Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore ความพึงพอใจของประชาชนในการดำเนินการป้องกันและแก้ไขปัญหายาเสพติดจังหวัดศรีสะเกษ พ.ศ. 2561

ความพึงพอใจของประชาชนในการดำเนินการป้องกันและแก้ไขปัญหายาเสพติดจังหวัดศรีสะเกษ พ.ศ. 2561

Description: จังหวัดศรีสะเกษ โดยสำนักงานสถิติจังหวัดศรีสะเกษ ได้ร่วมกับศูนย์อำนวยการป้องกันและปราบปราม ยาเสพติตจังหวัดศรีสะเกษ (ศอ.ปส.จ.ศก.) ดำเนินการสำรวจและประเมินผลความพึงพอใจของประชาชนในการดำเนินการป้องกันและแก้ไขปัญหายาเสพติดจังหวัดศรีสะเกษ พ.ศ. 2561 เพื่อติดตามประมวลผล และวางแผนในการป้องกันและแก้ไขปัญหายาเสพติดต่อไป

Search

Read the Text Version

สรปุ ผลการสำรวจและประเมนิ ผลความพึงพอใจ ปขอัญงหปารยะาชเสาชพนตใิดนกพาร.ศด.ำ2เน5นิ6ก1ารป้องกนั และแกไ้ ข จงั หวัดศรสี ะเกษ



สรปุ ผลการสาํ รวจและประเมินผลความพึงพอใจของประชาชน ในการดาํ เนินการปอ้ งกนั และแก้ไขปญั หายาเสพติดจงั หวดั ศรสี ะเกษ พ.ศ. 2561

หน่วยงานเจา้ ของเรื่อง สาํ นักงานสถิตจิ ังหวัดศรสี ะเกษ ศาลากลางจงั หวัด ช้ัน 2 ถนนเทพา ตาํ บลเมอื งเหนือ อําเภอเมืองศรสี ะเกษ จังหวดั ศรีสะเกษ 33000 โทรศพั ท์ 0 4561 2754 โทรสาร 0 4561 1995 ไปรษณยี อ์ ิเลก็ ทรอนิกส์ [email protected] ปีท่จี ดั พมิ พ์ 2561 จัดพมิ พโ์ ดย สาํ นักงานสถติ ิจงั หวัดศรสี ะเกษ

คํานาํ ตามที่รัฐบาลนําโดย พลเอกประยุทธ จันทรโอชา นายกรัฐมนตรี ไดเขามาบริหารประเทศ และเล็งเห็น ความสําคัญในการแกไขยาเสพติดอยางเรงดวน จึงไดกําหนดแผนปฏิบัติการปองกันและแกไขปญหายาเสพติด ป 2560 (ตุลาคม 2559 – กันยายน 2560) โดยใชกรอบแผนปฏิบัติการปองกันและแกไขปญหายาเสพติดท่ีได ดําเนินการตอเนื่องมาตั้งแต ป 2558 (พ.ศ. 2558 – 2562) เพื่อใหทุกหนวยงานดําเนินการบูรณาการใหเปนเอกภาพ เกิดประสทิ ธิภาพ และประสทิ ธผิ ล จังหวัดศรีสะเกษ โดยสํานักงานสถิติจังหวัดศรีสะเกษ ไดรวมกับศูนยอํานวยการปองกันและปราบปราม ยาเสพติตจังหวัดศรีสะเกษ (ศอ.ปส.จ.ศก.) ดําเนินการสํารวจและประเมินผลความพึงพอใจของประชาชน ในการดาํ เนินการปองกนั และแกไ ขปญหายาเสพติดจังหวัดศรสี ะเกษ พ.ศ. 2561 เพื่อตดิ ตามประมวลผล และวางแผน ในการปองกนั และแกไ ขปญ หายาเสพติดตอ ไป



บทสรุปสาํ หรับผูบ้ ริหาร การสํารวจและประเมินผลความพงึ พอใจของประชาชนในการดําเนินการป้องกันและ แกไ้ ขปญั หายาเสพติด จังหวัดศรีสะเกษ พ.ศ. 2561 ตามทรี่ ฐั บาลนาํ โดย พลเอกประยทุ ธ์ จนั ทรโ์ อชา วันที่ 1 – 31 สิงหาคม 2561 โดยมีผู้ตอบสัมภาษณ์ นายกรัฐมนตรีได้เข้ามาบริหารประเทศ และเล็งเห็น เป็นชายร้อยละ 52.5 เป็นหญิงร้อยละ 47.5 มีอายุ ความสําคัญในการแก้ไขปัญหายาเสพติดอย่างเร่งด่วน 18 – 29 ปี ร้อยละ 16.8 อายุ 30 – 39 ปี ร้อยละ เน่ืองจากปัญหายาเสพติดส่งผลกระทบต่อปัญหาต่างๆ 19.2 อายุ 40 – 49 ปี ร้อยละ 25.5 อายุ 50 – 59 ปี ท้ังด้านเศรษฐกิจ สังคม และความม่ันคงของประเทศ ร้อยละ 28.6 และอายุ 60 ปีข้ึนไปร้อยละ 9.9 ระดับ รัฐบาลจึงได้กําหนดแผนปฏิบัติการป้องกันและแก้ไข การศึกษาตํ่ากว่าระดับปริญญาตรี มีร้อยละ 94.7 และ ปัญหายาเสพติดปี 2561 เพื่อให้ทุกหน่วยงาน ระดับปริญญาตรีขึ้นไป ร้อยละ 5.3 รายได้ครัวเรือน ดาํ เนนิ การบรู ณาการใหเ้ ป็นเอกภาพ เกดิ ประสิทธภิ าพ เฉลี่ยตอ่ เดือนไมเ่ กิน 10,000 บาทรอ้ ยละ 63.1 รายได้ และประสิทธิผล โดยแผนปฏิบัติการป้องกันและแก้ไข 10,001 – 30,000 บาทร้อยละ 32.6 และมากกว่า ปัญหายาเสพติด ประกอบด้วย 4 แผน 1) แผนป้องกัน 30,000 บาทร้อยละ 4.3 สรุปผลการสํารวจ ยาเสพติด โดยมีเป้าหมายในการสร้างภูมิคุ้มกันและ ที่สําคัญได้ดังนี้ ป้องกันยาเสพติดให้กับเด็กและเยาวชนทั้งในและนอก สถานท่ี กลุ่มผู้ใช้แรงงาน และประชาชนท่ัวไป 1. ความคิดเห็นเกยี่ วกับการพบเหน็ ปญั หายาเสพตดิ 2) แผนบําบัดยาเสพติด โดยมีเป้าหมายในการนําผู้ ผลจากการสํารวจ พบว่า ประชาชนร้อยละ เสพ/ผู้ติดยาเสพติดเข้าสู่กระบวนการบําบัด และ ติดตามดูแลช่วยเหลือผู้ ผ่านการบําบั ดรั ก ษ า 6.0 ระบุว่าพบเห็นปัญหายาเสพติดในชุมชน/หมู่บ้าน 3) แผนปราบปรามยาเสพติดโดยมีเป้าหมายในการ ด้วยตนเอง ร้อยละ 35.8 ระบุว่าไม่พบเห็นแต่ทราบ ปราบปรามทําลายการค้ายาเสพติดท้ังในและนอก ข่าวว่าชุมชน/หมู่บ้านมีปัญหายาเสพติด และร้อยละ ประเทศ ตลอดจนเสริมสร้าง พัฒนา และยกระดับ 58.2 ระบุว่าไม่พบเห็นและไม่ทราบว่าในชุมชน/ ความร่วมมือในการแก้ไขปัญหายาเสพติดระหว่าง หมูบ่ า้ นมีปัญหายาเสพตดิ ประเทศ และ 4) แผนบริหารจัดการอย่างบูรณาการ โดยมีเป้าหมายในการนํานโยบาย และ ระบบการ แผนภมู ิ ก รอ้ ยละของประชาชน จําแนกตามความคดิ เห็น บริหารจัดการ อํานวยการป้องกันและแก้ไขปัญหา เก่ียวกบั การพบเห็นปญั หายาเสพตดิ ในชมุ ชน/หมบู่ า้ น ยาเสพติดอย่างมีเอกภาพ สามารถนํานโยบายไปสู่การ ปฏิบตั ิได้อยา่ งมปี ระสทิ ธภิ าพ 2. ความคดิ เหน็ เกยี่ วกับการพบเหน็ การซอ้ื ขายยาเสพติด ผลการสํารวจพบวา่ ประชาชนรอ้ ยละ 77.3 ระบุ สํานักงานสถิติจังหวัดศรีสะเกษ ได้ร่วมกับ ศูนย์อํานวยการป้องกันและปราบปรามยาเสพติด ว่าไม่พบเห็นและไม่ทราบว่ามีการซ้ือขายยาเสพติด จังหวัดศรีสะเกษ (ศอ.ปส.จ.ศก.) ดําเนินการสํารวจ รอ้ ยละ 20.0 ไม่พบเห็นแตท่ ราบว่ามีการซ้ือขายยาเสพติด และประเมินผลความพึงพอใจของประชาชนในการ และร้อยละ 2.8 ระบุว่าพบเห็นการซอื้ ขายยาเสพตดิ ได้งา่ ย ดํ า เ นิ น ก า ร ป้ อ ง กั น แ ล ะ แ ก้ ไ ข ปั ญ ห า ย า เ ส พ ติ ด จังหวัดศรีสะเกษ พ.ศ. 2561 เพ่ือติดตาม ประเมินผล และวางแผนการดําเนินงานในการป้องกันและแก้ไข ปัญหายาเสพติดต่อไป โดยส่งเจ้าหน้าที่สํานักงานสถิติ จังหวัดศรีสะเกษไปสัมภาษณ์ประชาชนตัวอย่าง ท่ีมี อายุ 18 ปีขึ้นไป จํานวน 800 รายทั่วจังหวัด ระหว่าง

แผนภูมิ ข รอ้ ยละของประชาชน จําแนกตามความคดิ เห็น ฉ เก่ียวกบั การพบเหน็ การซื้อขายยาเสพตดิ ในชุมชน/หมู่บ้าน รองลงมา ได้แก่ นักเรียน/นักศึกษา (ร้อยละ 40.2) รับจ้างทั่วไป (ร้อยละ 36.5) กรรมกร (ร้อยละ 15.0) เกษตรกร (ร้อยละ 11.0) เจ้าหน้าที่ของรัฐ (ร้อยละ 6.3) และพนักงาน/ลูกจ้างเอกชน (ร้อยละ 3.0) สว่ นอาชีพอน่ื ๆ มีไมเ่ กนิ รอ้ ยละ 1.7 แผนภูมิ ง ร้อยละของประชาชนทีพ่ บเหน็ /ทราบวา่ ชุมชน/ หมู่บา้ น มปี ญั หายาเสพติด จําแนกตามความ คิดเห็นเกยี่ วกบั อาชพี ของผู้ท่เี กี่ยวข้องกบั ปัญหา ยาเสพตดิ 3. ความคิดเห็นเกย่ี วกับลักษณะของผู้ที่เกีย่ วข้องกบั 4. ความคดิ เหน็ เกีย่ วกับความเดอื ดร้อนท่ีไดร้ บั ปัญหายาเสพติด จากปญั หายาเสพตดิ 3.1 ช่วงอายุของผ้ทู ่เี ก่ียวขอ้ งกบั ปญั หายาเสพตดิ ผลการสํารวจ พบว่า ประชาชนที่พบเห็น/ ผลการสํารวจ พบว่า ประชาชนที่พบเห็น/ ทราบว่าชุมชน/หมู่บ้านมีปัญหายาเสพติด ซ่ึงมีร้อยละ ทราบว่าชุมชน/หมู่บ้านมีปัญหายาเสพติด ซ่ึงมีร้อยละ 34.4 ระบุว่าคนในชุมชน/หมู่บ้านได้รับความเดือดรอ้ น 75.0 ระบุว่า อายุ 35 – 39 ปีเก่ียวข้องกับยาเสพติด จากปัญหายาเสพติด (ซ่ึงในจํานวนนี้ มีสมาชิกใน มากทีส่ ดุ รองลงมาได้แก่ อายุ 30 – 34 ปี (รอ้ ยละ 62.2) ครัวเรือนประสบความเดือดร้อนจากปัญหายาเสพติด อายุ 25 – 29 ปี (ร้อยละ 33.8) โดยตรงร้อยละ 14.7 และสมาชิกในครัวเรือนไม่ได้ ประสบความเดือดร้อนจากปัญหายาเสพติดโดยตรง แผนภมู ิ ค ร้อยละของประชาชนท่พี บเห็น/ทราบวา่ ชมุ ชน/ ร้อยละ 19.7) ส่วนร้อยละ 58.1 ระบุว่าไม่ได้รับความ หมบู่ ้าน มปี ญั หายาเสพตดิ จาํ แนกตามความ เดอื ดรอ้ น ขณะที่รอ้ ยละ 7.5 ไมท่ ราบ/ไม่แนใ่ จ คดิ เหน็ เกยี่ วกบั ช่วงอายุของผูท้ เ่ี ก่ียวข้องกบั ปัญหา ยาเสพติด 3.2 อาชพี ของผูท้ ่ีเกีย่ วข้องกบั ปัญหายาเสพติด สําหรับอาชีพของผู้ที่เกี่ยวข้องกับปัญหา ยาเสพติด ประชาชนท่พี บเห็น/ทราบวา่ ชุมชน/หมู่บ้าน มีปัญหายาเสพติด ระบุว่าเป็นผู้ที่ว่างงาน/ไม่มีงานทํา เกี่ยวข้องกับยาเสพติดมากท่ีสุด ซ่ึงมีร้อยละ 75.4

แผนภมู ิ จ รอ้ ยละของประชาชนทีพ่ บเห็น/ทราบวา่ ชมุ ชน/ ช หมู่บ้าน มปี ัญหายาเสพตดิ จําแนกตามความ คิดเห็นเกย่ี วกบั การได้รบั ความเดอื ดรอ้ น แผนภูมิ ช ร้อยละและคะแนนเฉลีย่ ของประชาชน จาํ แนก จากปัญหายาเสพติดของคนในชมุ ชน/หมบู่ า้ น ตามระดับความพึงพอใจตอ่ ผลการดาํ เนนิ งาน โดยรวมของรฐั บาลในการปอ้ งกัน ปราบปราม และบําบัดรกั ษาผู้เสพ/ผตู้ ดิ ยาเสพติด โดยได้รับความเดือนร้อนจากปัญหายาเสพติด เม่ือพิจารณาเป็นรายด้าน พบว่า ประชาชน มากที่สุด ในเร่ืองแก็งค์มอเตอร์ไซค์ซิ่ง (ร้อยละ 42.6) ให้คะแนนความพึงพอใจต่อผลการดําเนินงานของ รองลงมาได้แก่ การทะเลาะวิวาท (ร้อยละ 34.8) รัฐบาลด้านการป้องกัน 6.51 คะแนน ด้านการ การกระทาํ ผิดเกย่ี วกับทรัพย์ (รอ้ ยละ 32.2) การสง่ เสยี งดัง ปราบปราม 6.45 คะแนน และด้านการบําบัดรักษา ก่อความรําคาญ (ร้อยละ 27.8) เปน็ ตน้ ผ้เู สพ/ผตู้ ิดยาเสพติด อยู่ท่ี 6.62 คะแนน แผนภมู ิ ฉ รอ้ ยละของประชาชนทพ่ี บเหน็ /ทราบว่าชมุ ชน/ แผนภมู ิ ซ ร้อยละและคะแนนเฉล่ยี ของประชาชน จําแนก หมู่บา้ น มีปญั หายาเสพติด จําแนกตามความคดิ เห็น ตามระดับความพงึ พอใจต่อผลการดําเนนิ งาน เกี่ยวกับการเร่ืองที่ได้รบั ความเดือดร้อน ในการปอ้ งกนั ปราบปราม และบาํ บัดรักษาผู้เสพ/ ผู้ตดิ ยาเสพตดิ ในแต่ละด้าน 5. ความพึงพอใจต่อผลการดาํ เนนิ งานในการปอ้ งกัน 6. ความเชอ่ื มนั่ ตอ่ นโยบายรฐั บาลในการปอ้ งกนั ปราบปราม และบาํ บัดรักษาผู้เสพ/ผตู้ ิดยาเสพติด ปราบปราม และบําบดั รกั ษาผเู้ สพ/ผตู้ ิดยาเสพติด ผลการสํารวจ พบว่า ประชาชนให้คะแนน ประชาชนให้คะแนนความเชื่อม่ันต่อนโยบาย ความพงึ พอใจต่อผลการดําเนินงานโดยรวมของรัฐบาล ในการป้องกนั ปราบปราม และบาํ บดั ผเู้ สพ/ผู้ตดิ ยา ในการป้องกัน ปราบปราม และบําบัดรักษาผู้เสพ/ เสพติด อยู่ท่ี 6.55 คะแนน จากคะแนนเต็ม 10 ผู้ตดิ ยาเสพตดิ อยทู่ ่ี 6.53 คะแนน จากคะแนนเต็ม 10 คะแนน และเม่ือพิจารณาถึงสัดส่วนของประชาชน คะแนน และเมื่อพิจารณาถึงสัดส่วนของประชาชน พบว่า ร้อยละ 53.6 ระบุว่าเช่ือม่ันฯ อยู่ในระดับ พบว่า ร้อยละ 54.2 ระบุว่าพึงพอใจฯ อยู่ในระดับ มาก - มากที่สุด ร้อยละ 43.9 ระบุว่าปานกลาง และร้อยละ มาก - มากที่สุด ร้อยละ 42.3 ระบุว่าปานกลาง 2.5 ระบวุ า่ นอ้ ย – นอ้ ยทีส่ ดุ และร้อยละ 3.7 ระบวุ ่าน้อย – นอ้ ยทสี่ ดุ

ซ แผนภมู ิ ฌ ร้อยละและคะแนนเฉลีย่ ของประชาชน จาํ แนก แผนภูมิ ญ รอ้ ยละของประชาชน จําแนกตามขอ้ เสนอแนะ ตามระดบั ความเชือ่ ม่นั ตอ่ นโยบายรฐั บาลในการ แนวทางการป้องกนั ปราบปราม และบําบดั ป้องกนั ปราบปราม และบําบัดรกั ษาผเู้ สพ/ รกั ษาผู้เสพ/ผตู้ ิดยาเสพตดิ รวมถึงการตดิ ตาม ผตู้ ิดยาเสพติด ช่วยเหลือผู้ผา่ นการบาํ บดั รักษาหรือผตู้ อ้ งขงั ในคดี ยาเสพติดทพี่ ้นโทษออกมาในชุมชน/หมบู่ ้าน 7. ขอ้ เสนอแนะแนวทางการป้องกันและแกไ้ ข ปญั หายาเสพติด ประชาชนได้ให้ข้อเสนอแนะแนวทาง ในการป้องกัน ปราบปราม และบําบัดผู้เสพ/ ผู้ติดยาเสพติด รวมถึงการติดตามช่วยเหลือ ผู้ผ่านการบําบัดรักษาหรือผู้ต้องขังในคดียาเสพติด ที่พ้นโทษออกมาในชุมชน/หมู่บ้าน 3 อันดับแรก คือ การใช้กฎหมายลงโทษผู้ที่เกี่ยวข้องกับ ยาเสพติดอย่างเด็ดขาด (ร้อยละ 38.6) การปราบปรามอย่างจิงจังและต่อเน่ือง (ร้อยละ 37.3) และการปลูกฝังภายในครอบครัว/ สอดสอ่ งดแู ล (รอ้ ยละ 15.7)

สารบญั หนา้ ค คาํ นาํ จ บทสรปุ ผบู้ รหิ าร ฎ สารบญั แผนภมู ิ บทที่ 1 บทนาํ 1 1 1.1 ความเปน็ มา 2 1.2 วตั ถุประสงค์ 2 1.3 การนําขอ้ มูลไปใชป้ ระโยชน์ 1.4 คําอธบิ าย 3 บทท่ี 2 ระเบยี บวธิ สี ถิติ 3 2.1 คมุ้ รวม 3 2.2 แผนการสมุ่ ตวั อย่าง 3 2.3 วธิ กี ารเลือกหน่วยตวั อยา่ ง 4 2.4 เคร่ืองมอื ท่ีใช้ในการเกบ็ รวบรวมขอ้ มลู 4 2.5 การประมวลผล 4 2.6 หลกั เกณฑ์การคํานวณคะแนน 4 2.7 วธิ กี ารเก็บรวบรวมขอ้ มูล 2.8 การนาํ เสนอผลการสาํ รวจ 5 บทท่ี 3 สรปุ ผลการสํารวจ 6 3.1 ความคดิ เห็นเกี่ยวกับการพบเห็นปัญหายาเสพตดิ 3.2 ความคิดเห็นเกี่ยวกบั การพบเหน็ การซือ้ ขายยาเสพติด 6 3.3 ความคดิ เหน็ เกย่ี วกบั การพบเหน็ ผเู้ สพ/ผตู้ ดิ ยาเสพติดที่ยังมพี ฤตกิ ารณก์ ารใชย้ าเสพตดิ 7 7 ในชุมชน/หม่บู า้ น 7 3.4 ความคดิ เหน็ เก่ยี วกบั ลกั ษณะของผู้ท่เี กย่ี วขอ้ งกับยาเสพติด 8 3.4.1. ช่วงอายุของผทู้ ่ีเกี่ยวข้องกบั ปญั หายาเสพติด 9 3.4.2 อาชพี ของผู้ทเี่ ก่ยี วขอ้ งกับยาเสพตดิ 10 3.5 ความคดิ เหน็ เกย่ี วกับความเดือดร้อนทไี่ ดร้ บั จากปัญหายาเสพติด 10 3.6 ความคดิ เห็นเกีย่ วกบั การทราบ/การแจง้ เบาะแสหรือขอ้ มูลขา่ วสารการกระทําผดิ เกย่ี วกับยาเสพตดิ 11 3.7 ความคดิ เห็นเกยี่ วกบั การใหผ้ เู้ สพ/ผู้ตดิ ยาเสพติด คอื ผูป้ ว่ ย 3.8 ความคดิ เหน็ เกี่ยวกับสถานทบี่ ําบดั รกั ษาผ้เู สพ/ผู้ติดยาเสพตดิ 11 3.9 ความคิดเหน็ เกี่ยวกับการยอมรบั หรอื ให้โอกาสผ้เู กย่ี วข้องกบั ยาเสพตดิ กลับเขา้ สู่ ชมุ ชน/หมบู่ ้าน 11 3.9.1 ความคิดเห็นเกี่ยวกับการยอมรบั หรอื ให้โอกาสผเู้ ลกิ เสพยาเสพติด/ผู้ผ่านการ บาํ บัดรักษากลับเขา้ สูช่ ุมชน/หม่บู ้าน 3.9.2 ความคิดเห็นเกยี่ วกับการยอมรบั หรอื ใหโ้ อกาสผู้ต้องขงั ในคดยี าเสพติดทพ่ี ้นโทษ ออกมากลบั เขา้ สูช่ มุ ชน/หมบู่ ้าน

ญ หน้า 12 สารบญั (ตอ่ ) 12 13 3.10 ความพึงพอใจต่อผลการดาํ เนนิ งานในการป้องกนั ปราบปราม และบําบดั รักษาผู้เสพ/ 14 ผตู้ ิดยาเสพตดิ 3.10.1 ความพึงพอใจต่อผลการดําเนินงานโดยรวมของรัฐบาลในการป้องกัน 15 ปราบปราม และบําบดั รกั ษา ผู้เสพ/ผู้ตดิ ยาเสพตดิ 17 3.10.2 ความพึงพอใจต่อการดําเนินงานในแตล่ ะดา้ น 3.11 ความเช่อื ม่นั ต่อนโยบายรัฐบาลในการป้องกัน ปราบปราม และบาํ บดั รักษาผู้เสพ/ผตู้ ดิ ยาเสพติด 3.12 ข้อเสนอแนะแนวทางการปอ้ งกนั ปราบปราม และบาํ บัดรักษาผู้เสพ/ผตู้ ิดยาเสพตดิ รวมถึงการตดิ ตามช่วยเหลือผผู้ ่านการบาํ บดั รักษาหรอื ผตู้ ้องขงั ในคดียาเสพตดิ ท่ีพน้ โทษ ออกมาในชมุ ชน/หมู่บ้าน ตารางสถติ ิ

สารบญั แผนภูมิ หนา้ แผนภูมิ 1 ร้อยละของประชาชน จําแนกตามความคิดเห็นเกี่ยวกับการพบเห็นปัญหายาเสพติด 5 แผนภมู ิ 2 ในชมุ ชน/หมบู่ ้าน ร้อยละของประชาชนท่ีพบเห็น/ทราบว่ามีปัญหายาเสพติดในชุมชน/หมู่บ้าน จําแนกตาม 5 แผนภมู ิ 3 ความคิดเห็นเก่ียวกับปัญหายาเสพติดในชุมชน/หมู่บ้านเมื่อเปรียบเทียบกับช่วงปลายปี 6 แผนภูมิ 4 ที่ผ่านมา (ต.ค. 60) 6 แผนภมู ิ 5 ร้อยละของประชาชน จําแนกตามความคิดเห็นเกี่ยวกับการพบเห็นการซ้ือขายยาเสพติด 7 แผนภมู ิ 6 ในชุมชน/หมูบ่ า้ น 7 แผนภูมิ 7 ร้อยละของประชาชน จําแนกตามความคิดเห็นเกี่ยวกับการพบเห็นผู้เสพ/ผู้ติดยาเสพติด ทีย่ ังมีพฤตกิ ารณ์การใช้ยาเสพตดิ ในชุมชน/หมู่บ้าน 8 แผนภมู ิ 8 ร้อยละของประชาชนที่พบเห็น/ทราบว่าชุมชน/หมู่บ้าน มีปัญหายาเสพติด จําแนกตาม 8 แผนภมู ิ 9 ความคดิ เห็นเกย่ี วกบั ช่วงอายขุ องผู้ทเี่ กีย่ วข้องกับปญั หายาเสพติด 9 แผนภูมิ 10 ร้อยละของประชาชนท่ีพบเห็น/ทราบว่าชุมชน/หมู่บ้าน มีปัญหายาเสพติด จําแนกตาม 10 แผนภูมิ 11 ความคิดเหน็ เกยี่ วกบั อาชพี ของผู้ทเ่ี กย่ี วข้องกบั ปัญหายาเสพตดิ 10 แผนภูมิ 12 ร้อยละของประชาชนท่ีพบเห็น/ทราบว่าชุมชน/หมู่บ้าน มีปัญหายาเสพติด จําแนกตาม ความคิดเห็นเกี่ยวกับการได้รับความเดือดร้อนจากปัญหายาเสพติดของคนในชุมชน/ 11 แผนภูมิ 13 หมบู่ ้าน 11 แผนภูมิ 14 ร้อยละของประชาชนที่พบเห็น/ทราบว่าชุมชน/หมู่บ้าน มีปัญหายาเสพติด จําแนกตาม 12 แผนภูมิ 15 ความคิดเห็นเกี่ยวกบั การเร่ืองทไี่ ด้รบั ความเดอื ดรอ้ น ร้อยละของประชาชน จําแนกตามความคิดเห็นเกี่ยวกับช่องทางท่ีต้องการแจ้งเบาะแส 13 หรอื ขอมลู ขา่ วสารการกระทําผดิ เกีย่ วกบั ยาเสพติด ร้อยละของประชาชน จําแนกตามความคิดเห็นเก่ียวกับการแจ้งเบาะแสหรือข้อมูล ขา่ วสารเมือ่ พบเห็นการกระทําผดิ เก่ียวกบั ยาเสพติด ร้อยละของประชาชน จําแนกตามความคิดเห็นเกี่ยวกับการให้ผู้เสพ/ผู้ติดยาเสพติด คือ ผปู้ ว่ ย ร้อยละของประชาชน จําแนกตามความคิดเห็นเกี่ยวกับการทราบสถานท่ีบําบัดรักษา ผู้เสพ/ผู้ติดยาเสพติด นอกจากสถาบันธัญญารักษ์แล้ว สามารถเข้ารับการบําบัดรักษาได้ ในโรงพยาบาลรัฐทกุ แห่ง ร้อยละของประชาชน จําแนกตามความคิดเห็นเกี่ยวกับการยอมรับหรือให้โอกาส ผูเ้ ลกิ เสพยาเสพตดิ /ผผู้ า่ นการบําบัดรกั ษากลบั เข้าสชู่ มุ ชน/หมบู่ ้าน ร้อยละของประชาชน จําแนกตามความคิดเห็นเก่ยี วกบั การยอมรบั หรือให้โอกาสผตู้ ้องขัง ในคดยี าเสพตดิ ที่พ้นโทษออกมากลบั เขา้ สูช่ มุ ชน/หม่บู ้าน ร้อยละและคะแนนเฉลี่ยของประชาชน จําแนกตามระดับความพึงพอใจต่อผลการ ดําเนินงานโดยรวมของรัฐบาลในการป้องกัน ปราบปราม และบําบัดรักษาผู้เสพ/ผู้ติด ยาเสพตดิ

ฏ สารบญั แผนภูมิ (ตอ่ ) แผนภมู ิ 16 ร้อยละและคะแนนเฉลี่ยของประชาชน จําแนกตามระดับความพึงพอใจต่อผลการ หนา้ แผนภมู ิ 17 ดาํ เนนิ งานในการปอ้ งกนั ปราบปราม และบาํ บดั รักษาผู้เสพ/ผูต้ ดิ ยาเสพติด ในแต่ละด้าน 13 แผนภูมิ 18 ร้อยละและคะแนนเฉล่ียของประชาชน จําแนกตามระดับความเช่ือมั่นต่อนโยบายรัฐบาล 14 แผนภูมิ 19 ในการป้องกัน ปราบปราม และบาํ บดั รักษาผเู้ สพ/ผ้ตู ดิ ยาเสพตดิ 15 ร้อยละของประชาชน จําแนกตามเหตุผลท่ีให้คะแนนความเช่ือมั่นต่อนโยบายรัฐบาล ในการป้องกัน ปราบปราม และบาํ บดั รักษาผเู้ สพ/ผ้ตู ิดยาเสพติด 15 ร้อยละของประชาชน จําแนกตามข้อเสนอแนะแนวทางการป้องกัน ปราบปราม และบําบัดรกั ษา ผู้เสพ/ผู้ตดิ ยาเสพติด รวมถึงการติดตามช่วยเหลอื ผู้ผา่ นการบาํ บัดรกั ษา หรอื ผตู้ ้องขังในคดยี าเสพตดิ ท่ีพ้นโทษออกมาในชุมชน/หมู่บ้าน

บทที่ 1 บทนํา 1.1 ความเปนมา ตามท่ีรัฐบาลนําโดย พลเอกประยุทธ จันทรโอชา นายกรัฐมนตรี ไดเขามาบริหารประเทศ และเล็งเห็น ความสําคัญในการแกไขปญหายาเสพติตอยางเรงดวน เน่ืองจากปญหายาเสพติดสงผลกระทบตอปญหาตางๆ ท้ังดาน เศรษฐกิจ สังคม และความม่นั คงของประเทศ จึงไดกําหนดแผนปฏิบตั ิการปองกันและแกไขปญหายาเสพติด ป 2560 (ตุลาคม 2559 – กันยายน 2560) โดยใชกรอบแผนปฏิบัติการปองกันและแกไขปญหายาเสพติด ที่ไดจากการ ดําเนินการตอเนื่องมาต้ังแต ป 2558 (พ.ศ. 2558 – 2562) เพ่ือใหทุกหนวยงานดําเนินการบูรณาการใหเปนเอกภาพ เกิดประสทิ ธิภาพ และประสิทธผิ ล โดยแผนการปฏิบัตดิ งั กลาวประกอบดวย 4 แผน ดังนี้ 1) แผนปราบปรามยาเสพติด โดยมีเปาหมายแผน คือ ผูคายาเสพติด และเครือขายทั้งในและนอกประเทศ ถูกจับกุมและดําเนินการตามกระบวนการยุติธรรม ตลอดจนเสริมสรางพัฒนาและยกระดับความรวมมือ ในการแกไข ปญหายาเสพติดระหวางประเทศ 2) แผนบําบัดรักษายาเสพติด โดยมีเปาหมายแผน คือ นําผูเสพยาเสพติดเขาสูกระบวนการบําบัดรักษา ทุกระบบ จํานวน 220,000 คน ติดตามดูแลชวยเหลือผานการบําบัดรักษาอยางนอยรอยละ 70 ของผูผานการ บาํ บัดรกั ษา 3) แผนปองกันยาเสพติด โดยมีเปาหมาย คือ สรางภูมิคุมกันและปองกันยาเสพติดใหกับเด็กและเยาวชน ทั้งในและนอกสถานศึกษา กลุมผใู ชแรงงาน และประชาชนโดยท่วั ไป 4) แผนบริหารจัดการอยางบูรณาการ โดยมีเปาหมายแผน คือ กลไลระดับนโยบาย และกลไกภายใต ศูนยอํานวยการปองกันและปราบปรามยาเสพติด (ศอ.ปส.) มีระบบบริหารจัดการอํานวยการปองกัน และแกไขปญหา ยาเสพติด อยา งมีเอกภาพ สามารถนํานโยบายไปสกู ารปฏิบตั ไิ ดอยา งมปี ระสทิ ธิภาพ จังหวัดศรีสะเกษ โดยสํานักงานสถิติจังหวัดศรีสะเกษรวมกับศูนยอํานวยการปองกันและปราบปรามยาเสพ ติตจังหวัดศรีสะเกษ (ศอ.ปส.จ.ศก.) ดําเนินการสํารวจและประเมินผลความพึงพอใจของประชาชนในการดําเนินการ ปองกันและแกไขปญหายาเสพติดจังหวัดศรีสะเกษ พ.ศ. 2561 เพื่อติดตามประมวลผล และวางแผนการในการ ปองกนั และแกไขปญหายาเสพติดตอไป 1.2 วตั ถุประสงค เพ่ือสํารวจความคิดเห็นของประชาชน เกี่ยวกับการพบเห็นปญหายาเสพติตในชุมชน/หมูบาน การไดรับความเดือดรอนจากปญหายาเสพติด การแจงเบาะแสหรือขอมูลการกระทําผิดเก่ียวกับยาเสพติด การยอมรับและใหโอกาสผูเก่ียวของกับยาเสพติดกลับสูชุมชน/หมูบาน ความพึงพอใจตอการดําเนินงานและความ เช่ือมั่นตอนโยบายรัฐบาลในการปองกัน ปราบปราม และบําบัดรักษาผูเสพ/ผูติดยาเสพติด ตลอดจนขอเสนอแนะ แนวทางการปองกัน ปราบปราม และบําบัดรักษาผูเสพ/ผูติดยาเสพติด รวมถึงการติดตามชวยเหลือผูผานมา บําบัดรักษา หรือผูตองขังในคดียาเสพติดท่ีพนโทษออกมา เพ่ือเปนขอมูลใหแกจังหวัดและหนวยงานที่เกี่ยวของ นําไปใชในการติดตาม ประเมินผล และวางแผนการดําเนินงานการปองกันแกไขปญหายาเสพติด ใหมีประสิทธิภาพ ตอ ไป

