Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore ระบบเศรษฐกิจและหน่วยเศรษฐกิจ

ระบบเศรษฐกิจและหน่วยเศรษฐกิจ

Published by Nattaya, 2021-02-02 07:43:51

Description: ระบบเศรษฐกิจและหน่วยเศรษฐกิจ

Search

Read the Text Version

ระบบเศรษฐกิจ และ หน่วยเศรษฐกิจ เสนอ คณุ ครูณฐั รินีย์ สมนึก สมาชิกชนั้ มธั ยมศกึ ษาปีท่ี 4/7 นายนาวนิ แท่นทอง เลขท่ี 10 นายอิทธิกร มหทั ธนานนท์ เลขท่ี 20 นายภานพุ งษ์ ถกู จิตต์ เลขท่ี 21 น.ส. มณฑาทิพย์ สายสวุ รรณ เลขท่ี 22 น.ส.พิชญญ์ า อ่มิ พงษ์ เลขท่ี 23 น.ส.นาตยา ผกู พานิช เลขท่ี 32

คานา สารบัญ 1 รายงานเล่มนีจ้ ัดทาขึ้นเพอ่ื เป็นสว่ นหนง่ึ ของวชิ า 1.ระบบเศรษฐกิจ 2 เศรษฐศาสตร์ ช้ันมธั ยมศกึ ษาปีท่ี 4/7 เพอื่ ใหไ้ ดศ้ กึ ษาหา 5 ความรู้ในเรอื่ ง เศรษฐศาสตร์และหนว่ ยเศรษฐกจิ และได้ -ระบบเศรษฐกิจแบบคอมมิวนสิ ต์ 7 ศึกษาอย่างเข้าใจเพอ่ื เปน็ ประโยชนก์ บั การเรียน -ระบบเศรษฐกจิ แบบทนุ นยิ ม 9 -ระบบเศรษฐกจิ แบบสงั คมนิยมเสรี 11 ผ้จู ดั ทาหวังวา่ รายงานเล่มนจ้ี ะเปน็ ประโยชนก์ ับ 13 ผ้อู ่าน หรือนกั เรียน นกั ศกึ ษา ท่ีกาลังหาข้อมลู เรื่องน้อี ยู่หากมี -ระบบเศรษฐกิจแบบผสม 15 ขอ้ แนะนาหรอื ขอ้ ผิดพลาดประการใด ผู้จัดทาขอนอ้ มรับไวแ้ ละ 17 ขออภยั มาณ ท่นี ี้ดว้ ย 2.หน่วยเศรษฐกิจ ผจู้ ดั ทาและคณะ -หน่วยเศรษฐกิจแบบครอบครวั 16 มกราคม 2564 -หน่วยเศรษฐกจิ แบบธรุ กจิ -หนว่ ยเศรษฐกิจแบบรัฐบาล

2 3 ระบบเศรษฐกจิ หมายถงึ การรวมตวั กนั เป็นกลมุ่ ของหน่วยเศรษฐกิจ ซง่ึ ประกอบดว้ ย ขอ้ ดีของระบบเศรษฐกจิ แบบคอมมวิ นิสต์ บคุ คล หรอื สถาบนั ท่ีทาหนา้ ท่เี ฉพาะอย่างในทางเศรษฐกิจ ใชห้ ลกั การแบ่งงานกนั ทา 1.เป็นระบบเศรษฐกิจท่ีชว่ ยลดปัญหาความเหลอ่ื มลา้ ทางฐานะและรายไดข้ อง ตามความถนดั มีการปฏิบตั ภิ ายใตร้ ะเบียบ กฎเกณฑ์ นโยบาย และ แนวทางการ บคุ คลในสงั คม ปฏิบตั ิท่คี ลา้ ยคลงึ กนั หน่วยเศรษฐกิจ คือ หน่วยงานท่มี ีอยใู่ นระบบเศรษฐกจิ จะทา 2.ระบบเศรษฐกิจนเี้ อกชนจะทาการผลติ และ บรโิ ภคตามคาส่งั ของรฐั หนา้ ท่เี ก่ยี วกบั กิจกรรมท่ีสาคัญทางดา้ นเศรษฐกจิ อนั ไดแ้ ก่การผลิต การบรโิ ภค และ 3.ผลผลติ ท่ีผลติ ขนึ้ มาจะถกู นาสง่ เขา้ สว่ นกลาง และ รฐั จะเป็นผูจ้ ดั สรรหรอื การแจกจา่ ยสนิ คา้ และ บรกิ าร แบง่ ปัน สนิ คา้ และบรกิ ารดงั กลา่ วใหป้ ระชาชนแต่ละคนอย่างเท่าเทยี มกนั โดยไม่ มกี ารไดเ้ ปรยี บหรอื เสยี เปรยี บ ระบบเศรษฐกิจแบง่ ออกเป็น 4 ระบบ ดงั นี้ ขอ้ เสยี ของระบบเศรษฐกิจแบบคอมมวิ นิสต์ 1.ระบบเศรษฐกจิ แบบคอมมวิ นิสต์ (Communism) 1.ประชาชนไมม่ เี สรภี าพในการเลอื กสรรบรโิ ภคสนิ คา้ และบรกิ ารตามความพอใจของ ระบบเศรษฐกจิ แบบคอมมิวนสิ ต์ เป็นระบบเศรษฐกจิ ท่รี ฐั บาลเป็นเจา้ ของ ตน เพระรฐั บาลจะเป็นผกู้ าหนดสนิ คา้ แลบรกิ ารต่างๆใหป้ ระชาชนเป็นผบู้ รโิ ภคตาม ทรพั ยากรต่าง ๆ ของประเทศ ซ่งึ รวมทง้ั ปัจจยั การผลติ ทกุ ชนิด เอกชนไมม่ ี ความเหมาะสมแลความจาเป็นเทา่ นนั้ กรรมสทิ ธิ์ ตลอดจนเสรภี าพท่ีจะเลอื กใชป้ ัจจัยการผลติ ได้ รฐั บาลทาหนา้ ท่ี 2.ประชาชนไม่มีกรรมสทิ ธิ์ในการถือครอง และ เป็นเจา้ ของทรพั ยส์ นิ ซ่งึ สามารถนาไป เป็นผปู้ ระกอบการ และ ทาหนา้ ท่จี ดั สรรทรพั ยากรต่าง ๆ ใหก้ บั หนว่ ยธรุ กจิ ผลติ สนิ คา้ และ บรกิ ารต่างๆหรอื นาไปแสวงหารายได้ เช่น ท่ีดนิ โรงงาน เคร่ืองจกั รฯลฯ และ ครวั เรอื น การผลติ และบรโิ ภคมาจากคาส่งั ของรฐั กลไกราคาไม่มี 3.ประชาชนไมม่ ีเสรภี าพในการเลอื กทางานหรอื อาชีพตามอาเภอใจเพราะรฐั บาลจะ บทบาทในการแกไ้ ขปัญหาพืน้ ฐานทางเศรษฐกิจ การแกไ้ ขปัญหาพืน้ ฐาน เป็นผกู้ าหนดการทางาน และ คา่ จา้ งใหแ้ กป่ ระชาชนตามความสามารถ ประชาชนจงึ มี ทางเศรษฐกจิ กระทาโดยรฐั บาล จะมลี กั ษณะเด่นอย่ทู ่กี ารรวมอานาจทกุ สภาพเป็นลกู จา้ งของรฐั บาลทกุ คน อยา่ งไวท้ ่ีสว่ นกลาง 4.สนิ คา้ มคี ณุ ภาพไม่ดีเทา่ ท่ีควร เน่ืองจากผผู้ ลติ ขาดแรงจงู ใจ และ การใชท้ รพั ยากร ทางเศรษฐกจิ อาจเป็นไปอยา่ งไม่มีประสทิ ธิภาพ เน่ืองจากรฐั บาลไม่สามารถท่ีจะมี ขอ้ มลู ข่าวสารท่ีสมบรู ณใ์ นทกุ ๆ เรอ่ื ง

4 5 Mind map สรุป 2. ระบบเศรษฐกจิ แบบทนุ นิยม (Capitalism) ระบบเศรษฐกิจแบบทนุ นยิ ม เป็นระบบเศรษฐกิจท่เี ปิดโอกาสใหบ้ คุ คลท่วั ไป เลอื กตดั สนิ ใจดาเนินกจิ กรรมทางเศรษฐกิจตามความสามารถและโอกาส ของตนโดยอาศยั ตลาดและราคาในการเลอื ก โดยรฐั หรอื เจา้ หนา้ ท่จี าก สว่ นกลางมบี ทบาทเก่ยี วขอ้ งนอ้ ยมาก ขอ้ ดีของระบบเศรษฐกจิ แบบทนุ นิยม 1.ทรพั ยส์ นิ และปัจจยั การผลติ เป็นของเอกชน 2.เอกชนเป็นผดู้ าเนินการกจิ กรรมทางเศรษฐกจิ โดยผ่านกลไกราคา และ มีกาไร เป็นแรงจงู ใจ 3.มีการแขง่ ขนั เป็นรากฐานของระบบเศรษฐกจิ 4.รฐั ไมเ่ ขา้ แทรกแซงทางเศรษฐกิจ มบี ทบาทเพียงการรกั ษาความสงบเรยี บรอ้ ย ความยตุ ิธรรม 5.ประชาชนสามารถใชค้ วามรูค้ วามสามารถ โอกาส ความคิดรเิ ร่มิ ของตนในการ ผลติ และบรโิ ภคเพ่ือประโยชนท์ างเศรษฐกิจของตนไดอ้ ยา่ งเต็มท่ี ขอ้ เสยี ของระบบเศรษฐกจิ แบบทนุ นิยม 1.เน่ืองจากความสามารถ และ โอกาสของบคุ คลท่ีแตกต่างกนั ทาใหม้ ีระดบั รายไดแ้ ตกตา่ งกนั นาไปสปู่ ัญหาการกระจายรายไดร้ ะหวา่ งคนรวยกับคนจน 2.การผลติ ในระบบทนุ นยิ มเป็นท่มี าของการแข่งขนั กนั ผลติ นาไปส่กู าร ทาลายทรพั ยากร และ สง่ิ แวดลอ้ มตามธรรมชาติจนกลายเป็นปัญหาของโลก ในปัจจบุ นั

6 แผนผังสรุป 7 3. ระบบเศรษฐกจิ แบบสงั คมนิยมเสรี (Socialism) ระบบเศรษฐกจิ แบบสงั คมนยิ ม เป็นระบบเศรษฐกิจท่รี ฐั เป็นเจา้ ของปัจจัยการ ผลติ วางแผนและควบคมุ การผลิตบางประเภท โดยเฉพาะการผลติ ท่เี ป็น ผลประโยชนร์ ว่ มกนั ของประชาชน เช่น การสาธารณปู โภค ต่าง ๆ สถาบนั การเงิน ป่ าไม้ เอกชนถกู จากดั เสรภี าพในกิจกรรมทางเศรษฐกิจโดยเฉพาะสว่ นท่ีเป็น ผลประโยชนข์ องสว่ นรวม ดาเนินการไดเ้ พียงอตุ สาหกรรมและเกษตรกรรมขนาด ยอ่ ม ทงั้ นเี้ พ่ือแกไ้ ขปัญหาความแตกตา่ งดา้ นฐานะระหว่างคนรวยและคนจน ขอ้ ดีของระบบเศรษฐกจิ แบบสงั คมนิยม 1.รฐั ควบคมุ การดาเนินกิจกรรมทางเศรษฐกิจ มกี ารวางแผนจากสว่ นกลาง 2.ความเสมอภาคดา้ นฐานะทางเศรษฐกิจของบคุ คลในสงั คม ประชาชนไดร้ บั สวสั ดกิ ารจากรฐั บาลกลางโดยเท่าเทียมกนั และสามารถกาหนดนโยบาย เปา้ หมายตามท่รี ฐั บาลกลางตอ้ งการได้ ขอ้ เสยี ของระบบเศรษฐกจิ แบบสงั คมนิยม 1.ประชาชนขาดแรงจงู ใจในการทางาน 2.เศรษฐกจิ ของประเทศอาจเผชิญวกิ ฤตหิ ากรฐั กาหนดความตอ้ งการผิดพลาด 3.การไมม่ รี ะบบแข่งขนั แบบทนุ นยิ มทาใหไ้ ม่มีการพฒั นาสนิ คา้ และ บรกิ ารใหมๆ่

8 4. ระบบเศรษฐกิจแบบผสม (Mixed Economy) 9 ตารางสรุป ระบบเศรษฐกิจแบบผสม เป็นระบบเศรษฐกิจท่ผี สมระหว่างระบบทนุ นยิ มกบั สงั คมนยิ ม มรี ฐั เป็นเจา้ ของปัจจยั การผลติ หรอื ควบคุมการผลติ ขนาดใหญ่ แตป่ ัจจยั การผลติ ส่วน ใหญ่เป็นของเอกชน การกาหนดราคาขนึ้ กบั กลไกแหง่ ราคาของตลาด เอกชนมีเสรภี าพ มี การแขง่ ขนั แตร่ ฐั อาจแทรกแซง การผลติ ไดบ้ า้ ง รฐั ดาเนนิ กจิ การบางอย่างในรูปของ รฐั วสิ าหกจิ เช่น สาธารณปู โภค ( ไฟฟ้า ประปา ) มีการวางแผนจากสว่ นกลางและมี สวสั ดกิ ารจากรฐั ขอ้ ดขี องระบบเศรษฐกจิ แบบผสม 1.เป็นการยกฐานะของคนในสงั คมใหเ้ ท่าเทียมกนั และเป็นการแลกเปล่ยี นแปลงจากทนุ นยิ มเป็นแบบสงั คมนิยม โดยสนั ติวิธีทางรฐั สภา 2.รายไดถ้ กู นามาเฉล่ยี ใหผ้ ทู้ างานตามกาลงั งานท่ไี ดก้ ระทา มใิ ช่ตามความจาเป็นทาให้ แรงจงู ใจในการทางานจงึ ดกี ว่าระบบอ่นื ๆ 3.เอกชนมบี ทบาททางเศรษฐกจิ มกี ารแขง่ ขนั สงู สนิ คา้ จงึ มีคณุ ภาพสงู 4.ผบู้ รโิ ภคมีโอกาสเลอื กสนิ คา้ ไดม้ ากพอสมควร ขอ้ เสยี ระบบเศรษฐกจิ แบบผสม 1.ระบบนีม้ กี ารวางแผนเพียงบางสว่ น จงึ อาจจะไม่มปี ระสทิ ธิภาพเพียงพอในกรณที ่ี ตอ้ งการเรง่ รดั พฒั นาเศรษฐกิจอยา่ งรวดเรว็ เชน่ ยามสงคราม 2.การควบคมุ กิจกรรมทางเศรษฐกิจบางสว่ นโดยรฐั เป็นเคร่อื งกดี ขวางเสรภี าพของ เอกชน 3.การวางแผนจากสว่ นกลางเพ่ือประสานประโยชนข์ องรฐั บาลเขา้ กบั เอกชนใหเ้ กิดผลดี แก่สว่ นรวมอย่างแทจ้ รงิ ทาไดย้ าก 4.นกั ธุรกิจขาดความม่นั ใจในการลงทนุ เพราะไม่แน่ใจว่าในอนาคตกิจกรรมของตนจะ ถกู โอนเป็นของรฐั หรอื ไม่

10 11 ตารางสรุป หนว่ ยเศรษฐกิจ

12 หน่วยเศรษฐกิจแบบครอบครัว 13 หน่วยเศรษฐกิจ Economic unit หมายถงึ บคุ คลหรอื องค์กรต่าง ๆ ซึง่ เป็นผปู้ ระกอบกิจกรรมทาง เศรษฐกิจและกิจกรรมอน่ื ๆ ทเ่ี กย่ี วข้องกบั การดาเนนิ ชวี ิตทางเศรษฐกจิ หนว่ ยเศรษฐกิจประกอบดว้ ย 3 กลมุ่ ใหญ่ ๆ แต่ละหน่วยมีองคป์ ระกอบ หนา้ ท่ี และเป้าหมาย แตกตา่ งกนั ดงั นี้ 1. หนว่ ยครัวเรอื น Household unit หน่วยครวั เรอื น หมายถงึ หน่วยเศรษฐกจิ ที่ประกอบดว้ ยบคุ คลตัง้ แตห่ นงึ่ คนข้ึนไป มีการตดั สินใจ ในการใชท้ รัพยากรธรรมชาติ หรือ ปจั จัยทางดา้ นการเงิน เพ่อื ใหไ้ ด้ประโยชน์แกต่ นหรอื กลุ่มตนมาก ท่ีสุด มบี ทบาทในการดาเนนิ กจิ กรรมทางเศรษฐกิจเบ้อื งต้น เป็นท้งั ผู้ผลิตและผู้บรโิ ภค ครัวเรอื นเปน็ ผู้ ริเร่ิมกจิ กรรมการผลิตและการบริโภค โดยผลิตสงิ่ ท่ีสมาชกิ ของครอบครวั มีความจาเปน็ และมคี วาม ตอ้ งการทีจ่ ะบรโิ ภค หนว่ ยครัวเรือนอาจเป็นเจา้ ของปจั จัยการผลติ คือ ผมู้ ีปจั จัยการผลติ ชนดิ ตา่ ง ๆ ได้แก่ ท่ีดิน แรงงาน ทุน และการประกอบการ ซงึ่ อาจมีเพยี งชนดิ เดียวหรือหลายชนิดก็ตาม เจ้าของปจั จัยจะนา ปจั จยั การผลิตท่ตี นมีอยู่ใหผ้ ู้ผลติ เพื่อไปผลิตเป็นสนิ คา้ หรอื บริการ โดยไดร้ ับค่าตอบแทนในรปู คา่ เช่า คา่ จา้ ง ดอกเบย้ี หรอื กาไร เป้าหมายของเจ้าของปัจจัยการผลิต คือ รายได้สทุ ธสิ งู สดุ หรอื หน่วยครวั เรอื น ทาหน้าท่ีเปน็ ผูบ้ ริโภค คือ ผใู้ ช้ประโยชน์จากสินค้าหรอื บริการเพือ่ ตอบสนองความตอ้ งการ เป้าหมายของผบู้ รโิ ภค คือ ความพงึ พอใจสงู สุด สมาชิกของหนว่ ยครวั เรอื น อาจทาหน้าทท่ี ้ังเจา้ ของปจั จัยการผลิต และเป็น ผู้บริโภคไปพรอ้ ม ๆ กัน อยา่ งไรกต็ ามหน้าที่ของหนว่ ยครวั เรือนจะต้องพยายามหารายไดม้ าไว้สาหรบั จบั จ่ายใช้สอย ส่วน แหล่งทีม่ าของรายไดข้ ้ึนอยู่กบั ลกั ษณะของกจิ กรรมทางเศรษฐกจิ

14 15 หนว่ ยเศรษฐกิจแบบธุรกิจ 2. หน่วยธุรกจิ Business Firm unit หน่วยธรุ กิจ Business Firm unit คือ บุคคลหรอื องค์การที่มีบทบาทในการ ผลิตหรือบรกิ ารสินค้า เพื่อแสวงหาผลกาไรและสนองความตอ้ งการและความพงึ พอใจ ของผูค้ นในสงั คม หรอื บคุ คลหรอื กล่มุ บคุ คลที่ทาหน้าท่เี อาปจั จยั การผลิตตา่ ง ๆ มา ผสมผสานผลิตเป็นสินคา้ หรือบริการแล้วนาไปจาหน่ายจ่ายแจกหรอื ขายให้แก่ผบู้ ริโภค หนว่ ยธรุ กจิ ประกอบดว้ ยสมาชิก 2 กลุ่มใหญ่ ๆ คือ ผผู้ ลิตและผขู้ าย ซ่งึ หน่วยธรุ กจิ บาง หน่วย ทาหนา้ ที่ท้งั ผู้ผลติ และผขู้ าย หรือทาหน้าท่เี พียงอย่างเดียว เป้าหมายของผผู้ ลติ คือ แสวงหากาไรสูงสดุ หรือมีส่วนแบง่ การตลาดมากที่สดุ ในธรุ กจิ นั้น หรือการมชี อื่ เสียง เป็นที่ยอมรบั หรือธุรกจิ มอี ตั ราการเจริญเตบิ โตอยใู่ นอตั ราสงู ขน้ึ เรอ่ื ย ๆ เป็นต้น

16 17 หน่วยเศรษฐกิจแบบรัฐบาล 3. หน่วยรฐั บาล Government unit หนว่ ยรัฐบาล Government Agency หมายถงึ หน่วยงานของรฐั หรอื ส่วน ราชการต่าง ๆ ทจ่ี ดั ตง้ั เพือ่ ดาเนนิ การของรัฐบาล มีบทบาทสาคัญในการดาเนินกจิ กรรม ทางเศรษฐกจิ ของแตล่ ะประเทศ โดยมุ่งประโยชน์ การกินดอี ยู่ดี ของประชาชนเป็น เปา้ หมายหลัก มีหนา้ ท่เี ช่ือมความสัมพนั ธก์ ับหน่วยอน่ื ๆ ในระบบเศรษฐกิจ ซ่งึ บทบาท หน้าที่ ความสัมพันธ์ดงั กลา่ ว จะมีมากน้อยเพียงใดขน้ึ อยู่กบั ระบบเศรษฐกิจ ถ้าเป็น ระบบเศรษฐกจิ แบบทุนนยิ ม บทบาทหนา้ ที่ของหน่วยรัฐบาลโดยเฉพาะทางดา้ น เศรษฐกิจจะมีคอ่ นข้างจากดั แตถ่ า้ เป็นระบบเศรษฐกจิ แบบสงั คมนิยมหรอื แบบ คอมมิวนสิ ต์ รฐั บาลจะมีบทบาทคอ่ นขา้ งมาก อย่างไรก็ตามบทบาทหน้าที่ของหน่วย รัฐบาล พอสรปุ ได้ดังน้ี 1. เป็นท้งั ผู้ผลติ ผบู้ รโิ ภค และเจา้ ของปัจจยั การผลิตในระบบเศรษฐกิจ 2. อานวยความสะดวกในด้านปจั จัยพน้ื ฐาน เช่น บรกิ ารด้านสาธารณูปโภค (บรกิ าร ไฟฟ้า นา้ ประปา โทรศัพท์ ฯลฯ) และสาธารณูปการ (การซอ่ ม สรา้ ง บารงุ ถนน ฯลฯ) ให้แก่ประชาชน 3. จดั หารายไดโ้ ดยการเก็บภาษจี ากประชาชน เพอื่ ไวใ้ ชจ้ า่ ยในการบรหิ ารและพัฒนา ประเทศ 4. รกั ษาความสงบเรยี บร้อยของบ้านเมือง ระงับและตัดสนิ ขอ้ พิพาทและป้องกนั ประเทศ

18 บรรณานกุ รม ThaiFRX.com.//(2563).//ระบบเศรษฐกจิ .//สบื คน้ เม่อื 17 มกราคม 2564./จาก https://www.thaifrx.com/%E0%B8%A3%E0%B8%B0% การพฒั นาเศรษฐกิจ..//(2563).//หนว่ ยเศรษฐกิจ.//สืบค้นเม่ือ 17 มกราคม 2564./จาก https://sites.google.com/site/outenzaa/1-neuxha-bth- กลบั หนา้ สาระบัญ


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook