุตสาหกรรมอาหาร ๕๓ ๑,๘๑๔.๒๙ ๑,๓๒๑ อุตสาหกรรมยาง ๘๐ ๑,๐๙๒.๓๑ ๘๘๖ (ทม่ี า : ส�ำ นักงานอตุ สาหกรรมจงั หวัดพทั ลุง ข้อมลู ณ วันที่ ๓๐ ตลุ าคม ๒๕๕๘) การพาณชิ ยกรรม จงั หวัดพัทลงุ มนี ติ บิ คุ คล ณ ปี ๒๕๕๘ จ�ำ นวนท้งั หมด ๑,๐๖๓ ราย มีทนุ จด ทะเบียนท้ังหมด ๒,๒๗๓,๘๔๒,๗๐๐ บาท แยกเป็นบริษัทจำ�กัด ๒๙๖ ราย ทุนจด ทะเบียน ๙๒๑,๘๓๓,๗๐๐ บาท ห้างหุ้นส่วนจำ�กัด ๗๖๔ ราย ทุนจดทะเบียน ๑,๓๔๗,๐๖๙,๐๐๐ บาท หา้ งหนุ้ สว่ นสามญั ๓ แหง่ ทนุ จดทะเบยี น ๔,๙๔๐,๐๐๐บาท 86 บรรยายสรุปจงั หวัดพทั ลงุ ๒๕๕๙

ตารางแสดงจำ�นวนนิติบคุ คลจงั หวดั พัทลงุ แยกตามรายอำ�เภอ ปี ๒๕๕๘ นติ ิบุคคลทยี่ ังดำ�เนินการอยู่ ปี ๒๕๕๘ อำ�เภอ บริษทั ทนุ จด หา้ งหุ้นสว่ น ทุนจด หา้ งหุ้นสว่ น ทนุ จด (จำ�นวนราย) ทะเบยี น นิตบิ คุ คล ทะเบยี น จำ�กดั ทะเบยี น (จำ�นวนราย) (จำ�นวนราย) กงหรา ๕ ๗.๐๐ - - ๒๑ ๒๔.๗๐ เขาชัยสน ๖ ๑๐.๐๐ - - ๔๒ ๗๖.๔๐ ควนขนุน ๔๐ ๑๐๐.๖๐ ๒ ๐.๙๔ ๑๓๐ ๒๒๘.๒๕ ตะโหมด ๑๓ ๓๒.๐๐ - - ๔๑ ๕๗.๒๖ บางแกว้ ๘ ๖๓.๕๐ - - ๒๒ ๓๙.๓๒ ปากพะยนู ๘ ๒๖.๐๐ - - ๓๙ ๖๖.๑๖ ปา่ บอน ๑๗ ๘๐.๐๔๕ - - ๓๓ ๔๗.๖๕ ปา่ พะยอม ๑๖ ๒๖.๐๐ - - ๓๙ ๔๙.๖๐ เมืองพทั ลุง ๑๗๑ ๕๕๐.๑๘๘๗ ๑ ๔.๐๐ ๓๓๙ ๖๓๗.๒๒๙ ศรนี ครนิ ทร์ ๑๒ ๑๗.๕๐ - - ๒๘ ๖๖.๕๐ ศรีบรรพต ๒ ๒.๐๐ - - ๓๐ ๕๔.๐๐ รวม ๒๙๖ ๙๒๑.๘๓๓๗ ๓ ๔.๙๔ ๗๖๔ ๑,๓๔๗.๐๖๙ สถานประกอบการตาม พ.ร.บ. ภาพยนตร์และวดี ทิ ศั น์ พ.ศ.๒๕๕๑ จังหวัดพัทลุงมีการออกใบอนุญาตประกอบการตาม พ.ร.บ. ภาพยนตร์และ วดี ที ศั น์ พ.ศ.๒๕๕๑ ประจ�ำ ปี ๒๕๕๘ รวม ๕๑๐ แหง่ แยกเปน็ ประเภทสถานประกอบการ ร้านเกมส์มากที่สุดจำ�นวน ๒๘๗ ร้าน คิดเป็นร้อยละ ๕๖.๐๙ รองลงมาเป็น รา้ นคาราโอเกะจ�ำ นวน ๑๕๑ แหง่ คดิ เปน็ รอ้ ยละ ๒๙.๕ รา้ นเชา่ /แลกเปลย่ี น/จ�ำ หนา่ ย จ�ำ นวน ๗๒ แห่ง และโรงภาพยนตร์จ�ำ นวน ๓ โรง คดิ เป็นร้อยละ ๑๔.๑๑ และ ๐.๓ ตามล�ำ ดับ บรรยายสรปุ จังหวัดพัทลงุ ๒๕๕๙ 87

ข้อมูลการออกใบอนุญาตสถานประกอบการตาม พ.ร.บ.ภาพยนตร์และวดี ีทัศน์ พ.ศ. ๒๕๕๑ จงั หวดั พทั ลุงประจำ�ปี ๒๕๕๘ (สรปุ รายอำ�เภอ ณ วันที่ ๓๐ กนั ยายน ๒๕๕๘) ประเภทสถานประกอบการ อำ�เภอ เกม คารา เชา่ / โรง รวม โอเกะ แลกเปล่ยี น/ ภาพยนตร์ เมืองพัทลุง ๒๒๓ กงหรา จำ�หน่าย ๕๐ เขาชัยสน ๔๖ ควนขนนุ ๑๓๐ ๕๘ ๓๒ ๓ ๑๔๖ ปากพะยูน ๙ ตะโหมด ๓๗ ๑๐ ๓ - ๔๕ ปา่ บอน ๔๕ บางแกว้ ๓๔ ๙ ๓ - ๓๒ ศรบี รรพต ๒๖ ศรนี ครินทร์ ๗๒ ๕๕ ๑๙ - ๖๖ ปา่ พะยอม ๖๐ ๔๔ ๕ - ๕๑๑ รวม ๒๔ ๑๒ ๙ - ๓๑ ๗ ๗ - ๑๕ ๓๓ ๕ - ๑๖ ๙ ๑ - ๓๗ ๒๔ ๕ - ๔๐ ๙ ๑๑ - ๒๘๗ ๑๕๑ ๗๒ ๓ 88 บรรยายสรปุ จงั หวดั พทั ลงุ ๒๕๕๙

สหกรณ์ จงั หวดั พทั ลงุ มสี หกรณจ์ ดั ตง้ั อยแู่ ลว้ ๗ ประเภท จ�ำ นวน ๑๐๙ สหกรณ์ สมาชกิ ๑๒๑,๘๗๐ คน ทนุ ด�ำ เนนิ งานทัง้ สนิ้ ๑๗,๔๒๓,๒๘๐,๑๖๕.๙๔ บาท ประเภทสหกรณ์ จำ�นวน (สหกรณ)์ สมาชิก (คน) ทนุ ดำ�เนนิ การ (บาท) ๑.สหกรณ์การเกษตร ๙๑ ๙๕,๓๑๘ ๔,๓๒๑,๗๐๓,๐๑๗.๒๐ ๒.สหกรณอ์ อมทรพั ย์ ๕ ๑๓,๔๕๙ ๑๒,๕๓๓,๒๕๐,๘๕๑.๘๐ ๓.สหกรณร์ ้านคา้ ๒ ๒,๙๓๐ ๒๐,๒๕๕,๓๘๑.๒๙ ๔.สหกรณ์บรกิ าร ๓ ๒๕๘ ๑๓,๘๗๗,๔๙๕.๔๖ ๕.สหกรณ์เครดติ ยเู น่ียน ๖ ๘,๓๓๙ ๕๒๓,๔๓๖,๑๐๖.๘๘ ๖.สหกรณป์ ระมง ๑ ๑,๐๔๗ ๑,๑๔๘,๙๑๒.๕๕ ๗.สหกรณน์ คิ ม ๑ ๕๑๙ ๙,๖๐๘,๔๐๐.๗๖ ๑๐๙ ๑๒๑,๘๗๐ ๑๗,๔๒๓,๒๘๐,๑๖๕.๙๔ รวม กลุ่มเกษตรกร ๕ ประเภท จ�ำ นวน ๕๐ กลมุ่ เกษตรกร มสี มาชิกทง้ั ส้นิ จำ�นวน ๘,๒๓๕ คนแยกเปน็ ประเภทกลุ่มเกษตรกร จำ�นวน (กลุม่ เกษตรกร) สมาชิก (คน) คิดเป็นรอ้ ยละ ๑.กลุม่ เกษตรกรท�ำ นา ๓๐ ๖,๐๗๖ ๗๓.๖๙๙ ๒.กลุ่มเกษตรกรท�ำ สวน ๙ ๑,๑๔๑ ๑๓.๘๘๐ ๓.เกษตรกรเลย้ี งสัตว์ ๑๐ ๘๙๖ ๑๐.๙๓๕ ๔.กลมุ่ เกษตรกรท�ำ ประมง ๑ ๑๒๒ ๑.๔๘๔ ๕.กลุ่มเกษตรกรทำ�ไร่ ๐ - - ๕๐ ๘,๒๓๕ ๑๐๐.๐๐ รวม บรรยายสรุปจังหวัดพัทลงุ ๒๕๕๙ 89

ด้านการท่องเท่ียวและโรงแรม จังหวัดพัทลุงมีแหล่งท่ีพักสำ�หรับนักท่องเที่ยว จำ�นวน ๑๐๘ แห่ง ห้องพัก ๑,๘๑๐ หอ้ ง โดยมีภาษีมูลค่าเพิ่มจากโรงแรมและภัตตาคาร ๑.๐๗๔ ลา้ นบาท ซ่ึงมี นกั ทอ่ งเท่ียวและอัตราการเขา้ พกั ปี ๒๕๕๘ ดังน้ี ประเภทการทอ่ งเทีย่ ว อัตราการ รายจ่ายเฉลี่ย รายได้จาก ประเภท เขา้ พัก ตอ่ คน/วนั การทอ่ งเทย่ี ว นักทอ่ งเทีย่ ว ทศั นาจร ทอ่ งเที่ยว ผ้มู าเยือน (ลา้ นบาท) ๒.๐๑ ๑,๑๘๗,๘๗๐ ๒,๒๔๐.๙๙ ไทย ๕๖๘,๒๔๗ ๖๕๕,๘๘๗ ๖๓๐,๕๐๑ ๒.๑๑ ๑,๕๕๕,๑๖๐ ตา่ งชาติ ๖,๐๐๔ ๕,๘๗๔ ๕,๘๗๔ ๒.๐๑ ๒,๗๔๓,๐๓๐ ๒๘.๖๒ รวม ๕๗๔,๒๕๑ ๖๖๑,๗๖๑ ๖๓๖,๓๗๕ ๒,๒๖๙.๖๑ (ท่มี า: สำ�นกั งานการทอ่ งเทยี่ วและกีฬาจงั หวัดพัทลงุ ) 90 บรรยายสรุปจงั หวดั พทั ลุง ๒๕๕๙

ดา้ นผลิตภณั ฑช์ มุ ชนและทอ้ งถน่ิ (OTOP) จังหวดั พัทลงุ มีสมาชกิ OTOP ท่ีลงทะเบียน ปี ๒๕๕๗ - ๒๕๕๘ จำ�นวน ๔๑๑ ราย ๑,๐๑๖ ผลิตภณั ฑ์ เป็นกลุม่ ผผู้ ลติ ชุมชน ๑๘๙ ราย ผู้ประกอบการรายเดยี วและ ผู้ประกอบการวสิ าหกิจขนาดกลางและขนาดยอ่ ม (SME) ๑๑ ราย ประสงค์เขา้ คดั สรร OTOP ปี ๒๕๕๙ จ�ำ นวน ๑๕๐ ราย ๑. ผลิตภณั ฑ์อาหาร จ�ำ นวน ๕๔๐ ผลิตภัณฑ์ ๒. ผลติ ภณั ฑเ์ ครื่องดื่ม จำ�นวน ๓๙ ผลิตภัณฑ์ ๓. ผลติ ภัณฑ์ผา้ และเครอื่ งแตง่ กาย จ�ำ นวน ๖๒ ผลิตภณั ฑ์ ๔. ผลิตภณั ฑ์ของใช้ จำ�นวน ๑๕๔ ผลิตภัณฑ์ ๕. ผลติ ภณั ฑ์สมุนไพร จ�ำ นวน ๒๑๙ ผลติ ภัณฑ์ บรรยายสรุปจังหวัดพัทลงุ ๒๕๕๙ 91

ยอดจำ�หนา่ ยสินค้า OTOP เปรียบเทยี บ ๓ ปี ยอ้ นหลัง ดงั นี้ ปี ยอดจำ�หนา่ ย (บาท) จำ�นวนท่เี พ่มิ ขนึ้ (ร้อยละ) ๒๕๕๖ ๗๑๔,๙๐๑,๘๑๔ - ๒๕๕๗ ๗๙๙,๒๗๗,๑๖๑ ๑๑.๘๐ ๒๕๕๘ ๘๖๐,๙๕๔,๑๗๓ ๗.๗๒ การดำ�เนนิ งานหมบู่ า้ นทอ่ งเทย่ี ว OTOP Village Champion : OVC ระดบั ประเทศ จำ�นวน ๓ หมบู่ ้าน คอื ๑) ชมุ ชนทะเลนอ้ ย ต�ำ บลพนางตงุ และต�ำ บลทะเลน้อย อำ�เภอควนขนุน ๒) บา้ นเขาชัยสน หมทู่ ี่ ๓ ต�ำ บลเขาชัยสน อำ�เภอเขาชัยสน ๓) ปา่ พงศ์ (ชมุ ชนตะโหมด) ตำ�บลตะโหมด อ�ำ เภอตะโหมด ซงึ่ จงั หวดั พทั ลงุ ไดด้ �ำ เนนิ การพฒั นาหมบู่ า้ นทอ่ งเทยี่ ว OTOP เพม่ิ อกี ๕ หมบู่ า้ น คือ ๑) บา้ นหนองเหรียง ต�ำ บลบ้านนา อ�ำ เภอศรีนครนิ ทร์ ๒) บ้านชัยบุร ี ตำ�บลชัยบุร ี อำ�เภอเมอื ง ๓) บา้ นใสประดู่ ตำ�บลเขาปู่ อำ�เภอศรบี รรพต ๔) บา้ นล�ำ สินธ์ุ ต�ำ บลลำ�สนิ ธ์ ุ อ�ำ เภอศรนี ครินทร์ ๕) บา้ นโหละ๊ จงั กระ ต�ำ บลคลองเฉลมิ อ�ำ เภอกงหรา 92 บรรยายสรปุ จงั หวัดพทั ลุง ๒๕๕๙

บรรยายสรุปจงั หวดั พทั ลุง ๒๕๕๙ 93

94 บรรยายสรปุ จังหวดั พทั ลงุ ๒๕๕๙

พทั ลงุสถานการณท์ างสงั คม ของจงั หวดั บรรยายสรปุ จงั หวัดพัทลงุ ๒๕๕๙ 95

การศกึ ษา จงั หวดั พัทลุงมีการจัดการศึกษา ต้ังแตร่ ะดับกอ่ นประถมศึกษา ประถมศกึ ษา มัธยมศึกษาตอนต้น มัธยมศึกษาตอนปลาย ทั้งสายสามัญและสายอาชีพ และระดับ อุดมศึกษา โดยมีสถานศึกษาท่ีเปิดสอนระดับอุดมศึกษา ได้แก่ มหาวิทยาลัยทักษิณ วทิ ยาเขตพทั ลงุ วทิ ยาลยั สารพดั ชา่ งพทั ลงุ วทิ ยาลยั การอาชพี บางแกว้ วทิ ยาลยั เทคนคิ ปา่ พะยอม วิทยาลัยเกษตรและเทคโนโลยพี ทั ลุง ตารางแสดงจำ�นวนสถานศกึ ษาในจงั หวัดพัทลงุ ประจำ�ปกี ารศกึ ษา ๒๕๕๘ สงั กดั จ�ำ นวนโรงเรียน ส�ำ นกั งานเขตพื้นทก่ี ารศกึ ษาประถมศกึ ษาพัทลุง เขต ๑ ๑๒๐ สำ�นกั งานเขตพื้นทีก่ ารศึกษาประถมศึกษาพัทลุง เขต ๒ ๑๑๗ สำ�นกั งานเขตพนื้ ที่การศึกษามธั ยมศึกษา เขต ๑๒ ส่วนแยกพัทลงุ ๒๘ ส�ำ นกั งานคณะกรรมการส่งเสรมิ การศกึ ษาเอกชน ๖๕ ๓๓๐ รวมทัง้ ส้ิน 96 บรรยายสรปุ จงั หวดั พทั ลุง ๒๕๕๙

ขอ้ มลู พน้ื ฐานทางการศกึ ษา สำ�นกั งานเขตพน้ื ทก่ี ารศกึ ษาประถมศกึ ษาพทั ลงุ เขต ๑ ปีการศกึ ษา ๒๕๕๖-๒๕๕๘ สำ�นักงานเขตพ้นื ทกี่ ารศกึ ษาประถมศกึ ษาพัทลุง เขต ๑ ปี ๒๕๕๘ มีจำ�นวน ๑๒๐ โรงเรียน มีนักเรียน ๑๗,๗๖๘ คน มีหอ้ งเรยี นจ�ำ นวน ๑,๑๐๒ ห้อง และมคี รู จ�ำ นวน ๑,๒๗๐ คน รายการ ๒๕๕๖ ปีการศกึ ษา ๒๕๕๘ ๑๒๓ ๒๕๕๗ ๑๒๐ จ�ำ นวนโรงเรยี น ๑๘,๐๕๐ ๑๒๑ ๑๗,๗๖๘ จำ�นวนนักเรียน ๔,๐๓๘ ๑๗,๗๑๓ ๓,๙๘๔ -ระดับก่อนประถมศึกษา ๑๒,๗๔๕ ๓,๙๒๕ ๑๒,๖๑๔ -ระดบั ประถมศกึ ษา ๑,๒๖๗ ๑๒,๖๕๑ ๑,๑๗๐ - ระดับมธั ยมศกึ ษาตอนต้น ๑,๑๒๐ ๑,๑๓๗ ๑,๑๐๒ จ�ำ นวนห้องเรยี น ๒๕๗ ๑,๑๐๕ ๒๕๘ - ระดับก่อนประถมศกึ ษา ๗๘๘ ๒๕๙ ๗๖๙ - ระดบั ประถมศึกษา ๗๕ ๗๗๐ ๗๕ - ระดบั มัธยมศึกษาตอนตน้ ครู ๗๖ ๑,๒๗๐ บรรยายสรุปจังหวดั พทั ลงุ ๒๕๕๙ 97

ขอ้ มลู พน้ื ฐานทางการศกึ ษา สำ�นกั งานเขตพน้ื ทก่ี ารศกึ ษาประถมศกึ ษาพทั ลงุ เขต ๒ ปีการศกึ ษา ๒๕๕๖-๒๕๕๘ ส�ำ นกั งานเขตพ้นื ท่กี ารศึกษาประถมศกึ ษาพัทลงุ เขต ๒ ปี ๒๕๕๘ มีจ�ำ นวน ๑๑๗ โรงเรยี น มีนกั เรียน ๑๙,๖๙๗ คน มีหอ้ งเรยี นจำ�นวน ๑,๑๐๕ ห้อง และมีครู จ�ำ นวน ๑,๓๘๓ คน รายการ ๒๕๕๖ ปีการศึกษา ๒๕๕๘ ๑๑๗ ๒๕๕๗ ๑๑๗ จ�ำ นวนโรงเรียน ๒๐,๒๒๖ ๑๑๗ ๑๙,๖๙๗ จำ�นวนนกั เรียน ๔,๓๘๓ ๑๙,๙๒๐ ๔,๑๗๖ - ระดับกอ่ นประถมศกึ ษา ๑๕,๐๐๙ ๔,๓๓๗ ๑๔,๗๖๙ - ระดบั ประถมศึกษา ๘๓๔ ๑๔,๗๕๒ ๗๕๒ - ระดับมธั ยมศกึ ษาตอนต้น ๑,๑๒๒ ๘๓๑ ๑,๑๐๕ จำ�นวนหอ้ งเรียน ๒๕๖ ๑,๑๑๓ ๒๕๐ - ระดับก่อนประถมศึกษา ๘๑๒ ๒๕๘ ๘๐๔ - ระดบั ประถมศึกษา ๕๔ ๘๐๓ ๕๑ - ระดบั มัธยมศกึ ษาตอนต้น ครู ๕๒ ๑,๓๘๓ นอกจากการศกึ ษาในระบบแลว้ ยงั มกี ารศกึ ษาตามอธั ยาศยั ซง่ึ มศี นู ยก์ ารศกึ ษา ประจำ�อ�ำ เภอ (กศน.ประจ�ำ อำ�เภอ) จำ�นวน ๑๑ อ�ำ เภอ และมีศูนย์การศกึ ษาประจ�ำ ต�ำ บล (กศน.ประจำ�ต�ำ บล) จ�ำ นวน ๖๕ แห่ง มีห้องสมดุ ๑๒ แหง่ แยกเปน็ หอ้ งสมดุ ประจ�ำ อำ�เภอ ๑๐ อำ�เภอ หอ้ งสมุดประจำ�จงั หวดั ๑ แห่ง ซึง่ ต้งั อยู่ ณ อำ�เภอเมือง 98 บรรยายสรปุ จังหวดั พัทลงุ ๒๕๕๙

พทั ลงุ หอ้ งสมดุ เฉลมิ พระเกยี รติ จ�ำ นวน ๑ แหง่ ตงั้ อยู่ ณ อ�ำ เภอศรนี ครนิ ทร์ มนี กั เรยี น/ นักศึกษาในสงั กัดจำ�นวน ๖,๒๘๖ คน มีบุคลากรทงั้ หมด ๒๓๖ คน จำ�นวนผูเ้ รยี น/นกั ศึกษาท่ลี งทะเบยี นเรียน ในสงั กดั สำ�นักงาน กศน.จงั หวัดพัทลุง แยกตามรายอำ�เภอ ปี ๒๕๕๘ กิจกรรม ที่ สถานศกึ ษา สง่ เสริมการเรยี นรู้ การศึกษาข้ันพ้ืนฐาน ๑ กศน. อำ�เมืองพทั ลงุ ชาย หญิง รวม ชาย หญิง รวม ๒ กศน. อำ�เภอกงหรา ๓ กศน. อ�ำ เภอเขาชัยสน ๑๑ ๑๕ ๒๖ ๗๙๑ ๓๘๓ ๑,๑๗๔ ๔ กศน. อ�ำ เภอตะโหมด ๕ กศน. อ�ำ เภอควนขนนุ ๒๗ ๑๘ ๔๕ ๓๖๔ ๒๑๖ ๕๘๐ ๖ กศน. อ�ำ เภอปากพะยนู ๗ กศน. อ�ำ เภอศรบี รรพต ๑ ๓๓ ๓๔ ๒๘๗ ๑๕๓ ๔๔๐ ๘ กศน. อำ�เภอปา่ บอน ๙ กศน. อำ�เภอบางแก้ว ๗ ๖ ๑๓ ๒๕๓ ๑๗๕ ๔๒๘ ๑๐ กศน. อ�ำ เภอป่าพะยอม ๑๑ กศน. อำ�เภอศรนี ครินทร์ ๑๑ ๑๙ ๓๐ ๕๕๖ ๓๐๓ ๘๕๙ รวมทั้งส้นิ ๒๒ ๒๖ ๔๘ ๓๕๓ ๒๑๕ ๕๖๘ ๖ ๑๕ ๒๑ ๒๑๒ ๑๒๐ ๓๓๒ ๑๗ ๑๓ ๓๐ ๓๖๘ ๑๖๔ ๕๓๒ ๑๔ ๑๓ ๒๗ ๑๙๓ ๑๗๔ ๓๖๗ ๑๑ ๑๕ ๒๖ ๒๘๘ ๑๗๑ ๔๕๙ ๒ ๐ ๒ ๔๒๕ ๑๒๒ ๕๔๗ ๑๒๙ ๑๗๓ ๓๐๒ ๔,๐๙๐ ๒,๑๙๖ ๖,๒๘๖ บรรยายสรุปจงั หวัดพัทลุง ๒๕๕๙ 99

ข้อมูลบุคลากรทางการศกึ ษา ปี ๒๕๕๘ ลำ�ดับ สถานศึกษาอำ�เภอ/ตำ�บล ครู พนกั งานราชการ ครอู ตั ราจ้าง อ่นื ๆ ๑ กศน. จังหวดั พัทลุง ๑๓ ๒ กศน. อำ�เภอตะโหมด ๔ ๑๑ - - ๓ กศน. อ�ำ เภอเขาชยั สน ๔ ๔ กศน. อ�ำ เภอปา่ บอน ๒๖ ๘ ๒ ๕ กศน. อำ�เภอศรบี รรพต ๒ ๖ กศน. อำ�เภอบางแก้ว ๒๘ ๘ ๒ ๗ กศน. อำ�เภอปา่ พะยอม ๒ ๘ กศน. อำ�เภอศรนี ครนิ ทร์ ๑๗ ๙ ๔ ๙ กศน. อำ�เภอควนขนนุ ๓ ๑๐ กศน. อ�ำ เภอกงหรา ๒๖ ๔ ๑ ๑๑ กศน. อ�ำ เภอเมอื งพทั ลุง ๕ ๑๒ กศน. อ�ำ เภอปากพะยูน ๑๔ ๘ ๑ รวม ๔๒ ๑๖ ๒ ๒๕ ๕ ๒ ๑๘ ๖ ๒๗ ๙ ๔ ๑๘ ๖ ๑๙ ๒ ๓๗ ๗๔ ๘๓ (ที่มา: สนง.สง่ เสริมการศกึ ษานอกระบบและการศกึ ษาตามอัธยาศยั ) 100 บรรยายสรปุ จงั หวัดพทั ลุง ๒๕๕๙