Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore การติดตั้งระบบเครือข่ายคอมพิวเตอร์

การติดตั้งระบบเครือข่ายคอมพิวเตอร์

Published by thaipats, 2020-05-18 08:51:39

Description: ใบความรู้การติดตั้งระบบเครือข่ายคอมพิวเตอร์

Search

Read the Text Version

18 พฤษภาคม 2563 เครือข่ายคอมพวิ เตอร์ การติดต้งั ระบบเครือขา่ ยคอมพวิ เตอร์ นายไธพตั ย์ ศิริสุวรรณ วิทยาลยั การอาชีพหนองหาน

ใบความรู้ (Information Sheets) รหัสวิชา 2105 – 2110 ชอื่ วชิ าเครือขา่ ยคอมพิวเตอร์ ท-ป-น 1-3-2 ช่อื หน่วย ระบบเครือขา่ ยคอมพวิ เตอรแ์ ละอนิ เทอร์เนต็ เรื่อง การตดิ ตง้ั ระบบเครือขา่ ยคอมพิวเตอร์ จำนวนช่วั โมงสอน 12 จดุ ประสงค์การเรียนรู้ รายการเรียนรู้ จุดประสงคท์ ่ัวไป 1. ความรู้พืน้ ฐานตดิ ตง้ั ระบบเครือข่าย 1. บอกวธิ กี ารติดตง้ั ระบบเครอื ขา่ ยได้ 2. การออกแบบระบบเครือขา่ ย 2. บอกวิธีการออกแบบระบบเครอื ข่ายได้ 3. ไอพีแอดเดรส 3. บอกความหมายของไปพีแอดเดรสได้ 4. ซบั เนต็ มาสก์ 4. บอกความหมายของซบั เนต็ มาสกไ์ ด้ 5. การเช่อื มโยงเครือข่าย 5. ติดตัง้ ระบบเครอื ขา่ ยคอมพิวเตอรไ์ ด้ 6. เชอื่ มโยงเครือขา่ ยคอมพวิ เตอร์ได้ 7. ปฏบิ ตั ิงานด้วยความรบั ผิดชอบ ละเอยี ดรอบคอบ การทำงานร่วมกันเป็นทมี ตามหลกั ปรชั ญาของ เศรษฐกิจพอเพยี ง เน้อื หาสาระ การติดตัง้ ระบบเครอื ข่ายและการออกแบบระบบเครอื ขา่ ยเบอ้ื งต้น ในเบื้องตน่ น้จี ะนำเสนอถงึ ตัวอยา่ งการติดตง้ั และออกแบบระบบแลน โดยระบบเครือข่ายพ้ืนฐานที่จะ ยกมาเป็นตวั อยา่ ง ประกอบไปดว้ ยเครือ่ งคอมพวิ เตอร์จำนวน 16 เคร่ือง เชอ่ื มตอ่ เปน็ วงแลนผา่ นฮบั มีเคร่อื ง เซริ ์ฟเวอรส์ ำหรบั ใหบ้ ริการ นอกจากผใู้ ช้งานภายในเครือขา่ ยประมาณ 30 คนแล้ว ระบบน้ีจะรองรบั ผใู้ ชง้ านประมาณ 500 คน จากระบบเครอื่ ขา่ ยนอกด้วย การใช้งานระบบเครือข่าย ระบบนจ้ี ะแบง่ เครือ่ งคอมพวิ เตอรเ์ ป็นสองกลุ่ม คือ กลุ่มแรก เครื่องหมายเลข 1-8 เป็นเคร่อื งเซริ ์ฟเวอร์ ประกอบไปดว้ ยเวบ็ เซริ ์ฟเวอร์ตา่ ง ๆ และเกตเวร์ เชื่อมต่อกับระบบอนิ เตอรเ์ น็ต กลุ่มทีส่ อง เครอื่ งหมายแลข 9 - 16 เป็นเคร่ืองลูกขา่ ย สำหรับให้ผูใ้ ช้งานใช้ ติดตั้งโปรแกรมพื้นฐาน …นายไธพัตย์ ศิริสวุ รรณ แผนกวชิ าชา่ งอิเล็กทรอนกิ ส์ วิทยาลัยการอาชีพหนองหาน... 58

ใบความรู้ (Information Sheets) รหัสวชิ า 2105 – 2110 ช่อื วิชาเครือขา่ ยคอมพวิ เตอร์ ท-ป-น 1-3-2 ชอื่ หนว่ ย ระบบเครือขา่ ยคอมพวิ เตอรแ์ ละอนิ เทอรเ์ น็ต เรอื่ ง การตดิ ตงั้ ระบบเครือข่ายคอมพิวเตอร์ จำนวนชว่ั โมงสอน 12 สว่ นของผู้ใชง้ าน เครอ่ื งคอมพวิ เตอรห์ มายเลขที่ 9 - 16 จะเป็นเครื่อทีใ่ ห้ผู้ใชง้ านทวั่ ไปใช้งานซึ่งนอกจากจะใชท้ ำงาน เอกสารต่าง ๆ แล้ว ยังสามารถใช้ประโยชน์จากระบบเครอื ข่ายได้ดังน้ี 1. แชรไ์ ฟล์ 2. แชร์ไฟล์ระหวา่ งเครื่อง 3. ใชง้ านเครื่องพมิ พร์ ว่ มกัน 4. ใช้งานอนิ เตอรเ์ นต็ การใช้ไฟลแ์ ละขอ้ มลู รว่ มกัน (Files and Data Sharing) การแชร์ไฟล์ระหวา่ งเคร่ือง คอื การทำใหเ้ ครอื่ งคอมพิวเตอรแ์ ตล่ ะเครอ่ื งในระบบเครอื ขา่ ยสามารถดงึ ข้อมลู ข้ามเครอ่ื งกันได้ การใชเ้ ครือ่ งพมิ พร์ ่วมกัน (Printer Sharing) ในระบบนีจ้ ะมีเคร่อื งพิมพ์อยู่เครอ่ื งเดียวตดิ ตัง้ ไวก้ บั เครื่องหมายเลข 4 ซึ่งทำหนา้ ที่แชรเ์ คร่ืองพิมพ์ ให้กับเครือ่ งอน่ื ๆ ในระบบ สำหรบั คนอนื่ ๆ การใชอ้ ินเตอรเ์ น็ตรว่ มกนั (Internet Sharing) เครื่องลกู ขา่ ย (เครอ่ื งหมายเลข 9 - 16 ) จะสามารถใช้งานอินเทรอินเทอร์เน็ตไดโ้ ดยมเี ครอ่ื ง เซิรฟ์ เวอรห์ มายเลข 1 - 8 ทำหนา้ ทใ่ี หบ้ ริการภายในระบบ …นายไธพัตย์ ศิริสวุ รรณ แผนกวิชาช่างอเิ ล็กทรอนิกส์ วทิ ยาลัยการอาชพี หนองหาน... 59

ใบความรู้ (Information Sheets) รหัสวิชา 2105 – 2110 ช่ือวชิ าเครือข่ายคอมพิวเตอร์ ท-ป-น 1-3-2 ชื่อหน่วย ระบบเครือข่ายคอมพิวเตอร์และอนิ เทอร์เน็ต เรอื่ ง การตดิ ตั้งระบบเครอื ข่ายคอมพวิ เตอร์ จำนวนช่วั โมงสอน 12 ขั้นตอนการติดต้ังระบบ ระบบเครือขา่ ยนี้จะเป็นการเชอื่ มโยงคอมพวิ เตอรเ์ ปน็ วงแลน โดยการเดนิ สายสัญญาณเชอ่ื มต่อกนั ระหวา่ งคอมพวิ เตอรแ์ ตล่ ะเคร่ือง ซึง่ มีขั้นตอนสรปุ ดังนี้ 1. ติดตัง้ การด์ แลนเข้ากบั แต่ละเคร่อื ง 2. เดินสายสัญญาณจากการ์ดแลนของเครือ่ งแต่ละเครือ่ งเขา้ หากัน 3. ติดต้ังและปรบั แต่งเคร่ืองแต่ละเครื่องให้ทำงานเป็นระบบเครอื ขา่ ย 4. สงิ่ ที่ใช้ในการเชอ่ื มต่อ โดยทว่ั ไปเปน็ สายทองดองหรอื สายเคเบล้ิ นอกจากนน้ั ยังมกี ารเช่อื มต่อ แบบไร้สายอกี ดว้ ย 5. ระบบปฏิบัตกิ ารทร่ี องรบั ระบบเครือขา่ ย เชน่ วโิ ดวส์ 98 หรอื วนิ โดวส์เอน็ ที เปน็ ตน้ การตดิ ต้ังระบบแลน วิธกี ารเดนิ สาย วิธีการเดินสายเชอื่ มระหว่างอุปกรณใ์ นระบบแลนน้นั เรยี กว่า \"การเดินสายแลน\" โดย ทีน่ ิยมกนั จะแบง่ 3 วิธี คอื …นายไธพตั ย์ ศริ ิสุวรรณ แผนกวิชาชา่ งอเิ ลก็ ทรอนกิ ส์ วทิ ยาลยั การอาชีพหนองหาน... 60

ใบความรู้ (Information Sheets) รหสั วชิ า 2105 – 2110 ชอ่ื วิชาเครอื ขา่ ยคอมพวิ เตอร์ ท-ป-น 1-3-2 ช่อื หน่วย ระบบเครือขา่ ยคอมพวิ เตอรแ์ ละอนิ เทอร์เนต็ เรอ่ื ง การตดิ ตัง้ ระบบเครอื ข่ายคอมพิวเตอร์ จำนวนชัว่ โมงสอน 12 เดนิ สายแบบบัส เดินสายแบบริง เดนิ สายแบบสตาร์ …นายไธพัตย์ ศิรสิ ุวรรณ แผนกวิชาชา่ งอิเลก็ ทรอนิกส์ วทิ ยาลยั การอาชีพหนองหาน... 61

ใบความรู้ (Information Sheets) รหสั วิชา 2105 – 2110 ชื่อวชิ าเครือข่ายคอมพิวเตอร์ ท-ป-น 1-3-2 ช่อื หน่วย ระบบเครือข่ายคอมพิวเตอรแ์ ละอนิ เทอร์เนต็ เรื่อง การติดต้ังระบบเครอื ข่ายคอมพวิ เตอร์ จำนวนชวั่ โมงสอน 12 การติดตงั้ ระบบ LAD แบบ 100 beset ในระบบ 100 Beset น้นั มีอุปกรณ์ดังตอ่ ไปนี้ 1. หวั RJ 45 ชนิดตวั ผู้ 2. แลนการ์ดชนิด PCI 3. สาย UTP (Unshield Twist Pair) การเดนิ สายตามแนวนอน หมายถึง การเดนิ สายจากอุปกรณ์เน็ตเวิรค์ ปกตกิ ารเดนิ สายจะแบง่ ออกเปน็ 2 ชว่ งดว้ ยกัน คอื 1. จากอปุ กรณ์เนต็ เวริ ค์ ไปยังจุดปลาย 2. จาก Outlet ไปยงั เคร่ืองคอมพวิ เตอร์ หรือเรยี กวา่ สาย Patch Cord การปรับแต่งคา่ การทำงานของฮารด์ แวรผ์ า่ นระบบปฏบิ ัตกิ าร การเซ็ตอัปแลนการด์ เมอ่ื ไดท้ ำการติดตงั้ แลนการด์ ลงไปในเคร่ืองแลว้ สมัยกอ่ นหากเปน็ ระบบปฏิบตั ิการวโิ ดวส์ 98 และ me จะตอ้ งทำการตดิ ตงั้ ไดรเวอรข์ องการด์ ยรห่ อ้ น้นั ๆ โดยจะมแี ถมมาในกลอ่ ง แตป่ ัจจบุ นั ระบบปฏบิ ิติการที ได่ ร้ บั ความนยิ มใชอ้ ย่างแพร่หลาย สว่ นมากจะเป็นวนิ โดวสเ์ อ็กพี และวินโดวส์ 2000 ซงึ่ มักมีไฟลไ์ ดรเวอร์ของ อุปกรณต์ ่าง ๆ มาใหห้ ลากหลายและครอบคุมประเภทของอุปกรณท์ กุ ชนิด การติดตั้งไดรเวอร์ คลกิ ท่ีเมนู Start -> Setting -> คลิกเลือก Control Panel …นายไธพัตย์ ศิรสิ ุวรรณ แผนกวชิ าชา่ งอิเล็กทรอนกิ ส์ วทิ ยาลยั การอาชพี หนองหาน... 62