2 1.3 การนาํ ขอมลู ไปใชป ระโยชน ขอมูลท่ีไดจากการสํารวจคร้ังนี้ ผูใชท้ังภาครัฐ และภาคประชาชน และสามารถนาํ ไปใช ดังนี้ ภาครัฐ : ใชในการติดตาม ประเมินผล และวางแผนการกําหนดแนวทางการดําเนินงานการปองกัน และแกไ ขปญหายาเสพติดในระยะตอ ไป ภาคประชาชน : สะทอนสถานการณปญหายาเสพติดท่ีพบเห็นในชุมชน/หมูบานและใหขอเสนอแนะ แนวทางในการปองกัน ปราบปราม และบําบัดผูเสพ/ผูติดยาเสพติด รวมถึงการติดตามชวยเหลือผูผาน การบาํ บดั รักษาหรอื ผูตอ งขังในคดียาเสพตดิ ทพี่ นโทษออกมา 1.4 คําอธบิ าย 1.4.1 ยาเสพติดในการสาํ รวจคร้ังนี้ ไมรวม สุรา บุหร่ี และเครื่องดื่มที่มีแอลกอฮอล 1.4.2 ผูเสพ/ผูติดยาเสพติด ในการสํารวจคร้ังนี้ ไมรวม ผูท่ีเคยไดรับการบําบัดรักษาหรืออยูระหวาง การบาํ บดั รักษา 1.4.3 ผูเสพ/ผูท่ีติดยาเสพติด หมายถึง ผูท่ีใชยา/สารเสพติดเปนประจํา และผูใชยา/สารเสพติดเปนคร้ัง คราวไมตอ เนือ่ ง

บทที่ 2 ระเบยี บวธิ ีสถิติ 2.1 คุม้ รวม ตามกรอบการศึกษากําหนดให้สํารวจประชาชนท่ีมีอายุ 18 ปีข้ึนไป ในครัวเรือนส่วนบุคคลที่อยู่ในชุมชน/ หมู่บา้ น ทั่วจังหวัดศรสี ะเกษ จํานวน 2,688 ชมุ ชน/หมู่บา้ น ทั้งนไ้ี ม่รวมครวั เรือนกลุ่มบคุ คล ประเภทครวั เรือนคนงาน และครัวเรือนกล่มุ บคุ คลประเภทครวั เรือนสถาบนั 2.2 แผนการส่มุ ตวั อยา่ ง การสํารวจตัวอย่างครั้งนี้ใช้แผนการสุ่มตัวอย่างแบบ Stratified Three – Stage Sampling โดยกําหนดให้ชุมชน/หมู่บ้าน เป็นหน่วยตัวอย่างข้ันท่ีหนึ่งครัวเรือนส่วนบุคคลที่มีสมาชิก 18 ปีขึ้นไป เป็นหน่วย ตัวอยา่ งข้ันทส่ี อง และสมาชกิ ท่ีมอี ายุ 18 ปีขึน้ ไปในครัวเรือนสว่ นบุคคลเป็นหน่วยตวั อย่างขัน้ ทส่ี าม 2.3 วิธีการเลอื กหน่วยตวั อย่าง - หน่วยตัวอย่างขั้นที่หนึ่ง กําหนดให้ชุมชน/หมู่บ้านเป้าหมาย เป็นหน่วยตัวอย่างขั้นที่หน่ึง โดยทําการเลือกชุมชน/หมู่บ้านฯ ตัวอย่างอย่างอิสระต่อกัน ด้วยวิธีการเลือกตัวอย่างแบบมีระบบ รวมท้ังสิ้น 40 ชุมชน/หมู่บา้ น - หน่วยตัวอย่างขั้นท่ีสอง กําหนดให้ครัวเรือนส่วนบุคคลท่ีมีสมาชิกอายุ 18 ปีขึ้นไป เป็นหน่วย ตัวอย่างข้ันที่สอง โดยในแต่ละชุมชน/หมู่บ้าน ตัวอย่างได้ทําการเลือกครัวเรือนส่วนบุคคลที่มีสมาชิกอายุ 18 ปีขึ้นไป ดว้ ยวิธีการเลือกตัวอย่างแบบมรี ะบบ ชมุ ชน/หมูบ่ า้ นละ 20 ครัวเรือน รวมทั้งส้ิน 800 ครัวเรอื น - หน่วยตัวอย่างข้ันท่ีสาม กําหนดให้สมาชิกอายุ 18 ปีขึ้นไป ในครัวเรือนส่วนบุคคลท่ีเป็นตัวอย่าง ขั้นท่ีสาม โดยในแต่ละครัวเรือนส่วนบุคคลตัวอย่างได้กําหนดเลือกสมาชิกท่ีมอายุ 18 ปีข้ึนไป ด้วยวิธีการเลือก ตัวอย่างแบบสุ่มอย่างง่าย ครัวเรือนละ 1 ราย รวมทั้งสิ้นท่ัวประเทศ 800 ราย เพื่อทําการสัมภาษณ์ในรายละเอียด ตอ่ ไป 2.4 เคร่ืองมือทใ่ี ชใ้ นการเก็บรวบรวมขอ้ มลู การสร้างเคร่ืองมือท่ีใช้ในการเก็บรวบรวมข้อมูลในการสาํ รวจคร้ังนี้ ได้ดาํ เนินการ ดังนี้ 2.4.1 ศึกษาแผนการปฏิบัติการป้องกันและแก้ไขปัญหายาเสพติด ปี 2560 ตามนโยบายของรัฐบาล และ คณะรกั ษาความสงบแห่งชาติ (คสช.) เชน่ แผนการดาํ เนินการป้องกันและแก้ไขปัญหายาเสพติด 2.4.2 สร้างแนวประเด็นคําถาม โดยกําหนดขอบข่าย จัดหมวดหมู่ ความสอดคล้องเหมาะสม ให้ครอบคลุม แนวประเด็นคําถามในการติดตาม ประเมินผลการดําเนินงานในการป้องกัน และแก้ไขปัญหายาเสพติดตามแผนปฏิบัติการ ฯ 2.4.3 สร้างเคร่ืองมือที่ใช้ในการเก็บรวบรวมข้อมูลในการสํารวจคร้ังน้ี เป็นแบบสอบถามที่ใช้ประกอบด้วย ข้อถาม 2 ตอน ดงั น้ี ตอนที่ 1 ข้อมูลทั่วไปของผู้ตอบสัมภาษณ์ ได้แก่ เพศ อายุ ระดับการศึกษาสูงสุด สถานภาพ การทาํ งาน และรายได้ของครวั เรอื นเฉล่ียต่อเดือน ตอนท่ี 2 สถานการณ์ปัญหายาเสพติด ได้แก่ สถานการณ์ปัญหายาเสพติดท่ีพบเห็นในชุมชน/ หมู่บ้าน การพบเห็นการซื้อขายยาเสพตดิ การพบเห็นผู้เสพ/ผู้ติดยาเสพติด ลักษณะของผทู้ ี่เกย่ี วขอ้ งกับปัญหายาเสพติด ความเดือดร้อนที่ไดร้ บั จากปัญหายาเสพตดิ การทราบ/การแจ้งเบาะแสหรือข้อมูลข่าวสารความคิดเห็นเก่ียวกบั การให้

4 ผู้เสพ/ผู้ติดยาเสพติด คือ ผู้ป่วย การนําผู้เสพ/ผู้ติดยาเสพติดเข้ารับการบําบัดรักษาและการยอมรับหรือให้โอกาส ผู้เกี่ยวข้องกับยาเสพตดิ เข้าสู่ชุมชน/หมู่บ้าน และมีความพงึ พอใจ ตอ่ การดําเนนิ งานและความเชอื่ ม่ันตอ่ นโยบายรฐั บาล ในการป้องกัน ปราบปราม และบําบัดผู้เสพ/ผู้ติดยาเสพติดตลอดจนข้อเสนอแนะแนวทางการป้องกัน ปราบปราม และบําบัดรักษาผู้เสพ/ผตู้ ิดยาเสพติด รวมถึงการติดตามช่วยเหลือผู้ผ่านการบําบัดรักษา หรือผู้ต้องขังในคดียาเสพติด ที่พ้นโทษออกมา 2.5 การประมวลผล หลังจากการเก็บรวบรวมข้อมูลเรียบร้อยแล้ว ได้มีการตรวจสอบความถูกต้องและความสอดคล้องของข้อมูล แลว้ นําไปประมวลเป็นรปู ตาราง 2.6 หลักเกณฑ์การคาํ นวณคะแนน การคํานวณคะแนนของความพึงพอใจ/ความเชื่อม่ันต่อการดําเนินงานตามแผนปฏิบัติการป้องกันและแก้ไข ปัญหายาเสพติด มหี ลกั เกณฑ์ ดังนี้ 2.6.1 ตัวแปรความพึงพอใจ/ความเชื่อม่ัน ซึ่งมีคะแนนเต็ม 10 คะแนน ได้มีการแปลงคําตอบท่ีได้ จากแต่ละ ตัวแปรเปน็ คะแนน มีหลกั เกณฑ์ ดังน้ี ระดับความพึงพอใจ/ความเช่ือม่นั คะแนน - พงึ พอ/เชอื่ ม่นั มากท่สี ดุ 9 – 10 - พึงพอใจ/เชือ่ มน่ั มาก 7–8 - พงึ พอใจ/เชือ่ มั่นปานกลาง 5–6 - พงึ พอใจ/เชือ่ มน่ั นอ้ ย 3–4 - พึงพอใจ/เชื่อมนั่ น้อยที่สดุ 1–2 - ไม่พงึ พอใจ/ไม่เช่อื ม่ัน 0 2.6.2 การคํานวณค่าคะแนนของความพึงพอใจ/ความเช่ือม่ัน โดยการคํานวณร้อยละ ได้รวมผู้ตอบทั้งท่ีแสดง ความคดิ เหน็ และไม่แสดงความคิดเห็น ส่วนการคาํ นวณคะแนน ไม่ไดร้ วมผ้ตู อบทไี่ ม่แสดงความคิดเห็น 2.7 วิธกี ารเกบ็ รวบรวมขอ้ มลู เก็บรวบรวมข้อมูลรายละเอียดโดยใช้แบบสอบถาม ในการสัมภาษณส์ มาชิกท่ีมีอายุ 18 ปีข้ึนไป ระหว่างวันท่ี 1 – 31 สงิ หาคม 2561 2.8 การนําเสนอผลการสาํ รวจ นาํ เสนอผลการสาํ รวจในภาพรวมของจังหวัดศรสี ะเกษ

บทที่ 3 สรุปผลการสํารวจ 3.1 ความคดิ เห็นเกี่ยวกบั การพบเหน็ ปญั หายาเสพติด ตามที่จังหวัดศรีสะเกษ ได้ดําเนินการตามแผนปฏิบัติการป้องกันและแก้ไขปัญหายาเสพติด ปี 2561 ผลการ สํารวจเก่ียวกับการพบเห็นปัญหายาเสพติด พบว่าประชาชน ร้อยละ 6.0 ระบุว่าพบเห็นปัญหายาเสพติดในชุมชน/ หมู่บ้านด้วยตนเอง ขณะที่ร้อยละ 35.8 ระบุว่าไม่พบเห็นแต่ทราบว่าในชุมชน/หมู่บ้านมีปัญหายาเสพติด ส่วนร้อยละ 58.2 ระบวุ ่าไม่พบเห็นและไมท่ ราบวา่ ในชุมชน/หมูบ่ ้านมีปัญหายาเสพติด แผนภูมิ 1 รอ้ ยละของประชาชน จาํ แนกตามความคิดเห็นเกย่ี วกบั การพบเหน็ ปัญหายาเสพติดในชุมชน/หมบู่ า้ น เมื่อสอบถามประชาชนที่พบเห็น/ทราบว่ามีปัญหายาเสพติดในชุมชน/หมู่บ้าน โดยให้เปรียบเทียบกับช่วง ปลายปีท่ีผ่านมา (ต.ค. 60) พบว่าประชาชน ร้อยละ 12.0 ระบุว่าพบเห็นปัญหายาเสพติดในชุมชน/หมู่บ้านเพ่ิมข้ึน ขณะทร่ี ้อยละ 17.4 ระบวุ า่ ลดลง ร้อยละ 44.0 ระบวุ า่ เหมือนเดิม และร้อยละ 26.6 ระบุวา่ ไม่ทราบ/ไม่แน่ใจ แผนภูมิ 2 ร้อยละของประชาชนทพี่ บเห็น/ทราบวา่ มีปญั หายาเสพติดในชุมชน/หมู่บ้าน จําแนกตามความคิดเห็น เกย่ี วกับปญั หายาเสพตดิ ในชมุ ชน/หม่บู า้ นเมื่อเปรียบเทยี บกบั ช่วงปลายปีท่ีผา่ นมา (ต.ค. 60)

6 3.2 ความคดิ เห็นเกี่ยวกับการพบเห็นการซอ้ื ขายยาเสพตดิ เม่ือสอบถามประชาชนเก่ียวกับการพบเห็นการซื้อขายยาเสพติดในชุมชน/หมู่บ้าน พบว่า ประชาชนร้อยละ 2.8 ระบุว่าพบการซื้อขายยาเสพติดได้ง่าย (ซึ่งในจํานวนน้ีได้ให้เหตุผลว่าพบเห็นการซ้ือขายยาเสพติดได้ทั่วไปเหมือน ซื้อของกิน - ของใช้ พบเห็นการซื้อขายยาเสพติดแบบเปิดเผยไม่เกรงกลัวกฎหมาย พบเห็นการซื้อขายยาเสพติดใช้ ระยะเวลาไม่นานประมาณ 1 – 2 ชั่วโมง มีการซื้อขายยาเสพติดตามร้านค้าในชุมชน/หมู่บ้าน และเหตุผลอ่ืนๆ เช่น พบเห็นการซอื้ ขายผ่าน Internet ได้ง่าน และรวดเรว็ มีราคาถูก เปน็ ตน้ ) ขณะทป่ี ระชาชนร้อยละ 20.0 ระบุวา่ ไม่พบ เห็นแต่ทราบว่ามกี ารซอื้ ขายยาเสพตดิ ส่วนประชาชนรอ้ ยละ 77.3 ระบวุ ่าไม่พบเห็นและไมท่ ราบวา่ มีการซื้อขายยาเสพติด แผนภมู ิ 3 ร้อยละของประชาชน จําแนกตามความคดิ เหน็ เกี่ยวกบั การพบเห็นการซอื้ ขายยาเสพติดในชุมชน/หมบู่ า้ น 3.3 ความคิดเหน็ เก่ียวกับการพบเหน็ ผเู้ สพ/ผู้ตดิ ยาเสพตดิ ที่ยังมีพฤตกิ ารณก์ ารใช้ยาเสพติดในชมุ ชน/หมบู่ ้าน สําหรับการพบเห็นผู้เสพ/ผู้ติดยาเสพติดที่มีพฤติการณ์การใช้ยาเสพติดในชุมชน/หมู่บ้านนั้น ผลการสํารวจ พบว่า ประชาชนร้อยละ 5.1 ระบุว่าพบเห็นด้วยตนเอง ขณะที่ร้อยละ 35.8 ระบุว่าไม่พบเห็นแต่ทราบว่ามผี ู้เสพ/ผตู้ ิด ยาเสพตดิ ท่ียงั มพี ฤตกิ ารณด์ ังกลา่ วอยู่ ส่วนร้อยละ 59.1 ระบวุ ่าไม่พบเหน็ และไม่ทราบวา่ มผี เู้ สพ/ผตู้ ิดยาเสพตดิ ฯ แผนภูมิ 4 รอ้ ยละของประชาชน จําแนกตามความคดิ เหน็ เก่ยี วกับการพบเหน็ ผ้เู สพ/ผตู้ ดิ ยาเสพติดทย่ี ังมีพฤติการณ์ การใช้ยาเสพติดในชุมชน/หมู่บา้ น

7 3.4 ความคิดเห็นเกี่ยวกบั ลกั ษณะของผทู้ เี่ กยี่ วขอ้ งกับยาเสพติด 3.4.1. ช่วงอายขุ องผทู้ เ่ี กี่ยวข้องกับปัญหายาเสพติด สําหรับช่วงอายุของผู้ที่เก่ียวข้องกับยาเสพติด เมื่อสอบถามประชาชนที่พบเห็น/ทราบว่าชุมชน/ หมู่บ้านมีปัญหายาเสพติด ผลสํารวจ พบว่า ร้อยละ 75.0 ระบุว่า อายุ 35 – 39 ปีเก่ียวข้องกับยาเสพติดมากท่ีสุด รองลงมาได้แก่ อายุ 30 – 34 ปี (ร้อยละ 62.2) อายุ 25 – 29 ปี (ร้อยละ 33.8) อายุมากกว่า 39 ปีข้ึนไป (ร้อยละ 8.4) อายุ 20 – 24 ปี (ร้อยละ 7.9) ส่วนผู้ที่มอี ายุ 15 - 19 ปี และอายุตํา่ กว่า 15 ปี มีประมาณรอ้ ยละ 2.0 แผนภูมิ 5 ร้อยละของประชาชนท่ีพบเห็น/ทราบว่าชุมชน/หมู่บ้าน มีปัญหายาเสพติด จําแนกตามความคิดเห็น เกีย่ วกับช่วงอายขุ องผู้ทีเ่ ก่ยี วขอ้ งกับปญั หายาเสพตดิ 3.4.2 อาชพี ของผทู้ ่ีเกยี่ วขอ้ งกบั ยาเสพตดิ ผลสํารวจพบว่า ประชาชนท่ีพบเห็น/ทราบว่าชุมชน/หมู่บ้านมีปัญหายาเสพติด ซึ่งมีร้อยละ 75.4 ระบุว่าผู้ท่ีว่างงาน/ไม่มีงานทําเก่ียวข้องกับยาเสพติดมากท่ีสุด รองลงมา ได้แก่ นักเรียน/นักศึกษา (ร้อยละ 40.2) รับจ้างท่ัวไป (ร้อยละ 36.5) กรรมกร (ร้อยละ 15.0) เกษตรกร (ร้อยละ 11.0) เจ้าหน้าท่ีของรัฐ (ร้อยละ 6.3) และ พนักงาน/ลกู จ้างเอกชน (ร้อยละ 3.0) ส่วนอาชพี อืน่ ๆ มีไม่เกินร้อยละ 1.7 แผนภูมิ 6 ร้อยละของประชาชนท่ีพบเห็น/ทราบว่าชุมชน/หมู่บ้าน มีปัญหายาเสพติด จําแนกตามความคิดเห็น เก่ยี วกบั อาชพี ของผู้ท่เี กย่ี วข้องกับปญั หายาเสพติด

8 3.5 ความคดิ เหน็ เกี่ยวกับความเดือดร้อนทไ่ี ด้รับจากปัญหายาเสพตดิ ผลการสํารวจพบว่า ประชาชนที่พบเห็น/ทราบว่าชุมชน/หมู่บ้านมีปัญหายาเสพติด ซ่ึงมีร้อยละ 34.4 ระบุว่า คนในชุมชน/หมู่บ้านได้รับความเดือดร้อนจากปัญหายาเสพติด (ซึ่งในจํานวนนี้ มีสมาชิกในครัวเรือนประสบความ เดือดร้อนจากปัญหายาเสพตดิ โดยตรงร้อยละ 14.7 และสมาชิกในครัวเรือนไมไ่ ด้ประสบความเดือดรอ้ นจากปัญหายา เสพตดิ โดยตรงร้อยละ 19.7) ส่วนรอ้ ยละ 58.1 ระบวุ ่าไมไ่ ดร้ บั ความเดือดร้อน ขณะท่รี อ้ ยละ 7.5 ไมท่ ราบ/ไมแ่ น่ใจ แผนภูมิ 7 ร้อยละของประชาชนที่พบเห็น/ทราบว่าชุมชน/หมู่บ้าน มีปัญหายาเสพติด จําแนกตามความคิดเห็น เก่ียวกบั การไดร้ บั ความเดอื ดรอ้ นจากปัญหายาเสพติดของคนในชุมชน/หมู่บ้าน เมื่อสอบถามถึงเร่ืองท่ไี ด้รับความเดือนร้อน พบว่า ประชาชนพบเห็น/ทราบว่าชุมชน/หม่บู ้านมีปัญหายาเสพติด และได้รับความเดอื ดรอ้ นจากปญั หายาเสพติด รอ้ ยละ 42.6 ระบุว่าไดร้ บั ควา่ มเดือนร้อนจากปัญหายาเสพติด มาก ทสี่ ุด ในเรอื่ งแกง็ ค์มอเตอร์ไซค์ซ่ิง รองลงมาได้แก่ การทะเลาะววิ าท (ร้อยละ 34.8) และการกระทาํ ผดิ เกยี่ วกับทรพั ย์ (รอ้ ยละ 32.0) เปน็ ต้น แผนภูมิ 8 ร้อยละของประชาชนที่พบเห็น/ทราบว่าชุมชน/หมู่บ้าน มีปัญหายาเสพติด จําแนกตามความคิดเห็น เกี่ยวกับการเรอื่ งท่ไี ดร้ ับความเดอื ดรอ้ น

9 3.6 ความคดิ เห็นเกยี่ วกับการทราบ/การแจง้ เบาะแสหรอื ขอ้ มูลขา่ วสารการกระทําผิดเกี่ยวกับยาเสพติด เม่ือสอบถามประชาชนถึงการทราบช่องทางการแจ้งเบาะแสหรือข้อมูลข่าวสารการกระทําผิดเก่ียวกับยาเสพติด ผลการสํารวจ พบว่า ประชาชนร้อยละ 83.1 ระบุว่าทราบ ส่วนร้อยละ 16.9 ระบุว่าไม่ทราบ เม่ือสอบถามความ คดิ เห็นเกี่ยวกบั ช่องทางที่ต้องแจ้าเบาะแสหรอื ขอ้ มลู ข่าวสารการกระทําผิดเกย่ี วกับยาเสพตดิ พบวา่ ประชาชนร้อยละ 74.9 ระบุว่าแจ้งเบาะแสหรือข้อมูลข่าวสารดังกล่าว ส่วนร้อยละ 25.1 ระบุว่าไม่แจ้งเบาะแสฯ สําหรับช่องทางการ แจ้งเบาะแสหรือข้อมูลข่าวสารเกี่ยวกับการกระทําผิดเกี่ยวกับยาเสพติด พบว่า ประชาชนร้อยละ 68.0 แจ้งสถานี ตํารวจในพ้ืนที่มากที่สุด รองลงมาได้แก่ ศูนย์ดํารงธรรม ร้อยละ 55.4 สายด่วน 191 ร้อยละ 38.5 ป.ป.ส. สายด่วน 1386 รอ้ ยละ 13.6 สํานักนายกรฐั มนตรี ตู้ ปณ. 1111 ร้อยละ 6.4 และอน่ื ๆ ร้อยละ 27.5 เปน็ ต้น แผนภมู ิ 9 รอ้ ยละของประชาชน จาํ แนกตามความคดิ เหน็ เก่ียวกบั ชอ่ งทางทต่ี อ้ งการแจง้ เบาะแสหรือขอมลู ขา่ วสาร การกระทาํ ผิดเก่ียวกับยาเสพติด ในกรณีที่ชุมชน/หมู่บ้านมีปัญหายาเสพติดหรือพบเห็นการกระทําผิดเก่ียวกับยาเสพติด ผลสํารวจ พบว่า ประชาชนร้อยละ 74.9 ระบุว่าจะแจ้งเบาะแสหรือข้อมูลข่าวสารดังกล่าว ส่วนร้อยละ 25.1 ระบุว่าไม่แจ้งเบาะแสฯ ทั้งนี้ ประชาชนที่ระบุว่าจะแจ้งเบาะแสหรือข้อมูลข่าวสารฯ ร้อยละ 74.9 ได้ระบุเหตุผล คือ ต้องการให้เจ้าหน้าท่ี เข้ามาแก้ไขปัญหา (ร้อยละ 42.5) กลัวปัญหายาเสพติดเข้ามาเก่ียวข้องกับลูกหลาน (ร้อยละ 20.4) กลัวปัญหาต่างๆ ท่ีจะเกิดตามมาสืบเน่ืองจากปัญหายาเสพติด (ร้อยละ 4.5) มีช่องทางรับแจ้งเบาะแสฯ ที่สะดวก รวดเร็ว และไว้ใจได้ (ร้อยละ 6.0) และอน่ื ๆ เช่น ต้องการให้ปัญหายาเสพตดิ หมดไป ให้ความร่วมมอื กับภาครัฐ เป็นตน้ (รอ้ ยละ 1.5) ส่วนประชาชนท่ีระบุว่าจะไม่แจ้งเบาะแสหรือข้อมูลข่าวสารฯ ร้อยละ 25.1 ได้ระบุเหตุผล คือ กลัวผู้กระทําผิด มาทาํ ร้าย (รอ้ ยละ 12.0) เกรงกลวั อทิ ธิพล (ร้อยละ 5.5) เชื่อวา่ แจ้งไปกไ็ ม่มีอะไรเกิดข้นึ (รอ้ ยละ 0.6) ไม่สนใจ/คดิ ว่า ไม่ใช่เรื่องของตนเอง (ร้อยละ 1.5) ไม่มั่นใจต่อเจ้าหน้าที่รัฐในการแก้ไขปัญหา (ร้อยละ 5.1) และอื่นๆ เช่น ไม่อยาก ดําเนินการ ต้องการจะตกั เตือนกอ่ น เปน็ คนรูจ้ ัก เป็นตน้ (ร้อยละ 0.4)

10 แผนภูมิ 10 รอ้ ยละของประชาชน จําแนกตามความคิดเห็นเกยี่ วกับการแจ้งเบาะแสหรอื ขอ้ มลู ขา่ วสารเมอื่ พบเห็น การกระทาํ ผิดเกีย่ วกบั ยาเสพตดิ 3.7 ความคดิ เห็นเกย่ี วกับการให้ผเู้ สพ/ผูต้ ดิ ยาเสพตดิ คอื ผูป้ ว่ ย เม่ือสอบถามความคิดเห็นของประชาชนเกี่ยวกับการให้ผู้เสพ/ผู้ติดยาเสพติด คือ ผู้ป่วย ผลสํารวจพบว่า ประชาชนรอ้ ยละ 70.9 ระบวุ ่าทราบ สว่ นประชาชนอกี รอ้ ยละ 29.1 ระบวุ า่ ไมท่ ราบ แผนภูมิ 11 รอ้ ยละของประชาชน จําแนกตามความคิดเห็นเกีย่ วกบั การใหผ้ เู้ สพ/ผู้ตดิ ยาเสพติด คือ ผู้ป่วย 3.8 ความคิดเห็นเกยี่ วกับสถานที่บาํ บดั รกั ษาผูเ้ สพ/ผูต้ ดิ ยาเสพตดิ เมื่อสอบถามประชาชนเก่ียวกับสถานท่ีบําบัดรักษาผู้เสพ/ผู้ติดยาเสพติด นอกจากสถาบันธัญญารักษ์แล้ว สามารถเข้ารับการบําบัดรักษาได้ในโรงพยาบาลรัฐทุกแห่ง ผลสํารวจพบว่า ประชาชนส่วนใหญ่ ร้อยละ 66.9 ระบุว่า ทราบ ส่วนประชาชนอกี รอ้ ยละ 33.1 ระบวุ า่ ไม่ทราบ

11 แผนภมู ิ 12 ร้อยละของประชาชน จาํ แนกตามความคิดเห็นเก่ยี วกบั การทราบสถานที่บาํ บัดรักษาผ้เู สพ/ผูต้ ิดยาเสพตดิ นอกจากสถาบันธญั ญารกั ษ์แลว้ สามารถเขา้ รับการบําบัดรกั ษาได้ในโรงพยาบาลรฐั ทุกแหง่ 3.9 ความคดิ เหน็ เกย่ี วกบั การยอมรับหรอื ใหโ้ อกาสผเู้ กีย่ วขอ้ งกับยาเสพตดิ กลับเข้าสู่ชุมชน/หมู่บา้ น 3.9.1 ความคดิ เหน็ เกย่ี วกบั การยอมรบั หรือให้โอกาสผเู้ ลิกเสพยาเสพตดิ /ผผู้ ่านการบาํ บัดรกั ษากลบั เขา้ ส่ชู ุมชน/หมบู่ า้ น เมื่อสอบถามประชาชนเกี่ยวกับการยอมรับหรือให้โอกาสผู้เลิกเสพยาเสพติด/ผู้ผ่านการบําบัดรักษา กลับเข้าสู่ชุมชน/หมู่บ้าน พบว่า ประชาชนร้อยละ 75.4 ระบุว่ายอมรับ/ให้โอกาส ขณะที่ร้อยละ 3.6 ระบุว่า ไมย่ อมรบั /ไม่ให้โอกาส สว่ นอีกร้อยละ 21.0 ไมท่ ราบ/ไมแ่ นใ่ จ แผนภมู ิ 13 รอ้ ยละของประชาชน จาํ แนกตามความคิดเหน็ เก่ยี วกับการยอมรบั หรือใหโ้ อกาสผ้เู ลกิ เสพยาเสพตดิ /ผู้ผ่าน การบาํ บัดรักษากลับเข้าสู่ชมุ ชน/หม่บู า้ น ท้ังน้ี ผู้ท่ีระบุว่ายอมรับหรือให้โอกาสผู้เลิกเสพยาเสพติด/ผู้ผ่านการบําบัดรักษากลับเข้าสู่ชุมชน/ หมู่บ้านซึ่งมีร้อยละ 75.4 ได้ให้เหตุผลว่าให้โอกาสกลับมาอยู่กับครอบครัว/ชุมชน (ร้อยละ 66.7) เช่ือว่าจะไม่กลับไป กระทําผดิ ซ้าํ (ร้อยละ 10.9) และอื่นๆ เช่น เชื่อว่าจะไมท่ ําให้เกิดอันตราย เป็นคนรู้จัก/คุ้นเคยกัน เป็นต้น (ร้อยละ 22.4) ส่วนผู้ท่ีระบุว่าไม่ยอมรับหรือไม่ให้โอกาสซึ่งมีร้อยละ 3.6 ได้ให้เหตุผลว่าเช่ือว่าไม่สามารถกลับตัวกลับใจได้ (ร้อยละ 41.4) การกลับมาอยู่ในสภาพแวดล้อมเดิมจะนําไปสู่การกระทําผิดซํ้า (ร้อยละ 37.9) เชื่อว่าจะกลับมาสร้างความ เดอื ดรอ้ นให้ชุมชน (ร้อยละ 20.7)

12 3.9.2 ความคดิ เหน็ เกี่ยวกบั การยอมรับหรอื ใหโ้ อกาสผตู้ อ้ งขังในคดยี าเสพติดทพ่ี น้ โทษออกมากลับเขา้ สู่ ชมุ ชน/หมู่บ้าน เมื่อสอบถามประชาชนเก่ียวกับการยอมรับหรือให้โอกาสผู้ต้องขังในคดียาเสพติดท่ีพ้นโทษออกมา กลับเข้าสู่ชุมชน/หมู่บ้าน ผลสํารวจในเดือนสิงหาคม 2561 พบว่า ประชาชนร้อยละ 64.5 ระบุว่ายอมรับ/ให้โอกาส ขณะที่รอ้ ยละ 8.3 ระบวุ า่ ไมย่ อมรบั /ไมใ่ ห้โอกาส สว่ นอีกรอ้ ยละ 27.2 ไม่ทราบ/ไมแ่ นใ่ จ แผนภมู ิ 14 รอ้ ยละของประชาชน จาํ แนกตามความคิดเห็นเกีย่ วกบั การยอมรับหรือให้โอกาสผู้ต้องขงั ในคดยี าเสพติด ทพ่ี น้ โทษออกมากลบั เข้าสู่ชุมชน/หมูบ่ ้าน ท้ังนี้ ผู้ท่ีระบุว่ายอมรับหรือให้โอกาสผู้ต้องขังในคดียาเสพติดท่ีพ้นโทษออกมากลับเข้าสู่ชุมชน/ หมู่บ้าน ซ่ึงมีร้อยละ 64.5 ได้ให้เหตุผลว่าให้โอกาสกลับมาอยู่กับครอบครัว/ชุมชน (ร้อยละ 74.2) เชื่อว่าจะไม่กลับไป กระทําผิดซํ้า (ร้อยละ 25.2) อื่นๆ เช่น เป็นคนรู้จัก/คุ้นเคยกัน ผู้ต้องขังฯ ได้รับบทเรียนแล้ว เป็นต้น (ร้อยละ 0.6) ส่วนผู้ท่ีระบุว่าไม่ยอมรับหรือไม่ให้โอกาส ซึ่งมีร้อยละ 8.3 ได้ให้เหตุผลว่าการกลับมาอยู่ในสภาพแวดล้อมเดิม จะ นําไปสู่การกระทําผิดซ้าํ (ร้อยละ 51.5) เช่ือว่าไมส่ ามารถกลบั ตวั กลับใจได้ (ร้อยละ 25.8) เชอ่ื ว่าจะกลบั มาสร้างความ เดอื ดรอ้ นให้ชมุ ชน (ร้อยละ 22.7) 3.10 ความพงึ พอใจต่อผลการดาํ เนินงานในการป้องกนั ปราบปราม และบําบดั รักษาผเู้ สพ/ผตู้ ดิ ยาเสพตดิ 3.10.1 ความพึงพอใจต่อผลการดาํ เนินงานโดยรวมของรฐั บาลในการป้องกนั ปราบปราม และบาํ บัด รกั ษา ผู้เสพ/ผตู้ ิดยาเสพตดิ ประชาชนให้คะแนนความพึงพอใจต่อผลการดําเนินงานโดยรวมของรัฐบาลในการป้องกัน ปราบปราม และบําบัดรักษาผู้เสพ/ผู้ติดยาเสพติด อยู่ท่ี 6.5 คะแนน จากคะแนนเต็ม 10 คะแนน และเมื่อพิจารณา ถึงสัดส่วนของประชาชน พบว่า ร้อยละ 54.2 ระบุว่าพึงพอใจฯ อยู่ในระดับมาก – มากท่ีสุด ร้อยละ 42.2 ระบุว่าปานกลาง รอ้ ยละ 3.6 ระบวุ ่าน้อย – นอ้ ยทสี่ ุด

13 แผนภูมิ 15 ร้อยละและคะแนนเฉลี่ยของประชาชน จําแนกตามระดับความพึงพอใจต่อผลการดําเนินงานโดยรวม ของรัฐบาลในการป้องกัน ปราบปราม และบําบัดรักษาผู้เสพ/ผตู้ ดิ ยาเสพตดิ 3.10.2 ความพงึ พอใจตอ่ การดาํ เนนิ งานในแตล่ ะดา้ น ประชาชนใหค้ ะแนนความพึงพอใจด้านการบาํ บดั รกั ษาผู้เสพ/ผู้ติดยาเสพติด ดว้ ยคะแนนเฉลย่ี 6.62 คะแนน จากคะแนนเต็ม 10 คะแนน รองลงมาคือ ด้านการป้องกัน (6.51 คะแนน) และด้านการปราบปราม (6.45 คะแนน) แผนภมู ิ 16 รอ้ ยละและคะแนนเฉลยี่ ของประชาชน จําแนกตามระดับความพงึ พอใจต่อผลการดําเนนิ งานในการป้องกัน ปราบปราม และบําบัดรกั ษาผ้เู สพ/ผตู้ ดิ ยาเสพตดิ ในแตล่ ะด้าน ประชาชนมีความพงึ พอใจต่อการดําเนินงานในการป้องกัน ปราบปราม และบําบัดรักษาผเู้ สพ/ผู้ติด ยาเสพตดิ ในแตล่ ะด้าน ดังน้ี 1) ด้านการป้องกันปญั หายาเสพติด ผลสํารวจพบว่า ประชาชนให้คะแนนความพึงพอใจต่อผลการ ดําเนินงานด้านการป้องกันปัญหายาเสพติด อยู่ที่ 6.51 คะแนน จากคะแนนเต็ม 10 คะแนน และเม่ือพิจารณาถึง สัดส่วนของประชาชน พบว่า ร้อยละ 51.7 ระบุว่าพึงพอใจฯ อยู่ในระดับมาก – มากท่ีสุด ร้อยละ 44.2 ระบุว่าปานกลาง และรอ้ ยละ 4.1 ระบวุ ่าน้อย – น้อยที่สดุ

14 2) ด้านการปราบปรามยาเสพติด ผลสํารวจพบว่า ประชาชนให้คะแนนความพึงพอใจต่อผลการ ดาํ เนนิ งานด้านปราบปรามยาเสพติด อยทู่ ่ี 6.45 คะแนน จากคะแนนเต็ม 10 คะแนน และเม่ือพิจารณาถงึ สัดส่วนของ ประชาชน พบว่า ร้อยละ 50.1 ระบุว่าพึงพอใจฯ อยู่ในระดับมาก – มากท่ีสุด ร้อยละ 45.0 ระบุว่าปานกลาง และ รอ้ ยละ 4.9 ระบุว่านอ้ ย - นอ้ ยทีส่ ุด 3) ด้านการบําบัดรักษาผู้เสพ/ผู้ติดยาเสพติด ผลสํารวจพบว่า ประชาชนให้คะแนนความพึงพอใจ ต่อผลการดําเนินงานด้านการบําบัดรักษาผู้เสพ/ผู้ติดยาเสพติด อยู่ท่ี 6.62 คะแนน จากคะแนนเต็ม 10 คะแนน และ เม่ือพิจารณาถึงสัดส่วนของประชาชน พบว่า ร้อยละ 55.6 ระบุว่าพึงพอใจฯ อยู่ในระดับมาก – มากท่ีสุด ร้อยละ 41.8 ระบวุ า่ ปานกลาง และร้อยละ 2.6 ระบุว่านอ้ ย – น้อยที่สดุ 3.11 ความเชอ่ื มน่ั ต่อนโยบายรฐั บาลในการปอ้ งกัน ปราบปราม และบาํ บดั รักษาผเู้ สพ/ผตู้ ิดยาเสพติด ประชาชนให้คะแนนความเชื่อม่ันต่อนโยบายในการป้องกัน ปราบปราม และบําบัดรักษาผู้เสพ/ผู้ติดยาเสพ ติด อยู่ที่ 6.5 คะแนน จากคะแนนเต็ม 10 คะแนน และเม่ือพิจารณาถึงสัดส่วนของประชาชน พบว่า ร้อยละ 53.6 ระบุว่าเชอื่ ม่ันฯ ในระดบั มาก - มากท่ีสุด และร้อยละ 43.9 ระบุวา่ ปานกลาง ขณะท่รี อ้ ยละ 2.5 ระบุวา่ นอ้ ย – น้อยทสี่ ุด แผนภูมิ 17 ร้อยละและคะแนนเฉล่ียของประชาชน จําแนกตามระดับความเช่ือมั่นต่อนโยบายรัฐบาลในการป้องกัน ปราบปราม และบําบัดรักษาผเู้ สพ/ผู้ติดยาเสพตดิ สําหรับเหตุผลที่ประชาชนได้ให้คะแนนความเชื่อมั่นต่อนโยบายของรัฐบาลในการป้องกัน ปราบปราม และ บาํ บดั รักษาผ้เู สพ/ผตู้ ิดยาเสพตดิ นน้ั จาํ แนกเป็น 2 กลมุ่ ดังน้ี  ผู้ท่ีให้คะแนนความเชื่อม่ัน 5 – 10 คะแนน ซึ่งมีร้อยละ 97.5 ได้แสดงความคิดเห็นเกี่ยวกับเหตุผลท่ีทํา ให้เช่ือมั่นว่ามีการปราบปรามยาเสพติดอย่างจริงจังและต่อเนื่อง (ร้อยละ 47.9) มีการจับกุมผู้เสพ/ผู้ติดยาเสพติด เพ่ิมขึ้น (ร้อยละ 23.5) มีการตั้งจุดตรวจหรือจดุ สกัดเพ่ิมขึน้ (ร้อยละ 11.4) มีการปิดล้อม ตรวจค้น จับกุม ผู้ค้ายาเสพติด เพิ่มขึ้น (ร้อยละ 13.9) มีการควบคุมเจ้าหน้าท่ีรัฐท่ีเกี่ยวข้องกับยาเสพติดเพิ่มขึ้น (ร้อยละ 2.3) และอ่ืนๆ เช่น มีผู้เข้า รบั การบาํ บดั เพม่ิ ข้ึน การปราบปรามไมจ่ รงิ จงั /ไม่ตอ่ เน่ือง แก้ปญั หาไม่ตรงจุด เปน็ ตน้ (ร้อยละ 1.0)  ผู้ที่ให้คะแนนความเชื่อมั่น 0 – 4 คะแนน ซึ่งมีร้อยละ 2.5 ได้แสดงความคิดเห็นเก่ียวกับเหตุผลท่ีทําให้ เช่ือม่ันว่าการปราบปรามไม่จริงจัง/ไม่ต่อเน่ือง (ร้อยละ 1.1) ผู้ค้า ผู้เสพ/ผู้ติดยาเสพติดมีจํานวนมาก (ร้อยละ 1.0) และอน่ื ๆ เชน่ ผเู้ ขา้ รับการบาํ บัดออกมาแล้วกต็ ิดยาเหมอื นเดมิ แก้ปญั หาไม่ตรงจุด เปน็ ต้น (ร้อยละ 0.4)

15 แผนภมู ิ 18 รอ้ ยละของประชาชน จาํ แนกตามเหตผุ ลท่ีให้คะแนนความเช่อื ม่ันต่อนโยบายรัฐบาลในการปอ้ งกัน ปราบปราม และบําบดั รักษาผเู้ สพ/ผตู้ ิดยาเสพตดิ 3.12 ขอ้ เสนอแนะแนวทางการปอ้ งกัน ปราบปราม และบําบัดรกั ษาผ้เู สพ/ผูต้ ิดยาเสพติด รวมถึงการตดิ ตาม ช่วยเหลือผู้ผ่านการบําบัดรักษาหรือผู้ตอ้ งขังในคดียาเสพติดทพ่ี น้ โทษออกมาในชุมชน/หมู่บ้าน ประชาชนร้อยละ 79.0 ได้แสดงความคิดเห็นเก่ียวกับข้อเสนอแนะแนวทางในการป้องกัน ปราบปราม และ บําบัดรกั ษาผเู้ สพ/ผูต้ ดิ ยาเสพติด รวมถงึ การติดตาม ชว่ ยเหลอื ผผู้ า่ นการบําบัดรกั ษาหรอื ผตู้ ้องขังในคดยี าเสพติดท่ีพ้น โทษออกมาในชุมชน/หมู่บ้าน ใน 3 อันดับแรก คือ การใช้กฎหมายลงโทษผู้ท่ีเกี่ยวข้องกับยาเสพติดอย่างเด็ดขาด (ร้อยละ 38.6) การปราบปรามยาเสพติดอย่างจริงจังและต่อเน่ือง (ร้อยละ 37.3) และปลูกฝังภายในครอบครัว/ สอดส่องดแู ล (ร้อยละ 15.7) แผนภูมิ 19 รอ้ ยละของประชาชน จาํ แนกตามขอ้ เสนอแนะแนวทางการปอ้ งกัน ปราบปราม และบาํ บัดรักษา ผเู้ สพ/ผตู้ ดิ ยาเสพติด รวมถึงการตดิ ตามชว่ ยเหลือผผู้ ่านการบําบดั รกั ษาหรอื ผู้ต้องขังในคดี ยาเสพติดท่ีพน้ โทษออกมาในชมุ ชน/หม่บู า้ น



ตารางสถติ ิ



สารบัญตารางสถติ ิ หน้า ตาราง 1 ร้อยละของประชาชนผ้ตู อบสัมภาษณ์ จาํ แนกตามสถานะทางสังคม 21 ตาราง 2 รอ้ ยละของประชาชน จาํ แนกตามการพบเหน็ ปญั หายาเสพตดิ ในชุมชน/หมู่บา้ น 22 ตาราง 3 ร้อยละของประชาชนทพ่ี บเหน็ /ทราบวา่ มีปัญหายาเสพติดในชุมชน/หม่บู า้ น จาํ แนกตาม 23 ความคิดเหน็ เกี่ยวกบั ปัญหายาเสพติดในชุมชน/หมบู่ ้านเม่อื เปรียบเทยี บกับชว่ งปลายปี 24 ท่ผี า่ นมา (ต.ค. 60) 25 ตาราง 4 รอ้ ยละของประชาชน จําแนกตามความคิดเหน็ เกยี่ วกบั การพบเหน็ การซอ้ื ขายยาเสพติด 26 ในชมุ ชน/หมบู่ ้าน 28 ตาราง 5 รอ้ ยละของประชาชน จําแนกตามความคิดเหน็ เกี่ยวกับการพบเห็นผูเ้ สพ/ผูต้ ดิ ยาเสพตดิ ทีย่ งั มี 30 พฤติการณก์ ารใชย้ าเสพติดในชมุ ชน/หมู่บา้ น 31 ตาราง 6 ร้อยละของประชาชนท่ีพบเห็น/ทราบว่ามปี ญั หายาเสพตดิ ในชมุ ชน/หมู่บ้าน จําแนกตาม 33 ความคดิ เห็นเกีย่ วกบั ชว่ งอายขุ องผูท้ ่เี กย่ี วขอ้ งกบั ปัญหายาเสพตดิ 34 ตาราง 7 รอ้ ยละของประชาชนทีพ่ บเหน็ /ทราบว่ามีปญั หายาเสพติดในชุมชน/หมบู่ า้ น จาํ แนกตาม 35 ความคิดเหน็ เกย่ี วกับอาชพี ของผ้ทู ่เี กีย่ วขอ้ งกับปัญหายาเสพตดิ 36 ตาราง 8 ร้อยละของประชาชนท่พี บเห็น/ทราบว่ามปี ญั หายาเสพติดในชุมชน/หมบู่ า้ น จาํ แนกตาม 37 ความคดิ เหน็ เกยี่ วกับการไดร้ บั ความเดือดร้อนจากปญั หายาเสพติดของคนในชุมชน/หมู่บา้ น 38 ตาราง 9 ร้อยละของประชาชนทพี่ บเห็น/ทราบวา่ มปี ญั หายาเสพติดในชุมชน/หมบู่ ้าน จําแนกตาม ความคดิ เห็นเกีย่ วกบั เร่ืองทไี่ ด้รับความเดือดรอ้ น 39 ตาราง 10 รอ้ ยละของประชาชน จําแนกตามความคดิ เหน็ เกี่ยวกับการทราบชอ่ งทางการแจ้งเบาะแส 40 หรอื ขอ้ มูลข่าวสารการกระทาํ ผิดเก่ยี วกบั ยาเสพติด ตาราง 11 รอ้ ยละของประชาชน จําแนกตามความคิดเหน็ เก่ียวกับชอ่ งทางทต่ี ้องการแจง้ เบาะแสหรอื ข้อมูล ขา่ วสารการกระทําผดิ เกยี่ วกบั ยาเสพติด ตาราง 12 รอ้ ยละของประชาชน จาํ แนกตามความคดิ เห็นเก่ียวกบั การแจ้งเบาะแสหรอื ข้อมูลข่าวสาร เมื่อพบเห็น ตาราง 12.1 ร้อยละของประชาชนทร่ี ะบุวา่ จะแจง้ เบาะแสหรอื ขอ้ มลู ขา่ วสารเมอื่ พบเห็นการกระทําผดิ เกยี่ วกับ ยาเสพติดจาํ แนกตามความคดิ เห็นเก่ยี วกบั เหตผุ ลทแี่ จง้ เบาะแสฯ ตาราง 12.2 ร้อยละของประชาชนที่ระบุวา่ ไมแ่ จง้ เบาะแสหรือข้อมลู ขา่ วสารเม่อื พบเห็นการกระทาํ ผิดเก่ยี วกับ ยาเสพติด จาํ แนกตามความคิดเหน็ เกี่ยวกบั เหตผุ ลทไ่ี ม่แจ้งเบาะแสฯ ตาราง 13 ร้อยละของประชาชน จาํ แนกตามความคิดเห็นเกยี่ วกบั การทราบว่าให้ผเู้ สพ/ผูต้ ดิ ยาเสพติด คอื ผ้ปู ว่ ย ตาราง 14 ร้อยละของประชาชน จาํ แนกตามความคิดเห็นเกี่ยวกบั การทราบว่าในปจั จบุ นั สถานทีบ่ าํ บดั รักษา ผู้เสพ/ผู้ตดิ ยาเสพติด นอกจากสถาบันธัญญารกั ษแ์ ลว้ สามารถเข้ารับการบําบัดรักษาได้ ในโรงพยาบาลของรัฐทกุ แห่ง ตาราง 15 รอ้ ยละของประชาชน จาํ แนกตามความคดิ เหน็ เกย่ี วกับการยอมรับหรอื ให้โอกาสผู้เลิกเสพ ยาเสพตดิ /ผู้ผา่ นการบาํ บดั รักษากลบั เข้าสู่ชมุ ชน/หมู่บา้ น

สารบญั ตารางสถิติ (ตอ่ ) หนา้ ตาราง 15.1 รอ้ ยละของประชาชนที่ยอมรบั หรือให้โอกาสผเู้ ลกิ เสพยาเสพตดิ /ผผู้ า่ นการบาํ บดั รกั ษากลบั เขา้ สู่ ชมุ ชน/หมู่บา้ นจําแนกตามความคิดเหน็ เก่ยี วกับเหตผุ ลทย่ี อมรับฯ 41 ตาราง 15.2 รอ้ ยละของประชาชนท่ไี มย่ อมรบั หรือไม่ใหโ้ อกาสผู้เลิกเสพยาเสพติด/ผผู้ ่านการบําบัดรักษา กลบั เขา้ สู่ชุมชน/หมู่บา้ น จําแนกตามความคิดเห็นเกี่ยวกับเหตผุ ลทย่ี อมรับฯ 42 ตาราง 16 ร้อยละของประชาชน จําแนกตามความคดิ เห็นเกยี่ วกับการยอมรับหรอื ใหโ้ อกาสผตู้ อ้ งขงั ในคดี ยาเสพตดิ ทพี่ ้นโทษออกมากลับเขา้ สชู่ มุ ชน/หมู่บ้าน 43 ตาราง 16.1 รอ้ ยละของประชาชนทยี่ อมรับหรือให้โอกาสผูต้ ้องขงั ในคดียาเสพตดิ ทีพ่ น้ โทษออกมากลบั เข้าสู่ ชมุ ชน/หมู่บ้านจําแนกตามความคิดเหน็ เกย่ี วกบั เหตุผลทย่ี อมรับหรือใหโ้ อกาสฯ 44 ตาราง 16.2 รอ้ ยละของประชาชนท่ีไม่ยอมรับหรอื ไมใ่ หโ้ อกาสผู้ต้องขงั ในคดียาเสพติดท่พี ้นโทษออกมากลับเขา้ สู่ ชุมชน/หมูบ่ ้าน จําแนกตามความคดิ เห็นเกีย่ วกบั เหตผุ ลทีไ่ ม่ยอมรับหรอื ไมใ่ ห้โอกาสฯ 45 ตาราง 17 ร้อยละและคะแนนเฉลย่ี ของประชาชน จาํ แนกตามระดับความพึงพอใจต่อผลการดาํ เนินงาน โดยรวมของรัฐบาล ในการป้องกนั ปราบปราม และบําบดั รกั ษาผ้เู สพ/ผู้ตดิ ยาเสพติด 46 ตาราง 18 ร้อยละและคะแนนเฉลย่ี ของประชาชน จาํ แนกตามระดับความพึงพอใจต่อผลการดาํ เนินงาน ด้านการปอ้ งกันปญั หายาเสพตดิ 47 ตาราง 19 รอ้ ยละและคะแนนเฉล่ียของประชาชน จําแนกตามระดบั ความพึงพอใจต่อผลการดาํ เนนิ งาน ดา้ นการปราบปรามยาเสพตดิ 48 ตาราง 20 รอ้ ยละและคะแนนเฉลยี่ ของประชาชน จาํ แนกตามระดบั ความพึงพอใจตอ่ ผลการดําเนินงาน ดา้ นการบําบดั รักษาผ้เู สพ/ผตู้ ดิ ยาเสพตดิ 49 ตาราง 21 ร้อยละและคะแนนเฉลี่ยของประชาชน จาํ แนกตามระดับความเช่อื มัน่ ตอ่ นโยบายรฐั บาลในการ ปอ้ งกัน ปราบปราม และบําบดั รกั ษาผู้เสพ/ผูต้ ดิ ยาเสพติด 50 ตาราง 22 รอ้ ยละของประชาชน จาํ แนกตามระดับคะแนนความเชือ่ มนั่ ต่อนโยบายรฐั บาลในการปอ้ งกนั ปราบปราม และบาํ บัดรักษาผเู้ สพ/ผูต้ ิดยาเสพติด 51 ตาราง 23 ร้อยละของประชาชนทใ่ี ห้ระดบั คะแนนความเชื่อมั่นตอ่ นโยบายรัฐบาลในการปอ้ งกนั ปราบปราม และบําบัดรกั ษา ผู้เสพ/ผตู้ ดิ ยาเสพติด 5-10 คะแนน จําแนกตามเหตุผลทีใ่ หค้ ะแนน 52 ตาราง 24 ร้อยละของประชาชนท่ใี หร้ ะดบั คะแนนความเชื่อม่นั ต่อนโยบายรัฐบาลในการปอ้ งกัน ปราบปราม และบําบดั รกั ษา ผู้เสพ/ผตู้ ดิ ยาเสพตดิ 1-4 คะแนน จําแนกตามเหตผุ ลท่ีใหค้ ะแนน 53 ตาราง 25 ร้อยละของประชาชน จาํ แนกตามขอ้ เสนอแนะแนวทางการปอ้ งกนั ปราบปราม และบําบดั รักษา ผู้เสพ/ผู้ตดิ ยาเสพติด รวมถึงการติดตามชว่ ยเหลอื ผ้ผู า่ นการบําบัดรักษาหรือผู้ตอ้ งขงั ในคดี ยาเสพตดิ ที่พ้นโทษออกมาในชุมชน/หมูบ่ า้ น 54

21 ร้อยละ ตาราง 1 ร้อยละของประชาชนผ้ตู อบสมั ภาษณ์ จาํ แนกตามสถานะทางสงั คม 100.0 สถานะทางสังคม 52.5 47.5 เพศ 100.0 ชาย 4.3 หญงิ 12.5 19.2 อายุ 25.5 18 - 19 ปี 28.6 20 - 29 ปี 9.9 30 - 39 ปี 100.0 40 - 49 ปี 0.4 50 - 59 ปี 53.2 60 ปีขน้ึ ไป 35.7 2.3 ระดับการศกึ ษา 3.1 ไมเ่ คยเรียน/ตํ่ากวา่ ประถมศกึ ษา 4.8 ประถมศกึ ษา 0.5 มัธยมศึกษา 100.0 ปวช. 10.7 ปวส./ปวท./อนุปริญญา 7.5 ปริญญาตรี 12.8 ปรญิ ญาโทหรอื สูงกวา่ 51.2 6.0 การทํางานในปัจจุบัน 2.5 ข้าราชการ พนักงาน ลกู จ้างของรฐั /พนักงานรฐั วสิ าหกิจ 0.6 พนกั งาน/ลกู จ้างเอกชน 4.4 ค้าขาย/ประกอบธรุ กิจสว่ นตวั 1.9 เกษตรกร 2.4 รับจา้ งทว่ั ไป 100.0 กรรมกร 10.1 ขบั รถรับจา้ ง 53.0 นักเรียน/นักศกึ ษา 19.1 ว่างงาน/ไม่มีงานทาํ 13.5 พอ่ บา้ น/แมบ่ า้ น 3.7 0.6 รายได้ของครัวเรือนเฉล่ียตอ่ เดอื น ตาํ่ กว่า 3,501 บาท 3,501 - 10,000 บาท 10,001 - 15,000 บาท 15,001 - 30,000 บาท 30,001 - 50,000 บาท มากกวา่ 50,000 บาท

22 ตาราง 2 รอ้ ยละของประชาชน จาํ แนกตามการพบเห็นปัญหายาเสพตดิ ในชมุ ชน/หมูบ่ ้าน ความคดิ เห็นเกยี่ วกับการพบเหน็ ปญั หายาเสพติด ในชุมชน/หม่บู า้ น สถานะทางสงั คม รวม พบเห็น ไม่พบเหน็ แต่ ไม่พบเห็นและไม่ ด้วยตนเอง ทราบวา่ มปี ญั หา ทราบว่ามปี ัญหา เพศ ชาย ยาเสพตดิ ยาเสพตดิ หญิง 100.0 6.0 35.8 58.2 อายุ 18 - 19 ปี 100.0 7.1 36.7 56.2 20 - 29 ปี 30 - 39 ปี 100.0 4.7 34.8 60.5 40 - 49 ปี 50 - 59 ปี 100.0 6.0 35.8 58.2 60 ปีข้ึนไป 100.0 2.9 26.5 70.6 ระดับการศึกษา ไม่เคยเรียน/ตาํ่ กว่าประถมศึกษา 100.0 3.0 40.0 57.0 ประถมศกึ ษา มัธยมศึกษา 100.0 5.9 43.5 50.6 ปวช. ปวส./ปวท./อนุปริญญา 100.0 6.4 40.2 53.4 ปรญิ ญาตรี ปรญิ ญาโทหรอื สูงกว่า 100.0 9.2 29.2 61.6 การทาํ งานในปจั จุบนั 100.0 1.2 26.6 72.2 ขา้ ราชการ พนักงาน ลกู จ้างของรฐั /พนกั งานรฐั วิสาหกจิ พนักงาน/ลูกจ้างเอกชน 100.0 6.0 35.8 58.2 คา้ ขาย/ประกอบธุรกจิ ส่วนตัว เกษตรกร 100.0 33.3 66.7 - รบั จ้างทว่ั ไป กรรมกร 100.0 5.4 28.2 66.4 ขับรถรับจา้ ง นักเรียน/นักศกึ ษา 100.0 6.3 43.4 50.3 ว่างงาน/ไม่มงี านทํา พอ่ บ้าน/แมบ่ า้ น 100.0 5.6 55.6 38.8 รายได้ของครวั เรือนเฉล่ยี ต่อเดือน 100.0 16.0 44.0 40.0 ต่ํากวา่ 3,501 บาท 3,501 - 10,000 บาท 100.0 2.6 42.1 55.3 10,001 - 15,000 บาท 15,001 - 30,000 บาท 100.0 - 75.0 25.0 30,001 - 50,000 บาท มากกวา่ 50,000 บาท 100.0 6.0 35.8 58.2 100.0 19.8 40.7 39.5 100.0 3.3 45.0 51.7 100.0 3.9 41.2 54.9 100.0 5.1 32.2 62.7 100.0 4.2 35.4 60.4 100.0 10.0 50.0 40.0 100.0 - 80.0 20.0 100.0 - 25.7 74.3 100.0 - 26.7 73.3 100.0 - 31.6 68.4 100.0 6.0 35.8 58.2 100.0 - 21.0 79.0 100.0 6.1 37.0 56.9 100.0 7.2 35.3 57.5 100.0 9.2 38.0 52.8 100.0 3.4 44.9 51.7 100.0 - 80.0 20.0

23 ตาราง 3 ร้อยละของประชาชนทพ่ี บเห็น/ทราบว่ามีปญั หายาเสพตดิ ในชุมชน/หมู่บ้าน จาํ แนกตามความคดิ เหน็ เกยี่ วกบั ปญั หายาเสพติดในชุมชน/หมบู่ ้านเมอ่ื เปรียบเทียบกับชว่ งปลายปีทผ่ี ่านมา (ต.ค. 60) สถานะทางสังคม ความคิดเหน็ เกยี่ วกบั ปัญหายาเสพตดิ ในชุมชน/หม่บู า้ น เม่ือเทียบกับช่วงปลายปที ่ผี า่ นมา (ต.ค. 60) เพศ ชาย รวม เพ่มิ ข้ึน ลดลง เหมอื นเดมิ ไมท่ ราบ/ไมแ่ นใ่ จ หญงิ 100.0 12.0 17.4 44.0 26.6 อายุ 100.0 10.9 19.6 45.1 24.4 18 - 19 ปี 100.0 13.3 14.7 42.7 29.3 20 - 29 ปี 100.0 12.0 17.4 44.0 26.6 30 - 39 ปี 100.0 - - 60.0 40.0 40 - 49 ปี 100.0 7.0 14.0 34.9 44.1 50 - 59 ปี 100.0 10.5 25.0 39.5 25.0 60 ปขี ึน้ ไป 100.0 20.0 14.7 41.1 24.2 100.0 9.1 17.0 54.6 19.3 ระดบั การศึกษา 100.0 9.1 18.2 40.9 31.8 ไมเ่ คยเรยี น/ตาํ่ กว่าประถมศกึ ษา 100.0 12.0 17.4 44.0 26.6 ประถมศกึ ษา 100.0 33.4 - 33.3 33.3 มธั ยมศกึ ษา 100.0 11.9 14.7 51.0 22.4 ปวช. 100.0 13.4 19.7 37.3 29.6 ปวส./ปวท./อนุปริญญา 100.0 - 36.4 36.4 27.2 ปรญิ ญาตรี 100.0 6.7 26.7 53.3 13.3 ปริญญาโทหรือสงู กว่า 100.0 11.7 5.9 41.2 41.2 100.0 - - 33.3 66.7 การทํางานในปจั จบุ นั 100.0 12.0 17.4 44.0 26.6 ขา้ ราชการ พนักงาน ลูกจ้างของรฐั /พนักงานรฐั วสิ าหกิจ 100.0 15.3 30.8 38.5 15.4 พนกั งาน/ลูกจา้ งเอกชน 100.0 3.4 24.1 41.5 31.0 คา้ ขาย/ประกอบธุรกิจส่วนตวั 100.0 19.6 15.2 39.1 26.1 เกษตรกร 100.0 11.8 13.7 51.6 22.9 รับจ้างท่วั ไป 100.0 5.2 15.8 31.6 47.4 กรรมกร 100.0 16.6 16.7 16.7 50.0 ขับรถรับจ้าง 100.0 - 50.0 25.0 25.0 นกั เรียน/นักศึกษา 100.0 - - 66.7 33.3 ว่างงาน/ไมม่ งี านทํา 100.0 25.0 - 25.0 50.0 พอ่ บา้ น/แม่บ้าน 100.0 - - 33.3 66.7 100.0 12.0 17.4 44.0 26.6 รายไดข้ องครัวเรือนเฉลย่ี ตอ่ เดอื น 100.0 5.9 5.9 52.9 35.3 ตํา่ กวา่ 3,501 บาท 100.0 13.1 17.0 41.5 28.4 3,501 - 10,000 บาท 100.0 12.3 24.6 44.6 18.5 10,001 - 15,000 บาท 100.0 7.8 11.8 58.8 21.6 15,001 - 30,000 บาท 100.0 14.3 28.6 21.4 35.7 30,001 - 50,000 บาท 100.0 25.0 - 75.0 มากกว่า 50,000 บาท -

24 ตาราง 4 รอ้ ยละของประชาชน จําแนกตามความคดิ เหน็ เก่ียวกบั การพบเหน็ การซอ้ื ขายยาเสพติดในชมุ ชน/หมูบ่ ้าน ความคิดเหน็ เกยี่ วกบั การพบเหน็ สถานะทางสังคม รวม การซื้อขายยาเสพติดในชุมชน/หม่บู ้าน เพศ 100.0 พบเหน็ การซอ้ื ไม่พบเหน็ แต่ทราบวา่ ไม่พบเหน็ และไม่ ขายยาเสพติดได้ มกี ารซ้ือขาย ทราบวา่ มีการซื้อ ขายยาเสพตดิ งา่ ย ยาเสพตดิ 77.2 2.8 20.0 ชาย 100.0 2.9 21.7 75.5 หญงิ 100.0 2.6 18.2 79.2 อายุ 100.0 2.8 20.0 77.2 18 - 19 ปี 100.0 2.9 17.6 79.4 20 - 29 ปี 100.0 2.0 15.0 83.0 30 - 39 ปี 100.0 2.6 23.4 74.0 40 - 49 ปี 100.0 2.9 23.5 73.5 50 - 59 ปี 100.0 3.9 20.5 75.5 60 ปขี ึน้ ไป 100.0 - 10.1 89.9 ระดับการศกึ ษา 100.0 2.8 20.0 77.2 ไมเ่ คยเรยี น/ตาํ่ กวา่ ประถมศึกษา 100.0 - 33.3 66.7 ประถมศกึ ษา 100.0 2.8 14.8 82.4 มัธยมศกึ ษา 100.0 2.8 23.8 73.4 ปวช. 100.0 - 22.2 77.8 ปวส./ปวท./อนุปรญิ ญา 100.0 8.0 40.0 52.0 ปรญิ ญาตรี 100.0 - 34.2 65.8 ปรญิ ญาโทหรอื สูงกวา่ 100.0 - 25.0 75.0 การทาํ งานในปัจจบุ ัน 100.0 2.8 20.0 77.2 ขา้ ราชการ พนักงาน ลกู จา้ งของรัฐ/พนกั งานรฐั วสิ าหกจิ 100.0 3.5 37.2 59.3 พนกั งาน/ลกู จ้างเอกชน 100.0 3.3 18.3 78.3 คา้ ขาย/ประกอบธรุ กิจส่วนตัว 100.0 - 26.5 73.5 เกษตรกร 100.0 3.4 16.3 80.2 รบั จ้างทว่ั ไป 100.0 2.1 20.8 77.1 กรรมกร 100.0 5.0 15.0 80.0 ขบั รถรบั จ้าง 100.0 - 60.0 40.0 นักเรียน/นักศึกษา 100.0 - 14.3 85.7 วา่ งงาน/ไมม่ ีงานทํา 100.0 6.7 13.3 80.0 พ่อบ้าน/แมบ่ า้ น 100.0 - - 100.0 รายไดข้ องครวั เรือนเฉลย่ี ต่อเดือน 100.0 2.8 20.0 77.2 ตํา่ กว่า 3,501 บาท 100.0 1.2 21.0 77.8 3,501 - 10,000 บาท 100.0 3.3 21.9 74.8 10,001 - 15,000 บาท 100.0 4.6 18.3 77.1 15,001 - 30,000 บาท 100.0 - 14.8 85.2 30,001 - 50,000 บาท 100.0 - 13.8 86.2 มากกว่า 50,000 บาท 100.0 - 40.0 60.0

25 ตาราง 5 ร้อยละของประชาชน จําแนกตามความคิดเห็นเกีย่ วกบั การพบเห็นผเู้ สพ/ผู้ตดิ ยาเสพติดท่ียังมีพฤตกิ ารณก์ ารใช้ ยาเสพติดในชุมชน/หมูบ่ ้าน สถานะทางสังคม ความคิดเห็นเกี่ยวกบั การพบเห็นผูเ้ สพ/ผูต้ ดิ ยาเสพตดิ ท่ียงั มีพฤติการณ์การใช้ยาเสพติด รวม ในชมุ ชน/หมูบ่ ้าน พบเห็นดว้ ย ไม่พบเหน็ แตท่ ราบวา่ ไมพ่ บเห็นและไม่ทราบวา่ ตนเอง มผี เู้ สพ/ผตู้ ิดยาเสพตดิ มีผเู้ สพ/ผ้ตู ดิ ยาเสพติด เพศ 100.0 5.1 35.8 59.1 ชาย 100.0 6.2 36.7 57.1 หญิง 100.0 3.9 34.7 61.3 อายุ 100.0 5.1 35.8 59.1 18 - 19 ปี 100.0 2.9 29.4 67.6 20 - 29 ปี 100.0 4.0 33.0 63.0 30 - 39 ปี 100.0 5.2 40.9 63.9 40 - 49 ปี 100.0 5.4 41.2 53.4 50 - 59 ปี 100.0 7.0 33.2 59.8 60 ปขี ้ึนไป 100.0 1.3 25.3 73.4 ระดบั การศึกษา 100.0 5.1 35.8 59.1 ไมเ่ คยเรียน/ตํา่ กวา่ ประถมศกึ ษา 100.0 33.3 66.7 - ประถมศกึ ษา 100.0 4.5 29.1 66.4 มัธยมศกึ ษา 100.0 5.2 41.6 53.1 ปวช. 100.0 - 61.1 38.9 ปวส./ปวท./อนปุ รญิ ญา 100.0 16.0 52.0 32.0 ปรญิ ญาตรี 100.0 5.3 36.8 57.9 ปริญญาโทหรอื สงู กวา่ 100.0 - 75.0 25.0 การทํางานในปัจจุบนั 100.0 5.1 35.8 59.1 ขา้ ราชการ พนกั งาน ลูกจ้างของรฐั /พนกั งานรัฐวสิ าหกจิ 100.0 12.8 48.8 38.4 พนกั งาน/ลกู จ้างเอกชน 100.0 5.0 46.7 48.3 ค้าขาย/ประกอบธุรกิจสว่ นตัว 100.0 2.0 39.2 58.8 เกษตรกร 100.0 5.4 30.5 64.1 รับจา้ งท่ัวไป 100.0 2.1 37.5 60.4 กรรมกร 100.0 5.0 50.0 45.0 ขบั รถรบั จ้าง 100.0 - 80.0 20.0 นักเรียน/นักศกึ ษา 100.0 - 28.6 71.4 วา่ งงาน/ไม่มีงานทาํ 100.0 6.7 26.7 66.7 พอ่ บา้ น/แม่บ้าน 100.0 - 26.3 73.7 รายไดข้ องครวั เรอื นเฉลี่ยต่อเดอื น 100.0 5.1 35.8 59.1 ต่าํ กว่า 3,501 บาท 100.0 1.2 25.9 72.8 3,501 - 10,000 บาท 100.0 5.4 37.0 57.5 10,001 - 15,000 บาท 100.0 5.2 36.6 58.2 15,001 - 30,000 บาท 100.0 7.4 35.2 57.4 30,001 - 50,000 บาท 100.0 3.4 37.9 58.6 มากกวา่ 50,000 บาท 100.0 - 60.0 40.0

ตาราง 6 ร้อยละของประชาชนทพ่ี บเหน็ /ทราบว่ามปี ญั หายาเสพตดิ ในชุมชน/หมู่บ้าน จาํ แนกตามความคิดเหน็ เกย่ี วกบั ชว่ งอายุของผู้ทีเ่ กี่ยวข้องกบั ปัญหายาเสพตดิ สถานะทางสังคม รวม ผู้ท่ีแสดง ความคดิ เหน็ เกี่ยวกบั ชว่ งอายุของผู้ทเ่ี กีย่ วขอ้ งกบั ปัญหายาเสพติด1/ ผทู้ ไ่ี ม่แสดง เพศ ความคดิ เหน็ ตาํ่ กว่า 15 ปี 15 - 19 ปี 20 - 24 ปี 25 - 29 ปี 30 - 34 ปี 35 - 39 ปี มากกว่า 39 ปขี ้นึ ไป ความคิดเหน็ ชาย หญิง 100.0 88.6 8.4 75.0 62.2 33.8 7.9 2.0 2.0 11.4 1.5 10.9 อายุ 100.0 89.1 8.5 74.4 65.9 33.5 17.7 0.6 2.4 12.0 18 - 19 ปี 2.0 11.4 20 - 29 ปี 100.0 88.0 8.3 75.8 57.6 34.1 18.2 3.8 - 20.0 30 - 39 ปี - 14.0 40 - 49 ปี 100.0 88.6 8.4 75.0 62.2 33.8 7.9 2.0 1.4 9.2 50 - 59 ปี 2.4 13.7 60 ปขี ึน้ ไป 100.0 80.0 - 75.0 50.0 25.0 25.0 - 1.3 9.1 10.0 9.1 ระดบั การศกึ ษา 100.0 86.0 13.5 73.0 64.9 35.1 16.2 5.4 2.0 11.4 ไมเ่ คยเรียน/ตํา่ กว่าประถมศกึ ษา 33.3 ประถมศกึ ษา 100.0 90.8 7.2 73.9 59.4 46.4 18.8 1.4 3.1 - มธั ยมศึกษา - 8.4 ปวช. 100.0 86.3 7.3 75.6 65.9 29.3 17.1 2.4 - 14.1 ปวส./ปวท./อนปุ ริญญา 7.1 18.2 ปรญิ ญาตรี 100.0 90.9 8.8 75.0 57.5 28.8 17.5 1.3 - 6.7 26 ปริญญาโทหรอื สูงกว่า - 17.6 100.0 90.9 10.0 80.0 75.0 30.0 20.0 - - 100.0 88.6 8.4 75.0 62.2 33.8 7.9 2.0 100.0 100.0 - 66.7 33.3 - 33.3 - 100.0 91.6 7.6 75.6 63.4 29.8 14.5 2.3 100.0 85.9 10.7 76.2 57.4 37.7 20.5 0.8 100.0 81.8 - 66.7 66.7 44.4 33.3 11.1 100.0 93.3 7.1 78.6 78.6 28.6 14.3 - 100.0 82.4 - 64.3 85.7 35.7 21.4 7.1 100.0 100.0 33.3 66.7 33.3 66.7 - - หมายเหต:ุ 1/ ตอบไดม้ ากกว่า 1 คําตอบ

ตาราง 6 ร้อยละของประชาชนที่พบเหน็ /ทราบว่ามปี ญั หายาเสพตดิ ในชมุ ชน/หม่บู า้ น จําแนกตามความคดิ เหน็ เก่ยี วกับชว่ งอายขุ องผ้ทู ่ีเก่ียวข้องกบั ปญั หายาเสพตดิ (ต่อ) สถานะทางสงั คม รวม ผทู้ แี่ สดง ความคิดเห็นเก่ยี วกบั ชว่ งอายุของผูท้ ่เี ก่ยี วขอ้ งกับปัญหายาเสพติด1/ ผ้ทู ไี่ ม่แสดง การทํางานในปจั จบุ ัน ความคิดเหน็ ตาํ่ กว่า 15 ปี 15 - 19 ปี 20 - 24 ปี 25 - 29 ปี 30 - 34 ปี 35 - 39 ปี มากกว่า 39 ปขี ้นึ ไป ความคิดเหน็ ขา้ ราชการ พนกั งาน ลูกจ้างของรัฐ/พนักงานรฐั วิสาหกจิ พนกั งาน/ลูกจา้ งเอกชน 100.0 88.6 8.4 75.0 62.2 33.8 7.9 2.0 2.0 11.4 ค้าขาย/ประกอบธรุ กิจส่วนตวั 3.8 3.8 เกษตรกร 100.0 96.2 9.6 59.6 23.1 1.9 1.9 - 13.8 13.8 รับจ้างทัว่ ไป 13.0 13.0 กรรมกร 100.0 86.2 6.9 55.2 17.2 6.9 - - 13.1 13.1 ขับรถรบั จา้ ง 15.8 15.8 นกั เรียน/นกั ศกึ ษา 100.0 87.0 4.3 63.0 15.2 4.3 - - 8.3 8.3 วา่ งงาน/ไม่มีงานทาํ - - พ่อบา้ น/แมบ่ ้าน 100.0 86.9 7.2 57.5 15.0 6.5 - 0.7 22.2 22.2 27 - - รายได้ของครวั เรือนเฉลย่ี ตอ่ เดอื น 100.0 84.2 10.5 42.1 31.6 - - - - - ตาํ่ กว่า 3,501 บาท 2.0 11.4 3,501 - 10,000 บาท 100.0 91.7 8.3 41.7 25.0 8.3 8.3 30.0 17.6 17.6 10,001 - 15,000 บาท 15.3 15.3 15,001 - 30,000 บาท 100.0 100.0 - 50.0 50.0 - - - 3.1 3.1 30,001 - 50,000 บาท 9.8 9.8 มากกว่า 50,000 บาท 100.0 77.8 - 44.4 11.1 - 22.2 - - - - - 100.0 100.0 25.0 75.0 - - - - 100.0 100.0 16.7 83.3 - - - - 100.0 88.6 8.4 75.0 62.2 33.8 7.9 2.0 100.0 82.4 5.9 58.8 11.8 - 5.9 - 100.0 84.7 8.7 52.5 15.3 7.1 1.1 - 100.0 96.9 7.7 58.5 26.2 3.1 1.5 - 100.0 90.2 2.0 66.7 17.6 2.0 - 2.0 100.0 100.0 14.3 64.3 21.4 - - - 100.0 100.0 - 100.0 - - - - หมายเหตุ: 1/ ตอบได้มากกว่า 1 คําตอบ

ตาราง 7 รอ้ ยละของประชาชนทพี่ บเห็น/ทราบวา่ มปี ัญหายาเสพตดิ ในชมุ ชน/หมบู่ า้ น จาํ แนกตามความคดิ เหน็ เก่ียวกบั อาชพี ของผ้ทู ่เี ก่ยี วขอ้ งกับปัญหายาเสพตดิ ผู้ท่แี สดง ความคิดเหน็ เกยี่ วกบั อาชีพของผ้ทู เี่ กีย่ วข้องกบั ปัญหายาเสพติด1/ ความคิดเหน็ เจ้าหน้าท่ี ผ้ทู ไ่ี ม่แสดง สถานะทางสงั คม รวม พนักงาน/ คา้ ขาย/ เกตรกร รับจ้าง กรรมกร ขับรถ นกั เรียน/ วา่ งงาน/ ความคิดเหน็ ของรฐั ลูกจา้ ง ประกอบ ทัว่ ไป รบั จ้าง นักศึกษา ไม่มีงานทํา เพศ เอกชน ธุรกิจส่วนตวั ชาย หญงิ 100.0 90.1 6.3 3.0 0.7 11.0 36.5 15.0 1.0 40.2 75.4 9.9 อายุ 100.0 89.7 5.5 3.6 - 10.9 37.6 14.5 1.2 37.6 75.8 10.3 18 - 19 ปี 20 - 29 ปี 100.0 90.7 7.4 2.2 1.5 11.0 35.3 15.4 0.7 43.4 75.0 9.3 30 - 39 ปี 40 - 49 ปี 100.0 90.1 6.3 3.0 0.7 11.0 36.5 15.0 1.0 40.2 75.4 9.9 50 - 59 ปี 60 ปีข้นึ ไป 100.0 90.0 11.1 11.1 - 11.1 33.3 11.1 - 22.2 66.7 10.0 ระดับการศึกษา 100.0 83.7 5.6 5.6 2.8 2.8 27.8 25.0 - 50.0 77.8 16.3 ไม่เคยเรยี น/ต่าํ กว่าประถมศกึ ษา ประถมศกึ ษา 100.0 89.5 4.4 - - 8.8 30.8 13.2 1.5 39.7 79.4 10.5 มธั ยมศึกษา ปวช. 100.0 90.5 5.8 2.4 1.2 11.6 38.4 9.3 1.2 39.5 76.7 9.5 28 ปวส./ปวท./อนปุ รญิ ญา ปริญญาตรี 100.0 90.9 10.0 3.8 - 17.5 45.0 16.3 1.3 35.0 67.5 9.1 ปริญญาโทหรือสงู กวา่ 100.0 100.0 - 4.5 - 4.5 31.8 22.7 - 54.5 86.4 - 100.0 90.1 6.3 3.0 0.7 11.0 36.5 15.0 1.0 40.2 75.4 9.9 100.0 100.0 - - - - 33.3 33.3 - 66.7 33.3 - 100.0 93.7 7.5 3.0 0.7 14.2 38.1 15.7 0.7 37.3 74.6 6.3 100.0 87.3 4.8 2.4 - 8.9 33.1 12.1 1.6 41.9 74.2 12.7 100.0 81.8 - - - - 33.3 33.3 - 55.6 100.0 18.2 100.0 93.3 14.3 7.1 - 14.3 57.1 21.4 - 28.6 85.7 6.7 100.0 82.4 7.1 7.1 7.1 - 35.7 14.3 - 42.9 78.6 17.6 100.0 100.0 - - - 33.3 33.3 - - 66.7 66.7 - หมายเหต:ุ 1/ ตอบไดม้ ากกว่า 1 คําตอบ

ตาราง 7 รอ้ ยละของประชาชนที่พบเห็น/ทราบวา่ มปี ญั หายาเสพตดิ ในชมุ ชน/หมบู่ ้าน จาํ แนกตามความคิดเหน็ เกีย่ วกบั อาชพี ของผ้ทู ่ีเกี่ยวข้องกบั ปัญหายาเสพติด (ต่อ) ความคิดเห็นเกี่ยวกบั อาชีพของผทู้ เ่ี กย่ี วขอ้ งกับปัญหายาเสพตดิ 1/ ผูท้ แี่ สดง ผทู้ ่ไี ม่แสดง สถานะทางสังคม รวม ความคดิ เหน็ เจา้ หน้าท่ี พนกั งาน/ ค้าขาย/ เกตรกร รับจา้ ง กรรมกร ขับรถ นกั เรยี น/ วา่ งงาน/ ความคิดเหน็ ลูกจ้าง ประกอบ ทัว่ ไป รบั จา้ ง นกั ศกึ ษา ไมม่ ีงานทาํ ของรฐั เอกชน ธรุ กจิ ส่วนตวั การทํางานในปจั จุบนั 100.0 90.1 6.3 3.0 0.7 11.0 36.5 15.0 1.0 40.2 75.4 9.9 ขา้ ราชการ พนกั งาน ลูกจา้ งของรฐั /พนักงานรัฐวิสาหกิจ 100.0 98.1 3.9 - - 13.7 49.0 9.8 2.0 23.5 70.6 1.9 พนกั งาน/ลูกจ้างเอกชน 100.0 89.7 7.7 3.8 - 7.7 46.1 38.5 - 50.0 80.8 10.3 คา้ ขาย/ประกอบธรุ กิจส่วนตัว 100.0 82.6 2.6 5.3 2.6 5.3 31.6 15.8 - 50.0 84.2 17.4 เกษตรกร 100.0 89.5 8.8 3.6 0.7 13.9 34.3 11.7 0.7 39.4 74.5 10.5 29 รบั จ้างทว่ั ไป 100.0 84.2 6.3 6.3 - 6.3 25.1 12.5 - 56.3 81.3 15.8 กรรมกร 100.0 91.7 9.1 - - 18.2 54.6 36.4 9.1 36.4 72.7 8.3 ขับรถรับจ้าง 100.0 100.0 - - - - 25.0 - - 25.0 75.0 - นักเรยี น/นักศึกษา 100.0 88.9 - - - - 25.0 12.5 - 37.5 62.5 11.1 วา่ งงาน/ไม่มีงานทํา 100.0 100.0 - - - - - - - 50.0 75.0 - พอ่ บ้าน/แม่บา้ น 100.0 100.0 - - - - 16.7 16.7 - 66.7 66.7 - รายไดข้ องครวั เรอื นเฉล่ยี ต่อเดอื น 100.0 90.1 6.3 3.0 0.7 11.0 36.5 15.0 1.0 40.2 75.4 9.9 ตํ่ากวา่ 3,501 บาท 100.0 100.0 - - - 11.8 11.8 - 5.9 52.9 88.2 - 3,501 - 10,000 บาท 100.0 87.4 7.5 2.5 0.6 11.9 33.2 13.1 - 42.5 69.4 12.6 10,001 - 15,000 บาท 100.0 93.8 9.8 4.9 - 13.1 39.4 19.7 1.6 34.4 78.7 6.2 15,001 - 30,000 บาท 100.0 88.2 2.2 4.4 2.2 6.7 46.7 17.8 2.2 31.1 86.7 11.8 30,001 - 50,000 บาท 100.0 100.0 - - - 7.1 50.0 28.6 - 50.0 78.6 - มากกว่า 50,000 บาท 100.0 100.0 - - - - 75.0 - - 50.0 75.0 - หมายเหต:ุ 1/ ตอบไดม้ ากกวา่ 1 คําตอบ

30 ตาราง 8 ร้อยละของประชาชนทีพ่ บเหน็ /ทราบวา่ มปี ัญหายาเสพติดในชุมชน/หมบู่ ้าน จําแนกตามความคิดเห็นเกีย่ วกบั การไดร้ บั ความเดือดร้อนจากปญั หายาเสพติดของคนในชมุ ชน/หมู่บา้ น ความคดิ เห็นเก่ียวกับการได้รบั ความเดอื ดรอ้ น จากปัญหายาเสพติดของคนในชมุ ชน/หม่บู ้าน สถานะทางสงั คม รวม ได้รบั ความ การประสบปญั หาความเดือดร้อน ไมไ่ ด้รบั ไม่ทราบ/ เดือนร้อน จากปัญหายาเสพติด ความ ไม่แน่ใจ ของสมาชิกในครัวเรือน เดือดรอ้ น ประสบปัญหา ไม่ประสบปญั หา เพศ 100.0 34.4 14.7 19.7 58.1 7.5 ชาย 100.0 34.2 14.7 19.5 57.1 8.7 หญงิ 100.0 34.7 14.7 20.0 59.3 6.0 อายุ 100.0 34.4 14.7 19.7 58.1 7.5 18 - 19 ปี 100.0 60.0 20.0 40.0 30.0 10.0 20 - 29 ปี 100.0 32.6 9.3 23.3 53.5 14.0 30 - 39 ปี 100.0 32.9 13.2 19.7 60.5 6.6 40 - 49 ปี 100.0 33.7 9.5 24.2 58.9 7.4 50 - 59 ปี 100.0 37.5 23.9 13.6 55.7 6.8 60 ปีขึ้นไป 100.0 22.7 13.6 9.1 77.3 - ระดบั การศกึ ษา 100.0 34.4 14.7 19.7 58.1 7.5 ไม่เคยเรียน/ตาํ่ กว่าประถมศึกษา 100.0 66.7 - 66.7 33.3 - ประถมศึกษา 100.0 30.8 18.9 11.9 58.7 10.5 มธั ยมศกึ ษา 100.0 31.7 10.6 21.1 62.0 6.3 ปวช. 100.0 54.5 9.1 45.4 45.5 - ปวส./ปวท./อนปุ รญิ ญา 100.0 60.0 40.0 20.0 40.0 - ปริญญาตรี 100.0 47.1 - 47.1 47.1 5.9 ปรญิ ญาโทหรือสูงกว่า 100.0 33.3 - 33.3 66.7 - การทาํ งานในปัจจบุ นั 100.0 34.4 14.7 19.7 58.1 7.5 ขา้ ราชการ พนกั งาน ลูกจา้ งของรัฐ/พนักงานรัฐวิสาหกจิ 100.0 55.8 26.9 28.9 44.2 - พนกั งาน/ลูกจา้ งเอกชน 100.0 31.0 10.3 20.7 58.6 10.3 คา้ ขาย/ประกอบธรุ กิจส่วนตวั 100.0 32.6 10.9 21.7 65.2 2.2 เกษตรกร 100.0 29.4 13.1 16.3 58.8 11.8 รับจา้ งทั่วไป 100.0 15.8 5.3 10.5 78.9 5.3 กรรมกร 100.0 25.0 16.7 8.3 66.7 8.3 ขับรถรับจา้ ง 100.0 75.0 50.0 25.0 25.0 - นกั เรียน/นกั ศึกษา 100.0 66.7 11.1 55.6 22.2 11.1 วา่ งงาน/ไม่มงี านทาํ 100.0 25.0 25.0 - 75.0 - พ่อบา้ น/แม่บ้าน 100.0 16.7 - 16.7 83.3 - รายไดข้ องครวั เรอื นเฉลี่ยตอ่ เดือน 100.0 34.4 14.7 19.7 58.1 7.5 ต่ํากวา่ 3,501 บาท 100.0 41.2 11.8 29.4 58.8 - 3,501 - 10,000 บาท 100.0 29.0 10.9 18.1 63.4 7.7 10,001 - 15,000 บาท 100.0 35.4 18.5 16.9 53.8 10.8 15,001 - 30,000 บาท 100.0 45.1 21.6 23.5 47.1 7.8 30,001 - 50,000 บาท 100.0 42.9 28.6 14.3 57.1 - มากกว่า 50,000 บาท 100.0 75.0 - 75.0 25.0 -

ตาราง 9 รอ้ ยละของประชาชนทีพ่ บเหน็ /ทราบว่ามีปญั หายาเสพติดในชมุ ชน/หมู่บา้ น จาํ แนกตามความคิดเห็นเกีย่ วกบั เรอื่ งที่ได้รบั ความเดอื ดร้อน สถานะทางสงั คม ความคิดเห็นเก่ียวกับเรือ่ งท่ไี ด้รับความเดอื ดร้อน1/ เพศ การกระทําผดิ การกระทาํ ผดิ การกระทาํ ผดิ แกง็ ค์ ฆาตกรรม ทะเลาะววิ าท เสยี งดังก่อ ประสาทหลอน 31 ชาย เกี่ยวกบั ทรพั ย์ เกีย่ วกับรา่ งกาย เกย่ี วกับเพศ มอเตอร์ไซค์ซง่ึ ความรําคาญ คลุ้มคลง่ั หญงิ 0.9 34.8 32.0 4.3 1.7 42.6 - 38.1 27.8 1.7 อายุ 28.6 6.3 3.2 47.6 1.9 30.8 25.4 3.2 18 - 19 ปี 36.5 1.9 - 36.5 0.9 34.8 30.8 - 20 - 29 ปี 32.0 4.3 1.7 42.6 - 33.3 27.8 1.7 30 - 39 ปี 16.7 - - 50.0 - 35.7 40 - 49 ปี 14.3 - - 42.9 4.0 20.0 -- 50 - 59 ปี 32.0 4.0 - 48.0 - 31.3 42.9 - 60 ปขี น้ึ ไป 37.5 9.4 3.1 31.3 - 48.5 24.0 4.0 39.4 3.0 - 45.5 - 20.0 31.3 3.1 ระดับการศึกษา 20.0 - 20.0 60.0 0.9 34.8 24.2 - ไมเ่ คยเรียน/ตา่ํ กวา่ ประถมศกึ ษา 32.0 4.3 1.7 42.6 - ประถมศึกษา 50.0 - - - - -- มธั ยมศึกษา 45.5 4.5 - - - 45.5 27.8 1.7 ปวช. 24.4 4.4 - 45.5 - 28.9 50.0 - ปวส./ปวท./อนุปริญญา 16.7 16.7 - 44.4 - 33.3 18.2 - ปรญิ ญาตรี 22.2 - - 16.7 12.5 44.4 37.8 2.2 ปริญญาโทหรือสงู กว่า 25.0 - 25.0 66.7 - 12.5 33.3 - - - 25.0 11.1 11.1 - - 25.0 - - 100.0 - หมายเหตุ: 1/ ตอบได้มากกว่า 1 คําตอบ

ตาราง 9 ร้อยละของประชาชนที่พบเหน็ /ทราบวา่ มีปัญหายาเสพติดในชมุ ชน/หมู่บา้ น จําแนกตามความคิดเห็นเกย่ี วกับเรอื่ งท่ไี ดร้ ับความเดอื ดรอ้ น (ตอ่ ) สถานะทางสังคม ความคิดเห็นเกีย่ วกับเรอื่ งทไ่ี ด้รับความเดือดรอ้ น1/ การทาํ งานในปัจจุบนั การกระทาํ ผิด การกระทําผิด การกระทาํ ผิด แก็งค์ ฆาตกรรม ทะเลาะววิ าท เสยี งดงั ก่อ ประสาทหลอน 32 ขา้ ราชการ พนักงาน ลูกจา้ งของรฐั /พนกั งานรัฐวิสาหกจิ เกีย่ วกบั ทรัพย์ เก่ียวกับรา่ งกาย เกย่ี วกับเพศ มอเตอรไ์ ซคซ์ ่งึ ความราํ คาญ คลมุ้ คล่ัง พนกั งาน/ลกู จา้ งเอกชน 0.9 34.8 ค้าขาย/ประกอบธุรกิจสว่ นตัว 32.0 4.3 1.7 42.6 3.4 37.9 27.8 1.7 เกษตรกร 31.0 3.4 3.4 48.3 - 55.6 24.1 6.9 รับจา้ งทัว่ ไป 11.1 - - 55.6 - 13.3 33.3 - กรรมกร 20.0 6.7 - 53.3 - 31.1 33.3 - ขับรถรับจา้ ง 48.9 6.7 - 28.9 - 33.3 28.9 - นักเรียน/นกั ศกึ ษา 33.3. - - 33.3 - 100.0 66.7 - วา่ งงาน/ไม่มีงานทาํ 33.3 - - 66.7 - 33.3 พ่อบา้ น/แมบ่ า้ น - - 66.7 - 33.3 -- - - - 66.7 - 100.0 -- รายไดข้ องครวั เรือนเฉลี่ยต่อเดือน - - - - 33.3 - ตาํ่ กว่า 3,501 บาท - - 100.0 - 0.9 - -- 3,501 - 10,000 บาท - 4.3 1.7 - - 34.8 -- 10,001 - 15,000 บาท 32.0 - - 42.6 - 14.3 27.8 1.7 15,001 - 30,000 บาท 28.6 3.8 - 42.9 - 28.3 14.3 - 30,001 - 50,000 บาท 45.3 4.3 - 37.7 - 47.8 37.7 1.9 มากกวา่ 50,000 บาท 30.4 8.7 4.3 52.2 16.7 39.1 17.4 - 13.0 - - 43.5 - 50.0 17.4 - - - 33.3 66.7 33.3 16.7 - 33.3 - 66.7 33.3 หมายเหต:ุ 1/ ตอบไดม้ ากกวา่ 1 คําตอบ

33 ตาราง 10 ร้อยละของประชาชน จาํ แนกตามความคดิ เหน็ เกี่ยวกบั การทราบชอ่ งทางการแจ้งเบาะแสหรือข้อมูลข่าวสาร การกระทําผดิ เก่ยี วกับยาเสพติด สถานะทางสังคม รวม ความคดิ เห็นเกย่ี วกับการทราบชอ่ งทาง การแจ้งเบาะแสหรือขอ้ มลู ข่าวสาร เพศ 100.0 การกระทําผดิ เกี่ยวกบั ยาเสพตดิ ชาย 100.0 หญงิ 100.0 ทราบ ไมท่ ราบ 100.0 83.1 16.9 อายุ 100.0 84.3 15.7 18 - 19 ปี 100.0 81.8 18.2 20 - 29 ปี 100.0 83.1 16.9 30 - 39 ปี 100.0 79.4 20.6 40 - 49 ปี 100.0 77.0 23.0 50 - 59 ปี 100.0 87.7 12.3 60 ปีขึน้ ไป 100.0 85.3 14.7 100.0 85.6 14.4 ระดบั การศึกษา 100.0 70.9 29.1 ไม่เคยเรยี น/ต่ํากวา่ ประถมศกึ ษา 100.0 83.1 16.9 ประถมศึกษา 100.0 66.7 33.3 มัธยมศึกษา 100.0 81.0 19.0 ปวช. 100.0 84.6 15.4 ปวส./ปวท./อนุปรญิ ญา 100.0 88.9 11.1 ปรญิ ญาตรี 100.0 84.0 16.0 ปริญญาโทหรอื สงู กว่า 100.0 92.1 7.9 100.0 100.0 - การทาํ งานในปัจจบุ ัน 100.0 83.1 16.9 ข้าราชการ พนักงาน ลกู จ้างของรฐั /พนกั งานรัฐวิสาหกจิ 100.0 98.8 1.2 พนกั งาน/ลูกจ้างเอกชน 100.0 93.3 6.7 คา้ ขาย/ประกอบธรุ กิจส่วนตวั 100.0 87.3 12.7 เกษตรกร 100.0 78.5 21.5 รบั จ้างทั่วไป 100.0 91.7 8.3 กรรมกร 100.0 85.0 15.0 ขับรถรบั จ้าง 100.0 100.0 - นักเรยี น/นกั ศกึ ษา 100.0 82.9 17.1 วา่ งงาน/ไม่มีงานทํา 100.0 66.7 33.3 พ่อบ้าน/แม่บ้าน 100.0 42.1 57.9 100.0 83.1 16.9 รายไดข้ องครัวเรือนเฉลี่ยตอ่ เดอื น 100.0 79.0 21.0 ต่าํ กวา่ 3,501 บาท 100.0 84.9 15.1 3,501 - 10,000 บาท 100.0 80.4 19.6 10,001 - 15,000 บาท 80.6 19.4 15,001 - 30,000 บาท 89.7 10.3 30,001 - 50,000 บาท 100.0 - มากกวา่ 50,000 บาท

34 ตาราง 11 รอ้ ยละของประชาชน จําแนกตามความคดิ เหน็ เกีย่ วกับช่องทางที่ตอ้ งการแจ้งเบาะแสหรอื ข้อมลู ข่าวสาร การกระทาํ ผดิ เกย่ี วกบั ยาเสพติด ความคดิ เห็นเก่ียวกบั ชอ่ งทางทตี่ อ้ งการแจ้งเบาะแสหรอื ข้อมลู สถานะทางสังคม รวม ขา่ วสารการกระทําผิดเกย่ี วกับยาเสพตดิ 1/ ป.ป.ส. สาย ศูนย์ สํานัก สายดว่ น สถานี อื่นๆ ด่วน 1386 ดํารงธรรม นายกรัฐมนตรี 191 ตํารวจ ตู้ ปณ. 1111 ในพ้นื ท่ี เพศ 100.0 13.6 55.4 6.4 38.5 68.0 27.5 ชาย 100.0 14.3 57.4 6.4 39.3 71.0 26.2 หญงิ 100.0 12.9 53.2 6.3 37.6 64.7 28.9 อายุ 100.0 13.6 55.4 6.4 38.5 68.0 27.5 18 - 19 ปี 100.0 1.8 50.0 8.8 47.0 79.4 23.5 20 - 29 ปี 100.0 8.0 50.0 6.0 36.0 70.0 22.0 30 - 39 ปี 100.0 13.6 55.8 5.2 35.1 74.7 26.0 40 - 49 ปี 100.0 16.7 57.8 5.9 40.2 70.6 28.9 50 - 59 ปี 100.0 17.0 61.8 9.2 41.9 58.5 27.1 60 ปขี ึ้นไป 100.0 3.8 39.2 1.3 30.4 68.4 36.7 ระดับการศึกษา 100.0 13.6 55.4 6.4 38.5 68.0 27.5 ไม่เคยเรยี น/ตา่ํ กวา่ ประถมศึกษา 100.0 33.3 100.0 - 66.7 - - ประถมศกึ ษา 100.0 11.3 55.4 6.1 38.7 65.0 29.1 มธั ยมศกึ ษา 100.0 15.4 55.6 7.7 34.6 71.3 29.0 ปวช. 100.0 5.6 50.0 - 44.4 83.3 27.8 ปวส./ปวท./อนุปริญญา 100.0 24.0 56.0 8.0 56.0 76.0 20.0 ปรญิ ญาตรี 100.0 21.1 52.6 2.6 44.7 76.3 5.3 ปรญิ ญาโทหรอื สูงกวา่ 100.0 25.0 50.0 - 75.0 - 25.0 การทาํ งานในปจั จุบัน 100.0 13.6 55.4 6.4 38.5 68.0 27.5 ขา้ ราชการ พนกั งาน ลกู จา้ งของรฐั /พนกั งานรัฐวิสาหกิจ 100.0 27.9 54.7 5.8 50.0 75.6 19.8 พนกั งาน/ลกู จ้างเอกชน 100.0 11.7 50.0 8.3 45.0 75.0 30.0 คา้ ขาย/ประกอบธรุ กิจส่วนตวั 100.0 10.8 57.8 2.9 38.2 66.7 34.3 เกษตรกร 100.0 13.9 57.6 8.3 36.6 63.9 26.6 รบั จา้ งทว่ั ไป 100.0 14.6 60.4 2.1 29.2 66.7 33.3 กรรมกร 100.0 5.0 40.0 5.0 35.0 80.0 40.0 ขบั รถรับจา้ ง 100.0 - 60.0 - 80.0 80.0 - นกั เรียน/นักศึกษา 100.0 5.7 54.3 2.9 48.6 80.0 22.9 ว่างงาน/ไม่มงี านทํา 100.0 - 46.7 - 26.7 60.0 26.7 พอ่ บ้าน/แม่บา้ น 100.0 - 26.3 5.3 15.8 78.9 26.3 รายไดข้ องครวั เรอื นเฉล่ยี ตอ่ เดอื น 100.0 13.6 55.4 6.4 38.5 68.0 27.5 ตํา่ กวา่ 3,501 บาท 100.0 3.7 58.0 - 32.1 70.4 30.9 3,501 - 10,000 บาท 100.0 13.9 60.1 7.1 35.4 59.4 27.1 10,001 - 15,000 บาท 100.0 17.6 51.6 10.5 43.8 77.8 24.8 15,001 - 30,000 บาท 100.0 13.0 39.8 3.7 46.3 83.3 34.3 30,001 - 50,000 บาท 100.0 17.2 55.2 3.4 48.3 75.9 17.2 มากกว่า 50,000 บาท 100.0 20.0 60.0 - 20.0 80.0 -

35 ตาราง 12 ร้อยละของประชาชน จาํ แนกตามความคดิ เหน็ เกีย่ วกับการแจ้งเบาะแสหรือข้อมูลขา่ วสารเมือ่ พบเหน็ การกระทําผิดเกีย่ วกับยาเสพตดิ สถานะทางสงั คม รวม ความคิดเห็นเก่ียวกบั การแจ้งเบาะแส หรือข้อมลู ข่าวสารเมื่อพบเห็น เพศ 100.0 การกระทําผดิ เกยี่ วกบั ยาเสพติด ชาย 100.0 หญงิ 100.0 แจ้งเบาะแสฯ ไม่แจง้ เบาะแสฯ 100.0 74.9 25.1 อายุ 100.0 78.1 21.9 18 - 19 ปี 100.0 71.3 28.7 20 - 29 ปี 100.0 74.9 25.1 30 - 39 ปี 100.0 73.5 26.5 40 - 49 ปี 100.0 65.0 35.0 50 - 59 ปี 100.0 79.2 20.8 60 ปีขึ้นไป 100.0 79.9 20.1 100.0 78.6 21.4 ระดับการศกึ ษา 100.0 55.7 44.3 ไม่เคยเรยี น/ตํา่ กว่าประถมศึกษา 100.0 74.9 25.1 ประถมศึกษา 100.0 66.7 33.3 มัธยมศึกษา 100.0 70.7 29.3 ปวช. 100.0 81.1 18.9 ปวส./ปวท./อนุปริญญา 100.0 66.7 33.3 ปริญญาตรี 100.0 72.0 28.0 ปริญญาโทหรือสงู กว่า 100.0 78.9 21.1 100.0 100.0 - การทํางานในปจั จุบัน 100.0 74.9 25.1 ขา้ ราชการ พนักงาน ลูกจ้างของรัฐ/พนักงานรัฐวิสาหกิจ 100.0 91.9 8.1 พนักงาน/ลกู จ้างเอกชน 100.0 71.7 28.3 คา้ ขาย/ประกอบธุรกจิ ส่วนตัว 100.0 74.5 25.5 เกษตรกร 100.0 75.1 24.9 รับจา้ งท่วั ไป 100.0 79.2 20.8 กรรมกร 100.0 70.0 30.0 ขบั รถรับจา้ ง 100.0 80.0 20.0 นกั เรยี น/นักศึกษา 100.0 68.6 31.4 ว่างงาน/ไม่มีงานทาํ 100.0 66.7 33.3 พอ่ บา้ น/แม่บา้ น 100.0 15.8 84.2 100.0 74.9 25.1 รายไดข้ องครวั เรือนเฉลย่ี ตอ่ เดือน 100.0 63.0 37.0 ต่าํ กว่า 3,501 บาท 100.0 77.1 22.9 3,501 - 10,000 บาท 100.0 73.2 26.8 10,001 - 15,000 บาท 77.8 22.2 15,001 - 30,000 บาท 72.4 27.6 30,001 - 50,000 บาท 80.0 20.0 มากกว่า 50,000 บาท

36 ตาราง 12.1 รอ้ ยละของประชาชนที่ระบวุ า่ จะแจ้งเบาะแสหรอื ขอ้ มูลข่าวสารเมื่อพบเหน็ การกระทาํ ผดิ เกีย่ วกบั ยาเสพตดิ จาํ แนกตามความคดิ เห็นเก่ยี วกับเหตุผลท่แี จง้ เบาะแสฯ ความคดิ เหน็ เกยี่ วกับเหตผุ ลทแ่ี จ้งเบาะแสหรอื ข้อมลู ข่าวสาร สถานะทางสังคม ต้องการให้ มีช่องทางรบั กลวั ปญั หายาเสพ กลัวปญั หา อื่นๆ จนท.รฐั เข้ามา แจ้งเบาะแสยา ตดิ เข้ามา ต่างๆ ที่เกดิ เพศ แก้ไขปญั หายา เสพตดิ ท่สี ะดวก เกีย่ วข้องกบั ตามมาสบื 1.5 ชาย รวดเร็ว และ เนือ่ งจาก 1.4 หญิง เสพตดิ ลูกหลาน/คนใน ปัญหายาเสพติด 1.6 ไวใ้ จได้ ครอบครัว 1.5 อายุ - 18 - 19 ปี 42.5 6.0 20.4 4.5 - 20 - 29 ปี 3.2 30 - 39 ปี 44.8 5.2 22.1 4.5 1.5 40 - 49 ปี 1.7 50 - 59 ปี 40.0 6.8 18.4 4.5 - 60 ปขี ึน้ ไป 1.5 42.5 6.0 20.4 4.5 - ระดับการศกึ ษา 1.9 ไม่เคยเรยี น/ตาํ่ กว่าประถมศึกษา 44.1 2.9 17.6 8.8 0.7 ประถมศึกษา - มธั ยมศกึ ษา 38.0 5.0 14.0 8.0 4.0 ปวช. 2.6 ปวส./ปวท./อนุปริญญา 46.8 6.5 18.8 3.9 - ปริญญาตรี 1.5 ปริญญาโทหรอื สูงกว่า 45.6 5.4 21.6 5.9 1.2 - การทาํ งานในปจั จุบนั 45.9 7.0 22.3 1.7 - ขา้ ราชการ พนักงาน ลกู จ้างของรัฐ/พนกั งานรัฐวสิ าหกิจ 2.0 พนกั งาน/ลูกจา้ งเอกชน 21.5 6.3 24.1 3.8 4.2 คา้ ขาย/ประกอบธรุ กจิ ส่วนตัว 5.0 เกษตรกร 42.5 6.0 20.4 4.5 - รบั จา้ งทั่วไป - กรรมกร 66.7 - - - - ขบั รถรบั จา้ ง - นกั เรยี น/นกั ศกึ ษา 37.3 6.6 20.7 4.2 1.5 วา่ งงาน/ไมม่ งี านทาํ - พ่อบา้ น/แมบ่ า้ น 47.2 5.9 22.4 4.9 1.9 0.7 รายไดข้ องครวั เรือนเฉลยี่ ต่อเดอื น 44.4 11.1 11.1 - 0.9 ตาํ่ กวา่ 3,501 บาท 6.9 3,501 - 10,000 บาท 28.0 - 24.0 16.0 - 10,001 - 15,000 บาท 15,001 - 30,000 บาท 68.4 - 7.9 - 30,001 - 50,000 บาท มากกวา่ 50,000 บาท 75.0 25.0 - - 42.5 6.0 20.4 4.5 62.8 5.8 19.8 2.3 43.3 3.3 16.7 8.3 37.3 3.9 30.4 2.9 41.7 7.6 19.3 4.6 47.9 8.3 14.6 4.2 25.0 5.0 30.0 5.0 40.0 - 40.0 - 42.9 2.9 17.1 5.7 26.7 - 26.7 13.3 10.5 - 5.3 - 42.5 6.0 20.4 4.5 39.5 3.7 13.6 6.2 44.8 7.1 21.0 2.4 36.6 7.8 23.5 4.6 43.5 0.9 21.3 11.1 48.3 3.4 6.9 6.9 20.0 20.0 40.0 -