Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore ศาสนพิธีและมารยาทไทย

Description: ศาสนพิธีและมารยาทไทย

Search

Read the Text Version

ศาสนพิธแี ละมารยาทไทย ผจู้ ัดพมิ พ ์ : กรมการศาสนา กระทรวงวฒั นธรรม ปีท่พี ิมพ์ : พ.ศ. ๒๕๖๐ ISBN : ๙๗๘-๖๑๖-๕๔๓-๔๔๓-๐ จ�ำนวนพมิ พ์ : ๑๐,๐๐๐ เล่ม ที่ปรึกษา อธิบดกี รมการศาสนา นายมานัส ทารัตนใ์ จ ทป่ี รกึ ษากรมการศาสนา ท่ปี รกึ ษากรมการศาสนา นายชวลิต ศิรภิ ิรมย ์ นางสาวพิไล จริ ไกรศริ ิ ผดู้ �ำเนินการ รองอธบิ ดกี รมการศาสนา นางพิมกาญจน ์ ชยั จิตรส์ กลุ ผ้อู ำ� นวยการกองศาสนูปถมั ภ์ นายเกรียงศักด ์ บุญประสทิ ธ์ ิ ผู้อ�ำนวยการสำ� นักพฒั นาคุณธรรมจรยิ ธรรม นางศรีนวล ลภั กิตโร เลขานกุ ารกรมการศาสนา นายสำ� รวย นกั การเรยี น เจา้ พนกั งานการศาสนาอาวุโส นายสพุ รหม สวสั ดเ์ิ มอื ง นกั วิชาการศาสนาช�ำนาญการพิเศษ นายโอสธ ี ราษฎรเ์ รือง นักวิชาการศาสนาชำ� นาญการ นายสมควร บุญม ี นกั วิชาการศาสนาชำ� นาญการ นางสาวเรณ ู รัตนชยั เดชา นกั วชิ าการศาสนาชำ� นาญการ นายเฉลมิ ชัย ดงจันทร ์ เจา้ หน้าทีก่ ารศาสนา นายนพรัตน ์ พฤษกรรม เจา้ หน้าท่ีการศาสนา นายเอกพร เอียดจุ้ย พสิ ูจนอ์ ักษร นกั วชิ าการศาสนาชำ� นาญการ นายบรบิ รู ณ์ ศรัทธา ออกแบบ/รูปเลม่ : RT. DESIGN พมิ พท์ ี่ โรงพิมพม์ หาจฬุ าลงกรณราชวทิ ยาลัย ๑๑-๑๗ ถนนมหาราช เขตพระนคร กรุงเทพฯ ๑๐๒๐๐

ค�ำน�ำ ศาสนพธิ ี ถอื เปน็ พธิ กี รรมทางศาสนาทน่ี ำ� หลกั ธรรมคำ� สอนของศาสนาลงสกู่ ารปฏบิ ตั ิ ซงึ่ แตล่ ะ ศาสนาน้นั มีพิธีกรรมทีแ่ ตกต่างกันไปตามความเชอ่ื ในส่วนของศาสนาพุทธนั้น การเข้าร่วมศาสนพธิ ี ของพุทธศาสนิกชนนอกจากจะเรียนรู้ถึงความส�ำคัญของพิธีแล้ว ควรเรียนรู้ถึงมารยาทไทย ในศาสนพิธีด้วย เพราะถือว่ามารยาทไทยกับศาสนาพิธีเป็นของคู่กัน จะขาดอย่างใดอย่างหนึ่งไม่ได ้ ซงึ่ จะทำ� ใหพ้ ธิ นี น้ั เกดิ ความศกั ดสิ์ ทิ ธ ์ิ เรยี บรอ้ ยสวยงาม ผรู้ ว่ มพธิ เี กดิ ความเลอื่ มใสศรทั ธาในศาสนาพธิ ี น�ำมาซง่ึ ความสบายใจ กรมการศาสนาเหน็ วา่ ศาสนพธิ แี ละมารยาทไทย เปน็ สง่ิ จำ� เปน็ ทจี่ ะตอ้ งเรยี นรคู้ วบคกู่ นั ไป ซ่ึงศาสนพิธีกร ควรมีการศึกษา ท�ำความรู้ความเข้าใจที่ถูกต้องตามหลักของพิธีและประเพณีนิยม เพื่อสร้างมาตรฐานการปฏิบัติศาสนพิธีให้ถูกต้องและเป็นไปในแนวทางเดียวกัน จึงมีความจ�ำเป็น ท่ีจะต้องเผยแพร่ความรู้ด้านการปฏิบัติงานศาสนพิธีและมารยาทไทยให้มีความแพร่หลาย ในฐานะ เป็นหน่วยงานภาครัฐท�ำหน้าท่ีสนองงานสถาบันชาติ ศาสนา พระมหากษัตริย์ ด้านการปฏิบัติงาน ศาสนพิธีร่วมกับหน่วยงานต่างๆ เช่น ส�ำนักพระราชวัง เป็นต้น จึงได้น�ำความรู้ ประสบการณ ์ ในการปฏิบัติงานพิธี มารวบรวม เรียบเรียง องค์ความรู้ในรูปแบบหนังสือ และฝึกอบรมเพื่อน�ำไป ถ่ายทอดให้คนในชุมชนได้ใช้เป็นแนวทางในการปฏิบัติให้ถูกต้องตามโบราณประเพณี และมีความ เป็นระเบียบเรียบร้อยเหมาะสม รวมท้ังร่วมกันอนุรักษ์สืบสานศิลปวัฒนธรรมประเพณีของชาต ิ ให้มกี ารสบื ทอดเป็นมรดกทางวัฒนธรรมอนั เปน็ สงิ่ ทนี่ ่าภาคภูมิใจของประชาชนชาวไทยตลอดไป กรมการศาสนา หวงั ว่าหนงั สือ “ศาสนพิธแี ละมารยาทไทย” เลม่ น้ี จักเปน็ ประโยชน์แก่ ศาสนพิธกี ร นกั เรยี น นกั ศกึ ษา และประชาชนทัว่ ไป ได้ศกึ ษาและใชเ้ ปน็ แนวทางในการปฏบิ ตั งิ าน ศาสนาพิธีท่ถี กู ตอ้ งตามโบราณราชประเพณสี บื ไป (นายมานสั ทารตั นใ์ จ) อธิบดกี รมการศาสนา

ความพร้อมเพียงแหง่ ชน ผู้อยู่รว่ มกนั เปน็ หมู่ นำ� ความเจริญวฒั นาถาวรใหส้ ำ� เรจ็ สมเด็จพระอริยวงศาคตญาณ สมเดจ็ พระสังฆราช สกลมหาสงั ฆปรณิ ายก

สารบญั หนา้ ค�ำน�ำ ๑ บทท่ ี ๑ ความรเู้ กย่ี วกับศาสนพธิ ี ๒ ประเภทของศาสนพธิ ที างพระพทุ ธศาสนา ๓ องคป์ ระกอบของพธิ ี ๕ ๕ บทท ่ี ๒ การเตรยี มการและการปฏบิ ัติงานศาสนพิธี ๕ การเตรยี มการของศาสนพิธี ๘ ๑. การเตรียมสถานท่ี ๑๕ ๒. การเตรยี มอปุ กรณ์ ๑๘ ๓. การเตรยี มบุคลากร ๓๖ ๔. การเตรยี มก�ำหนดการ ๕๐ การเตรียมการก่อนการปฏิบัติงานศาสนพิธ ี ๖๑ การปฏบิ ัติงานศาสนพิธ ี ๖๑ ๖๕ บทท ่ี ๓ แนวทางการจัดงานศาสนพธิ กี บั สถาบนั พระมหากษัตริย์ ๖๙ ๑. วนั จักร ี ๗๖ ๒. วันปยิ มหาราช ๘๓ ๓. วันเฉลมิ พระชนมพรรษา ๘๓ ๔. การถวายผา้ พระกฐนิ พระราชทาน ๘๕ ๘๕ บทที่ ๔ แนวทางการจดั งานมงคลพิธี ๘๗ งานกศุ ลพิธี ๘๗ งานบญุ พิธี ๘๙ การจัดพิธที ำ� บญุ งานมงคลทัว่ ไป ๙๓ การจดั พธิ ีทำ� บุญงานมงคลเฉพาะงาน ๑. พิธีหล่อพระพทุ ธรปู ๒. พธิ พี ทุ ธาภเิ ษก หรอื มังคลาภเิ ษก ๓. พิธวี างศิลาฤกษ์

สารบัญ (ต่อ) หนา้ ๑๐๐ ๑๐๑ ๔. พิธที ำ� บุญข้ึนบา้ นใหม่ ๑๐๓ ๕. พิธมี งคลสมรส ๑๐๔ ๖. พิธยี กขันหมาก ๑๐๕ ๗. พิธไี หวบ้ รรพบรุ ษุ ๑๐๖ ๘. พิธสี งฆเ์ นอื่ งในพธิ มี งคลสมรส ๑๐๘ ๙. พธิ ีหลง่ั นำ้� พระพทุ ธมนต์และประสาทพร ๑๑๐ ๑๐. พิธที �ำบญุ วนั เกดิ ๑๑๓ ๑๑. พธิ ที �ำบุญอายคุ รบ ๖๐ ปี ๑๑๕ ๑๒. พิธที ำ� บุญครบรอบวันเกิดของผวู้ ายชนม์ ๑๑๙ ๑๓. การจดั งานมงคลและอวมงคลในโอกาสเดียวกัน ๑๑๙ บทที ่ ๕ แนวทางการจดั งานอวมงคล ๑. การเตรยี มการขอพระราชทานนำ�้ หลวงอาบศพ การขอพระราชทาน ๑๑๙ เพลิงศพ การขอรับหีบพระราชทาน และขัน้ ตอนการปฏบิ ตั ิ ๑๒๓ ๑.๑ การขอพระราชทานน้�ำหลวงอาบศพ ๑๔๐ ๑.๒ การขอพระราชทานเพลิงศพ ๑๔๒ ๑.๓ การขอพระราชทานดนิ ฝงั ศพ ๑๔๒ ๒. การเตรยี มการและขนั้ ตอนการท�ำบุญและการฌาปนกิจศพ ๑๔๒ ๒.๑ การเตรียมอุปกรณใ์ นพิธีงานศพ ๑๔๒ ๒.๒ การอาบนำ�้ ศพ ๑๔๔ ๒.๓ การรดน้�ำศพ ๑๔๔ ๒.๔ การจดั สถานที่ตง้ั ศพ ๑๔๖ ๒.๕ การบำ� เพ็ญกุศลสวดพระอภธิ รรมประจำ� คืน ๒.๖ การบำ� เพญ็ กุศลอทุ ศิ ให้แกผ่ ้ทู ่ลี ่วงลบั ๗ วนั ๕๐ วัน ๑๐๐ วัน

สารบัญ (ตอ่ ) หน้า ๒.๗ การบรรจศุ พ ๑๔๘ ๒.๘ การจดั พธิ ีฌาปนกจิ ศพ ๑๔๙ ๒.๙ การเก็บอฐั ิ ๑๕๒ ๒.๑๐ การจัดพิธีบ�ำเพญ็ กุศลเนื่องในโอกาสครบรอบวนั ตายของผวู้ ายชนม์ ๑๕๕ บทท ่ี ๖ การจัดทานพิธ ี ๑๕๙ ๑. การถวายสังฆทาน ๑๖๐ ๒. การถวายผา้ กฐนิ หรือการทอดกฐิน ๑๖๒ ๓. การถวายผา้ ป่า (สามัคคี) ๑๖๖ ๔. การถวายทานตา่ ง ๆ ๑๖๗ บทท ่ี ๗ มารยาทไทยในศาสนพิธ ี ๑๖๙ ๑. การแสดงความเคารพ ๑๖๙ ๒. การประเคนและรับสงิ่ ของจากพระสงฆ์ ๑๗๖ ภาคผนวก ๑๘๓ คำ� บชู าพระและค�ำอาราธนา ๑๘๕ ลำ� ดบั พัดยศสมณศักด์ิ ฯ ในงานพระราชพธิ ี - รัฐพธิ ี ๑๙๓ การใช้พัดยศ การถวายอดเิ รก และการถวายพระพรลา ๑๙๗ บรรณานกุ รม ๒๑๙

การท�ำบุญ ไมจ่ �ำเป็นต้องมที รัพยส์ นิ เงินทอง กส็ ามารถที่จะร่วมท�ำบุญได้ แถมยังประหยัดอกี ดว้ ย น่นั คือ การรกั ษาศีลและการเจรญิ ภาวนา สมเดจ็ พระพุฒาจารย์ (โต พรหมรงั ษี)

บทท่ี ๑ ความรเู้ ก่ยี วกบั ศาสนพธิ ี สังคมไทยถือว่าศาสนามีความส�ำคัญต่อวิถีการด�ำเนินชีวิตของสังคม จนกลายเป็น วฒั นธรรมประเพณที มี่ ผี ลตอ่ ความรสู้ กึ นกึ คดิ ความเชอื่ ความศรทั ธาของประชาชนพลเมอื งของสงั คม ดังน้ัน ศาสนาจึงถือเป็นเครื่องยึดเหน่ียวทางจิตใจในการประพฤติปฏิบัติเพ่ือให้ประชาชนพลเมือง ได้ใช้หลักธรรมทางศาสนาท่ีตนนับถือ มาเป็นเคร่ืองมือในการประพฤติปฏิบัติตนเพ่ือให้เกิด ประโยชน์ในการพัฒนาจิตใจของตนเอง ครอบครัว สังคม ชุมชน และประเทศชาติ ให้มีความ ม่ันคงและอยู่ร่วมกันอย่างมีความสุข และเกิดความสมานฉันท์ แต่การท่ีประชาชนพลเมือง จะเข้าถึงหลักธรรมอันเป็นแก่นแท้ของศาสนาโดยตรงจริง ๆ น้ัน เป็นส่ิงท่ีกระท�ำได้ยาก เน่ืองจาก ผลของหลักธรรมมีลักษณะเป็นนามธรรมเช่นเดียวกับผลของการศึกษา ที่จะให้ผู้เข้ารับการศึกษา ได้เกิดปัญญาจริง ๆ ย่อมเห็นผลช้า ไม่เหมือนการสร้างวัตถุต่าง ๆ ท่ีสามารถเห็นผลได้รวดเร็ว ทนั ใจ ดงั นนั้ ศาสนาทุกศาสนาจึงจ�ำเป็นตอ้ งมพี ธิ กี รรมทางศาสนาเป็นเครอ่ื งมือในการให้ศาสนิกชน ของตน ใช้เป็นแนวทางในการปฏิบัติกิจกรรมทางศาสนาที่มีลักษณะเป็นรูปธรรมร่วมกัน ปราชญ์ท้ังหลายจึงได้ให้ความส�ำคัญของศาสนพิธีไว้ว่า “เป็นดังเปลือกของต้นไม้ ซ่ึงท�ำหน้าท่ี ห่อหุ้มแก่นของต้นไม้ คือ เนื้อแท้อันเป็นสาระส�ำคัญของศาสนาไว้” ซ่ึงเมื่อกล่าวให้ถูกต้อง กส็ ามารถกล่าวได้วา่ ศาสนพธิ ี และศาสนธรรมของศาสนาทง้ั สองส่วนนี้ ยอ่ มมีความส�ำคญั เสมอกนั ต้องอาศัยซ่ึงกันและกัน เพราะหากไม่มีศาสนธรรมอันเป็นแก่นแท้ของศาสนา ศาสนพิธีก็คงจะอยู่ ได้ไม่นาน หรือหากมีเฉพาะศาสนธรรมอันเป็นแก่นแท้ของศาสนา แต่ไม่มีศาสนพิธี แก่นแท้ของ ศาสนาก็ย่อมอยู่ได้ไม่นานเช่นกัน เพราะศาสนิกชนขาดแนวทางในการปฏิบัติกิจกรรมทางศาสนา ร่วมกัน ไม่มีสิ่งใดสิ่งหน่ึงเป็นศูนย์กลางหรือเป็นสิ่งยึดเหน่ียวจิตใจในการท่ีจะปฏิบัติกิจกรรม ทางศาสนารว่ มกัน ๑

ศาสนพธิ แี ละมารยาทไทย สังคมไทยถือว่าศาสนามีความส�ำคัญต่อวิถีการด�ำเนินชีวิตของสังคม จนกลายเป็น วฒั นธรรมประเพณที มี่ ผี ลตอ่ ความรสู้ กึ นกึ คดิ ความเชอ่ื ความศรทั ธาของประชาชนพลเมอื งของสงั คม ดังน้ัน ศาสนาจึงถือเป็นเครื่องยึดเหน่ียวทางจิตใจในการประพฤติปฏิบัติเพ่ือให้ประชาชนพลเมือง ได้ใช้หลักธรรมทางศาสนาท่ีตนนับถือ มาเป็นเครื่องมือในการประพฤติปฏิบัติตนเพ่ือให้เกิด ประโยชน์ในการพัฒนาจิตใจของตนเอง ครอบครัว สังคม ชุมชน และประเทศชาติ ให้มีความ มั่นคงและอยู่ร่วมกันอย่างมีความสุข และเกิดความสมานฉันท์ แต่การที่ประชาชนพลเมือง จะเข้าถึงหลักธรรมอันเป็นแก่นแท้ของศาสนาโดยตรงจริง ๆ น้ัน เป็นส่ิงที่กระท�ำได้ยาก เน่ืองจาก ผลของหลักธรรมมีลักษณะเป็นนามธรรมเช่นเดียวกับผลของการศึกษา ที่จะให้ผู้เข้ารับการศึกษา ได้เกิดปัญญาจริง ๆ ย่อมเห็นผลช้า ไม่เหมือนการสร้างวัตถุต่าง ๆ ท่ีสามารถเห็นผลได้รวดเร็ว ทนั ใจ ดังนัน้ ศาสนาทุกศาสนาจงึ จำ� เป็นต้องมพี ิธีกรรมทางศาสนาเป็นเครอ่ื งมอื ในการให้ศาสนิกชน ของตน ใช้เป็นแนวทางในการปฏิบัติกิจกรรมทางศาสนาท่ีมีลักษณะเป็นรูปธรรมร่วมกัน ปราชญ์ท้ังหลายจึงได้ให้ความส�ำคัญของศาสนพิธีไว้ว่า “เป็นดังเปลือกของต้นไม้ ซ่ึงท�ำหน้าที่ ห่อหุ้มแก่นของต้นไม้ คือ เนื้อแท้อันเป็นสาระส�ำคัญของศาสนาไว้” ซ่ึงเมื่อกล่าวให้ถูกต้อง ก็สามารถกลา่ วไดว้ า่ ศาสนพิธี และศาสนธรรมของศาสนาท้ังสองส่วนนี้ ยอ่ มมคี วามสำ� คัญเสมอกนั ต้องอาศัยซ่ึงกันและกัน เพราะหากไม่มีศาสนธรรมอันเป็นแก่นแท้ของศาสนา ศาสนพิธีก็คงจะอยู่ ได้ไม่นาน หรือหากมีเฉพาะศาสนธรรมอันเป็นแก่นแท้ของศาสนา แต่ไม่มีศาสนพิธี แก่นแท้ของ ศาสนาก็ย่อมอยู่ได้ไม่นานเช่นกัน เพราะศาสนิกชนขาดแนวทางในการปฏิบัติกิจกรรมทางศาสนา ร่วมกัน ไม่มีสิ่งใดสิ่งหนึ่งเป็นศูนย์กลางหรือเป็นสิ่งยึดเหนี่ยวจิตใจในการท่ีจะปฏิบัติกิจกรรม ทางศาสนาร่วมกัน ศาสนพิธีหรือพิธีกรรมของพระพุทธศาสนาเป็นส่ิงที่ช่วยหล่อเล้ียงศาสนธรรม อันเป็นแก่นแท้ของพระพุทธศาสนาไว้ ดังน้ัน การกระท�ำศาสนพิธีหรือพิธีกรรมต่าง ๆ ในทาง พระพุทธศาสนา ควรท่ีจะต้องมีการแนะน�ำและให้ผู้ร่วมพิธีได้ศึกษาท�ำความเข้าใจเก่ียวกับ พิธีตา่ ง ๆ ใหถ้ ่องแทต้ ามหลกั การทางพิธกี รรมของพระพุทธศาสนา เพอ่ื ผู้ปฏิบัติจะได้นำ� ไปปฏิบตั ิได้ อย่างถูกต้องตามจุดมุ่งหมายในศาสนพิธีน้ัน ๆ เน่ืองจากศาสนพิธีจัดเป็นวัฒนธรรมและ จารตี ประเพณขี องชาตทิ มี่ กี ารสบื สานกนั มาเปน็ ระยะเวลาอนั ยาวนาน ซง่ึ การปฏบิ ตั ศิ าสนพธิ จี ะตอ้ ง ท�ำให้มคี วามเป็นระเบียบเรียบร้อย สวยงาม เปน็ ไปในแนวทางเดียวกนั เพ่อื ก่อให้เกดิ ความเล่อื มใส ศรัทธาในการด�ำเนินกิจกรรมด้านพิธีกรรมของศาสนพิธี ซ่ึงถือเป็นส่ิงส�ำคัญของพุทธศาสนิกชน เพราะการด�ำเนนิ กิจกรรมของพธิ กี รรมต่าง ๆ อนั เป็นกา้ วแรกทม่ี ีความเปน็ รูปธรรมของการกา้ วเขา้ สู่หลักการของพระพุทธศาสนา ที่เป็นการเสริมสร้างคุณค่าทางด้านจิตใจ รวมท้ังการธ�ำรงรักษา เอกลักษณ์ของชาติและพุทธศาสนา ผู้ท�ำหน้าท่ีเป็นผู้น�ำในการปฏิบัติงานศาสนพิธีจะต้องมีความรู้ ความสามารถและความเข้าใจอย่างถูกต้อง เนื่องจากศาสนพิธี เป็นการสร้างระเบียบแบบแผน 2

กรมการศาสนา กระทรวงวัฒนธรรม แบบอย่างท่ีพึงปฏิบัติในศาสนาน้ัน ๆ ตามหลักการความเช่ือในศาสนาที่ตนนับถือ เมื่อน�ำมาใช้ใน ทางพระพุทธศาสนาย่อมหมายถึง ระเบยี บ แบบแผน และแบบอย่างท่พี ึงปฏิบตั ิในพระพุทธศาสนา ซงึ่ บางท่านเรยี กวา่ “พุทธศาสนพิธี” ประโยชนข์ องศาสนพธิ ี ศาสนพิธีทถี่ ูกต้องทำ� ใหพ้ ิธมี คี วามเรียบรอ้ ย งดงาม ยอ่ มเพ่ิมพูน ความศรัทธาปสาทะของผู้ที่ได้พบเห็น เป็นเครื่องแสดงเกียรติยศของเจ้าภาพและผู้เข้าร่วมพิธ ี ท้งั ยังเปน็ การรักษาวัฒนธรรมประเพณที ี่ดีงามของชาตไิ ว้ ประเภทของศาสนพิธีทางพระพุทธศาสนา ๑. กุศลพิธี คือ พิธีกรรมท่ีเน่ืองด้วยการอบรมความดีงามทางพระพุทธศาสนาเฉพาะ ตัวบุคคล เช่น การแสดงตนเป็นพุทธมามกะ การเวียนเทียนในวันส�ำคัญทางพระพุทธศาสนา การรักษาศีลต่าง ๆ ๒. บุญพิธี คือ พธิ ีท�ำบุญ เป็นประเพณใี นครอบครวั ในสังคม เก่ยี วเนือ่ งกับการดำ� เนิน ชีวิต เชน่ พิธที �ำบุญงานมงคล พธิ ที �ำบุญงานอวมงคล ๓. ทานพธิ ี คอื พิธถี วายทานต่าง ๆ เชน่ การถวายปาฏบิ คุ ลกิ ทาน การถวายสงั ฆทาน หรือ การถวายผ้ากฐนิ ผา้ ป่า ผ้าอาบนำ�้ ฝน และอ่นื ๆ ๔. ปกณิ กพธิ ี คอื พธิ ีเบด็ เตลด็ เปน็ มารยาทและวธิ ีปฏบิ ตั ศิ าสนพธิ ี เชน่ วธิ ีตงั้ โตะ๊ หมบู่ ชู า และจัดอาสนะสงฆ์ วิธีวงด้ายสายสิญจน์ วิธีจุดธูปเทียน วิธีแสดงความเคารพพระสงฆ์ วิธีประเคน ของพระสงฆ์ วิธีทอดผ้าบังสุกุล วิธีท�ำหนังสืออาราธนาและใบปวารณา วิธีอาราธนาศีล อาราธนา พระปริตร อาราธนาธรรม วธิ ีกรวดนำ้� ฯลฯ ประเภทของงานศาสนพธิ ี งานพระราชพธิ ี เป็นงานที่พระมหากษัตริย์ทรงพระกรุณาโปรดเกล้า ฯ ให้จัดข้ึนเป็นประจ�ำปี เช่น พระราชพิธีฉัตรมงคล พระราชพิธีเฉลิมพระชนมพรรษา หรืองานที่ทรงพระกรุณาโปรดเกล้า ฯ ให้จัดขนึ้ เป็นกรณีพเิ ศษ เชน่ พระราชพธิ ีอภิเษกสมรส พระราชพธิ สี มโภชเดอื นและขึน้ พระอู่ งานพระราชกศุ ล เป็นงานท่ีพระมหากษัตริย์ทรงบ�ำเพ็ญพระราชกุศล งานพระราชกุศลบางงานต่อเนื่อง กับงานพระราชพิธี เช่น พระราชกุศลมาฆบูชา พระราชกุศลทักษิณานุประทานพระบรมอัฐิสมเด็จ พระบรมราชบพุ การี พระราชกุศลทรงบาตร งานรัฐพิธี 3

ศาสนพธิ แี ละมารยาทไทย เป็นงานพิธีที่รัฐบาลหรือทางราชการจัดข้ึนเป็นประจ�ำปี โดยกราบทูลเชิญสมเด็จ พระเจ้าอยู่หัวเสด็จ ฯ ทรงเป็นประธานประกอบพิธี เช่น รัฐพิธีที่ระลึกวันจักรี รัฐพิธีฉลอง วนั พระราชทานรัฐธรรมนญู ซึง่ ปจั จุบนั ทรงรบั เข้าเป็นงานพระราชพธิ ี งานราษฎรพ์ ธิ ี เป็นงานท�ำบุญตามประเพณีนิยมที่ราษฎรจัดขึ้นเพื่อความเป็นสิริมงคลแก่ตนเองและ ชุมชน หรือเป็นการท�ำบุญเพ่ืออุทิศผลให้แก่ผู้ที่ล่วงลับไปแล้วในโอกาสต่าง ๆ ซึ่งเป็นการจัดตาม ความศรัทธาและความเช่ือทีถ่ อื ปฏบิ ัติสบื ทอดกันมาตามทอ้ งถ่นิ หรือชมุ ชนนั้น ๆ องคป์ ระกอบของพธิ ี 4

บทท่ี ๒ การเตรียมการและการปฏิบตั ิงานศาสนพธิ ี เม่ือถึงก�ำหนดวันพิธีผู้ท่ีมีหน้าท่ีรับผิดชอบในการเป็นผู้ด�ำเนินการพิธี ควรมีการจัดเตรียม และแบ่งงานให้ผู้ร่วมปฏิบัติงานในพิธีต่าง ๆ ให้ชัดเจน ใครท�ำอะไร ท่ีไหน อย่างไร ควรมีการ ตรวจสอบความพร้อมของอุปกรณเ์ ครอื่ งใช้ใหพ้ ร้อมตลอดเวลา เช่น เครื่องสักการบูชาพระรัตนตรยั พระพุทธรูป เทียนชนวน การอาราธนาศีล อาราธนาธรรม ส่ิงต่าง ๆ เหล่าน้ี ผู้ท�ำหน้าที่เป็น ศาสนพิธีกร และพิธีกรผู้ช่วยจะต้องช่วยกันดูแลการเตรียมงานและการปฏิบัติให้เป็นไปด้วย ความเรยี บรอ้ ย การเตรียมการของศาสนพิธี เมื่อมีการปรึกษาหารือและมีข้อตกลงกันเป็นท่ีเรียบร้อยแล้ว ในการจัดพิธีเน่ืองในโอกาส ตา่ ง ๆ นั้น ผทู้ ไี่ ดร้ ับมอบหมายให้ทำ� หน้าที่ในการเปน็ ผู้ดำ� เนินกิจกรรมจะตอ้ งมีการเตรียมการ ดังน้ี ๑) การจัดเตรยี มสถานที่ ๒) การจัดเตรียมอุปกรณ์ ๓) การจดั เตรียมบุคลากร ๔) การจัดเตรียมกำ� หนดการ ๑) การจดั เตรียมสถานท่ี กิจกรรมแรกท่ีผู้ด�ำเนินกิจกรรมจะต้องค�ำนึงถึง คือ การจัดเตรียมสถานท่ี ต้องค�ำนึงถึง ความเหมาะสมของสถานท่ี เชน่ งานทจี่ ะจัดเปน็ งานพิธีใด งานมงคล หรอื งานอวมงคล สถานทีน่ ้ัน มคี วามเหมาะสมกับการจดั พิธีหรือไมเ่ พียงใด ซ่งึ จะไดม้ กี ารวางแผนในการจดั กจิ กรรม และปฏิบตั ิได้ เหมาะสมกับสถานท่ี โดยมีหลักการพจิ ารณา ดังนี้ ๑) เหมาะสมกับการท่จี ะใชเ้ ปน็ สถานทีจ่ ดั พธิ ีน้นั หรือไม่ ๒) กวา้ งขวาง เพยี งพอกบั การรองรับผ้รู ่วมพธิ ี ๓) สะอาด สะดวก ปลอดภยั ๔) ไมม่ ีเสยี งรบกวน 5

ศาสนพธิ แี ละมารยาทไทย แบบอยา่ งการจัดเตรียมสถานท่ี การจัดสถานที่สำ� หรับผู้ร่วมพธิ ี 6

กรมการศาสนา กระทรวงวฒั นธรรม การจัดสถานที่สำ� หรบั ผู้เป็นประธาน การจัดสถานทส่ี ำ� หรับเลี้ยงอาหารผ้รู ว่ มงาน 7

ศาสนพธิ แี ละมารยาทไทย ๒) การเตรียมอุปกรณ์ การเตรยี มอปุ กรณ์ เป็นสงิ่ จำ� เป็นของการจัดพิธตี ่าง ๆ ซ่ึงผู้ทำ� หน้าทจ่ี ัดพธิ จี ะต้องมีความรู้ ความเข้าใจเกย่ี วกับพิธกี ารหรอื พธิ ีกรรมต่าง ๆ เช่น วัตถุประสงคข์ องการจดั ศาสนพธิ ี เปน็ งานมงคล งานอวมงคล หรืองานมงคลพร้อมกับงานอวมงคล และงานมงคลนั้นเป็นงานมงคลท่ีจะต้องใช้ อปุ กรณใ์ นพิธีเปน็ การเฉพาะอยา่ งไร เชน่ งานมงคลสมรส งานวางศิลาฤกษ์ เปน็ ตน้ อปุ กรณ์หลักท่ใี ช้ในงานศาสนพธิ ี ๑) โต๊ะหม่บู ชู า, พระพทุ ธรปู , แทน่ กราบ ๒) แจกันดอกไม้ หรือ พานพมุ่ ๓) กระถางธปู , เชงิ เทยี น ๔) ธปู เทียน บูชาพระ ๕) เทียนชนวน ๖) ทก่ี รวดน้ำ� ๗) ส�ำลี กรรไกร เชอ้ื ชนวน (น�ำ้ มนั เบนซิน + เทยี นข้ีผึง้ ) ธปู เทียน ๘) ใบปวารณา และจตุปัจจยั ไทยธรรม ๙) เครอ่ื งขยายเสียงพร้อมอปุ กรณ์ ๑๐) เครื่องรับรองพระสงฆ์ เช่น น้�ำร้อน น�้ำเย็น อาสนะหรือพรมน่ัง เส่ือ หมอนพิง กระดาษเช็ดมอื กระโถน การจัดโตะ๊ หมู่บชู ากรณีพระราชวงศเ์ สดจ็ ฯ การจดั โตะ๊ หมู่บูชาในพิธีทวั่ ไป เปน็ องคป์ ระธาน 8

กรมการศาสนา กระทรวงวฒั นธรรม ท่กี รวดน้ำ� อาสนสงฆส์ มเดจ็ พระราชาคณะ ชุดกถี๋ วายนำ�้ ปานะสมเด็จพระราชาคณะ ชุดก๋ถี วายนำ�้ ปานะพระราชาคณะ 9

ศาสนพิธีและมารยาทไทย พัดยศสมณศกั ดิ์ พดั รอง การจัดอาสนส์ งฆ์ 10

กรมการศาสนา กระทรวงวัฒนธรรม ครอบน้ำ� พระพทุ ธมนต ์ ที่ประพรมน�้ำพระพทุ ธมนต์ สายสญิ จน ์ เทยี นชนวน 11

ศาสนพิธีและมารยาทไทย อปุ กรณเ์ ฉพาะพธิ ี (เพมิ่ จากอปุ กรณ์หลัก) งานพธิ ีมงคล ๑) ภาชนะ นำ้� พระพทุ ธมนต์ เชน่ ครอบนำ�้ มนต์ / บาตร / ขนั ทปี่ ระพรมนำ้� พระพทุ ธมนต์ (มดั หญ้าคา, ใบมะยม, ดอกไมเ้ งนิ ทอง) ๒) สายสญิ จน์ ๓) เทยี นน�้ำมนต์ (เทยี นขผ้ี ง้ึ แท ้ นิยมขนาดน้�ำหนัก ๑ บาท ๔) พานรองสายสิญจน์ จำ� นวน ๒ พาน พธิ มี งคลสมรส ๑) มงคลแฝด ๒) โถปรกิ แป้งกระแจะส�ำหรบั เจิม ๓) สังข์ ๔) หมอนกราบ ๒ ใบ พธิ ีวางศิลาฤกษ์ ๑) แผน่ ศลิ าฤกษ์ ๒) ไม้มงคล ๙ ชนิด คือ ไม้ชัยพฤกษ์ ไม้ราชพฤกษ์ ไม้สักทอง ไม้ไผ่สีสุก ไม้พะยูง ไม้ทองหลาง ไม้กันเกรา ไม้ทรงบาดาล และไม้ขนนุ ๓) คอ้ นตอกไมม้ งคล ๔) แผ่นอิฐ ทอง - นาก - เงิน อยา่ งละ ๓ แผน่ (รวม ๙ แผน่ ) ๕) โถปริก กระแจะเจมิ ๖) ทองคำ� เปลวปดิ ศลิ าฤกษ์ ๓ แผน่ พรอ้ มขผี้ งึ้ หรอื สงิ่ ทท่ี าแผน่ ศลิ าฤกษเ์ พอ่ื ปดิ แผน่ ทอง ๗) ปูนซีเมนต์ผสมเสร็จ พร้อมเกรียงปาดปูน ๘) ตลบั นพรตั น์ ๙) พวงมาลัย ๑๐) ข้าวตอกดอกไม้ เหรยี ญเงิน และเหรยี ญทอง ๑๑) กระดาษ/ผา้ เชด็ มือของประธาน พธิ เี ปดิ ปา้ ยอาคาร ๑) โถปริก กระแจะเจมิ ๒) ทองคำ� เปลว ๓ แผ่น พรอ้ มขีผ้ ง้ึ หรอื สิง่ ทที่ าส�ำหรบั ปิดแผน่ ทอง ๓) ผ้าคลมุ ปา้ ย พร้อมสายชกั ผ้าคลมุ ปา้ ย ๔) กระดาษ/ผา้ เชด็ มอื ของประธาน 12

กรมการศาสนา กระทรวงวฒั นธรรม งานพิธอี วมงคล พิธสี วดพระอภธิ รรม ๑) ภูษาโยง (ถ้าศพมีฐานันดรศักด์ิต้ังแต่ช้ันหม่อมเจ้าขึ้นไป ต้องเตรียมผ้าขาว กวา้ งประมาณ ๑๐ หรอื ๑๒ นิ้ว ยาวเสมอกบั แถวพระสงฆ์ จ�ำนวน ๑ ผนื เรยี กว่า “ผ้ารองโยง”) ถา้ ไม่มีให้ใช้ แถบทอง หรือสายโยง แทนก็ได้ ๒) เคร่ืองทองน้อย ๑ - ๒ ที่ (ต้งั หน้าหบี ศพ) ๓) ตพู้ ระอภธิ รรม พร้อมโต๊ะต้งั ตพู้ ระอภธิ รรม ๔) ผา้ ไตร หรอื ผ้าสำ� หรบั ทอดบงั สกุ ุล ๕) เครื่องกะบะบูชาพระอภิธรรม (ในกรณีไม่มีเคร่ืองกะบะบูชา ให้ใช้ เชิงเทียน ๑ คู ่ แจกันดอกไม้ ๑ คู่ และกระถางธูป ๑ กระถาง ตั้งหนา้ ตพู้ ระอภิธรรมแทนเพือ่ จดุ บูชา) พิธพี ระราชทานเพลิงศพ หรอื ฌาปนกิจศพ (อปุ กรณ์เพิ่มจากการสวดพระอภิธรรม) ๑) ธรรมาสนเ์ ทศน์ คมั ภีร์เทศน ์ พัดรอง ตะลมุ่ พาน ๒) เครอ่ื งทองนอ้ ย จ�ำนวน ๑ ชุด (สำ� หรับประธานจดุ บูชาพระธรรม) ๓) เทยี นส่องธรรม ๔) ผา้ ไตร หรอื ผ้าส�ำหรับทอดบงั สกุ ุล ๕) เครอ่ื งไทยธรรมบูชากณั ฑเ์ ทศน์ พิธีทำ� บญุ ครบรอบวันตาย ๑) อัฐิ / รูปผตู้ าย / ป้ายช่ือของบรรพบรุ ษุ ๔) ภษู าโยง แถบทอง ๒) โตะ๊ หมู่อีก ๑ ชดุ ใชเ้ ป็นทบ่ี ูชาอฐั ิ ๕) ผา้ ส�ำหรับทอดบังสกุ ุล ๓) เคร่อื งทองน้อย เคร่อื งทองนอ้ ย (ส�ำหรบั บุคคลท่ัวไป) เครื่องทองนอ้ ย (สำ� หรับพระสงฆ)์ 13

ศาสนพธิ ีและมารยาทไทย การตง้ั เครื่องประกอบสมณศกั ด์ิหน้าโกศศพพระสงฆ์ ผ้ารองโยง ตู้สวดพระอภธิ รรม (สำ� หรับงานท่อี ยใู่ นพระราชานเุ คราะห)์ 14

กรมการศาสนา กระทรวงวัฒนธรรม ภูษาโยง ผ้าไตร และเคร่ืองถวายกณั ฑ์เทศน์ ๓) การเตรียมบคุ ลากร การเตรยี มบุคลากร เป็นการแสดงถึงความพร้อมของผ้จู ัดงานพธิ ตี ่าง ๆ เพอ่ื ความสะดวก ในการติดต่อประสานงาน เป็นการแบ่งหน้าที่รับผิดชอบในแต่ละส่วน สามารถตรวจสอบได้ว่า นิมนต์พระสงฆ์หรือยัง นิมนต์จ�ำนวนเท่าใด ใครเป็นประธาน ใครรับภารกิจส่วนใด ใครเป็นพิธีกร หรอื ใครท�ำหนา้ ทศ่ี าสนพิธีกร เปน็ ตน้ รวมท้ังสามารถตรวจสอบจุดบกพรอ่ งของงานได้ด้วย พระสงฆ์ การนิมนต์พระสงฆ์ ควรเขียนเป็นหนังสือ หรือภาษาทางราชการ เรียกว่า “การวางฎีกานิมนต์พระสงฆ”์ เพือ่ ถวายพระสงฆ์ถือไวเ้ ปน็ หลกั ฐาน ซง่ึ ประกอบด้วยขอ้ ความส�ำคัญ เพ่ือให้พระสงฆ์ทราบว่า นิมนต์งานพิธีใด วัน เวลา และสถานท่ีในการประกอบพิธี ควรแจ้งให้ ชัดเจน ส่วนจ�ำนวนพระสงฆ์ที่นิยมในแต่ละพิธีน้ัน ไม่ได้ก�ำหนดจ�ำนวนข้างมาก แต่มีก�ำหนด จ�ำนวนข้างน้อยไว้ คือ ไม่ต่�ำกว่า ๕ รูป ๗ รูป ๙ รูป และ ๑๐ รูป เพ่ือจะได้ครบองค์คณะสงฆ์ ส่วนงานพระราชพิธี หรือพิธีของทางราชการนิยมนิมนต์พระสงฆ์ ๑๐ รูป ท้ังงานมงคลและ งานอวมงคล แต่ถ้าหากเป็นพิธีบ�ำเพ็ญกุศลสวดพระอภิธรรมศพประจ�ำคืนน้ัน จะนิมนต์พระสงฆ์ สวดพระอภิธรรม จ�ำนวน ๔ รูป 15

ศาสนพธิ ีและมารยาทไทย ตัวอยา่ งฎกี านมิ นตพ์ ระสงฆข์ องทางราชการ 16

กรมการศาสนา กระทรวงวัฒนธรรม ตวั อยา่ งหนังสือนมิ นตพ์ ระสงฆ์ทว่ั ไป ประธานพิธี คือ บุคคลท่ีเจ้าภาพเชิญมาเป็นเกียรติแก่งานพิธีเพ่ือท�ำหน้าที่เป็นประธาน ในพธิ ซี ง่ึ มที ง้ั แบบเปน็ ทางการ คอื มกี ารเชญิ โดยแจง้ ใหผ้ ทู้ เี่ ปน็ ประธานทราบลว่ งหนา้ อยา่ งเปน็ ทางการ และแบบไมเ่ ปน็ ทางการ คอื การเชญิ ผทู้ มี่ ารว่ มงานทำ� หนา้ ท่เี ป็นประธาน โดยไมม่ ีการแจ้งให้ทราบ ล่วงหน้า ซึ่งถ้าไม่เป็นทางการก็ไม่สู้กระไรนัก แต่หากเป็นทางการควรมีการจัดเตรียมสถานท่ี ให้เหมาะสมกบั ฐานะของผ้ทู ่ีเชิญมาเปน็ ประธานในพธิ ี เช่น การจัดทน่ี ง่ั การต้อนรบั การจัดเตรียม เครื่องรับรอง เป็นต้น อันเป็นการแสดงออกถึงการให้เกียรติแก่ผู้ที่รับเชิญมาท�ำหน้าท่ีเป็นประธาน ในพธิ นี ้นั ๆ ดว้ ย และควรแจ้งกำ� หนดการของพิธีใหผ้ ู้ท�ำหนา้ ทเี่ ป็นประธานได้ทราบ 17

ศาสนพธิ แี ละมารยาทไทย ศาสนพิธีกร คือ ผทู้ ำ� หน้าท่เี ปน็ ผดู้ ำ� เนินการพธิ ีทางศาสนา ซงึ่ มีความรอบรู้ในด้านพิธกี าร ตา่ ง ๆ ทำ� หน้าทค่ี วบคมุ ปฏบิ ตั ิการ จัดการ และประสานงานระหว่างผู้รว่ มปฏิบตั ิงานพิธี ตลอดจน ถึงการให้ค�ำแนะน�ำ ให้ค�ำปรึกษาในการด�ำเนินกิจกรรมพิธีทางพระพุทธศาสนาได้อย่างชัดเจนและ ถกู ตอ้ งตามโบราณประเพณที ่ีไดม้ ีการสบื ทอดกันมา ผู้รว่ มงาน คือ ผู้ที่เจ้าภาพเชิญมารว่ มเป็นเกยี รติแกพ่ ธิ ี ด�ำเนินกจิ กรรมในพธิ รี ่วมกัน เชน่ ร่วมฟังพระสงฆ์แสดงพระธรรมเทศนา เจริญพระพุทธมนต์ เจ้าภาพควรประมาณจ�ำนวนผู้ที่รับเชิญ มาร่วมกิจกรรมให้เหมาะสมกับสถานท่ี ควรก�ำหนดผู้ท่ีคอยต้อนรับผู้มาร่วมงาน ก�ำหนดสถานที่น่ัง ส�ำหรับผู้เป็นประธาน ของท่ีระลึก เป็นต้น ถ้าบุคคลที่เชิญเป็นผู้ใหญ่ เจ้าภาพควรก�ำหนดให้ ชัดเจนว่า ใครน่ังตรงไหน อย่างไร เนื่องจากเมื่อผู้รับเชิญน่ังเรียบร้อยแล้ว ถ้ามีการเคลื่อนย้ายที่นั่ง ในภายหลงั ผู้รบั เชญิ จะเสยี ความรสู้ ึกทีด่ ีในการเข้ารว่ มกิจกรรม ๔) การเตรียมก�ำหนดการ ก�ำหนดการ คือ เอกสารที่จัดท�ำขึ้นเพื่อบอกลักษณะของงาน เป็นต้นว่า งานอะไร ใครเป็นประธาน สถานที่ วัน เวลา ในการจัดงาน ล�ำดับขั้นตอนของงาน การแต่งกาย เพื่อให้ผู้ท่ี รว่ มในพิธมี คี วามเข้าใจตรงกันและทราบขัน้ ตอนพธิ ี กำ� หนดการมี ๔ ประเภท คอื ๑) หมายก�ำหนดการ ๒) หมายรบั สั่ง ๓) พระราชกิจ ๔) กำ� หนดการ หมายก�ำหนดการ เป็นเอกสารแจ้งก�ำหนดข้ันตอนของงานพระราชพิธีโดยเฉพาะ ลักษณะของเอกสารจะต้องอ้างพระบรมราชโองการ คือ ข้ึนต้นด้วยข้อความว่า “นายกรัฐมนตรี หรอื เลขาธกิ ารพระราชวงั รบั พระบรมราชโองการเหนอื เกลา้ ฯ สง่ั วา่ ...” เสมอไป และในทางปฏบิ ตั ิ เจ้าหน้าที่จะต้องส่งต้นหมายก�ำหนดการดังกล่าวนี้ เสนอนายกรัฐมนตรีหรือเลขาธิการพระราชวัง ลงนามรับสนองพระบรมราชโองการ 18

กรมการศาสนา กระทรวงวฒั นธรรม แบบอย่างหมายก�ำหนดการ 19

ศาสนพิธแี ละมารยาทไทย แบบอย่างหมายกำ� หนดการ 20

กรมการศาสนา กระทรวงวฒั นธรรม 21

ศาสนพิธแี ละมารยาทไทย 22

กรมการศาสนา กระทรวงวฒั นธรรม 23

ศาสนพิธแี ละมารยาทไทย 24

กรมการศาสนา กระทรวงวฒั นธรรม หมายรบั สง่ั คอื เอกสารทมี่ ผี รู้ บั รบั สงั่ อญั เชญิ มาสงั่ ใหเ้ จา้ หนา้ ทไี่ ปปฏบิ ตั ติ ามหนา้ ทรี่ าชการ แบบอย่างหมายรบั สั่ง 25

ศาสนพธิ ีและมารยาทไทย พระราชกิจ คือ เอกสารก�ำหนดขั้นตอนการปฏิบัติพระราชพิธี หรือพิธีการของ องค์ประธานในพธิ ีท่ขี า้ ราชการผปู้ ฏบิ ตั จิ ะต้องสนองงานตามลำ� ดบั ขั้นตอน แบบอย่างพระราชกจิ 26

กรมการศาสนา กระทรวงวฒั นธรรม 27

ศาสนพิธแี ละมารยาทไทย 28

กรมการศาสนา กระทรวงวัฒนธรรม ก�ำหนดการ คือ เอกสารแจ้งก�ำหนดข้ันตอนของงานโดยทั่วไป เป็นของส่วนราชการ หรือส่วนเอกชนจัดท�ำข้ึน แม้ว่างานนั้นจะเป็นงานที่เกี่ยวข้องถึงเบ้ืองพระยุคลบาท เช่น งานเสด็จ พระราชด�ำเนิน แต่งานนั้นมิได้เป็นงานพระราชพิธีซึ่งก�ำหนดข้ึนโดยพระบรมราชโองการแล้ว เรียกว่า ก�ำหนดการท้ังสิ้น เช่น ขั้นตอนของงานสวนสนามส�ำแดงความสวามิภักด์ิของทหารรักษา พระองค์ กใ็ ช้คำ� วา่ ก�ำหนดการ เพราะงานนี้มใิ ช่พระราชพิธีทมี่ ีพระบรมราชโองการใหจ้ ดั ขึ้น หากแต่ เป็นทางราชการทหารจดั ข้นึ เพอ่ื ส�ำแดงความสวามิภกั ดิต์ ่อเบอ้ื งพระยุคลบาท 29

ศาสนพิธแี ละมารยาทไทย 30

กรมการศาสนา กระทรวงวฒั นธรรม 31

ศาสนพิธีและมารยาทไทย หลกั การเขยี นกำ� หนดการ หลักการเขียนหรือการท�ำก�ำหนดการ ก�ำหนดเป็น ๓ ส่วน คือ ส่วนต้น ส่วนกลาง และสว่ นท้าย ส่วนตน้ เปน็ ส่วนท่บี อกชื่องาน สถานที่ วนั เวลา ท่จี ะจัดงาน ตัวอยา่ งสว่ นตน้ ก�ำหนดการ พิธ.ี ..........................................................................................(ทำ� อะไร) ณ..........................................................................................(สถานทที่ ี่ไหน) วันท.่ี ...........เดือน.......................ปี.............. เวลา.............น.(เมอื่ ไร) ก�ำหนดการ บ�ำเพญ็ กศุ ลเพ่ือความเป็นสริ ิมงคลท่ที �ำการกระทรวงวฒั นธรรมแห่งใหม่ ณ หอ้ งประชมุ กระทรวงวัฒนธรรม ช้นั ๑๙ อาคารธนาลงกรณท์ าวเวอร์ วนั ท่ี ๒๘ กุมภาพันธ์ ๒๕๔๘ เวลา ๑๐.๐๐ น. 32

กรมการศาสนา กระทรวงวัฒนธรรม ส่วนกลาง เขียนล�ำดับข้ันตอนของกิจกรรมในงานพิธีน้ัน ๆ ต้ังแต่เริ่มต้นจนถึงล�ำดับ ขน้ั ตอนสดุ ท้ายของงานพิธี ตวั อย่างสว่ นกลาง เวลา ๐๙.๔๕ น. - ข้าราชการและผมู้ เี กยี รติพรอ้ มกัน ณ สถานทีป่ ระกอบพิธี เวลา ๑๐.๐๐ น. - รัฐมนตรวี ่าการกระทรวงวัฒนธรรม ประธานพธิ ีเข้าสูส่ ถานทีป่ ระกอบพธิ ี - จุดธูปเทยี น บชู าพระรัตนตรัย - เจา้ หนา้ ที่อาราธนาศีล - ประธานสงฆใ์ หศ้ ีล - เจา้ หน้าที่อาราธนาพระปริตร - พระสงฆเ์ จรญิ พระพทุ ธมนต์ - ถวายภตั ตาหารเพล - ถวายจตุปัจจยั ไทยธรรม - พระสงฆอ์ นโุ มทนา - ประธานกรวดน้�ำ รบั พร - พระสงฆ์พรมน�้ำพระพุทธมนต์ - เป็นเสร็จพธิ ี เวลา ๑๒.๐๐ น. - รบั ประทานอาหารร่วมกัน 33

ศาสนพธิ แี ละมารยาทไทย ส่วนท้าย ด้านซ้ายของก�ำหนดการจะเขียนบอกในเร่ืองการแต่งกาย หรือหมายเหตุอื่น ๆ ส่วนด้านขวาเขียนบอก ช่ือ ที่อยู่ เบอร์โทรศัพท์ที่สามารถติดต่อประสานงานได้ ของหน่วยงาน หรือผู้จัดท�ำก�ำหนดการ เน่ืองจากเมื่อมีปัญหาในก�ำหนดการสามารถประสานงานกันได้ทันเวลา ก่อนถงึ พธิ ีการ ตวั อย่างสว่ นท้าย หมายเหต ุ แต่งกายชุดสากล หรือชดุ สภุ าพ ฝ่ายพธิ ี กองศาสนูปถมั ภ์ กรมการศาสนา โทร ๐ ๒๔๒๒ ๘๘๐๒ - ๘ โทรสาร ๐ ๒๔๒๒ ๘๘๐๖ 34

กรมการศาสนา กระทรวงวฒั นธรรม ตวั อยา่ งก�ำหนดการเต็มรูปแบบ ก�ำหนดการ บำ� เพญ็ กศุ ลเพอื่ ความเป็นสริ ิมงคลท่ที �ำการกระทรวงวัฒนธรรม ณ ห้องประชุมกระทรวงวฒั นธรรม ช้นั ๑๙ อาคารธนาลงกรณท์ าวเวอร์ วันท่ี ๒๘ กมุ ภาพันธ์ ๒๕๖๐ เวลา ๑๐.๐๐ น. เวลา ๐๙.๔๕ น. - ข้าราชการและผูม้ เี กียรตพิ ร้อมกนั ณ สถานทีป่ ระกอบพธิ ี เวลา ๑๐.๐๐ น. - รัฐมนตรีวา่ การกระทรวงวฒั นธรรม ประธานพธิ เี ขา้ สสู่ ถานทีป่ ระกอบพิธี - จุดธปู เทยี น บชู าพระรตั นตรยั - เจ้าหน้าทอี่ าราธนาศีล - ประธานสงฆ์ให้ศีล - เจา้ หนา้ ท่ีอาราธนาพระปรติ ร - พระสงฆ์เจรญิ พระพุทธมนต์ - ถวายภตั ตาหารเพล - ถวายจตปุ ัจจยั ไทยธรรม - พระสงฆอ์ นโุ มทนา - ประธานกรวดนำ้� รับพร - พระสงฆพ์ รมนำ้� พระพุทธมนต์ - เปน็ เสร็จพิธี เวลา ๑๒.๐๐ น. - รับประทานอาหารรว่ มกัน หมายเหตุ แตง่ กายชุดสากล หรอื ชดุ สุภาพ ฝา่ ยพธิ ี กองศาสนปู ถัมภ์ กรมการศาสนา โทร ๐ ๒๔๒๒ ๘๘๐๒ - ๘ โทรสาร ๐ ๒๔๒๒ ๘๘๐๖ 35

ศาสนพิธีและมารยาทไทย การประสานกำ� หนดการ เมอื่ ดำ� เนนิ การจดั ทำ� กำ� หนดการเสรจ็ เรยี บรอ้ ยแลว้ ผดู้ ำ� เนนิ การ จะต้องแจ้งก�ำหนดการให้ผู้เกี่ยวข้องทราบก�ำหนดการก่อนถึงงานพิธี เช่น การนิมนต์พระสงฆ์ ประธานพิธี ผู้ท่ีรับผิดชอบในการประชาสัมพันธ์งาน ศาสนพิธีกร และผู้ร่วมปฏิบัติงาน เพื่อจะได้ ทราบลักษณะขน้ั ตอนและแนวการปฏบิ ตั งิ าน การปฏิบัติตามก�ำหนดการ เม่ือมีก�ำหนดการแล้ว ผู้ร่วมกิจกรรมในพิธีน้ัน ๆ ต้องยึด ก�ำหนดการเป็นหลัก เม่ือมีการตัดทอนเพิ่มเติม หรือสลับขั้นตอนในการปฏิบัติงาน หรือหากมีกรณี ฉกุ เฉนิ และปรบั เปลย่ี นกำ� หนดการ จะตอ้ งมกี ารตดิ ตอ่ ประสานงาน เพอ่ื ใหผ้ ปู้ ฏบิ ตั งิ านรว่ มกนั ไดร้ บั รู้ หากเกิดปัญหาในการปฏิบัติงานศาสนพิธีจะต้องตัดสินใจแก้ไขปัญหาท่ีเกิดขึ้น และแจ้งผู้เกี่ยวข้อง ทกุ ฝา่ ยได้รับทราบทันที การเตรียมการกอ่ นการปฏบิ ตั ิงานศาสนพธิ ี ๑. การปูลาดสถานท่ี การจัดปูลาดพ้ืนที่ด้วยเครื่องปูลาด เช่น พรมหรือเส่ือ ส�ำหรับจัดเป็นอาสนสงฆ์และ ท่ีส�ำหรับแขกท่ีมาร่วมงาน การปูลาดสถานที่ควรค�ำนึงถึงความเหมาะสมและความสวยงามด้วย ถ้าเครื่องปูลาดมีมาก สามารถปูให้เต็มสถานท่ีที่ประกอบพิธีได้ ควรเลือกคัดดูสี สัณฐาน ลวดลาย และขนาดให้เหมาะสม การปูให้ปูล�ำดับลดหล่ันกันไป คือ การปูลาดตรงบริเวณรอยต่อระหว่าง พรหมหรือเสื่อ ต้องให้ด้านสูงทับด้านต่�ำ อย่าให้ด้านต�่ำทับด้านสูง ให้ก�ำหนดทางด้านพระพุทธรูป และพระสงฆป์ ระดษิ ฐานอยเู่ ปน็ ดา้ นสงู เพราะตามคตนิ ยิ มโดยทว่ั ไป เปน็ การแสดงถงึ ความเคารพกนั ของสังคมไทย ผู้ใหญ่น่ังสูงกว่าผู้น้อย ผู้น้อยไม่น่ังสูงกว่าผู้ใหญ่ พระภิกษุนั่งตามล�ำดับอาวุโส คือ พรรษาหรอื สมณศักดิแ์ ล้วแต่กรณีของงานพิธนี ้ัน ๆ ๒. การต้งั โต๊ะหมู่บูชาในงานศาสนพิธี การตั้งโต๊ะหมู่บูชา ตั้งเพื่อเป็นที่ประดิษฐานพระพุทธรูป พร้อมทั้งเคร่ืองบูชาตามคตินิยม ของชาวพุทธ ซึ่งปรากฏในพุทธประวัติว่า เมื่อพุทธบริษัทมีความประสงค์จะบ�ำเพ็ญกุศลอย่างหน่ึง อย่างใด มักจะนิมนต์พระสงฆ์โดยมีพระพุทธเจ้าเสด็จมาเป็นประธานสงฆ์ในการบ�ำเพ็ญกุศลนั้น ๆ ดงั นั้น เพอ่ื ใหม้ คี วามสมบรู ณ์ในพระรัตนตรยั คอื พระพทุ ธ พระธรรม และพระสงฆ์ ในการจดั งาน ท่ีเกี่ยวกับศาสนพิธีทางพระพุทธศาสนา พุทธศาสนิกชนจึงนิยมอัญเชิญพระพุทธรูปมาประดิษฐาน เป็นนิมิตรแทนพระองค์สมเด็จพระสัมมาสัมพุทธเจ้าในพิธีน้ัน ๆ ซึ่งต่อมาถือว่าโต๊ะหมู่บูชาเป็น 36

กรมการศาสนา กระทรวงวัฒนธรรม ท่ีประดิษฐานของสิ่งที่เคารพบูชาของสังคมไทย และเป็นองค์ประกอบของเครื่องมนัสการบูชา ปจั จบุ นั จงึ ไดม้ กี ารจดั ตง้ั โตะ๊ หมบู่ ชู าเพอื่ วตั ถปุ ระสงคอ์ นื่ แตท่ งั้ นก้ี เ็ ปน็ ไปดว้ ยความเคารพสกั การบชู า ในสิ่งที่น�ำมาประดิษฐานบนโต๊ะหมู่บูชาท้ังส้ิน ผู้ที่ท�ำหน้าที่ศาสนพิธีกรจึงควรมีความรู้และ ความเขา้ ใจในการจดั โต๊ะหมู่บูชา เช่น พิธใี ดควรจดั อยา่ งไร ใช้โต๊ะหมชู่ ดุ ใด หมู่ ๕ หมู่ ๗ หรอื หมู่ ๙ เครื่องประกอบบนโต๊ะหมู่มีอะไรบ้าง ซ่ึงส่ิงต่าง ๆ เหล่าน้ี ต้องดูความเหมาะสมของสถานที่ และพิธีที่จะจัดกิจกรรม ๒.๑ การต้ังโตะ๊ หมู่บชู า นิยมตงั้ ไวด้ า้ นขวามอื ของพระสงฆ์ แต่ถ้าสถานทไ่ี มอ่ ำ� นวย ก็อนุโลมให้ตั้งไว้ทางด้านซ้ายมือของพระสงฆ์ได้ ควรพิจารณาให้เหมาะสมกับสถานที่ ไม่ควรวางไว้ ในต�ำแหน่งท่ีต้องใช้เป็นทางเดินผ่านไปมา ซึ่งการบ�ำเพ็ญกุศลทางพระพุทธศาสนามีการจัดตั้ง โตะ๊ หมูบ่ ูชา เชน่ งานกศุ ลพธิ ี และงานบุญพธิ ี งานกุศลพิธี คือ พิธีกรรมต่าง ๆ อันเกี่ยวด้วยการอบรมเพื่อให้เกิดความดีงาม ทางพระพุทธศาสนาเฉพาะตวั บุคล รวมท้ังการปฏิบตั ศิ าสนพธิ ขี องพระสงฆ์ งานบุญพิธี คือ พิธีกรรมท่ีพุทธศาสนิกชนปรารภท�ำความดีเน่ืองด้วยประเพณีใน ครอบครัว หรือ ประเพณีที่เก่ียวกับวิถีชีวิตของคนทั่วไป ทั้งที่เป็นงานมงคล หรืองานอวมงคล ซงึ่ มีการต้ังโตะ๊ หมูบ่ ูชาแบบประยกุ ตไ์ มเ่ ต็มรูปแบบ การจัดโต๊ะหมู่บูชา ให้ประดิษฐานพระพุทธรูปไว้ที่โต๊ะหมู่ตัวสูงสุด และไม่ควร ต้ังเคร่ืองบูชาใด ๆ ไว้บนโต๊ะหมู่ตัวเดียวกับที่ประดิษฐานพระพุทธรูป สมเด็จพระมหาวีรวงศ์ (วนิ ธมมฺ สารเถร) ไดก้ ลา่ วไว้วา่ “เนื่องจากพระพทุ ธ พระธรรม และพระสงฆ์ เป็นสิ่งทค่ี วรกระท�ำ ความย�ำเกรงให้เกิดแก่ผู้ท่ีเป็นพุทธศาสนิกชนให้หนัก เพราะมีค่ามาก เพราะเห็นได้ยาก เป็นสิ่งที่ สะสมไดเ้ ฉพาะคนดี ถา้ พุทธศาสนิกชนท�ำมกั งา่ ยกับพระรตั นตรยั กจ็ ะไม่เป็นพระรัตนตรยั ” ส�ำหรับ ในงานพิธีท่ัวไปนิยมใช้ พระพุทธรูปปางสมาธิเป็นพระบูชา ไม่นิยมปางประทับยืนหรือปางไสยาสน์ แต่ถา้ เปน็ งานพธิ ที �ำบญุ วนั เกดิ หรือท�ำบญุ อายุ นิยมใชพ้ ระพุทธรปู ปางประจำ� วันเกิดของเจ้าของงาน การจัดเคร่ืองบูชาตามที่นิยมใช้กันมีหลากหลายแตกต่างกันตามความเหมาะสม เช่น โตะ๊ หมู่ซดั โตะ๊ เดี่ยว เปน็ ตน้ การจัดเครือ่ งสักการบชู ามากนอ้ ยใหจ้ ดั ตามความเหมาะสมกบั สถานท่ี และฐานะของเจ้าภาพ พิธีใหญห่ รอื พิธีเลก็ แต่สง่ิ ทถี่ อื เปน็ เคร่ืองสักการบูชาหลกั มีอยู่ ๓ ประการ คือ (๑) ธูป ใช้ ๓ ดอก ปักเรียงกันเป็นหน้ากระดานในลักษณะต้ังตรงไว้ในกระถางธูป เนือ่ งจากเปน็ ความเชื่อของบรรพบรุ ษุ มาแตโ่ บราณวา่ ควนั เป็นสิ่งทเ่ี บาลอยตวั สอู่ ากาศเบอื้ งบนแล้ว จางหายไป ควันทีจ่ างหายไปน้ี อาจจะเปน็ สื่อนำ� ไปสู่สงิ่ ทต่ี นเคารพนบั ถือบูชาไดไ้ มว่ า่ จะอยู่ ณ ทใี่ ด 37

ศาสนพธิ ีและมารยาทไทย (๒) เทียน ใช้ ๒ เล่ม ต้ังไว้ท่ีโต๊ะหมู่บูชาตัวเดียวกับกระถางธูป ด้านซ้ายและด้านขวา ของกระถางธูป อย่างละ ๑ เล่ม ซ่ึงหมายถึง การให้ความสว่างในทางธรรมแก่มนุษย์ หรือ เปน็ สัญลักษณข์ องสิ่งทเ่ี คารพนบั ถอื (๓) ดอกไม้ นยิ มจดั เปน็ แจกนั หรือพานพุ่ม ไมน่ อ้ ยกวา่ ๒ แจกัน หรอื ๒ พาน ซงึ่ เป็นส่งิ ท่กี อ่ ให้เกดิ ความหอม และมีสสี ันสวยงาม อนั หมายถึง ทกุ คนไม่มใี ครรังเกยี จคนทีม่ คี ณุ ธรรมความดี ยอ่ มมีแตค่ นสรรเสริญยกยอ่ งนับถอื 38

กรมการศาสนา กระทรวงวัฒนธรรม การจดั โตะ๊ หม่บู ชู าแบบเตม็ รปู แบบ การจัดโต๊ะหมู่งานทัว่ ไป การจัดโต๊ะหมงู่ านเสดจ็ ฯ 39

ศาสนพธิ แี ละมารยาทไทย ๒.๒ การตั้งโต๊ะหมู่ในพิธีถวายพระพร เป็นการต้ังโต๊ะหมู่บูชาในพิธีถวายพระพร เน่ืองในโอกาสวันส�ำคัญของสถาบันพระมหากษัตริย์ หรือเม่ือมีการจัดกิจกรรมเฉลิมพระเกียรติ สถาบันพระมหากษัตริย์เนื่องในโอกาสต่าง ๆ เช่น วันเฉลิมพระชนมพรรษา วันคล้ายวันประสูติ พระบรมวงศานวุ งศ์ ซึ่งมรี ปู การจดั ตัง้ โต๊ะหมู่ ดังนี้ การตงั้ โต๊ะหมู่ในพธิ ถี วายพระพร ๒.๓ การตงั้ โตะ๊ หมใู่ นพธิ รี บั พระราชทานเครอ่ื งราชอสิ รยิ าภรณ์ หรอื การรบั สงิ่ ของ พระราชทาน การมอบเคร่ืองราชอิสริยาภรณ์แก่ข้าราชการในสังกัดที่ได้รับพระราชทาน เป็นการ มอบสิ่งอันมีเกียรติ ซึ่งเป็นเครื่องตอบแทนคุณงามความดีของข้าราชการท่ีมีความชอบในหน้าที่ ราชการแผน่ ดนิ ดงั นน้ั ควรจดั การมอบเปน็ พธิ กี ารใหส้ มแกเ่ กยี รตยิ ศ ซงึ่ มกี ารจดั ตง้ั โตะ๊ หมใู่ นพธิ มี อบ เครื่องอิสริยาภรณ์ ดังน้ี 40