ใบความรู้ (Information Sheets) รหสั วิชา 2105 – 2110 ชือ่ วชิ าเครอื ขา่ ยคอมพวิ เตอร์ ท-ป-น 1-3-2 ชือ่ หน่วย ระบบเครือข่ายคอมพิวเตอรแ์ ละอินเทอรเ์ น็ต เรื่อง การตดิ ต้ังระบบเครอื ขา่ ยคอมพิวเตอร์ จำนวนชวั่ โมงสอน 12 จะปรากฏหนา้ ตา่ ง Control Panel ดับเบิ้ลคลิกที่ไอคอน Add Hardware จะปรากฏ Dialog ชื่อ Add Hardware Wizard ให้คลิกป่มุ Next แตจ่ ะมีขอ้ ความแจง้ เตอื นวา่ หากมี แผ่นดสิ กห์ รือซดี ตี ิดตง้ั ไดรเวอรใ์ หค้ ลิก Cancel …นายไธพัตย์ ศิรสิ วุ รรณ แผนกวชิ าช่างอิเล็กทรอนกิ ส์ วทิ ยาลยั การอาชีพหนองหาน... 63

ใบความรู้ (Information Sheets) รหสั วชิ า 2105 – 2110 ชอ่ื วิชาเครือข่ายคอมพิวเตอร์ ท-ป-น 1-3-2 ชือ่ หน่วย ระบบเครือขา่ ยคอมพิวเตอร์และอนิ เทอรเ์ น็ต เรอ่ื ง การติดตงั้ ระบบเครอื ขา่ ยคอมพวิ เตอร์ จำนวนชว่ั โมงสอน 12 วินโดวสจ์ ะค้นหาอุปกรณ์ท่ีติดตง้ั เข้ามาใหมแ่ ละยงั ไมม่ กี ารติดจั้งไดรเวอร์ ในกรณที ี่ไม่พบฮารด์ แวรท์ ต่ี ิดต้ังเขา้ มาใหม่ จะแสดงไดอะล็อกสอบถามยืนยนั การติดตัง้ ให้คลิก Yes และ Next การกำหนดหมายเลขไอพี (IP Address) ทเี่ ดสก์ทอ็ ป (หน้าจอหลัก) ให้คลิกขวาทไ่ี อคอน My Network Place -> Properties …นายไธพตั ย์ ศิรสิ ุวรรณ แผนกวิชาชา่ งอิเล็กทรอนกิ ส์ วิทยาลยั การอาชพี หนองหาน... 64

ใบความรู้ (Information Sheets) รหสั วิชา 2105 – 2110 ช่ือวิชาเครอื ข่ายคอมพิวเตอร์ ท-ป-น 1-3-2 ชอ่ื หน่วย ระบบเครือข่ายคอมพวิ เตอรแ์ ละอินเทอรเ์ นต็ เร่ือง การติดต้งั ระบบเครอื ขา่ ยคอมพิวเตอร์ จำนวนชวั่ โมงสอน 12 จะปรากฏหน้าต่าง Network Connections ขึน้ มา ให้ดับเบ้ิลคลกิ ท่ี ไอคอน Local Area Connection จะปรากฏหน้าตา่ ง Local Area Connection Properties คลิก 1 ครงั้ ที่ Internet Protocol (TCP/IP) รปู ท่ีขา้ งบน …นายไธพัตย์ ศิรสิ วุ รรณ แผนกวิชาชา่ งอเิ ล็กทรอนกิ ส์ วิทยาลัยการอาชีพหนองหาน... 65

ใบความรู้ (Information Sheets) รหสั วิชา 2105 – 2110 ชื่อวชิ าเครอื ข่ายคอมพวิ เตอร์ ท-ป-น 1-3-2 ชื่อหน่วย ระบบเครือขา่ ยคอมพวิ เตอร์และอนิ เทอร์เน็ต เรื่อง การตดิ ตัง้ ระบบเครอื ข่ายคอมพวิ เตอร์ จำนวนชว่ั โมงสอน 12 คลิกทปี่ ่มุ Properties จะปรากฏหนา้ ตา่ ง Internet Protocol (TCP/IP) Properties จะพบว่าวนิ โดวสไ์ ด้กำหนดใหม้ กี ารสรา้ งหมายเลขไอพีโดยอตั โนมตั ิ แต่ในหลักการจัดการเครือข่ายที่ดี การกำหมดแบบนถ้ี อื ว่าไม่มีประสิทธภิ าพในการทำงานทด่ี เี ทา่ ไหร่ ดังนนั้ จงึ ควรกำหมดคา่ ไอพีให้กบั เคร่ืองโดยตรง หากมี Gateway มากกว่าหน่ึงหมายเลขสามารถกำหมดเพิ่มลงไปได้ โดยคลกิ ท่ปี มุ่ Advance จะปรากฏหนา้ ตา่ ง Advance TCP/IP Setting …นายไธพตั ย์ ศริ สิ วุ รรณ แผนกวชิ าช่างอิเลก็ ทรอนกิ ส์ วิทยาลัยการอาชพี หนองหาน... 66

ใบความรู้ (Information Sheets) รหัสวชิ า 2105 – 2110 ชื่อวชิ าเครือขา่ ยคอมพิวเตอร์ ท-ป-น 1-3-2 ชอื่ หนว่ ย ระบบเครือขา่ ยคอมพวิ เตอรแ์ ละอนิ เทอรเ์ นต็ เรือ่ ง การตดิ ตงั้ ระบบเครือขา่ ยคอมพิวเตอร์ จำนวนชัว่ โมงสอน 12 ให้คลกิ ปุ่ม ADD สำหรับเพ่ิท Gateway คลิกทีป่ ่มุ Edit สำหรับแก้ไข คลกิ ปุ่ม Remove สำหรับยกเลกิ Gateway ไอพแี อดเดรส การติดต่อส่ือสารกันในระบบเครอื ข่ายอินเตอร์เน็ตทีม่ ีโพรโตคอล TCP/IP เปน็ มาตรฐานน้ี เคร่ือง คอมพวิ เตอร์ทกุ เครื่องท่ีเช่อื มอยู่ จะตอ้ งมีหมายเลขเครื่องเอาไวอ้ ้างอิงให้เครอื่ งคอมพวิ เตอรอ์ ่นื ๆ ไดท้ ราบ เหมือนกบั ทุกคนทต่ี อ้ งมชี ื่อและนามสกลุ ให้คนอน่ื เรียก ซงึ่ จะซำ้ กันไม่ได้ หมายเลขเคร่อื งอ้างองิ ดงั กล่าว เรียกว่า IP Address หรือ หมายเลข IP หรอื บางท่ีเรียกวา่ “แอดเดรสIP” (IP ในท่นี ้ีคอื Internet Protocol ตวั เดยี วกับใน TCP/IP นัน่ เอง) ซงึ่ ถูกจัดเปน็ ตัวเลขชุดหนงึ่ ขนาด 32 บิต ใน 1 ชดุ นมี้ ีตวั เลขถูก แบง่ เป็น 4 สว่ น ส่วนละ 8 บิต เทา่ ๆ กนั เวลาเขียนก็แปลงใหเ้ ปน็ เลขฐาน 10 ก่อนเพ่อื เป็นการงา่ ยแลว้ เขยี น …นายไธพัตย์ ศริ สิ ุวรรณ แผนกวิชาชา่ งอิเลก็ ทรอนิกส์ วิทยาลยั การอาชพี หนองหาน... 67

ใบความรู้ (Information Sheets) รหสั วิชา 2105 – 2110 ช่ือวิชาเครือขา่ ยคอมพวิ เตอร์ ท-ป-น 1-3-2 ช่อื หนว่ ย ระบบเครือข่ายคอมพวิ เตอร์และอนิ เทอรเ์ น็ต เรื่อง การติดตงั้ ระบบเครอื ขา่ ยคอมพวิ เตอร์ จำนวนชั่วโมงสอน 12 โดยคน่ั แตล่ ะตัวดว้ ยจุด ดังน้นั ตัวเลขแต่ละส่วนน้ีจึงมคี ่าได้ต้งั แต่ 0 จนถงึ 28 - 1 = 255 เทา่ นั้น เช่น 192.10.1.101 เปน็ ตน้ ตวั เลข IP Address ชดุ นเ้ี ปน็ ส่งิ ท่ีสำคญั คล้าย ๆ เบอรโ์ ทรศัพทท์ ่ีเรามีใชอ้ ยู่และไม่ซ้ำกัน เพราะ สามารถกำหนดตวั เลขได้ทัง้ สิ้น 4 พนั ลา้ นเลขหมาย แต่การกำหนดให้คอมพิวเตอร์มีเลขหมายIP Address น้ี ไมไ่ ดเ้ ร่มิ จาก 1 และเพิ่มข้ึนไปเรื่อย ๆ หากแต่จะมีการจัดแบ่งออกเป็น 2 ส่วน คือ ส่วนแรก เป็นเลขหมายของเครอื ข่าย (Network Number) สว่ นท่ีสอง เรียกว่าหมายเลขคอมพิวเตอร์ทอ่ี ยู่ในเครือขา่ ยนั้น (Host Number) เพราะในเครอื ขา่ ย ใด ๆ อาจมีเครื่องคอมพวิ เตอรท์ เ่ี ชอ่ื มตอ่ อยมู่ ากมาย ในเครือขา่ ยทอี่ ยู่คนละระบบ อาจมเี ลข Host ซำ้ กนั กไ็ ด้ แต่เม่ือรวมกับเลขหมาย Network แล้วจะเปน็ IP Address ทไ่ี มซ่ ำ้ กันเลย ในการจดั ตงั้ หรือการกำหนดเลขหมาย IP Address น้มี ีวธิ ีการกำหนดทชี่ ดั เจนและมวี ธิ กี ฏเกณฑท์ ่ี รัดกุม ผใู้ ช้ที่อยากจัดตง้ั Host คอมพวิ เตอรเ์ พ่ือเช่ือมตอ่ เขา้ อนิ เตอรเ์ น็ตและบรกิ ารต่าง ๆ สามารถขอเลข หมาย IP Address ได้ ท่ีหนว่ ยงาน Internet Network Information Center (InterNIC) ขององค์กร Network Solution Incorporated (NIS) ท่ีรัฐเวอรจ์ ิเนยี สหรัฐอเมรกิ า แตถ่ า้ ผใู้ ช้สมัครเข้าเป็นสมาชิกขอใช้ บริการอนิ เตอร์เนต็ จากบรษิ ัทผู้ให้บรกิ าร (Internet Service Provider) เรียกย่อ ๆ วา่ หน่วยงาน ISP รายใด ก็ตาม กไ็ ม่ตอ้ งไปขอ IP Address เนื่องจากหน่วยงาน ISP เหล่านั้นจะกำหนดหมายเลข IP ใหใ้ ช้ หรือสง่ ค่า IP ชัว่ คราวให้ใชง้ าน ทัง้ น้ขี น้ึ อยกู่ บั การขอใช้รูปแบบของการบรกิ าร IP Address น้จี ะแบง่ ได้เปน็ 5 ระดับ (Class) ที่ใช้งานโดยทว่ั ไปจะมเี พียง 3 ระดับคอื Class A, Class B, Class C ซง่ึ จะแบ่งตามขนาดของเครอื ขา่ ยนน่ั เอง ถา้ เครอื ขา่ ยนนั้ มจี ำนวนเคร่อื งคอมพิวเตอร์อยู่ มากก็จะจัดอยใู่ น Class A ถ้ามีเครอื่ งคอมพิวเตอรล์ ดหล่ันกันลงมาก็จะจดั อยใู่ น Class B, Class C ตามลำดับ …นายไธพัตย์ ศริ ิสุวรรณ แผนกวิชาชา่ งอเิ ลก็ ทรอนิกส์ วทิ ยาลัยการอาชีพหนองหาน... 68

ใบความรู้ (Information Sheets) รหสั วชิ า 2105 – 2110 ชื่อวิชาเครือข่ายคอมพิวเตอร์ ท-ป-น 1-3-2 ช่อื หน่วย ระบบเครือข่ายคอมพวิ เตอรแ์ ละอินเทอรเ์ นต็ เรื่อง การตดิ ตั้งระบบเครือข่ายคอมพิวเตอร์ จำนวนชว่ั โมงสอน 12 จากรปู จะเห็นว่าหมายเลข IP ของ Class A ตัวแรกจะเป็น 0 และหมายเลขของเครอื ข่าย (Network Number) ขนาด 7 บิต และมีหมายเลขของเครอื่ งคอมพวิ เตอร์ (Host Number) ขนาด 24 บิต ทำให้ในหน่ึง เครอื ข่ายของ Class A สามารถมเี คร่อื งคอมพิวเตอร์ในเครอื ขา่ ยไดถ้ งึ 224 = 16 ล้านเคร่อื ง เหมาะสำหรับ องค์กรหรือบริษัทเครือขา่ ยยกั ษใ์ หญ่ แต่ใน Class A นี้จะมีหมายเลขเครือขา่ ยได้ 128 ตวั เท่าน้ันทั่วโลก คือ สามารถมเี ครือข่ายยกั ษ์ใหญ่ Class A ได้เพียง 128 เครอื ข่ายเทา่ นน้ั สำหรับ Class B จะมหี มายเลขเครอื ขา่ ย แบบ14 บติ และหมายเลขเคร่ืองคอมพิวเตอร์แบบ 16 บติ (สว่ นอกี 2 บิตท่ีเหลือบงั คับว่าต้องข้ึนตน้ ดว้ ย 10 ) ดังนน้ั สามารถมเี ครอื ขา่ ยอยู่ใน Class B ได้มากกว่า Class A คือมไี ด้ถงึ 214 = 16,384 เครือขา่ ย และสามารถมีเครื่องคอมพิวเตอร์เชอ่ื มต่อในเครือขา่ ย Class B แต่ละ เครอื ข่ายไดถ้ งึ 216 หรือ 65,536 เครื่อง สดุ ท้ายคอื Class C ซง่ึ มหี มายเลขเคร่ืองคอมพวิ เตอร์แบบ 8 บิตและมหี มายเลขเครือขา่ ยแบบ 21 บิต สว่ น 3 บิตแรกบงั คับว่าต้องเป็น 1102 ดังนนั้ ในแต่ละเครือข่ายของ Class C จะมีจำนวนเครือ่ งต่อเชอื่ มได้ เพียงไมเ่ กนิ 254 เคร่อื งตอ่ เครือข่าย ( 28 = 256 แตห่ มายเลขเครอ่ื ง 0 และ 255 จะไม่ถูกใชง้ าน จึงเหลอื …นายไธพัตย์ ศิรสิ ุวรรณ แผนกวิชาชา่ งอเิ ล็กทรอนิกส์ วทิ ยาลยั การอาชพี หนองหาน... 69

ใบความรู้ (Information Sheets) รหัสวิชา 2105 – 2110 ช่ือวิชาเครอื ข่ายคอมพิวเตอร์ ท-ป-น 1-3-2 ชอ่ื หน่วย ระบบเครือขา่ ยคอมพวิ เตอร์และอนิ เทอรเ์ น็ต เรื่อง การติดต้ังระบบเครอื ข่ายคอมพวิ เตอร์ จำนวนช่ัวโมงสอน 12 เพยี ง 254 ดงั นนั้ วธิ กี ารสังเกตได้ง่าย ๆ วา่ เราเชอ่ื มตอ่ เครือขา่ ย Class ใดสามารถดูได้จาก IP Address ใน สว่ นหนา้ (สว่ น Network Address) โดย Class A จะมี Network ตงั้ แต่ 0 ถงึ 127 (จะได้เห็นว่า บติ แรกเป็น 0 เสมอ) Class B จะมี Network ต้งั แต่ 128 ถงึ 191 (เพราะขึ้นต้นดว้ ย 102 เทา่ นั้น) Class C จะมี Network ต้ังแต่ 192 ถงึ 223 (เพราะขึ้นตน้ ด้วย 1102 เทา่ นั้น) เช่นถา้ เคร่อื งคอมพิวเตอรใ์ นอินเตอร์เน็ตมีหมายเลข IP ดงั นี้ 150.16.80.7 ตวั เลข 150.16 แสดงวา่ เปน็ เครือข่าย Class B ซึง่ หมายเลขเครอื ข่ายเตม็ ๆ จะใช้ สองส่วนแรกคอื 150.16 และมหี มายเลขของเครื่อง คอมพิวเตอร์คอื 80.7 หรือถ้ามี IP Address เปน็ 192.168.8.55 ทำใหเ้ ราทราบวา่ เคร่อื งคอมพิวเตอร์นั้นอยู่ ในเครอื ขา่ ย Class C มหี มายเลขเครือข่ายอยู่ใน 3 ส่วนแรก ไดแ้ ก่ 192.168.8 และมหี มายเลขประจำเครือ่ ง คอื 55 เปน็ ตน้ ซับเน็ตมาสก์ คอื การแบ่งกล่มุ บนระบบ IP network ซ่ึงเราสามารถแบง่ กล่มุ ของ network ออกมาไดต้ ั้งแต่ 2 network ขน้ึ ไปโดยเรยี กวา่ “subnetting” กลุ่ม computer ทีอ่ ยู่ภายใต้ subnet เดยี วกัน ย่อมมี bit- group ใน IP address เหมอื นกัน เชน่ 172.16.69.1 กบั 172.16.69.2 ทำใหเ้ ราสามารถแบง่ สว่ นของ IP address ออกเป็น 2 ส่วนคอื 1. Network prefix หรือ Routing prefix 2. Host Number Network prefix หรือ Routing prefix สามารถเขยี นในลกั ษณะ IP address แรกของ subnet เช่น 192.168.1.0 แล้วตามดว้ ย slash (/) และ bit-length ของ prefix เชน่ /24 รวมกันเป็น 192.168.1.0/24 (prefix IPv4) สำหรับผู้ทีส่ งสัยว่า 24 มาได้อย่างไรนน้ั มันมาจากการที่ network prefix ทำการจอง bit ไป …นายไธพัตย์ ศริ ิสุวรรณ แผนกวิชาชา่ งอิเลก็ ทรอนิกส์ วทิ ยาลยั การอาชพี หนองหาน... 70

ใบความรู้ (Information Sheets) รหสั วชิ า 2105 – 2110 ชอื่ วชิ าเครือข่ายคอมพิวเตอร์ ท-ป-น 1-3-2 ชื่อหนว่ ย ระบบเครือข่ายคอมพิวเตอรแ์ ละอินเทอรเ์ นต็ เรือ่ ง การตดิ ตง้ั ระบบเครอื ขา่ ยคอมพิวเตอร์ จำนวนช่วั โมงสอน 12 ทงั้ หมด 24 bit และเหลือไว้สำหรับแจกให้ host 8 bit นัน้ เอง ซ่งึ ก็คือ 192.168.1 ตวั เลข 3 ชดุ น้ีมีค่าเท่ากบั 24 bit ส่วนชดุ สุดทา้ ยคือ 0-255 สำหรบั host number มีคา่ เท่ากับ 8 bit นั่นเอง สำหรบั IPv4 เราสามารถระบรปู แบบของ network ได้อกี แบบคือ subnet mask ซ่งึ จะมีลักษณะ เปน็ ตวั เลข 4 ชุดเช่นเดยี วกันและแบ่งโดยจุดเหมือน IP Address ปกตเิ ชน่ 255.255.255.0 เปน็ subnet mask ของ 192.168.1.0/24 รายละเอียดความเปน็ มาเดี๋ยวจะอธิบายในหัวข้อตอ่ ไป Internet Protocol Version 4 หลังจากทราบว่า subnet คืออะไร กนั ไปแล้ว ทนี ้เี รามาดูการคำนวณ subnet โดยอาศัยขอ้ มูลจาก ตารางอ้างองิ ในการอธบิ าย Binary form Dot-decimal notation IP address 11000000.10101000.00000101.10000010 192.168.5.130 Subnet mask 11111111.11111111.11111111.00000000 255.255.255.0 Network prefix 11000000.10101000.00000101.00000000 192.168.5.0 Host part 00000000.00000000.00000000.10000010 0.0.0.130 จากขอ้ มูลในตารางจะเหน็ ว่า IPv4 network mask (subnet mask) ประกอบไปด้วยตวั เลข 32 bit 11111111.11111111.11111111.00000000 จะเหน็ ว่ารปู แบบจะเป็น ชุดของตัวเลข 1 และตามดว้ ย ชุดของตวั เลข 0 รวมกนั มที ั้งหมด 32 ตัวเลข หรอื 32 bit ซงึ่ จำนวนของเลข 0 ที่ตอ่ ทา้ ยก็คือจำนวนของ host ทีจ่ ะมไี ดใ้ น subnet นนี้ ั้นเอง ส่วนจำนวนตัวเลข 1 ที่ เหน็ มที ัง้ หมด 24 ตัว หรือ 24 bit ซ่งึ เปน็ สว่ นของ network prefix นั้นจึงเป็นท่มี าของ /24 ทตี่ ่อท้ายใน subnet รวมถึงถา้ เราแปลงชดุ ตัวเลข 1 จำนวน 8 ตัวนนั้ เป็นเลขฐาน 10 เราก็จะไดอ้ อกมาเทา่ กับ 255 ซง่ึ ก็ จะกลายเปน็ 255.255.255.0 ที่เราเหน็ ในตาราง และในสว่ นของ Host part จะมกี ารจอง IP address สดุ ทา้ ยของ subnet สำหรบั broad cast ip …นายไธพตั ย์ ศริ ิสวุ รรณ แผนกวชิ าชา่ งอิเล็กทรอนิกส์ วิทยาลัยการอาชพี หนองหาน... 71

ใบความรู้ (Information Sheets) รหสั วชิ า 2105 – 2110 ชอื่ วชิ าเครือขา่ ยคอมพิวเตอร์ ท-ป-น 1-3-2 ชื่อหนว่ ย ระบบเครือขา่ ยคอมพิวเตอร์และอินเทอร์เนต็ เร่อื ง การตดิ ต้ังระบบเครือข่ายคอมพิวเตอร์ จำนวนชัว่ โมงสอน 12 การทำ subnetting จากตารางจะเปน็ ขอ้ มูลอ้างองิ ในการอธิบาย Binary form Dot-decimal notation IP address 11000000.10101000.00000101.10000010 192.168.5.130 Subnet mask 11111111.11111111.11111111.11000000 255.255.255.192 Network prefix 11000000.10101000.00000101.10000000 192.168.5.128 Host part 00000000.00000000.00000000.00000010 0.0.0.2 การทำ subnetting คอื การแบ่ง network mask จกา subnet mask ท่มี อี ยู่ออกเปน็ subnet เล็กๆ ลงไปอีก โดยการเพ่ิมจำนวน bit ของ network mask จากสว่ นของ host part ซึง่ จากตัวอยา่ งเราดงึ มาใช้ เพ่มิ อกี 2 bit 11111111.11111111.11111111.11000000 ซ่ึงกรณีมี network mask ทง้ั หมด 26 bit แปลงไดเ้ ป็น 255.255.255.192 (/26) โดยจะมดี ว้ ยกนั 2 subnet ย่อยคอื 11000000.10101000.00000101.01000000 11000000.10101000.00000101.10000000 ถา้ เราลองแปลงเปน็ เลขฐาน 10 ก็จะได้ 192.168.5.64/26 และ 192.168.5.128/26 ทนี ้ีเรามาดูจำนวน host length ทีม่ ีไดข้ องแตล่ ะ subnet กันโดย IP Address สุดท้ายจะถกู จองไว้สำหรับ broadcast IP 11000000.10101000.00000101.01000001 - 11000000.10101000.00000101.01111110 11000000.10101000.00000101.10000001 - 11000000.10101000.00000101.10111110 ถ้าเราลองแปลงเป็นเลขฐาน 10 ก็จะได้ 192.168.5.65 – 192.168.5.126 และ 192.168.5.129 – 192.168.5.190 …นายไธพตั ย์ ศริ ิสวุ รรณ แผนกวชิ าชา่ งอเิ ล็กทรอนิกส์ วทิ ยาลัยการอาชีพหนองหาน... 72

ใบความรู้ (Information Sheets) รหสั วิชา 2105 – 2110 ชอื่ วิชาเครือข่ายคอมพวิ เตอร์ ท-ป-น 1-3-2 ชื่อหนว่ ย ระบบเครือขา่ ยคอมพิวเตอรแ์ ละอินเทอรเ์ นต็ เร่อื ง การติดตัง้ ระบบเครือขา่ ยคอมพวิ เตอร์ จำนวนชัว่ โมงสอน 12 ตาราง Subnet Available subnets Usable hosts/subnet Total Prefix size Subnet mask 1 254 254 2 126 252 /24 255.255.255.0 4 62 248 /25 255.255.255.128 8 30 240 /26 255.255.255.192 16 14 224 /27 255.255.255.224 32 6 192 /28 255.255.255.240 64 2 128 /29 255.255.255.248 128 2* 256 /30 255.255.255.252 /31 255.255.255.254 การเชอ่ื มโยงเครือข่ายคอมพิวเตอร์ 1. โทโปโลยีแบบบสั เป็นโทโปโลยีท่ีได้รับความนิยมใชก้ ันมากที่สดุ มาต้ังแต่อดีตจนถงึ ปัจจุบัน ลกั ษณะการทำงานของ เครอื ข่าย โทโปโลยแี บบบัส คอื อปุ กรณ์ทกุ ชนิ้ หรือโหนดทุกโหนด ในเครอื ข่ายจะตอ้ งเชอ่ื มโยงเขา้ กับสาย สอ่ื สารหลกั ท่ีเรียกวา่ ”บสั ” (BUS) เม่ือโหนดหนึ่งต้องการจะสง่ ข้อมูลไปให้ยังอีกโหนด หนง่ึ ภายในเครอื ขา่ ย จะต้องตรวจสอบใหแ้ น่ใจก่อนว่าบสั ว่างหรอื ไม่ ถ้าหากไมว่ า่ งก็ไมส่ ามารถจะส่งขอ้ มลู ออกไปได้ ทั้งนี้เพราะสาย สอ่ื สารหลกั มเี พียงสายเดยี ว ในกรณที ี่มขี อ้ มลู วิ่งมาในบัส ขอ้ มูลนีจ้ ะวง่ิ ผ่านโหนดต่างๆ ไปเร่ือยๆ ในขณะท่แี ต่ ละโหนดจะคอยตรวจสอบขอ้ มูลท่ีผา่ นมาวา่ เป็นของตนเองหรอื ไม่ หากไม่ใช่ กจ็ ะปลอ่ ยให้ข้อมลู ว่ิงผา่ นไป แต่ หากเลขที่อยปู่ ลายทาง ซึ่งกำกับมากบั ข้อมูลตรงกบั เลขทอ่ี ยูข่ องของตน โหนดน้นั กจ็ ะรับขอ้ มลู เขา้ ไป …นายไธพัตย์ ศิรสิ วุ รรณ แผนกวชิ าชา่ งอิเล็กทรอนิกส์ วทิ ยาลยั การอาชพี หนองหาน... 73

ใบความรู้ (Information Sheets) รหัสวชิ า 2105 – 2110 ช่ือวิชาเครือขา่ ยคอมพิวเตอร์ ท-ป-น 1-3-2 ชอื่ หนว่ ย ระบบเครือขา่ ยคอมพิวเตอรแ์ ละอนิ เทอร์เนต็ เรื่อง การตดิ ต้งั ระบบเครือข่ายคอมพิวเตอร์ จำนวนช่วั โมงสอน 12 ขอ้ ดี 1. ใช้สายสง่ ข้อมลู น้อยและมรี ปู แบบทงี่ า่ ยในการตดิ ตัง้ ทำใหล้ ดคา่ ใชจ้ ่ายในการตดิ ต้ังและบำรงุ รกั ษา 2. สามารถเพ่ิมอุปกรณ์ชิน้ ใหม่เข้าไปในเครือข่ายไดง้ า่ ย ขอ้ เสีย 1. ในกรณีทเี่ กดิ การเสยี หายของสายสง่ ขอ้ มลู หลัก จะทำให้ทงั้ ระบบทำงานไมไ่ ด้ 2. การตรวจสอบขอ้ ผิดพลาดทำได้ยาก ตอ้ งทำจากหลาย ๆจุด 2. โทโปโลยแี บบดาว โทโปโลยีแบบดาว (Star Topology) เปน็ รูปแบบท่เี คร่อื งคอมพวิ เตอรท์ กุ เครือ่ งที่เช่อื มต่อเข้าดว้ ยกัน ในเครอื ข่าย จะตอ้ งเชือ่ มตอ่ กบั อปุ กรณ์ตวั กลางตัวหนึง่ ทีเ่ รียกว่า ฮบั (HUB) หรือสวิตช์ (Switch) หรือเคร่ือง ๆ หน่งึ ซึ่งทำหนา้ ทเ่ี ปน็ ศนู ย์กลางของการเช่ือมต่อสายสญั ญาญทมี่ าจากเคร่อื งต่าง ๆ ในเครอื ข่าย และควบคุม เส้นทางการสอื่ สาร ทัง้ หมด เมอื่ มีเครอ่ื งท่ีตอ้ งการสง่ ข้อมลู ไปยังเครอื่ งอื่น ๆ ท่ตี ้องการในเครือขา่ ย เครอื่ งน้นั ก็ จะต้องสง่ ขอ้ มูลมายงั HUB หรอื เคร่ืองศูนยก์ ลางก่อน แลว้ HUB ก็จะทำหนา้ ทกี่ ระจายข้อมลู น้ันไปใน เครอื ข่ายต่อไป ข้อดี การตดิ ตงั้ เครอื ขา่ ยและการดแู ลรกั ษาทำ ไดง้ ่าย หากมีเครอื่ งใดเกดิ ความเสยี หาย ก็สามารถ ตรวจสอบไดง้ ่าย และศูนย์ กลางสามารถตดั เครอ่ื งที่เสยี หายนนั้ ออกจากการส่ือสาร ในเครอื ข่ายได้เลย โดยไม่ มผี ลกระทบกับระบบเครือข่าย …นายไธพตั ย์ ศริ ิสุวรรณ แผนกวิชาช่างอิเล็กทรอนิกส์ วิทยาลยั การอาชีพหนองหาน... 74

ใบความรู้ (Information Sheets) รหัสวชิ า 2105 – 2110 ช่ือวิชาเครือขา่ ยคอมพิวเตอร์ ท-ป-น 1-3-2 ชื่อหน่วย ระบบเครือข่ายคอมพวิ เตอรแ์ ละอินเทอร์เน็ต เรื่อง การติดต้งั ระบบเครอื ขา่ ยคอมพิวเตอร์ จำนวนชั่วโมงสอน 12 ข้อเสีย เสยี คา่ ใช้จา่ ยมาก ทัง้ ในดา้ นของเครือ่ งทจ่ี ะใชเ้ ป็น เครื่องศนู ย์กลาง หรือตัว HUB เอง และคา่ ใช้จ่าย ในการติดตัง้ สายเคเบิลในเครือ่ งอื่น ๆ ทุกเคร่ือง การขยายระบบให้ใหญข่ ึ้นทำได้ยาก เพราะการขยายแตล่ ะ ครั้ง จะต้องเกี่ยวเนือ่ งกับเคร่ืองอืน่ ๆ ทัง้ ระบบ 3. โทโปโลยีแบบวงแหวน (RING) เปน็ รปู แบบที่ เครื่องคอมพวิ เตอรท์ กุ เคร่อื งในระบบเครอื ข่าย ท้งั เคร่ืองท่เี ปน็ ผู้ให้บริการ( Server) และ เครือ่ งทีเ่ ปน็ ผู้ขอใช้บริการ(Client) ทกุ เคร่ืองถูกเชือ่ มตอ่ กนั เป็นวงกลม ขอ้ มลู ข่าวสารท่ีสง่ ระหว่างกัน จะ ไหลวนอยใู่ นเครอื ข่ายไปใน ทิศทางเดยี วกัน โดยไมม่ จี ุดปลายหรอื เทอร์มิเนเตอร์เชน่ เดียวกบั เครือข่ายแบบ BUS ในแต่ละโหนดหรือแตล่ ะเครอื่ ง จะมรี พี ีตเตอร์ (Repeater) ประจำแต่ละเคร่ือง 1 ตัว ซ่งึ จะทำหนา้ ท่ี เพ่ิมเติมขอ้ มลู ท่ีจำเปน็ ต่อการตดิ ตอ่ สือ่ สารเข้าในส่วนหวั ของแพ็กเกจที่ส่ง และตรวจสอบขอ้ มลู จากสว่ นหวั ของ Packet ท่ีส่งมาถึง วา่ เป็นข้อมลู ของตนหรือไม่ แต่ถา้ ไม่ใชก่ จ็ ะปลอ่ ยข้อมลู นัน้ ไปยงั Repeater ของเครอ่ื ง ถดั ไป ข้อดี 1. ผสู้ ง่ สามารถส่งขอ้ มลู ไปยังผู้รับได้หลาย ๆ เคร่ืองพรอ้ ม ๆ กัน โดยกำหนดตำแหนง่ ปลายทาง เหลา่ น้ันลงในส่วนหัวของแพก็ เกจข้อมลู Repeaterของแต่ละเคร่อื งจะทำการตรวจสอบเองว่า ขอ้ มูลท่สี ่งมาให้ น้นั เปน็ ตนเองหรอื ไม่ …นายไธพัตย์ ศริ ิสวุ รรณ แผนกวิชาช่างอเิ ลก็ ทรอนิกส์ วิทยาลยั การอาชพี หนองหาน... 75

ใบความรู้ (Information Sheets) รหัสวชิ า 2105 – 2110 ช่อื วชิ าเครอื ข่ายคอมพวิ เตอร์ ท-ป-น 1-3-2 ชือ่ หนว่ ย ระบบเครือขา่ ยคอมพิวเตอร์และอินเทอรเ์ นต็ เรอ่ื ง การติดต้งั ระบบเครือขา่ ยคอมพวิ เตอร์ จำนวนชั่วโมงสอน 12 2. การส่งผา่ นขอ้ มลู ในเครอื ข่ายแบบ RING จะเป็นไปในทศิ ทางเดยี วจากเครือ่ งสเู่ ครื่อง จึงไม่มีการชน กันของสัญญาณข้อมูลทสี่ ง่ ออกไป 3. คอมพวิ เตอร์ทุกเครื่องในเนต็ เวิรก์ มีโอกาสที่จะส่งข้อมลู ไดอ้ ยา่ งทัดเทียมกนั ขอ้ เสยี 1. ถา้ มเี ครื่องใดเคร่ืองหน่ึงในเครือข่ายเสียหาย ข้อมูลจะไม่สามารถสง่ ผ่านไปยังเครอ่ื งตอ่ ๆ ไปได้ และจะทำให้เครือข่ายท้งั เครอื ขา่ ย หยดุ ชะงกั ได้ 2. ขณะท่ีขอ้ มูลถูกสง่ ผา่ นแต่ละเคร่อื ง เวลาสว่ นหน่งึ จะสญู เสียไปกบั การทที่ กุ ๆ Repeater จะต้อง ทำการตรวจสอบตำแหนง่ ปลายทางของข้อมูลนัน้ ๆ ทกุ ข้อมูลที่ส่งผา่ นมาถงึ 4. โทโพโลยแี บบตน้ ไม้ (Tree Topology) มีลกั ษณะเชอ่ื มโยงคล้ายกบั โครงสรา้ งแบบดาวแต่จะมโี ครงสร้างแบบต้นไม้ โดยมสี ายนำสญั ญาณแยก ออกไปเปน็ แบบก่ิงไมเ่ ป็นวงรอบ โครงสร้างแบบนจ้ี ะเหมาะกับการประมวลผลแบบกลุ่มจะประกอบด้วยเครื่อง คอมพวิ เตอร์ระดับต่างๆกนั อย่หู ลายเคร่อื งแลว้ ตอ่ กันเปน็ ชัน้ ๆ ดรู าวกับแผนภาพองคก์ ร แต่ละกลุม่ จะมีโหนด แมล่ ะโหนดลกู ในกลุ่มนน้ั ท่ีมกี ารสัมพันธก์ ัน การสอ่ื สารข้อมูลจะผ่านตวั กลางไปยังสถานีอ่นื ๆได้ทั้งหมด เพราะ ทุกสถานีจะอยู่บนทางเชอ่ื ม และรับสง่ ขอ้ มูลเดียวกนั ดังนั้นในแตล่ ะกลุ่มจะส่งข้อมูลได้ทลี ะสถานีโดยไม่ส่ง พรอ้ มกนั …นายไธพตั ย์ ศริ สิ ุวรรณ แผนกวชิ าชา่ งอิเล็กทรอนิกส์ วิทยาลยั การอาชีพหนองหาน... 76

ใบความรู้ (Information Sheets) รหสั วิชา 2105 – 2110 ช่ือวชิ าเครือขา่ ยคอมพวิ เตอร์ ท-ป-น 1-3-2 ช่ือหนว่ ย ระบบเครือข่ายคอมพิวเตอรแ์ ละอินเทอรเ์ นต็ เรื่อง การติดตั้งระบบเครอื ขา่ ยคอมพวิ เตอร์ จำนวนชั่วโมงสอน 12 5. โทโพโลยีแบบผสม (Hybrid Topology) เป็นเครือขา่ ยที่ผสมผสานโทโพโลยแี บบตา่ งๆ เข้าด้วยกัน เป็นเครอื ขา่ ยขนาดใหญ่เพยี งเครือข่ายเดียว เช่น การเช่ือมเครอื ขา่ ยแบบวงแหวน แบบดาว และแบบบัสเข้าเปน็ เครอื ข่ายเดียวกัน เครือข่ายบรเิ วณกว้าง (WAN) เปน็ ตวั อยา่ งที่ใช้ลักษณะโทโพโลยีแบบผสมท่พี บเห็นมากท่ีสุด เครือขา่ ยแบบนจ้ี ะเชอ่ื มตอ่ ทง้ั เครอื ข่ายขนาดเล็กและขนาดใหญ่ หลากหลายท่เี ขา้ ด้วยกัน ซง่ึ อาจจะถูก เชอื่ มตอ่ จากคนละจังหวัด หรอื คนละประเทศก็ได้ ตัวอย่างเชน่ บริษัทท่ีมีสาขาแยกยอ่ ยตามจังหวดั ตา่ ง ๆ สาขาทหี่ นึ่งอาจจะใชโ้ ทโพโลยแี บบดาว อกี สาขาหน่ึงอาจใช้โทโพโลยีแบบบัส การเช่ือมต่อเครือข่ายเขา้ ด้วยกนั อาจใช้สอ่ื กลางเปน็ ไมโครเวฟ หรือดาวเทยี ม เปน็ ต้น …นายไธพัตย์ ศริ ิสุวรรณ แผนกวิชาช่างอิเล็กทรอนกิ ส์ วิทยาลยั การอาชพี หนองหาน... 77


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook