Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore Collaborative leaning on Socail Media

Collaborative leaning on Socail Media

Published by lungling-1, 2017-10-14 02:48:24

Description: Collaborative leaning on Socail Media

Search

Read the Text Version

รายงานกลมุ     เร่อื ง “Collaborative leaning on Socail Media”        จัดทาํ โดย  1. นางณดา กลุ พัฒนเ ศรษฐ รหสั นสิ ติ 59206978  2. นางสาววนั นสิ า พนู รตั นทรัพย รหัสนสิ ิต 59207036  3. นางสาวสกลุ กานต โกสลี ารหัสนสิ ิต 59207047  4. นางสาวเจตนา ตลบั ศรี รหัสนิสติ 59207632  5. นางสาวนางสาวธัญญชนาธร ธัญญช ญั ญาธารก รหัสนิสิต 59207665        เสนอตอ  อาจารย ดร.วิลาวัลย สมยาโรน รายงานนเ้ี ปนสวนหนง่ึ ของวชิ า นวตั กรรมและเทคโนโลยีสารสนเทศทางการศกึ ษา  (176723​ ​Innovation​ ​and​ I​ nformation​ ​Technology​ i​ n​ ​Education)      

1 คํานํา    ​รายงานเลมนี้เปน สว นหน่ึงของวชิ า นวตั กรรมและเทคโนโลยีสานสนเทศทางการศกึ ษา ซึ่งกลุมของขา พเจา ไดทาํ เรื่อง การเรียนรูแบบรว มมอื บนสื่อสงั คม (Collaborative leaning on  Socail  Media)  ซึง่ กลุมของพวกเราไดจดั ทาํ ขึ้นเพื่อใหบคุ คลท่สี นใจ  การใชเทคโนโลยนี วตั กรรมใหม ควบคไู ปกับการสอน  และครูเปลี่ยนบทบาทจากผใู หความร ู เปน ผูชแี้ นะ  ใหผ ูเ รยี นเกิดทกั ษะที่จําเปนในศตวรรษท ี่ 21  แบบการเรียนรูแบบรว มมอื โดยใชส ื่อและนวตั กรรมและเทคโนโลยีสานสนเทศ วามีวธิ กี ารอยา งไรทีพ่ ัฒนาและมกี ารรว มมือกนั เปนกลมุ ๆ ซึ่งกลมุ ของขา พเจากห็ วงั วา  จะเปนประโยชนแ กผูท่ีสนใจที่อานและไดร บั ความรูไมมากกน็ อ ย  ถากลมุ ของขา พเจา ทํารายงานผิดตกบกพรองประการใด  กข็ ออภยั   ไว ณ ทน่ี ีด้ ว ย                          

2    หนา 3  ​ ​ ​ ​ ​ ​ ​ ​ 6​   สารบัญ  ​ ​ ​ ​ ​ ​ ​ ​ ​6  ​ ​ ​ ​ ​ ​ ​ ​ ​6 บทท่ี 1 บทนํา ​ ​ ​ ​ ​ ​ ​ ​ 6​  บทท่ี 2 ทฤษฎีการเรียนรูอยา งมสี วนรว ม (Collaborative Learning) ​ ​ ​ ​ ​ ​ ​ ​ 7​   ​ ​ ​ ​ ​ ​ ​ ​ 7​   หลกั การ ​ ​ ​ ​ ​ ​ ​ ​ 7​   การประยุกตใ นการจดั กจิ กรรมการเรยี นรู ​ ​ ​ ​ ​ ​ ​ ​ 8​   แนวคดิ เกี่ยวกบั การเรยี นรแู บบรว มมือ ​ ​ ​ ​ ​ ​ ​ ​ ​9  ทฤษฎีการเรียนรแู บบรวมมอื (Collaborative Learning) ​ ​ ​ ​ ​ ​ ​ ​ ​9  และทฤษฎีการเรยี นรแู บบรว มกัน (Collaborative Learning) ​ ​ ​ ​ ​ ​ ​ ​10  รปู แบบการเรยี นรแู บบรวมมอื (Cooperative Learning) ​ ​ ​ ​ ​ ​ ​ ​ ​ ​ ​ ​ ​ ​ ​ ​ 1​ 1  ประเภทของกลมุ การเรยี นรูแ บบรว มมือ ​ ​ ​ ​ ​ ​ ​ ​11  แนวคดิ เกี่ยวกับการเรียนรแู บบรว มกนั ​ ​ ​ ​ ​ ​ ​ 1​ 1  หลกั เกณฑของการเรยี นรแู บบรวมกัน ​ ​ ​ ​ ​ ​ ​ 1​ 2  การออกแบบการเรียนรแู บบรวมกนั (Collaborative Learning) ​ ​ ​ ​ ​ ​ ​ 1​ 5 บทที่ 3 สื่อสงั คม (Socail Medie) ทนี่ าํ มาใชในการเรียนการสอน  ​ ​ ​ ​ ​ ​ ​ ​16  ความหมายของสอ่ื สังคม (Socail Medie) ​ ​ ​ ​ ​ ​ ​ ​16  ประเภทของ Social Media ​ ​ ​ ​ ​ ​ ​ 1​ 6  งานวิจยั ท่ีเก่ยี วขอ ง ​ ​ ​ ​ ​ ​ ​18  สอื่ โซเชียลมีเดีย หรอื ส่อื สังคม ในหลักสูตร และการสอน  ​ ​ ​ ​ ​ ​ ​ ​18  คุณประโยชนของการใชส ่อื โซเชียลมเี ดยี ในการศกึ ษา  ​ ​ ​ 1​ 8-22  กฎเกณฑ และแนวปฏบิ ตั กิ ารใชส ่อื โซเชยี ลมเี ดีย การประยุกตใชโ ซเชยี ลมีเดียในการจดั การเรยี นการสอนบทที่ 4 บทสรปุ  ผลกระทบตอ การศึกษาไทย ขอ ดแี ละขอ เสียของการใชโซเชียลมีเดยี ในการเรยี นการสอน

3    บทที่ 1  บทนาํ     การเรยี นการสอนในยคุ ปจจบุ นั  ไดป รับเปลี่ยนจากระบบการเรียนการสอนท่ีครเู ปนผบู รรยายแตผูเดียว มาเปน การใชเทคโนโลยคี วบคไู ปกบั การสอน และครูเปล่ียนบทบาทจากผใู หค วามร ู เปน ผูช้ีแนะ การเรยี นการสอนแบบเดิมท่คี รูเปน ศูนยกลางไมส ามารถชวยใหนักเรยี นเกิดทักษะท่ีจาํ เปนในศตวรรษท ี่ 21 ไดดีพอ (วิจารย  พานิช, 2555) ดงั น้ันครจู ึงตองปรบั เปลีย่ นวิธกี ารสอนและเขาใจบทบาทของนักเรียนและครูที่ถูกตอ ง เพื่อใหนักเรยี นไดฝกฝนทักษะทสี่ าํ คญั และจําเปนอยเู สมอ จะชว ยพฒั นาใหน ักเรียนมีความพรอ มในการใชช วี ิตอยา งมคี วามสขุ ในศตวรรษท่ี 21 ทีส่ ิง่ แวดลอ มรอบตวั มีการเปลี่ยนแปลงอยางรวดเรว็  เมื่อระบบอนิ เทอรเ น็ตถูกพัฒนาใหม ีประสิทธภิ าพ ทัง้ ความเรว็  และความเสถียร การนําเอาระบบเครอื ขายอินเทอรเนต็ เขามาเปนเครอ่ื งมือในการศึกษา คงเปนสิง่ ทห่ี ลกี เลยี งไมได  เพราะแหลงความรูตางๆ ไมไ ดอ ยใู นหอ งสมดุ แตเ พียงอยา งเดยี ว  หากแตม ีอยมู ากมายในโลกที่สามารถสืบคนไดผานระบบอนิ เทอรเ นต็  โดยที่ทกุ คนสามารถเชอื่ มตอและเขาถงึ ขอ มลู ไดท กุ ทที่ ุกเวลา (สรุ ศักด ิ์ ปาเฮ, 2554) (การนํา Social Media มาใชในการจดั การเรียนร,ู 2556) (กานดา รุณนะพงศา สายแกว, 2554)  การเชอื่ มโยงถงึ กันไดอยา งรวดเรว็ น ้ี เราเรียกวาการเกิดสงั คม  หากสังคมนัน้   ไมไดจํากดั เพยี งแคระยะทาง  แตเ ปน การเชอื่ มโยงผคู นเขาดวยกนั ผานระบบเครือขา ยฯ  โดยเรียกเว็บไซตทเี่ ปนสอ่ื กลางใหบริการขอ มลู ขาวสารประเภทนว้ี า  “โซเชยี ลเน็ตเวริ ค ”  และเรยี กขอมูลบนโซเชยี ลเน็ตเวิรควา   “โซเชยี ลมีเดีย” ซง่ึ สถติ ิการใช  เว็บไซตป ระเภทนข้ี องไทยในป  2554-2555 ที่ผานมา (Thailand Social Network 2013,  2013)  พบวา  มีการใชงานเว็บไซต  facebook  เปนอนั ดบั หน่ึง  และมกี ารใชบ รกิ ารประเภทวดิ โี อ เชน  youtube  อยูใ นอันดบั ตนๆ  จะเห็นไดว า คนไทยใชเ วบ็ ไซตเหลาน้เี ปน สว นหนง่ึ ของกิจวตั รประจําวัน ในทีน่ ผ้ี เู ขยี นขอใหนิยามเวบ็ ไซตเ หลา น้ีวา “โซเชยี ลมเี ดีย”  การใชโซเชียลมเี ดียในการเรยี นการสอน  เปนเร่อื งสาํ คัญในปจ จุบัน  ทค่ี รผู ูส อนสามารถนํามาประยกุ ตใ ช  เพอ่ื กระตนุ ใหน ักเรียนเกิดความสนใจและเปนเทคนิคที่จะชวยใหเ กิดผลสัมฤทธิท์ างการเรยี นอกี ทางหนงึ่ ดวย  (กอบวิทย  พริ ยิ ะวัฒน, 2554) กลุมผเู ขียนจึงมคี วามสนใจที่จะนาํ เสนอการเรยี นการสอน โดยใชกระบวนการ  Inquiry  Learning  (ภาสกร  เรอื งรอง, 2556) ในการใหผ เู รียนไดส บื เสาะหาความร ูอภิปราย  สรุปและสรา งองคค วามรูใหม  โดยเชอื่ มโยงสง่ิ ที่เรียนรเู ขากับประสบการณห รอื ความรเู ดิม  จนเกดิ เปนความรูใหม  ซง่ึ มีขน้ั ตอนการดําเนนิ งาน  ดังน ้ี 1.กาํ หนดประเดน็ ท่สี นใจ  ในท่นี ีค้ อื   ประเดน็ ในการนาํ โซเชยี ลมเี ดีย  ไปใชในการจัดการเรยี นการสอน  2.ทาํ การสบื คนขอ มูล  3.นําขอมูลมาอภิปรายกลมุ  

4 โดยใหเพ่อื นชวยกนั เพ่ิมเตมิ และเสนอแนะประเดน็ ทเี่ กย่ี วขอ ง (Socialmedia, 2556) 4.หาขอ สรุปรวมกนั ผาน  google  doc  (โซเชียลมเี ดยี กบั การศึกษาไทย,  2556)  และ  5.ทําการเผยแพรองคค วามรูใหก ับผทู ี่ สนใจเพ่อื นําไปใชใ หเปน ประโยชนต อไปได  หากครจู ะนาํ พฤตกิ รรมการใชส ื่อสังคมออนไลนเ หลาน้ีมาเปน สวนหนงึ่ ในการจัดการเรียนการสอนใหส อดคลอ งกบั ความกา วหนา ทางเทคโนโลย ี โดยเปล่ียนการจัดการ สอนแบบเดมิ ๆ ทคี่ รเู ปนเพียงแหลง ความรแู หลง เดยี ว ใหเปน นักเรียนสามารถสบื คน ความรจู ากแหลงตา งๆ  ที่มีอยมู ากมายไดด วยตนเอง โดยทค่ี รูเปน ผูคอยชี้แนะวา แหลงขอ มลู ใดนาชื่อถอื  และสามารถนํามาอา งองิ ได  รวมท้งั ใชเว็บไซตประเภทเครือขายสังคมเปนสอ่ื กลางในการพูดคุย  แลกเปลย่ี นความคดิ เห็น  แสดง ทัศนะ หรอื สรา งองคความรูของตนเอง อกี ทงั้ ยังชว ยลดชอ งวา งระหวา งครแู ละนกั เรยี นอีกดวย  ปจจุบนั กระทรวงศึกษาธกิ าร  มอบหมายให  สาํ นักเทคโนโลยเี พื่อการเรยี นการสอน  ดาํ เนินการจัดอบรมเพือ่ กระตุนใหครไู ทย พัฒนาศักยภาพและสงเสริมการใช  social media ในการจดั การเรียนร ู โดยเล็งเห็นความสาํ คัญในการสงเสรมิ และผลักดนั ใหครสู ามารถนําเครอ่ื งมอื ออนไลนทีม่ อี ยูบนระบบเครอื ขายอินเทอรเนต็ มาใชใ นการจัดการเรยี นร ู ใหเ กดิ เปน เครือขายและเกิดความรว มมือกันระหวางครูกับคร ูนกั เรยี นกับคร ู และนักเรยี นกบั นกั เรยี นดวยกนั  โดยไมม ีขอจาํ กัดเรื่องเวลา และสถานท ่ี กอ ใหเกดิ การเรียนรูแบบไมมที ่ีสิ้นสดุ  (สาํ นกั เทคโนโลยเี พอ่ื การเรียนการสอน, 2552) นับเปนยุคเว็บ 2.0 ทน่ี ักการศกึ ษาจําเปนตอ งตระหนัก  เขา ใจ  และเขาถึงแหลง เรยี นรูที่สาํ คัญแหง น ้ี เพ่อื ตอบรบั กบั การเปลย่ี นแปลงของโลกในปจ จบุ นั และอนาคตอยางหลกี เลยี่ งไมไ ด (Jeff Dunn, 2011)  โดยเครือ่ งมอื ทที่ างสํานักเทคโนโลยเี พอื่ การเรยี นการสอน  (สทร.)  แนะนําใหครไู ดนําไปปรับใช  ไดแ ก  ( การนํา Social Media มาใชใ นการจัดการเรยี นร,ู 2556)  1) Facebook : คือ เวบ็ ไซตส าํ หรับใหครแู ละนักเรยี นสามารถสอ่ื สารและแลกเปลย่ี นความคดิ เหน็ ซงึ่ กันได  โดยการต้ังกลมุ รายวชิ า เพ่อื การส่ือสารแลกเปล่ยี นขอมลู ระหวางครูกบั นักเรียน และนักเรียนกับนกั เรยี น  2) WordPress : คอื  เว็บไซตส าํ เรจ็ รปู หรอื บลอ็ ก ท่นี ักเรียนและครูสามารถใชสรางบลอ็ กสว นตัว หรอื ใน แตล ะรายวิชาสาํ หรบั เผยแพรบทเรยี นในแตละรายวชิ า หรือ สรางปฏสิ ัมพนั ธก บั นักเรียนได    3)  Youtube  :  คือ  เวบ็ ไซตท ่ีใช  ในการแบงปนไฟลวิดโี อ ครสู ามารถอพั โหลดและเผยแพรว ดิ ีโอ การสอนผา นเวบ็ ไซตยธู ูป  ใชว ิดโี อท่ีมีอยูบนเวบ็ ไซตเ ปน สอื่ ในการเรยี นการสอน และนกั เรียนสามารถเผย แพรผ ลงานของตนเองใหเพอ่ื น ๆ และครไู ดแ สดงความคิดเห็น  4) Twitter : ใชใ นการสือ่ สารขอ ความส้นั ๆ โตต อบกนั ไดอ ยา งรวดเรว็  

55) Slideshare : ใชใ นการแบงบันเอกสาร    เครื่องมือออนไลนท ่ีมอี ยอู ยางหลากหลายบนอนิ เทอรเ นต็ นั้น มีประสิทธิภาพสําหรบั การใชงานท่ีแตกตางกนั  โดยนบั วันจะพฒั นาและเปล่ยี นแปลงไปอยา งรวดเรว็  คาํ ถามคอื  เราจะนาํ เคร่ืองมือดงั ที่กลาวขา งตน   มาสรา งใหเ กิดแหลงเรยี นรเู พื่อเปนประโยชนส าํ หรบั นกั เรยี นไดอ ยา งไร  โดยทคี่ รสู ามารถดึงเครื่องมอื เหลา นไ้ี ปประยุกตใ ชในกระบวนการเรยี นการสอนอยา งเปน รปู ธรรมและอยางยั่งยืน  การทค่ี รูมีความเขา ใจในเทคนิค/แทคตคิ   ของเคร่อื งมอื  ผนวกกบั  กลยุทธการสอน และสรา งใหเ กดิ เปน รูปแบบทน่ี าสนใจสาํ หรบั นักเรยี นน้ัน  นบั เปนสงิ่ ท่ที า ทายสําหรบั ครูเปน อยางย่ิง  (สาํ นกั เทคโนโลยีเพ่อื การเรียนการสอน, 2554)                              

6  บทท่ี 2    ทฤษฎกี ารเรยี นรอู ยา งมีสว นรว ม (Collaborative Learning) หลักการ  1.  การเรยี นรแู บบรวมมอื   คือการเรียนรเู ปนกลมุ ยอย  มสี มาชกิ   3-6  คน  สมาชกิ ในกลุม มคี วามสามารถท่ีแตกตา งกนั สมาชิกชว ยกนั เรียนรเู พ่อื ไปสเู ปาหมายของกลมุ   2.  องคป ระกอบของการเรียนรูแบบรว มมือ  ประกอบดวยการพง่ึ พาและเกือ้ กลู กัน,การปรึกษาหารือกันอยา งใกลชดิ ,ความรับผิดชอบทต่ี รวจสอบไดของสมาชกิ แตละคน,การใชท กั ษะการปฏิสมั พันธระหวา งบุคคลและทักษะการทาํ งานกลุมยอย,  และ  การวเิ คราะหกระบวนการกลมุ เพ่อื ใหกลุมเกดิ การเรยี นรแู ละปรบั ปรุงการทาํ งาน การประยกุ ตในการจัดกิจกรรมการเรยี นร ู 1.  ดานการวางแผนการจัดการเรยี นการสอน  ประกอบดวย กาํ หนดจุดมงุ หมาย ขนาดกลมุ  องคประกอบของกลุม บทบาทของสมาชิก สถานที่ และงานที่กําหนดใหผ ูเ รียนทาํ   2.  ดานการสอน  ประกอบดวย  อธิบายและชแ้ี จงการทาํ งานของกลุม  เกณฑการประเมิน  การพงึ่ พาและเก้ือกูลกนั  การชวยเหลอื กันระหวา งกลุม การตรวจสอบความรับผดิ ชอบและหนา ทขี่ องแตละคน และพฤติกรรมท่ีความหวงั   3.  ดา นการควบคมุ กาํ กับและการชว ยเหลือกลมุ   ประกอบดวย  ดูแลใหสมาชกิ กลุมปรึกษาหารอืกันอยางใกลชิด  สังเกตการณการทาํ งานรวมกันของกลุม  ใหขอ มูลปอนกลบั และการเสริมแรง  ชวยเหลอื กลมุ ตามความเหมาะสม และสรปุ การเรียนร ู 4. ดานการประเมนิ ผลและวิเคราะหกระบวนการเรยี นร ู ประกอบดวย ประเมินผลการเรยี นรูของผูเรียนทงั้ ทางดา นปรมิ าณและคุณภาพ  ใชว ธิ กี ารที่หลากหลาย  ใหผ ูเรียนมีสว นรว มในการประเมิน  และวิเคราะหกระบวนการทาํ งานและกระบวนการเรยี นรรู วมกัน แนวคิดเก่ยี วกับการเรียนรูแบบรวมมือ  ราชบัณฑติ สถาน  (2551)  ไดใ หค วามหมายวา   เปนกระบวนการเรียนรูทยี่ ดึ หลกั ใหผ ูเรียนชวยกันเรยี นรโู ดยพึง่ พากัน  มปี ฏสิ ัมพนั ธกนั อยางใกลชิดใชทักษะทางสังคมในการทาํ งานรวมกัน  มกี ารวเิ คราะหกระบวนการทํางานกลมุ และมกี ารตรวจสอบผลการเรยี นรูเปน รายบคุ คล  วิกิพีเดยี   ไดใ หค วามหมายของ  การจดั การเรยี นรูแบบรวมมอื   หมายถงึ การจัดกิจกรรมการเรยี นรูสาํ หรับผเู รียนตงั้ แตส องคนขึน้ ไปหรอื โดยการแบง ผูเ รยี นออกเปนกลุม ยอ ย ๆ สงเสริมใหผูเรียนทํากิจกรรม

7รว มกัน โดยในกลมุ ประกอบดว ยสมาชกิ ทมี่ ีความสามารถแตกตา งกัน มกี ารแลกเปลี่ยนความคิดเหน็  มกี ารชวยเหลอื พงึ่ พากัน มคี วามรบั ผิดชอบรว มกนั  ทัง้ ในสวนตนและสวนรวมเพ่อื ใหต นเองและสมาชกิ ทุกคนในกลุมประสบความสาํ เร็จตามเปา หมายที่กาํ หนด ซง่ึ ตรงขา มกบั การเรียนทีเ่ นนการแขง ขันและการเรียนตามลาํ พัง  Blackcom  (1992)  กลาววา  การเรยี นรแู บบรวมมือเปนกลยทุ ธท ปี่ ระสบความสาํ เรจ็ โดยผูเรยี นกลุมเล็ก  ๆ  ที่มคี วามสามารถตางกัน  ใชก จิ กรรมการเรยี นทีห่ ลากหลาย  ในการปรับปรุงความเขา ใจในเนอ้ื หาวชิ า สมาชกิ แตละคนในทีมจะไมเ พียงจะตอ งมคี วามรบั ผดิ ชอบแตตองชวยเหลือกนั ในกลมุ  ซ่งึ สรา งบรรยากาศของสัมฤทธิ์ผลในการเรยี นอีกดวย  ทศิ นา  (2552)  กลา ววา   การเรียนรูแ บบรว มมอื คือ  การเรียนที่มีวตั ถปุ ระสงคใ หผ เู รยี นเกดิ การเรยี นรใู นเรอื่ งท่ีศึกษาอยา งมากทสี่ ดุ   โดยอาศัยการรวมมอื กันชว ยเหลอื กนั และแลกเปลย่ี นความรกู ัน ระหวางกลุมผูเรยี นดวยกัน  ความแตกตา งของรปู แบบแตล ะรปู แบบจะอยูทเี่ ทคนคิ ในการศึกษา  เนอ้ื หาสาระและวิธีการเสรมิ แรงและการใหร างวลั เปนประการสําคัญ  สรุป  การเรยี นรูแ บบรว มมือ  (Cooperative  Learning)  เปน วิธีการจดั การเรยี นการสอนรูปแบบหนึ่ง  ทเี่ นนใหผ เู รยี นลงมือปฏิบัติงานเปนกลมุ ยอย  โดยมสี มาชกิ กลมุ ทมี่ คี วามสามารถที่แตกตา งกนั   เพ่อืเสรมิ สรา งสมรรถภาพการเรียนรขู องแตละคน  สนบั สนุนใหม ีการชวยเหลอื ซ่งึ กนั และกัน  จนบรรลุตามเปาหมายทว่ี างไว ซง่ึ ในงานวิจยั น้ีเรียก Cooperative Learning วา การเรียนแบบรวมมือ  ไพฑรู ย  และคณะ (2550) ไดใหความหมายของการเรยี นรแู บบรวมมือวา  เปนการเรียนรทู ีเ่ กิดจากการรวมมอื รว มใจในการศึกษาคนควาและปฏบิ ัติงาน เพอ่ื ใหบรรลุเปาหมายซง่ึ ถอื เปนความสาํ เร็จของกลมุ  เนน การทาํ งาน คละความสามารถของสมาชกิ  ดังนนั้ การกระทาํ ใด ๆ ของสมาชกิ ยอมมีผล กระทบตอ กลุมและสมาชกิ คนอ่นื ๆ  ทฤษฎกี ารเรียนรแู บบรวมมอื (Collaborative Learning)   Jo​ hnson,  Johnson  and  Stann  (2000)  กลาววา   การเรียนรูแบบรวมมือ  ทไ่ี ดรับความนยิ มอยา งกวางขวาง มที ้งั หมด 8 รูปแบบ ไดแก  1. รปู แบบแอลที (LT) หรือ Learning Together  2. รปู แบบเอ.ซี. (AC) หรือ Academic Controversy  3. รปู แบบเอส.ท.ี เอ.ดี (STAD) หรอื Student-Team-Achievement- Divisions  4. รูปแบบที.จ.ี ที (TGT) หรอื Team-Games-Tournaments  5. รูปแบบจ.ี ไอ (GI) หรือ Group Investigation 

8 6. รปู แบบจ๊กิ ซอร (Jigsaw)  7. รูปแบบท.ี เอ.ไอ (TAI) หรือ Teams-Assisted-Individualization  8. รปู แบบซี.ไอ.อาร. ซี (CIRC) หรือ Cooperative Intergrated Reading and Composition  ทง้ั   8  รปู แบบ  ใหผ ลกระทบในดา นบวกตอสมั ฤทธผิ์ ลทางการเรียน  ซ่ึงสอดคลอ งกบั   ทศิ นา (2548)  กลา ววา ทุกรูปแบบของการเรยี นแบบรวมมือตา งมกี ระบวนการเรยี นรทู ีพ่ ่งึ พาและเกือ้ กูลกนั  สมาชิกกลมุ มกี ารปรกึ ษาหารือและปฏสิ ัมพันธอ ยางใกลชดิ   สมาชิกทุกคนมีบทบาทหนา ที่ทีต่ อ งรับผิดชอบและสามารถตรวจสอบได  สมาชกิ กลุม ตองใชท กั ษะการทาํ งานกลุมและการสมั พนั ธร ะหวางบคุ คลในการทาํ งานหรอื การเรยี นรรู ว มกนั   รวมท้ังมกี ารวเิ คราะหก ระบวนการทํางานของกลมุ เพอ่ื ประสทิ ธภิ าพและคณุ ภาพของการทํางานรว มกัน  ในสวนทีต่ างกันนน้ั มักจะเปน ความแตกตา งในเรอ่ื งของวธิ กี ารจดั กลมุ   วธิ ีการในการพึง่ พากัน วิธีการทดสอบ กระบวนการในการวิเคราะหกลมุ  บรรยากาศของกลมุ  โครงสรางของกลุม บทบาทของผูเ รียน ผูนาํ กลมุ และคร ู ประเภทของกลมุ การเรยี นรแู บบรวมมอื   ทิศนา (2548) ไดแ บงกลมุ การเรยี นรแู บบรวมมอื ทีใ่ ชอ ยูโดยทวั่ ไป มี 3 ประเภท ดงั น ี้ 1.  กลุมการเรยี นรูแ บบรวมมอื อยา งเปน ทางการ  (Formal  Cooperative  Learning  Group) กลมุ ประเภทนีค้ รูจัดขน้ึ โดยการวางแผน จดั ระเบยี บ กฎเกณฑ  วธิ ีการและเทคนิคตาง ๆ เพ่อื ใหผ เู รียนไดรว มมอื กันเรยี นรสู าระตาง ๆ อยางตอเนือ่ ง ซงึ่ อาจเปนหลาย ๆ ช่วั โมงติดตอ กนั  หรือหลายสัปดาหติดตอกัน จนกระทัง่ ผเู รียนเกดิ การเรยี นรูแ ละบรรลุจุดมงุ หมายตามที่กาํ หนด  Blackcom  (1992)  กลาววา   การเรียนรูแ บบรวมมอื เปนกลยทุ ธท ี่ประสบความสาํ เร็จโดยผูเรยี นกลุมเลก็   ๆ  ทม่ี ีความสามารถตา งกนั   ใชก ิจกรรมการเรยี นที่หลากหลาย  ในการปรบั ปรงุ ความเขา ใจในเนื้อหาวชิ า สมาชิกแตล ะคนในทมี จะไมเ พยี งจะตองมคี วามรบั ผิดชอบแตต องชว ยเหลือกันในกลุม  ซงึ่ สรางบรรยากาศของสมั ฤทธ์ผิ ลในการเรียนอีกดวย  2. กลมุ การเรียนรูแ บบรว มมอื อยา งไมเปน ทางการ (Informal Cooperative Learning Group) กลุม ประเภทน ้ี ครจู ัดขึ้นเฉพาะกิจเปนครัง้ คราว  โดยสอดแทรกอยูในการสอนปกตอิ ่นื   ๆ  โดยเฉพาะการสอนแบบบรรยาย  ครูสามารถจดั กลุม การเรยี นรูแบบรวมมือสอดแทรกเขา ไปเพอ่ื ชวยใหผเู รียนมงุ ความสนใจ หรอื ใชความคิดเปนพิเศษในสาระบางจุด  3.  กลุม การเรียนรูแบบรวมมืออยา งถาวร  (Cooperative  Base  Group)  หรอื   Long  –  Term Group กลมุ ประเภทน ี้ เปนกลมุ การเรียนรูทส่ี มาชกิ กลมุ มีประสบการณก ารทาํ งาน / การเรยี นรรู ว มกนั มานานมากกวา   1  หลักสูตร  หรอื ภาคการศึกษา  จนกระท่ังเกดิ สัมพันธภาพท่แี นน แฟม  สมาชกิ กลุมมคี วามผูกพัน หวงใย ชว ยเหลือกนั และกันอยางตอเนอื่ ง ในการเรยี นรูแบบรวมมอื  มกั จะมีกระบวนกาดําเนนิ งาน

9ทต่ี องทําเปน ประจํา  เชน  การเขียนรายงาน  การเสนอผลงานของกลมุ   การตรวจผลงาน  เปนตน  ในกระบวนการทใ่ี ชห รอื ดําเนนิ การเปนกจิ วตั รในการเรียนรูแบบรว มมือน ้ี เรยี กวา   Cooperative  Learning Scripts ซ่ึงหากสมาชิกกลุมปฏิบัติอยางตอ เน่ืองเปนเวลานาน จะเกิดเปนทกั ษะทชี่ ํานาญในท่สี ุด แนวคดิ เกี่ยวกบั การเรียนรูแบบรวมกัน ราชบัณฑิตสถาน (2551) เรยี กวา  การรวมกันเรียนร ู หรือการเรยี นรูรวมกนั  หมายถึง การเรยี นรูท ่ีเกิดข้นึ จากท่บี ุคคลรวมตวั กันทํางานอยางมีเกยี รตแิ ละศกั ด์ิศรเี สมอกนั   โดยเนน การรวมพลงั และกระบวนการทํางานท่ีด ี Gokhlae  (1995)  เห็นวา   CL  คือ  วิธีการสอนท่ีเนน กระบวนการทาํ งานรวมกนั เปน กลมุ เลก็ เพ่ือจดุ หมายรวมกัน ผูเรียนจะมีความรับผดิ ชอบซ่งึ กันและกัน เพอื่ ผลสําเรจ็ รว มกนั   Collaborative learning online (2008) กลา ววา การเรียนรูแบบรว มกัน ไมปรากฏในการเรยี นรูรปู แบบเดมิ ท่ีผเู รยี นมีอิสระในการทาํ งาน งานเรียนและมคี วามรบั ผิดชอบในตัวเอง ซ่งึ ในการเรียนเปน กลมุแบบเดมิ โดยทั่วไปเปนการปฏิบัตดิ วยตัวเองและ ทํารายงานดังน้นั จึงไมต อ งพง่ึ พาอาศยั กนั กบั ผเู รยี นอ่นื   ไพฑรู ย  และคณะ  (2550)  ไดใ หค วามหมายของการเรียนแบบรวมแรงรวมพลงั   (Collaborative Learning)  วา การเรยี นรนู ้ีเปน วธิ กี ารเรยี นการสอนแบบทํางานรับผดิ ชอบรวมกนั เนนการมคี วามสนใจรวมกนั ของสมาชิกมากกวา ระดบั ความสามารถ บทบาทของสมาชิกทกุ คนมคี วามชดั เจนและทาํ งานไปพรอม ๆ กนั  ศึกษาคน ควา ปฏิบัติงานและชวยเหลือซงึ่ กันและกัน การเรียนแบบน้เี นน การยอมรบั ในบทบาทหนา ที่ของกันและกนั รวมทั้งสามารถแลกเปล่ยี นความรคู วามคดิ เห็นซ่งึ กันและกันไดตลอดเวลา  สรุปไดว า   การเรียนรูแ บบรวมกัน  (Collaborative  Learning)  หมายถงึ   การเรียนที่เนนการทาํ งานเปนกลมุ   ท่ีสมาชิกในกลุมทาํ งานรบั ผิดชอบรว มกัน  การยอมรับบทบาทหนา ทขี่ องกันและกันและสามารถแลกเปล่ยี นความรแู ละประสบการณร ะหวางสมาชิกดว ยกันได  ซ่ึงในงานวิจยั น ี้ เรยี กวา  การเรยี นรูแบบรวมกนั (Collaborative Learning) หลักเกณฑข องการเรยี นรูแบบรวมกนั   Johnson, Johnson & Smith (อางถึงใน Collaborative learning online, 2008) ไดส รปุ หลกัการเรียนรแู บบรว มกนั ที่เปน กระบวนทัศนใหมท างการศกึ ษา ไวดงั น ี้ 1.  องคความรคู ือการสรา งการคนคิดและเปลย่ี นสภาพโดยผูเรียน  ผูส อนสรา งเง่ือนไขทผ่ี เู รยี นสามารถสรางความหมายจากวสั ดุในการเรยี นโดยใชก ระบวนการผา นโครงสรางทางปญญาและเก็บไวใ นความจาํ ระยะยาวเพอ่ื จะสามารถนาํ กลบั มาใช 

10 2.  ผูเรียนมคี วามกระตือรือรนในการสรางองคค วามร ู การเรียนคือส่งิ ท่ผี ูเรยี นทําไมใชส ิ่งทีท่ าํ ใหผ ูเรยี น  ผูเรยี นไมใ ชค อยรบั ความรจู ากครหู รือหลักสูตร  ผูเรียนจะตอ งมคี วามกระตือรือรนท่จี ะเรียนโดยใชโครงสรางทางปญ ญาหรือสรางองคค วามรขู ้นึ มาใหม  3. การสอนมจี ุดมุงหมายเพื่อพัฒนาสมรรถนะและความสามารถดา นตาง ๆ ของผูเ รยี น  4.  การศึกษาคอื การติดตอ ระหวา งบุคคลของผเู รยี น  และระหวา งผูสอนกับผูเรยี นในการทาํ งาน รว มกัน  5. ขอ ก-ง สามารถใชแทนดว ยบรบิ ทของการรว มมือกนั   6.  การสอนจะสมบรู ณแ ละมปี ระโยชนตามทฤษฎจี ะตอ งพจิ ารณาท่ีผสู อนวา ไดมกี ารอบรมทักษะและกระบวนการของการสอนแบบรว มกันอยางตอ เนอ่ื ง การออกแบบการเรียนรูแบบรวมกนั (Collaborative Learning)  อดุ ม  (2551)  กลา ววา   การออกแบบการเรียนรูแบบรว มกัน  ตอ งทาํ ใหเ กิดความสะดวกระหวางนกั เรียนกับนกั เรยี น  นักเรยี นกับคร ู ครูกบั คร ู หองเรยี นกับสถาบันการศึกษาอน่ื   ๆ  และชมุ ชน  การเรยี นตอ งเปนอสิ ระ  ผเู รยี นไดกระทําเองปฏบิ ตั เิ อง  มกี ารสือ่ สารทางไกลกบั นกั ศกึ ษาอื่น  การสือ่ สารการเรยี นแบบรว มกนั  (Collaborative) ซ่งึ สอดคลองกับ Eugenia M. W. Ng and Ada W. W. Ma (2002) กลา ววา การปฏสิ มั พันธข องผเู รยี นชวยสนบั สนุนการสอ่ื สารผา นเครอื ขายอนิ เทอรเ นต็  ซึ่งงายและสะดวกในการติดตอ ไปยงั ผเู รยี นคนอื่น  ๆ  ซ่ึงมคี วามสะดวกในเร่ืองเวลาและสถานท่อี กี ดวย  เม่อื เปรยี บเทยี บกบั การสอ่ื สารแบบอ่ืน  นอกจากน ้ี เวบ็ ยงั สามารถเก็บขอความขา วสาร ท่ีผใู ชสามารถนํามาสรา งใหม  สามารถนาํมาอางอิง  เปลยี่ นและเก็บบันทึกระหวา งมีปฏิสัมพันธกนั ไดโ ดยงาย  และผลที่ไดคอื   ผเู รยี นท่ีมีพนื้ หลงั ท่ีแตกตา งกนั และสถานท่ตี า งกันสามารถแบงปน ระหวา งกนั   และประสบการณกลุมและการออกความเหน็รว มกันในการแกปญ หาในกระบวนการเรียน               

11       บทท่ี 3  สือ่ สังคม (Socail Medie) ที่นาํ มาใชในการเรยี นการสอน ความหมายของสอ่ื สังคม (Socail Medie)  ราชบณั ฑติ ยสถาน  (2554)  ไดบ ญั ญตั คิ ําวา  “Social  Media”  ไววา  “ส่ือสงั คม”  หมายถงึ สอ่ือเิ ลก็ ทรอนกิ ส  ซงึ่ เปนสื่อกลางทีใ่ หบุคคลทว่ั ไปมีสวนรว มสรา งและแลกเปล่ียนความคดิ เหน็ ตา งๆ  ผานอินเทอรเนต็ ได  ส่ือเหลา น้เี ปนของบรษิ ัทตาง  ๆ  ใหบริการผานเวบ็ ไซตข องตน เชน  เฟซบุก (Facebook), ไฮไฟฟ (Hi5) (อานวา ไฮ-ไฟ) , ทวติ เตอร (Twitter), วกิ ิพเี ดยี (Wikipedia) ฯลฯ  กานดา  รุณนะพงศา  สายแกว  (ม.ป.ป.)  อาจารยป ระจาํ ภาควิชาวิศวกรรมคอมพวิ เตอร มหาวทิ ยาลยั ขอนแกน   ไดก ลา ววา   “มีเดีย  (“Media”) หมายถงึ  ส่อื หรือเครอื่ งมอื ทใ่ี ชเ พ่อื การสือ่ สารโซเชียล (“Social”) หมายถึง สังคม และในบรบิ ทของโซเชยี ลมีเดีย โซเชียลหมายถึงการแบง ปน ในสงั คม  ซ่ึงอาจจะเปนการแบง ปน เนื้อหา  (ไฟล,  รสนิยม  ความเห็น)  หรือปฏิสัมพนั ธในสงั คม  (การรวมกับเปนกลมุ ) เพราะฉะนั้น  โซเชยี ลมเี ดยี ในทน่ี ี้หมายถึงสอ่ื อิเลก็ ทรอนิกสทีท่ าํ ใหผ ูใ ชแสดงความเปนตวั ตนของตนเองเพอ่ืทีจ่ ะมปี ฏิสัมพันธกับหรือแบงปนขอมลู กบั บุคคลอ่นื ”  สรุปไดว า  โซเชียลมีเดยี   หรือ  สื่อสังคม  หมายถึง  สอื่ ดิจทิ ลั หรือซอฟแวรท่ีทาํ งานอยูบ นพนื้ ฐานของระบบเว็บไซตบ นอินเทอรเ น็ต  อนั เปน เครอ่ื งมือในการปฏิบัตกิ ารทางสังคมที่มผี ูจัดทาํ ขนึ้   โดยเม่อื ผูส งสารพบเจอเร่ืองราว  เหตกุ ารณ  บทความ  ประสบการณ  รปู ภาพ วิดีโอและเพลงตา งๆ  จงึ นาํ ขอมูลเหลานนั้ มาแบง ปน กับผูใชใ นโลกออนไลนภายใตเครือขายของตนไดรบั รูและใชประโยชนรวมกันอยา งรวดเรว็และมีประสทิ ธภิ าพ (อรวรรณ วงศแ กวโพธ์ทิ อง, 2553; Elizabeth F. Churchill, 2012)  ประเภทของ Social Media  ประเภทของ​ S​ ocial Media แบง ออกเปน 7 ประเภท ดงั น ้ี 1. ​ประเภทการเขียนบทความ (Web Blog) เปนระบบจดั การเน้อื หา (Content Management System:  CMS)  รปู แบบหน่ึง  ซ่งึ ทําใหผ ูใชสามารถเขียนบทความทเี่ รียกวาโพสต  (Post)  และทาํ การเผยแพรไ ดง าย  เปน การเปดโอกาสใหค นทีม่ ีความสามารถในดา นตา งๆ  สามารถเผยแพรค วามรูด งั กลา วดว ยการเขยี นไดอ ยา งเสร ี 2. ​ประเภทแหลง ขอ มูล หรอื ความร ู (Data/ Knowledge) เปนเวบ็ ทรี่ วบรวมขอมลู ความรใู นเร่ืองตา งๆ  ในลักษณะเนอื้ หาอสิ ระ  ท้งั วชิ าการ  ภมู ศิ าสตร  ประวัตศิ าสตร  สนิ คา  หรอื บรกิ าร  โดยมุงเนนให

12บคุ คลทมี่ คี วามรใู นเร่อื งตา งๆ  เปน ผเู ขา มาเขยี นหรอื แนะนาํ ไว  ซึ่งสวนใหญมักเปน นักวชิ าการ  นักวชิ าชีพ หรือผเู ชี่ยวชาญ ทีเ่ ห็นไดชัดเจน เชน​ ​Wikipedia, Google Earth เปน ตน  3. ​ประเภทเกมออนไลน  (Online  Games)  เปน เว็บที่นยิ มมากเพราะเปนแหลง รวบรวมเกมไวมากมาย  จะมลี ักษณะเปนวิดโี อเกมที่เลนบนเครือขา ยอนิ เตอรเ นต็   ซงึ่ เกมออนไลนน ี้ ผูเลน สามารพทจ่ี ะสนทนา เลน แลกเปล่ยี นสงิ ของในเกมกับบคุ คลอ่ืน ๆ ในเกมได  และสาเหตุท่ีมีผนู ิยมมากเนื่องจาก ผูเลนไดเ ขา สังคมจึงรสู ึกสนกุ ที่จะมเี พื่อนเลนเกมไปดวยกันมากกวา การเลน เกมคนเดียว  อีกทั้งมีภาพทสี่ วยงาม และมีกจิ กรรมตา ง ๆ เพ่มิ  เชน  อาวุธ หรอื เครือ่ งแตง ตัวใหม  ๆ ท่ีสาํ คญั สามารถที่จะเลน กบั เพ่อื น ๆ แบบออนไลนไดทนั ที เชน​ ​Word of Warcraft, League of Legends, Star Craft เปน ตน  4. ​ประเภทชุมชนออนไลน  (Community) เปน เวบ็ ท่เี นน การหาเพ่ือนใหม  หรือการตามหาเพอ่ื นเกาทีไ่ มไดเ จอกันนาน  การสราง ​Profile  ของตนเอง โดยการใสร ูปภาพ, กราฟฟค ที่แสดงถึงความเปนตัวตนของเรา  (Identity) ใหเพือ่ นท่ีอยใู นเครอื ขา ยไดรจู กั เรามากย่ิงขึ้น และยงั มลี ักษณะของการแลกเปลี่ยนเร่อื งราว ถา ยทอดประสบการณต าง ๆ รว มกนั เชน ​ F​ acebook, Google Plus เปน ตน  5. ​ประเภทฝากรูปภาพ  (Photo Management) เวบ็ ทเ่ี นนฝากเฉพาะรูปภาพโดนการ U​ pload รปู ภาพจากกลองถายรูป  หรอื โทรศัพทม ือถือไปเกบ็ ไวบ นเวบ็   ซง่ึ สามารถแชรภาพ  หรือซอ้ื ขายภาพกันได เชน​ I​ nstagram, Flickr, Pinterest เปน ตน   6. ป​ ระเภทสื่อ  (Media)  เว็บท่ีใชฝาก  หรือแบงปนไฟลประเภท M​ ultimedia  อยาง  คลิปวดิ ีโอ ภาพยนตร  เพลง  ฯลฯ  โดยใชว ิธเี ดียวกันกบั แบบเว็บฝากภาพ  แตจ ะเนน เฉพาะไฟลท เี่ ปน ​Multimedia เชน ​ Y​ ouTube, Ustream, Vimeo เปนตน   7. ​ประเภทซอ้ื -ขาย  (Business/  Commerce)  เปนเวบ็ ทีท่ าํ ธรุ กิจออนไลนท เ่ี นน การ  ซอื้ -ขายสินคา  หรอื บริการตาง  ๆ  ผา นเวบ็ ไซต  (e-Commerce)  เชน การซอื้ ขายรถยนต  หนังสือ หรอื ทพ่ี กั อาศัย เวบ็ ท่ไี ดร บั ความนยิ มมาก  เชน ​Amazon,  eBay,  Lazada  เปน ตน  แตเว็บไซตป ระเภทน้ยี ังไมถอื วาเปนSocial  Network  ทแ่ี ทจ ริง  เน่อื งจากไมไ ดเ ปดโอกาสใหผใู ชบ ริการแชรข อ มูลกนั   นอกจากเนน การสั่งซ้อื  และแนะนําสินคาเปน สวนใหญ  งานวจิ ยั ทีเ่ กย่ี วของ  อําไพศร ี โสประทุม (2539) ทาํ การศึกษาเร่อื งพฤติกรรมการเปด รับขอ มลู ขาวสาร และปจจัยบางประการที่มผี ลตอการยอมรับการสื่อสารคอมพิวเตอรร ะบบเครือขายอินเตอรเ นต็ ของผใู ชค อมพิวเตอรกรงุ เทพมหานคร  พบวา  สถานภาพทางเศรษฐกิจ  และสังคมท่ีมคี วามสัมพนั ธกนั ในการยอมรับเครอื ขา ยอนิ เตอรเน็ต  โดยท่กี ารศกึ ษาทคี วามสัมพันธก ับการท่เี ครอื ขายอินเตอรเน็ตชว ยในการทํางาน  รายไดต อเดือนมีความสัมพนั ธกับความตองการในอนาคต  การเปน เจา ของทคี วามสัมพันธกับความถ่ีบอยในการใชอินเตอรเ นต็ การชว ยพฒั นาในการทาํ งาน และความตองการใชใ นอนาคต 

13 วิฑูรย  เลศิ ประเสรฐิ พนั ธ  (2543)  ทําการศึกษาเรือ่ ง  การศึกษาปจ จัยทมี่ ผี ลตอ พฤติกรรมการใชอนิ เตอรเนต็ ของวัยรุนในชวี ิตประจําวนั   กรณีศึกษาเฉพาะ  นกั ศึกษามหาวิทยาลัยหอการคา ไทย  พบวา กลุม ตัวอยางเปน เพศหญิง มากกวาเพศชาย รายไดตอเดอื นระหวาง 5,001-10,000 บาท มีพฤติกรรมการใชอินเตอรเ น็ตไมแ ตกตางกัน  ยกเวนระยะเวลาการใชงาน  จะสนใจในขอมูลกฬี า  บันเทิง  ศลิ ปวฒั นธรรม และมีพฤติกรรมการใชอ นิ เตอรเนต็ ท่ีบา นในชว งเวลา  20.00-24.00  น.  ประมาณวนั ละ  1-2  ครัง้  ครงั้ ละประมาณ 61-120 นาท ี โดยมีรูปแบบการใชอนิ เตอรเ นต็ ในการตดิ ตามสบื คน ขอมูล โดยมีจุดมงุ หมายเพือ่พัฒนาทักษะภาษาอังกฤษ  คน หาขอ มูลเกย่ี วกบั การเรยี น  เพอ่ื ความบนั เทงิ   รูจ ักเพอื่ นใหมทางเครอื ขาย และใชเ ปนแหลงขอมูลเพือ่ ใชใ นการพฒั นาทักษะการใชง านคอมพิวเตอร  อรอุมา  ศรีสุทธิพนั ธ  (2545)  ทาํ การศกึ ษาเรือ่ ง  ความคดิ เหน็   และพฤติกรรมการเปดรบั ส่อือินเตอรเ น็ตกบั รปู แบบการดาํ รงชีวติ ของผใู ชอนิ เตอรเ น็ตในเขตกรุงเทพมหานคร  พบวา  ผูใชอินเตอรเ นต็ในกรุงเทพมหานคร  สว นใหญเปน เพศหญงิ   อายุระหวา ง  26-35  ป  ประกอบอาชพี เปนขา ราชการ  หรอืพนกั งานรัฐวสิ าหกิจ การศึกษาอยูใ นระดบั ปรญิ ญาตร ี มคี วามถีใ่ นการใชสือ่ อนิ เตอรเ น็ต เพียง 1-3 คร้งั ตอสัปดาห  และมีระยะเวลาในการเปด รับสอ่ื อินเตอรเ น็ตในแตละคร้ังจาํ นวน  2  ช่วั โมง  เวลาทนี่ ยิ มมากทสี่ ดุคอื ชว งกลางคืน  เปด รับส่ืออนิ เตอรเ น็ตจากบา น  สาํ หรับสิ่งที่นยิ มในการใชอินเตอรเ น็ตมากที่สุดคอื   การคน หาขอ มูลขาวสาร  หรอื คน หวาขอมลู   การสนทนาทางอนิ เตอรเน็ต  การอานหนังสือพิมพ  หรือนิตยสารทางอินเตอรเ น็ต สวนรูปแบบการดาํ เนนิ ชวี ิต กิจกรรมทางอนิ เตอรเ น็ต คือใชอ ินเตอรเนต็ ในการติดตองาน หรือการศึกษา  สุทธพิ ร  นิราพาธ  (2547)  ทาํ การศึกษาเร่อื ง  ความสัมพันธร ะหวา งการเลน เกมคอมพวิ เตอร  กับการแสดงพฤติกรรมกาวรา วของวัยรนุ  พบวา พฤติกรรมนั้น จะหมกมุน ซ้ํา ๆ ไมส ามารถควบคมุ ใหห ยุดได เสียหายตอ ตนเอง ผอู ื่น หรือครอบครัว ทั้งดานการเรียน การงาน การเงนิ  กฎหมายความขดั แยงระหวางบุคคล และขอ เสียของการเลน เกมนาน ๆ ตอ วัยรุน คือ  1. เกมขโมยเวลาอันมคี า ของเดก็ ไปจากผูปกครอง เกมกลายเปน เพอ่ื นสนทิ แทนผูปกครอง  2. เดก็ จะเห็นความรนุ แรงจากเกม ทําใหเกิดความซมึ ซบั ความรุนแรง  3. เกมบางอยา งแทรกเรื่องเพศเขาไปดว ย ทําใหเ ดก็ เรยี นรูเรือ่ งเพศจากสิ่งทไ่ี มเ หมาะสม  4. เกมทําใหพ ฒั นาการของวยั รุนบกพรอง  ทําใหก ลามเนอ้ื มือทาํ ไดแ ตก ด  ๆ  เคาะ  ๆ  ทํางานไมละเอียด ขาดทกั ษะกลา มเนื้อมดั เล็ก  5. ทาํ ใหอว นเพราะมแี ตน ง่ั ไมไ ดอ อกกําลงั กาย  6. ทําใหขอมอื เส่อื ม สายตาเส่ือมลา เรว็ รูปรางไมสงาผาเผย  7. ลา ชาในการพัฒนาการภาษา การจินตนาการ และนามธรรม ขาดทกั ษะทางสังคม  8. ขาดทักษะในการบรหิ ารอารมณ  และมองการแกปญหาเปน เหมือนเกม  ไมม ที างสายกลาง  มงุ แตแพ และชนะเทานัน้  

14 9. ทาํ ใหส มาธสิ นั้  ตึงเครียด เพราะเกมเปนตวั กระตุนสายตาทเ่ี รว็ มาก จนเกดิ ความเคยชิน และทาํ ให รอไมเ ปน  การเลน นาน ๆ ทาํ ใหเ ครยี ด จึงโมโห และหงดุ หงดิ งา ย พูดจาไมเ พราะผลการสาํ รวจของสํานัก วจิ ยั เอแบคโพลทที่ าํ การวจิ ยั เร่อื งการใชชีวติ ของนสิ ิต  นักศกึ ษาในกรงุ เทพมหานคร  จาํ นวน  1,262  ตัวอยา ง ซึง่ เผยแพรพบวา กลมุ ตวั อยางสวนใหญร อยละ 95.7 ใชโ ทรศัพทมอื ถอื เฉลยี่  3 ชว่ั โมงตอ วนั  รอย ละ 79.9 ใชอ นิ เตอรเ น็ต 3 ชัว่ โมงตอ วนั  ขณะทใี่ ชเ วลาอานหนังสอื พมิ พเฉลี่ย 16 นาทีตอ วัน โดยรอ ยละ  75.1  ระบุวา  อานเฉพาะขาวหนา หน่ึงบางขา วเทานั้น  เชน เดียวกับรอ ยละ  51.6  ท่รี ะบวุ าอา นนิตยสาร เพยี ง  26  นาทตี อ วนั  ย่งิ ไปกวา นั้น การใชอ ินเตอรเนต็ สว นใหญแ ลว ยังมิไดเปน การใชเพื่อแสวงหาความร ู แตเ ปนไปเพือ่ ความบนั เทงิ  อาท ิ การแชท ถงึ วนั ละ 2 ชว่ั โมง หรือการเขาเวบ็ โป  และเว็บลามากถึงกวา 2  แสนครงั้ ในชว ง 7 วนั   งานวิจยั ระบวุ า  ขณะทาํ การบานจะเปด  Facebook  ทงิ้ ไวเ ฉย  ๆ  จะสง ผลใหการเรยี นตกตํา่ กวา เพอื่ น ๆ ลง 20 เปอรเ ซ็นต  เทียบระหวา งเด็กท่ีใช  และไมใ ช  ถาใช  เกรดเฉล่ยี อยูท ี่ 3.06 และถา ไมใ ชอ ยทู  ี่ 3.82  การศึกษาจากมหาวทิ ยาลยั   Ohio  State  พบวา  เดก็ จะใชเ วลาสําหรับการเรียนลดลง  และมีผล การเรียนลดลง  แตหากไปสอบถามนักศึกษาวา F​ acebook  มผี ลกระทบตอ การเรียนไหม  รอ ยละ  79  เปอรเ ซ็นต ตอบวามีผลกระทบตอ ดา นการเรียน  สมาคมจิตวิทยาแหง อเมริกา (American Psychological Association) ไ​ ดนาํ เสนองานวิจยั โดย สาํ รวจพฤติกรรมของวยั รุนท่ีใชค อมพวิ เตอรเ ลนอินเตอรเน็ต  โดยเฉพาะการเขาไปดูกจิ กรรมตาง  ๆ  บน เว็บไซตF acebook พบวา  วยั รุนเลน ​Facebook มีทง้ั ขอ ด ี และขอเสยี  แตถา หากปลอยเลน F​ acebook  มากเกนิ ไปอาจสง ผลกระทบทางจิตใจอยา งหลายอยาง  ดงั น ี้ มอี ารมณก า วรา ว, ไมมสี มาธิในการเรียน ผล การเรยี นแยล ง,​ ว​ ิตกกงั วลตกอยูในภาวะซึมเศรา ,​ ​ทาํ ใหม ปี ญหานอนดึกมากขน้ึ ผกั ผอนไมเ พียงพอ  สอื่ โซเชยี ลมเี ดีย หรอื ส่อื สงั คม ในหลักสูตร และการสอน   (Social​ M​ edia​ i​ n​ ​Curriculum​ a​ nd​ ​Instruction)  เนือ่ งจากวิวฒั นาการของสอื่ ใหม  หรือสอ่ื ทางสงั คมในปจ จุบนั  ไดก า วรุดหนาไปอยางรวดเร็ว และ เปน ท่นี ยิ มในการนาํ มาใชก นั อยา งแพรห ลายในสังคมทุกกลมุ  ดังนน้ั จงึ ไดม กี ารนํามาใชในวงการศกึ ษาเรยี น รจู ากสอื่ ประเภทดงั กลาวน ้ี ซ่ึงเหตผุ ลบางประการสําคัญของการนาํ เอาส่ือสงั คม หรือ Social Media มา ใชรวมกันในหลกั สูตร และการเรียนการสอนน้นั มหี ลายประการ แตมีเหตผุ ล 2 ประการสาํ คัญท่ี K​ ommer  (2011: online) ไดก ลาวไวอ ยางนาสนใจวา  1. ส่ือโซเชียลมเี ดยี   เปนส่อื ทีช่ ว ยเพมิ่ ประสิทธิภาพในการทําใหผเู รียนมอี ิสระในการเรียนรูมากย่งิ ข้นึ   ซ่ึง การนําเอาส่อื ประเภทเหลานเี้ ขามาใชใ นโรงเรยี น จะสนองตอ จดุ ประสงคสําคญั  และเปาหมายทเ่ี กิดข้นึ กับ ผเู รยี นได 

152. ก​ ารนาํ เอาสื่อโซเชียลมีเดยี มาใชใ นโรงเรียน ยังเปนการจํากัดชองทาง และมคี วามเหมาะสมสาํ หรบั ผู ใช  (ผเู รยี น)  ทีจ่ ะสามารถพฒั นารูปแบบการสอื่ สารไดด ว ยตนเอง  โดยเฉพาะการสือ่ สารจาการใช เวบ็ ไซต และยังเปนระบบการสอนท่ีเหมาะสมกบั ผูเรียนระดับตนไดอ กี ดว ย   คุณประโยชนข องการใชส ่อื โซเชยี ลมีเดียในการศึกษา  (Benefit  of  using Social Media​ ​in​ E​ ducation)  สือ่ สงั คม  หรือสื่อโซเชยี ลมีเดีย  เปน สือ่ ใหมท่กี าํ ลงั มีบทบาท  และมอี ิทธิพลคอ นขางสูงในสังคมปจ จบุ ัน  ซึ่งในสว นของวงการศึกษา  และการจดั การเรียนร ู ไดม ีการนาํ เอาสอ่ื เหลา น้มี าใชก นั อยา งแพรหลาย  ทงั้ นี้เนอื่ งจากสังคมจะกอใหเกิดคุณประโยชนหลายประการ  ดงั ท่ีมผี ูกลา วไวอ ยา งนา สนใจ  เชน  กลุม ​The  Social  Media  Advisory Group แหง V​ ictoria University ประเทศออสเตรเลีย กลาวถงึประโยชนของโซเชยี ลมีเดยี ตอการเรียนรู ไววา  1. ​เปน การสรางศกั ยภาพของการส่ือสาร/สอื่ ความหมาย  สนองตอความตองการของการสือ่ ความหมายในการเรยี นการสอนของผูเรียน และทาํ ใหผ ูเ รียนไดร ูถ ึงรูปแบบ และระดับในการสรา งกระบวนการมีสว นรว มทางการเรียนร ู รวมถงึ การเขา ถึงแหลงการเรยี นรไู ดอ ยางมคี ณุ ภาพ โดยใชก ระบวนการสอ่ื สารจากสื่อโซเชียลมเี ดยี เปนตัวเชื่อมโยงประสบการณด งั กลา ว  2.  เปนส่ือทเี่ หมาะสมตอ การใช  สอ่ื ประเภทนีเ้ ปน ส่อื ทีป่ รบั ใชใ หเหมาะสมตามสภาพแวดลอม ดงันัน้   ประสทิ ธิภาพ และความสาํ เร็จจึงข้นึ อยกู ับปจจัยท่หี ลากหลาย ทั้งดา นสถานะทางสังคม และทศั นคต ิการยอมรับ  ดงั นนั้   จงึ เปนส่ือท่มี คี วามเหมาะสมตอการเสรมิ สรา งโอกาส  และความรบั ผิดชอบของผูใชในสภาพแวดลอมทีแ่ ตกตางกนั   3. เปน สอ่ื ทีใ่ ชส าํ หรบั การแลกเปล่ยี นเรยี นร ู และเสริมประสบการณระหวางกลุมดวยกนั  ซึ่งสื่อโซเชยี บมีเดยี จะกอ ใหเ กิดคุณประโยชนสาํ คญั ท่ผี ูเ รยี นสามารถเลือก  หรอื สรางชอ งทางการเรยี นรจู ากส่ือสังคมดงั กลา วที่กระทําไดใ นหลากหลายกจิ กรรมในการสอ่ื สาร  4.  เปน สอ่ื ชว ยเสริมสรางทักษะความรูไดอ ยา งมีวิจารณญาณ  ส่อื จะเปด โอกาสใหผูเ รยี นสามารถสรางทักษะองคความรูที่มปี ระสทิ ธิภาพ  โดยเฉพาะอยางย่ิงการเสรมิ สรางทกั ษะการคดิ   วเิ คราะห  และทักษะในการใชส่ือประเภทดิจติ อลไดอยางมปี ระสทิ ธผิ ล  กฎเกณฑ และแนวปฏบิ ัตกิ ารใชสอ่ื โซเชยี ลมีเดยี (Social Media Roles)  เนื่องจากสอ่ื สังคม  หรอื   Social  Media  เปน สอ่ื ที่ทรงพลัง  และมอี ิทธพิ ลตอ สงั คมคอนขา งสูงในปจจุบนั   ดังน้ันในทางปฏบิ ัต ิ เพ่อื กอ ใหเกดิ คุณภาพ  และประสิทธิภาพสูงสุด  สาํ หรับการนาํ มาใชใ นการเรยี นการสอนนน้ั   ผูใชสื่อสงั คมตอ งคาํ นงึ ถงึ กฎเกณฑ  และแนวปฏบิ ตั ิตอ การใชส ่ือโซเชียลมเี ดียในประเดน็สาํ คญั บางประการ ดังนี้ (NSW Department of Education & Training, 2011: online) 

16 1. ตองรูถงึ แนวนโยบายขององคกร/หนว ยงาน ตอ การใชสือ่ โซเชยี ลมีเดยี เพ่ือการพฒั นางาน  2. ตอ งตระหนักในการใชส่ือโซเชยี ลมเี ดียวา   สอื่ ดังกลา วนจ้ี ะเปนสอื่ ที่มรี ปู แบบ  และลักษณะของระบบการทํางานแบบผสมผสาน ทัง้ การประสานงาน และการสานคนในองคก ร  3. ตอ งมีความชัดเจนในการกาํ หนดบทบาทหนาท ่ี เพ่ือวิเคราะหค วามสัมพันธใ นประเด็น หรือสาระทเี่ กิดขนึ้ จากการใชส อื่ โซเชยี ลมีเดีย  4. คาํ นึงถึงอยเู สมอวาข้ันตอนการดําเนนิ งานจะทําอะไรกอน-หลงั ในการใชส่ือโซเชียลมเี ดียทุกครัง้   5. ​ ค​ ํานึงถงึ หลกั สําคัญของการใหเ กียรติ ผูทีเ่ ปนเจา ของ  6. พงึ ใชส ือ่ โซเชยี ลมเี ดยี อยางระมดั ระวงั   7. ใชส ่ือโซเชยี ลมีเดยี อยางมมี ารยาทในการใช  8. ผลติ เนอ้ื หาสาระ หรอื สอื่ ใหต รงกบั สมรรถนะ ความรู ความสามารถของผใู ช  9. การเชือ่ มโยง เพอ่ื การโตตอบระหวางกัน ควรคํานึงถงึ ความเหมาะสมระหวา งกนั   10. ตองยอมรบั ในขอ ผดิ พลาดท่เี กิดข้ึน  และรบี ดําเนนิ การปรับปรงุ แกไขขอ ผิดพลาดเหลาน้นั   ​ ก​ ารประยกุ ตใ ชโซเชียลมีเดียในการจัดการเรียนการสอน  ปจจบุ นั กระทรวงศกึ ษาธกิ าร มอบหมายให  สาํ นกั เทคโนโลยีเพอื่ การเรยี นการสอน ดาํ เนินการจดัอบรมเพือ่ กระตนุ ใหครูไทย พัฒนาศักยภาพ และสง เสริมการใช  Social Media ในการจัดการเรียนร ู โดยเลง็ เหน็ ความสาํ คัญในการสง เสรมิ   และผลกั ดนั ใหค รสู ามารถนําเอาเคร่ืองมอื ออนไลนท มี่ ีอยบู นระบบเครอืขายอินเตอรเน็ตมาใชในการเรยี นร ู ใหเกิดเปน เครือขา ย และเกิดความรว มมือกันระหวางครกู บั คร ู นักเรยี นกับคร ู และนกั เรียนกบั นักเรยี นดวยกัน  โดยไมม ีขอจาํ กัดเร่อื งเวลา  และสถานท ี่ กอใหเ กิดการเรียนรูแ บบไมมีท่สี ้ินสดุ  (สํานกั เทคโนโลยเี พ่อื การเรยี นการสอน, 2552) นับเปน ยคุ เว็บ 2.0 ที่นกั การเปลย่ี นแปลงของโลกในปจจบุ ัน และอนาคตอยา งหลกี เลย่ี งมไิ ด (Jeff Dunn, 2011)  โดยเครอ่ื งมือทท่ี างสาํ นักเทคโนโลยีเพ่ือการเรยี นการสอน  แนะนําใหค รูนําไปปรบั ใช  ไดแก  (การนาํ Social Media มาใชในการจัดการเรียนร,ู 2556)  1. F​ acebook  คอื   เวบ็ ไซตส ําหรับใหค ร ู และนกั เรียนสามารถส่อื สาร  และแลกเปลย่ี นความคดิเหน็ ซ่ึงกันและกนั ได  โดยการตัง้ กลุม รายวชิ า เพือ่ การส่อื สารแลกเปลีย่ นขอมูลระหวางครูกบั นักเรียน และนกั เรยี นกบั นกั เรียน  2.  Wordpress  คือ  เว็บไซตส ําเรจ็ รูป  หรือบลอ็ ก  ทน่ี กั เรียน  และครสู ามารถสรา งบลอ็ กสวนตัว หรือในแตล ะรายวิชา สาํ หรับเผยแพรบทเรียนในแตล ะรายวชิ า หรอื สรา งปฏสิ ัมพนั ธกบั นกั เรยี นได 

17 3. YouTube คอื  เวบ็ ไซตที่ใชในการแบงปนไฟลวิดโี อ ครุสามารถอพั โหลด และเผยแพรวดิ โี อการสอนผา นเวบ็ ไซตนีไ้ ด  ใชวดิ โี อทม่ี อี ยบู นเวบ็ ไซตเปนสอื่ ในการเรียนการสอน  และนักเรียนสามารถเผยแพรผลงานของตนเองใหเ พ่อื น ๆ และครูไดแสดงความคดิ เหน็   4.​​ ​ ​ ​ ​Twitter คอื เวบ็ ไซ๖ทีใ่ ชในการส่ือสารขอ ความสัน้ ๆ โตตอบกนั อยางรวดเรว็   5.​​ ​ ​ ​ ​Slideshare คือเว็บไซตท ี่ใชในการแบง ปน เอกสารตางๆ  เครือ่ งมอื อนไลนที่มอี ยูอยางหลากหลายบนอนิ เตอรเ น็ตนั้น  มีประสิทธิภาพสําหรบั การใชง านท่ีแตกตางกนั  โดยนับวนั จะพฒั นา และเปลยี่ นแปลงไปอยา งรวดเร็ว โดยท่ผี สู อนสามารถดึงเครื่องมือเหลาน้ีไปประยุกตใชในกระบวนการเรยี นการสอนอยา งเปนรูปธรรม และอยา งยง่ั ยนื  การทผ่ี ูส อนมีความเขา ใจในเทคนคิ  ของเครอื่ งมอื  ผนวกกับกลยุทธการสอน และสรา งใหเกดิ เปน รูปแบบทน่ี า สนใจสําหรบั นักเรียนนั้น นับเปนส่ิงที่ทา ทายอยา งยงิ่ สาํ หรับผูสอน (สาํ นกั เทคโนโลยเี พอ่ื การเรียนการสอน, 2554)                                       

18              บทท่ี 4  บทสรปุ   เคร่ืองมอื ออนไลนทม่ี อี ยอู ยา งหลากหลายบนอนิ เทอรเน็ตนั้น มีประสิทธิภาพสําหรับการใชง านท่ีแตกตา งกนั โดยนบั วนั จะพฒั นาและเปลยี่ นแปลงไปอยางรวดเรว็ คําถามคือ เราจะนาํ เครอ่ื งมอื ดงั ทก่ี ลาวขา งตน มาสรางใหเกดิ แหลง เรยี นรูเพื่อเปนประโยชนสําหรับนักเรียนไดอยางไร โดยที่ครูสามารถดงึ เคร่อื งมอื เหลานไี้ ปประยกุ ตใชใ นกระบวนการเรียนการสอนอยางเปน รปู ธรรมและอยา งยั่งยนื การทค่ี รูมีความเขาใจในเทคนิค/แทคติค ของเครอื่ งมือ ผนวกกับ กลยุทธก ารสอน และสรา งใหเ กิดเปนรปู แบบทนี่ าสนใจสาํ หรบั นกั เรียนน้ัน นับเปน ส่ิงท่ีทาทายสําหรบั ครูเปน อยางยง่ิ (สาํ นกั เทคโนโลยีเพ่อื การเรียนการสอน, 2554) ผลกระทบตอ การศกึ ษาไทย  แมก ารใชโ ซเชียลมเี ดยี จะมีประโยชนอ ยา งมากในบทบาทของเคร่ืองมอื ท่ีชวยสนบั สนุนการเรียนการสอน  แตหากครไู มม กี ารจดั การทดี่ อี าจสง ผลกระทบทางลบตอ นกั เรียนได  เพราะนักเรยี นอาจยงั ไมสามารถควบคุมหรอื กํากับตนเองใหใชงานไดอ ยางเหมาะสม  ซ่งึ ขอ ดีและขอ เสยี ของการใชโ ซเชียลมีเดยี ในการเรยี นการสอนพอสรุปได ดงั น ี้ ขอ ดีและขอเสียของการใชโ ซเชียลมเี ดียในการเรยี นการสอนดวยขอ มลู จํานวนมากที่ถูกนาํ เสนอในเครือขา ยสงั คมออนไลนห ากนํามาสูการจัดการเรยี นการสอนในชั้นเรยี นยอ มกอ ใหเ กิดผลสําคัญในหลากหลายลักษณะเชนกัน (กานดา รุณนะพงศา สายแกว, 2554) ไดกลาวไวดงั น ี้ ขอ ด ี หากมกี ารใชงานในทางท่ถี กู ตอ ง จะสงผลดีท้งั ครแู ละนกั เรยี น ซง่ึ Poore (2013) ไดย กตัวอยา งไว เชน   1. เปน การสงเสริมความสามารถทางสติปญญาใหแ กผ ูเรียน (Intellectual Benefit) 

19 2. เปนการฝกทกั ษะการสื่อสาร (Benefits for Communication), การมสี วนรว ม (Collaboration) รวมทั้ง ทําใหเ กดิ การเรียนรูทางสังคม (Socialization)  3. เปน การเสรมิ สรา งแรงจงู ใจ (Motivational Benefits)  4. ปรับสภาพแวดลอ มการเรยี นแบบเปด งายตอการเชื่อมโยง สรา งความสัมพันธร ะหวา งสงั คมในชั้นหองเรียน  5. สนับสนุนและรองรับการสอ่ื สาร 2 ทาง สามารถนาํ มาประยกุ ตใ ชในวธิ ีการจดั การเรยี นการสอนทีห่ ลากหลาย เชน การเรียนรแู บบรว มมือ (collaborative learning), การเรียนรแู บบกลมุ เลก็  (small group learning) หรือ การรวมกันสรางองคค วามรู (other co-creation of knowledge)      ขอเสีย  ผลกระทบที่เปน อุปสรรคและปญหาจากการใชโ ซเชียลมเี ดยี ในการเรยี นการสอน สามารถยกตวั อยางไดดงั นี้ (จุฑามาศ สนกนก, 2555)  1. ความไมม ่นั ใจในความเสถยี รและความคงอยูข องเว็บ เพราะสวนใหญโ ซเชยี ลมีเดยี เปนเวบ็ ไซตท่ีเปด ใหบ ริการโดยไมม ีคา ใชจ า ย ในบางกรณที เ่ี ว็บไซตป ด ตวั ลงโดยไมทราบสาเหตุ หรือมคี า ใชจายสําหรับการทํางานเกดิ ข้นึ เชน เว็บไซต Ning.com ที่มกี ารเกบ็ คาบรกิ ารของผใู ชงาน  2. การเช่อื มโยงระหวางระบบและขอมูลผูใ ชเพอ่ื การทํางานรวมกนั ในสถานศกึ ษา หากไมมกี ารควบคุม ผูใชท่อี าจขาดความระมดั ระวงั ในการใชงาน เชน การโพสขอความหมน่ิ ประมาท กอ ใหเกิดผลเสยีตอตนเองหรือองคก รได  3. ความปลอดภัยและความเปนสว นตัวของขอ มลู หากไมม ีการปองกนั ทดี่ ี อาจมีผูไมป ระสงคด  ีนาํ ไปใชใ นทางผิดได  4. อปุ กรณท ่ีเก่ยี วขอ งมีราคาสงู หากองคก รนั้นไมมีงบประมาณสนบั สนนุ เพียงพอ จะทําใหใ ชอ ุปกรณนัน้ ๆ ไดไ มคุม คา เชน ระบบอินเทอรเน็ตหรือหองคอมพิวเตอรของโรงเรยี น หากไมม งี บประมาณในการปรบั ปรงุ จะทําใหเ กดิ ความลา สมัย หรือผปู กครองบางทานท่ไี มส ามารถสนับสนุนบุตรหลานในการซื้อเครอื่ งคอมพิวเตอรห รอื แทบ็ เลต็ เปนของตนเอง  5. การขาดการคัดกรองในการสบื คน ขอมูล และการรับขอ มูลที่ไมถ ูกตอง กอ ใหเ กดิ การขาดวิจารณญาณในการนําเสนอขอมลู รวมทัง้ ทาํ ใหเ น้ือหาทนี่ ําเสนอผดิ พลาดได แนวทางและความเปน ไปไดในการแกไ ขปญ หา  การใชงานโซเชียลมีเดียในเบอ้ื งตน เปน การใชง านสว นบคุ คล ทสี่ ามารถใชไ ดอ ยา งเสรี แตเมื่อนํามาเปน สวนหน่ึงในการเรยี นการสอนตอ งคาํ นึงถึงความเหมาะสมในการสืบคนและนําเสนอขอ มูลเชน การนาํ เสนอขอ มูลจากเว็บไซตตางๆ โดยไมตรวจสอบความถกู ตองหรือความทันสมยั ของขอ มูล การแชรขอ มูลจากแหลง ขอ มูลทมี่ อี คติหรือความลาํ เอียง หรอื การนาํ ขอความ เอกสาร ภาพ หรอื วดิ ีโอ มาใช โดย

20ไมอางองิ แหลงท่มี า (จารวุ จั น สองเมือง, 2554; จไุ รรตั น ทองคําชน่ื ววิ ัฒน, 2552; Antony Mayfield, 2008)  หากครยู ังไมส ามารถใชเ ทคโนโลยใี นการเรียนการสอนไดอ ยา งเหมาะสมกบั รปู แบบหรอื กจิ กรรมการเรยี นการสอน และใชเทคโนโลยีท่ีมอี ยูไ มค มุ คาตามงบประมาณท่ีรฐั บาลสนับสนนุ จะสงผลใหน กั เรียนไมส ามารถพฒั นาความรูและทกั ษะทตี่ อ งการไดเ ตม็ ศักยภาพ จงึ ขอยกตวั อยางแนวทางในการนําโซเชียลมีเดียมาใชจ ัดการเรยี นการสอนไดอ ยา งถูกตอ งและเหมาะสม ดงั น ี้ 1) หากครตู องการนําเสนอขอ มลู จากเวบ็ ไซตต างๆ ควรตรวจสอบความถูกตอง หรือความทนัสมยั ของขอ มูล โดยการตรวจสอบขอมูลจากตนฉบับ หรอื หาแหลง ทีม่ าของผเู ผยแพรจ ากองคการหรือบคุ ลทนี่ าเชอ่ื ถอื   2) ควรมกี ารไตรตรองในการแบงปน (share) ขอ มลู จากแหลง ตา งๆ หรือควรสืบคน ขอมูลขาวสารจากหลากหลายทมี่ า  3) การนําขอ ความ เอกสาร ภาพ หรือ วิดีโอ มาใช ควรมีการอางองิ แหลงท่มี าอยางชดั เจน บทสรปุ   โซเชยี ลมเี ดียเปนเครื่องมอื ท่มี ปี ระโยชนในการเปนเครือ่ งมือทค่ี รูและนกั เรียนสามารถนาํ มาชว ยในการเรียนการสอน ไมว า จะเปน การจดั การเอกสาร การใหงาน การนําเสนองาน การอภปิ รายแสดงความคิดเหน็   ฯลฯ  ซง่ึ จะชวยเสรมิ สรา งความร ู และพัฒนาทักษะท่ีจาํ เปน ในศตวรรษท ี่ 21 ของนกั เรยี นไดเปนอยา งด ี แตอ ยางไรกต็ าม การนาํ โซเชียลมีเดยี มาใชในการเรียนการสอน ครคู วรคาํ นึงถึงผลกระทบทางดา นลบที่จะตามมาดวย ควรปฏิบตั ใิ หเ ปน แบบอยา งทดี่  ี ช้แี นะการใชงานทีถ่ ูกตอ ง สรา งความรเู ทา ทนั สอ่ื  เพอ่ืเปน แนวทางหนง่ึ ในการสรา งภูมิคุม กนั ใหกบั ผูบ ริโภคสอ่ื   โดยเฉพาะเดก็ และเยาวชน  ในการเปดรับเนือ้ หาผา นส่ือในเชิงวเิ คราะหวพิ ากษ  และประเมินส่อื   การสรางความรเู ทา ทันสอ่ื น ี้ โดยสว นใหญแลว จะเกดิ จากการเรยี นรขู องเด็กผานการชีแ้ นะของครแู ละผูป กครอง  รวมถึงการพฒั นาความคิดในเชงิ วิเคราะหว ิพากษของเด็กเองผานการเรยี นรจู ากประสบการณต รงน่นั เอง  ท้ังหมดน้เี พ่อื ใหน ักเรียนสามารถนําโซเชยี ลมเี ดยีมาชวยพฒั นาความรูและทักษะอยา งถกู วธิ ี สง ผลใหเกดิ การเรียนรตู ลอดชวี ิตอยา งมีประสิทธิภาพ            

21                  เอกสารอางอิง   http://www.pochanukul.com/?p=157http://becreativetv.com/blog/2011/11/%E0%B9%81%E0%B8%99%E0%B8%A7%E0%B8%84%E0%B8%B4%E0%B8%94%E0%B9%80%E0%B8%81%E0%B8%B5%E0%B9%88%E0%B8%A2%E0%B8%A7%E0%B8%81%E0%B8%B1%E0%B8%9A%E0%B8%81%E0%B8%B2%E0%B8%A3%E0%B9%80%E0%B8%A3%E0%B8%B5%E0%B8%A2/http://educationsocialmedia.blogspot.com/https://sites.google.com/site/saleenamrkhmb1297/social-media-sux-srangsrrkh-pheux-kar-suksahttps://prezi.com/onbvrds3ld51/collaborative-learning/ https://hooahz.wordpress.com/tag/%E0%B9%82%E0%B8%8B%E0%B9%80%E0%B8%8A%E0%B8%B5%E0%B8%A2%E0%B8%A5%E0%B9%80%E0%B8%99%E0%B9%87%E0%B8%95%E0%B9%80%E0%B8%A7%E0%B8%B4%E0%B8%A3%E0%B9%8C%E0%B8%84/   ​ ต​ วั อยา งการเขียนอางอิงขอ มลู จากเวป็ ท่ีถกู ตอ ง (ทาํ แลวลบอันนอ้ี อกดว ย) ใหเ รียงลาํ ดับตามตวัเอกั ษร  องคการ เรืองรัตนอมั พร. 2555. “พฒั นาคน พัฒนาองคก ร.”​ [ระบบออนไลน] . แหลง ทีม่ า, http://www.cardiook.net/content/view/4- (13 กรกฎาคม 2560)   


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook