Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore โครงงานวัดดังในภาคใต้.pdf นาทาน

โครงงานวัดดังในภาคใต้.pdf นาทาน

Published by Pavita Sampolkrang, 2021-03-08 04:37:23

Description: โครงงานวัดดังในภาคใต้.pdf นาทาน

Search

Read the Text Version

โครงงานคอมพิวเตอร์ เร่ือง วัดท่ีมชี ื่อเสยี งในภาคใต้ กลุม่ สาระการเรียนรู้ วทิ ยาศาสตร์และเทคโนโลยี จัดทาโดย 1.นายอลงกรณ์ วรสิทธกิ ร เลขที่ 3 2.นายพงศกร โต๊ะหลาง เลขที่ 10 3.น.ส.ชลธชิ า เอยี ดตุน้ เลขท่ี 26 4.น.ส.ภาวิตา สามพลกรงั เลขท่ี 32 ชน้ั มธั ยมศึกษาปที ่ี 6/5 รายวชิ า ว 31285 โครงงานทางเทคโนโลยสี ารสนเทศ ปีการศกึ ษา 2563 โรงเรยี นเมืองสุราษฎร์ธานี สานกั งานเขตพน้ื ทีก่ ารมธั ยมศกึ ษา เขต 11 โครงงานคอมพิวเตอร์

เรือ่ ง วดั ท่ีมชี อื่ เสียงในภาคใต้ กลุ่มสาระการเรยี นรู้ การงานอาชพี และเทคโนโลยีสารสนเทศ ผู้จดั ทา 1. นายอลงกรณ์ วรสิทธกิ ร เลขท่ี 3 2.นายพงศกร โต๊ะหลาง เลขที่ 10 3.น.ส.ชลธิชา เอียดตุน้ เลขที่ 26 4.น.ส.ภาวิตา สามพลกรัง เลขที่ 32 ครทู ่ปี รึกษา 1. นายธันพงศ์ พานชิ วงศ์ ตำแหน่ง ครู สถานศกึ ษา โรงเรียนเมอื งสุรำษฎร์ธำนี สำนกั งำนเขตพ้นื ท่กี ำรมธั ยมศึกษำ เขต 11 ปีการศกึ ษา2563

กิตติกรรมประกาศ โครงงานนส้ี าเร็จข้นึ ไดด้ ว้ ยความกรณุ าของคณะอาจารยห์ มวดคอมพิวเตอร์ โรงเรียนเมอื งสุราษฎร์ธานี ซ่งึ ไดใ้ ห้ คาปรึกษา ขอ้ ชี้แนะและความช่วยเหลอื จนกระทัง่ โครงงานสาเร็จไปด้วยดี ผจู้ ัดทาขอกราบ ขอบพระคณุ เปน็ อยา่ งสงู มา ณ ท่ีนี้ ทา้ ยสุดนผ้ี จู้ ดั ทาหวังเปน็ อยา่ งยงิ่ วา่ โครงงานนี้จะเปน็ ประโยชนต์ อ่ การศึกษาของและเปน็ ที่ น่าสนใจ ผสู้ นใจต่อไป คณะผ้จู ัดทา

หวั ขอ้ โครงงาน :วัดที่มีชอ่ื เสียงในภาคใต้ ประเภทของโครงงาน : โครงงานพฒั นาสอ่ื เพือ่ การศึกษา ผู้เสนอโครงงาน : 1. นายอลงกรณ์ วรสทิ ธิกร เลขท่ี 3 2.นายพงศกร โตะ๊ หลาง เลขที่ 10 3.น.ส.ชลธิชา เอยี ดต้นุ เลขท่ี 26 4.น.ส.ภาวติ า สามพลกรงั เลขที่ 34 ครูที่ปรึกษาโครงงาน : ครู ธันพงศ์ พานชิ วงศ์ ปกี ารศึกษา : 2563

บทคดั ย่อ การจัดทาโครงงานในครงั้ นเี้ ผอ่ื การเรียนร้กู ารสรา้ งแอพพลเิ คช่ันและการเลอื กใช้คอมพิวเตอร์ การศกึ ษาโปรแกรมคอมพิวเตอรท์ ี่ใชส้ ร้างแอพพลเิ คชนั่ และให้ความรู้เรอ่ื งหลกั การทางานและการเลอื กใช้ คอมพิวเตอรโ์ ดยประยุกตใ์ ชโ้ ปรแกรมต่างๆ เชน่ โปรแกรม Microsoft Word, Google sheet, glideapps

สารบัญ เรื่อง หน้า เก่ียวกบั โครงงาน ก กิตตกิ รรมประกาศ ข บทคัดยอ่ ค บทที่ 1 บทนา 1 - ทมี่ าและความสาคัญของโครงงาน 2 - วัตถปุ ระสงค์ 9 - ขอบเขตการศึกษาค้นคว้า - ประโยชนท์ ่คี าดวา่ จะได้รับ 10 บทที่ 2 เอกสารและโครงงานท่ีเกี่ยวข้อง บทท่ี 3 วิธีการจดั ทาโครงงาน - วสั ดแุ ละอุปกรณ์ - วธิ ีการจัดทาโครงงาน บทท่ี 4 ผลการศึกษา บทที่ 5 สรุปผล และขอ้ เสนอแนะ 11 - สรปุ ผลการศกึ ษา - ประโยชนท์ ีไ่ ดจ้ ากโครงงาน - ขอ้ เสนอแนะ -บรรณานุกรม -ภาคผนวก -ข้อมูลผจู้ ดั ทา

บทท่ี 1 บทนา ที่มาและความสาคัญของโครงงาน ในปัจจบุ นั มกี ารอนุรักษณ์การทอ่ งเที่ยวเชิงวฒั นธรรมมากขนึ้ และการไปเท่ยี ววัดก็เป็นอกี หนึ่งสถานทที่ ่ี มผี ู้คนไปสกั การะบูชากันอย่างเเพรห่ ลายผูเ้ รียนรู้รุ่นใหม่จะเป็นผู้เรยี นที่รกั ในการอนุรักษ์วัฒนธรรมไทยเเละ สบื สานหรือเผยเเพร่ส่คู นร่นุ ใหมใ่ หม้ คี วามคดิ รเิ ร่มิ ในการรักษาวัฒนธรรมไทย วัตถปุ ระสงค์ 1.เพ่ือการศกึ ษาการสร้างแอพพลเิ คช่ันของสมาทรโ์ ฟน 2.เพือ่ ใชเ้ ทคโนโลยใี นการสง่ เสรมิ และเผยแพรพ่ ระพทุ ธศาสนา ขอบเขตของการศกึ ษาคน้ ควา้ ไดศ้ ึกษาเอกสารทเี่ กี่ยวข้องจากคอมพวิ เตอรโ์ ดยค้นควา้ จากอินเทอร์เน็ตเเละจากหนงั สอื วดั ต่างๆใน ภาคใต้ ประโยชนท์ ี่คาดว่าจะไดร้ ับ 1.ไดฝ้ กึ การเขียนแอพพลเิ คช่ัน 2.ได้ใชเ้ ทคโนโลยีใหเ้ กดิ ประโยชน์

บทที่ 2 เอกสารเเละโครงงานทเี่ กย่ี วข้อง ในการจดั ทาโครงงานการคอมพวิ เตอรก์ ารพฒั นาเวบ็ ไซด์เพอื่ การศึกษา เรือ่ งวัดดังในภาคใต้ เอกสารทีเ่ กย่ี วขอ้ ง 1.ความหมายวัด 2.ความหมายภาคใต้ 3.ความหมายแอพพลเิ คชน่ั 4.โปรแกรมทใ่ี ช้ดาเนินงาน ความหมายวัด สถานท่ีทางพระพุทธศาสนา ปกตมิ พี ระอุโบสถ พระวหิ าร พระเจดยี ์ รวมทง้ั มีพระภิกษสุ งฆ์อยู่อาศยั (ราชบณั ฑิตยสถาน 2552) สมเด็จพระเจา้ บรมวงค์เธอ เจ้าฟ้ากรมพระยานรศิ รานวุ ัดตวิ งศ์วงศ์ และพระยา อนุมานราชธน บนั ทึกเรอ่ื งความรตู้ ่างๆ เลม่ 2 กล่าวไว้ว่า วดั เป็นคาเรยี กชื่อศาสนสถานแบบคาไทย โดยทม่ี า ของคาว่า “วดั ” ยงั ไม่มีข้อยตุ ิ บางคนอธิบายว่า มาจากคาวา่ “วตวา” ในภาษาบาลี แปลวา่ เป็นทส่ี นทนา ธรรม บา้ งก็วา่ มาจาก “วตั ร” อันหมายถึงกจิ ปฏบิ ตั หิ รือหนา้ ทีข่ องพระภกิ ษุท่พี งึ กระทาหรอื แปลอกี อยา่ งวา่ การจาศีล ซ่ึงวดั (วตั ร) ตามนยั ยะนจ้ี ึงนา่ จะหมายถึงสถานทซ่ี งึ่ พระภกิ ษสุ งฆใ์ ชเ้ ป็นทจ่ี าศีลภาวนา หรอื สถานท่ี ทีพ่ ระภกิ ษุ สงฆ์ใช้ปฏิบัตภิ ารกจิ ทีพ่ งึ กระทาน่นั เอง แตก่ ม็ บี างคนสนั นษิ ฐานวา่ มาจากคาว่า “วัดวา” อันหมายถงึ การ กาหนดขอบเขตของดนิ แดนทีส่ รา้ งเปน็ ศาสนสถานเพราะวัดกบั วามคี วามหมายอยา่ งเดียวกนั คอื การสอบ ขนาด หรอื ปรมิ าณของสง่ิ ต่างๆ เชน่ ความยาว ความกว้าง เป็นตน้ วดั ในนัยยะอย่างหลงั นจี้ งึ หมายถึง พ้นื ที่ ครงั้ พุทธกาล ใชค้ าวา่ “อาราม” เป็นคาเรยี กชอื่ ศาสนสถานในทางพทุ ธศาสนาที่ใชเ้ รยี กเสนาสนะทมี่ ี

ผศู้ รทั ธาถวายพระพทุ ธองคใ์ นระยะแรกๆ เช่น “เชตวนาราม” หรอื ช่อื เต็มว่า “เชตวเนอนาถบณิ ฑิกสสอารา เม” ซงึ่ มีความหมายวา่ “สวนของอนาถบณิ ฑทป่ี า่ เชต” หรอื “เวฬวุ นาราม” หรอื “บุปผาราม” เป็นต้น โดย “อาราเม” หรอื “อาราม” ในคาอ่านของไทยแปลว่าสวนนอกจากนีใ้ นเวลาตอ่ มายงั มีคาที่ใชเ้ รียกอกี อย่างว่า “วิ หาระ” หรอื “วิหาร” ยงั มคี าทใี่ ห้ความหมายวัดอยู่อีกชอ่ื หนงึ่ คอื “อาวาส” ดังชอ่ื ที่ใช้เรยี กสมภารผู้ครอง วดั ว่า “เจา้ อาวาส” ซ่ึงแปลว่าผู้เป็นใหญ่ในวดั หรอื ชอ่ื เรยี กวัด เช่น เทพศิรนิ ทราวาส (เทพ+ศริ ินทรา+อาวาส) โดย ปกตคิ าว่าอาวาสไม่เปน็ ที่นยิ มใชก้ นั ในความหมายวา่ วัด ท้ังนเ้ี พราะนิยมนาไปใช้กับความหมายที่แคบกวา่ คาวา่ อาราม โดยมักให้ความหมายในเชิงทเ่ี ป็นตัวเรอื นท่ีอยอู่ าศยั มากกวา่ อาวาสจึงเสมอื นเป็นที่อยสู่ ่วนย่อย ภายในอารามทหี่ มายถึงพนื้ ทท่ี ่เี ป็นศาสนสถานทั้งเขต ตามพระราชบญั ญตั ิคณะสงฆใ์ นประเทศไทย พทุ ธศกั ราช 2505 กาหนดไวว้ า่ วัดมี 2 ชนิด คือ วัดทไ่ี ดร้ บั พระราชทาน วิสงุ คามสมี า สานักสงฆ์ วสิ งุ คามสมี า หมายถงึ เขตพ้ืนทที่ ีพ่ ระภกิ ษสุ งฆข์ อพระราชทานพระบรมราชานุญาตเพอ่ื ใช้ จดั ตั้งวดั ขึ้น แต่ ในทางปฏบิ ตั เิ ป็นการขอพระบรมราชานุญาตเิ ฉพาะแตบ่ รเิ วณท่ตี ง้ั พระอโุ บสถเท่านนั้ สานักสงฆ์ หมายถงึ สถานท่ีพานกั อาศยั ของหม่พู ระภิกษสุ งฆ์ ไม่ไดข้ อพระบรมราชานญุ าติใช้ ผืนท่ดี ินแห่งนน้ั เพ่อื จัดตงั้ เปน็ วดั ขน้ึ ดังน้นั สานักสงฆจ์ งึ ไม่มีโรงพระอุโบสถเพ่ือใชเ้ ปน็ ทท่ี าสงั ฆกรรม ท่ไี ดร้ บั พระราชทาน วิสุงคามสมี า ถอื ว่าเปน็ วัดทีถ่ กู ต้องและมฐี านะเป็นนติ บิ คุ คลตามกฎหมาย วดั ประเภทน้ยี ังแยก ออกเปน็ 2 ประเภท คอื วดั หลวงหรือพระอารามหลวง หมายถงึ วัดทพ่ี ระมหากษตั รยิ ์หรอื พระบรมวงศานวุ งศ์ทรงสร้าง หรือ วัดท่ีรัฐบาลหรอื ราษฎรทว่ั ไปสร้างขนึ้ แล้วทรงรบั ไวใ้ นพระบรมราชปู ถมั ภ์ วดั ราษฎร์ หมายถึง วัดท่ีราษฎรทงั้ หลายสรา้ งขน้ึ ตามศรทั ธาพระอารามหลวงแบง่ ออกไดเ้ ป็น 3 ชัน้ คือ (1) พระอารามหลวงชัน้ เอก หมายถงึ วดั ทีม่ เี จตยิ สถานสาคญั เป็นวดั ท่ีบรรจุพระบรมอฐั หิ รอื วัดทมี่ ีเกียรตอิ ยา่ งสูง มเี จ้าอาวาสเปน็ พระราชาคณะผใู้ หญข่ ึ้นไป (2) พระอารามหลวงชนั้ โท หมายถงึ วัดทมี่ ีเกยี รติ มเี จา้ อาวาสเปน็ พระราชาคณะสามญั ข้นึ ไป (3) พระอารามหลวงชน้ั ตรี หมายถงึ วดั ท่ีมีเกยี รตหิ รอื วัดสามญั เจา้ อาวาสเปน็ พระครูช้นั สงู ข้ึนไป

พระอารามหลวงนั้นยงั แบง่ ตามฐานนั ดรศกั ด์ิออกไดเ้ ปน็ 4 ชนดิ คือ ชนดิ ราชวรมหาวิหาร หมายถึง พระอารามทพี่ ระมหากษตั รยิ ์ สมเด็จพระราชินี สมเด็จพระยพุ ราช ทรงสร้างหรอื ปฏสิ งั ขรณเ์ ป็นการส่วนพระองค์ โดยท่ีสง่ิ ปลกู สร้างนั้นมขี นาดใหญโ่ ตสมพระเกยี รติ ชนิดวรมหาวหิ าร ลักษณะเดยี วกับชนดิ ราชวรมหาวิหาร แต่มีความสาคัญน้อยกวา่ ชนดิ ราชวรวิหาร หมายถึง พระอารามทพ่ี ระมหากษตั ริย์ สมเดจ็ พระราชินี สมเดจ็ พระยพุ ราช ทรง สร้างหรอื ปฏสิ งั ขรณเ์ ป็นการส่วนพระองค์ ชนิดวรวิหาร หมายถงึ พระอารามทพี่ ระมหากษตั ริย์ สมเดจ็ พระราชนิ ี สมเดจ็ พระยุพราช ทรงสร้าง หรือปฏสิ งั ขรณ์แลว้ พระราชทานเปน็ เกยี รติแกผ่ ู้อน่ื พระอารามหลวงแตล่ ะชัน้ มิได้หมายถึงว่าจะมชี นดิ ของพระอารามครบทง้ั 4 ประเภท ทงั้ นยี้ ่อมขน้ึ อยู่ กบั ความสาคัญของสถานทข่ี นาดและผสู้ ร้าง ซึ่งจะเปน็ สงิ่ กาหนดชนดิ ของพระอารามดงั กลา่ ว ในปัจจบุ ันไดม้ ี การจัดแบ่งชนดิ ของพระอารามตามระดับชัน้ ดงั น้ี พระอารามหลวงชนั้ เอก แบง่ เปน็ 3 ระดบั คือ (1) ราชวรมหาวหิ าร (2) ราชวรวหิ าร (3) วรมหาวิหาร พระอารามหลวงช้นั โท แบง่ เปน็ 4 ระดับ คอื (1) ราชวรมหาวหิ าร (2) ราชวรวิหาร (3) วรมหาวิหาร (4) วรวิหาร พระอารามหลวงชัน้ ตรี แบง่ เปน็ 3 ระดบั คอื (1) ราชวรวหิ าร (2) วรวหิ าร (3) สามญั ไมม่ สี รอ้ ยต่อทา้ ยช่อื

มลู เหตุการสร้างวัด สมยั พทุ ธกาลไมม่ ีการสร้างอาคารสถานใหเ้ ป็นทอี่ ยูอ่ าศยั ของพระภกิ ษสุ งฆ์โดย เฉพาะเจาะจง เนอ่ื งจากพระพทุ ธองค์ไม่ทรงอนญุ าตใหพ้ ระภิกษุมีที่อยูอ่ าศยั เป็นหลกั แหล่งถาวร ดว้ ยจะทาให้ เกดิ ความยึดติดในทรัพยท์ างโลก จงึ ทรงกาหนดสถานทสี่ าหรับใชเ้ ป็นทอี่ าศัยพนื้ ฐานสดุ คอื “รุกขมลู เสนาสนะ” อันหมายถงึ การอย่รู อบโคนต้นไม้ แลว้ ใหจ้ ารกิ ไปเรอื่ ยๆ ทง้ั นเี้ พื่อมใิ หจ้ ติ มีสง่ิ ผกู พัน เมือ่ พระพทุ ธเจ้าพรอ้ มเหลา่ สาวกออกเผยแพร่พระศาสนา ปรากฏวา่ มผี เู้ ลือ่ มใสศรัทธาพากนั บวชเปน็ พระภิกษจุ านวนมากมาย ทไี่ มไ่ ดบ้ วชต่างก็ใหค้ วามอปุ ถัมภเ์ ก้อื กูลเป็นอย่างดี โดยเฉพาะพระเจ้าพมิ พสิ าร กษัตริยแ์ หง่ นครราชคฤห์ ทรงประกาศตนเป็นองค์ศาสนปู ถมั ภกตอ่ พทุ ธศาสนา ทงั้ ทรงถวาย “เวฬวุ นั ” ใหเ้ ป็น ที่ประทบั ของพระพทุ ธองค์และเหลา่ พทุ ธสาวก ซงึ่ พระองคท์ รงรับไว้ ดว้ ยเพราะวตั รปฏบิ ตั ิของพระสงฆ์มิใช่ มุ่งเน้นให้บาเพ็ญวปิ สั สนาญาณเทา่ นน้ั หนา้ ทส่ี าคัญอีกประการหนง่ึ กค็ ือการจาริกออกไป ณ ท่ตี า่ งๆ เพ่อื เผยแพรพ่ ระธรรมคาสอนอกี ด้วย และเปน็ มลู เหตุใหท้ รงมีพระพทุ ธานญุ าติให้พระภิกษสุ ามารถรับอารามท่ี เหลา่ ทายกถวายได้ อาทิเชตวนาราม ท่มี หาเศรษฐีอนาถบณิ ฑิกะแหง่ กรงุ สาวัตถี สร้างถวาย หรือ ปพุ พาราม วิหาร ท่นี างวสิ าขาสรา้ งถวาย แตถ่ อื ได้วา่ เวฬุวนารามเป็นวดั แห่งแรกของพุทธศาสนา หลงั พุทธกาลเมอื่ มกี ารสร้างพระสถูปเจดียข์ น้ึ ทาใหบ้ รเิ วณเหล่านเี้ กดิ เปน็ ทีช่ ุมนุมของเหล่าพระสงฆ์ และคฤหสั ถท์ ี่เดนิ ทางมาถึง ที่สุดแล้วก็เกดิ มพี ระภิกษบุ างรปู สมคั รใจทจี่ ะอยพู่ านักเพอ่ื บารุงรักษาสงั เวชนีย สถานเหล่าน้นั ท้ังมีผศู้ รทั ธาสรา้ งท่พี กั กฎุ สี งฆถ์ วายแด่พระภิกษดุ ังกลา่ ว สถานท่นี ี้ในทส่ี ดุ ไดก้ ลายสภาพเป็น “วดั ” ท่ีสมบูรณแ์ บบ สืบทอดกันมาจนเกดิ เป็นแบบอย่างชดั เจนดังปจั จุบนั ด้วยเหตุทก่ี ารสรา้ งวัดกลายเป็น ประเพณีท่นี ิยมกนั ในท่ีตา่ งๆ วดั จงึ มปี รากฏอย่างแพรห่ ลายทง้ั ในเมอื งใหญ่และชนบท จนทาใหจ้ ุดมงุ่ หมายเดมิ ของการบวชนั้นเปล่ียนไปในเวลาตอ่ มเพราะพระสงฆ์ส่วนหนง่ึ มีทพี่ กั อาศยั อย่างถาวรยึดตดิ ใน เสนาสนะแทน การม่งุ เน้นปฏบิ ัติเพอ่ื รื้อออกซงึ่ ความทกุ ขแ์ ละเพอ่ื ทาให้แจง้ แห่งการดบั ทกุ ข์ซ่งึ เปน็ ความหมายของการ บวช เพราะคาว่าบวช มาจาก คาว่า ป+วช แปลว่า เว้นท่วั หมายถงึ เวน้ ห่างจากกาม จากกเิ ลส พระภกิ ษใุ น เวลาถดั มาจงึ มลี กั ษณะทแ่ี ตกตา่ งกนั 2 แบบ คอื ฝา่ ยหน่ึงซึง่ ยงั คงต้ังมน่ั อย่กู บั แนวปฏบิ ตั ิเดมิ นน่ั คอื ปลกี ความวนุ่ วายจากโลกออกสูป่ า่ เพอื่ แสวงหาความวิเวก มุ่งเนน้ ทางวิปสั สนาธรุ ะ ฝ่ายหน่ึงซึ่งนิยมการอยู่ชิดตดิ วดั ภายในเขตชุมชน โดยมงุ่ เน้นการศกึ ษา คอื การมงุ่ ศึกษาเพอื่ ใหร้ ถู้ งึ พระพุทธ พจน์ พระธรรมวินยั รวมท้งั พระอภธิ รรมตา่ งๆ แยกออกเปน็ 2 ลกั ษณะดงั นี้

(1) ฝา่ ยท่อี ยปู่ ่า เรียกวา่ พระอรญั วาสี (2) ฝา่ ยที่อยใู่ นเมอื ง เรียกวา่ พระคามวาสี พระภกิ ษไุ ม่ว่าจะเปน็ ฝา่ ยอรญั วาสหี รือคามวาสี ทุกรปู จะตอ้ งสงั กดั ไม่วัดใดก็วดั หนึ่ง วัดฝ่ายคามวาสีนน้ั อยู่ ภายในหรือรอบนอกเมอื งทม่ี ชี มุ ชนอาศยั อยู่ แต่วัดฝ่ายอรัญวาสีจะตอ้ งถอยรน่ ใหห้ า่ งไกลชุมชนใหม้ ากทสี่ ดุ แต่ ความจาเป็นในการพงึ่ พาอาศัยการแบง่ ปนั อาหารจากสังคมยังตอ้ งมีอยู่ ในพระวินัยกาหนดไวว้ า่ วัดฝ่าย อรญั วาสจี ะต้องตั้งไมห่ า่ งจากหมู่บา้ นท่ใี กล้ทสี่ ดุ จนเกินไป คอื ให้อยูใ่ นระยะประมาณ 500 ชวั่ คันธนู หรือ ประมาณ 1 กิโลเมตร เพอื่ เอือ้ ใหพ้ ระภกิ ษสุ ามารถเดนิ ไปรับการบิณฑบาตและกลบั มาทันฉนั อาหารเพลก่อน เทย่ี งวัน วัดอรัญวาสี นยิ มตัง้ อย่ใู นบรเิ วณทเ่ี ป็นป่าเขา สว่ นใหญม่ เี พยี งกฏุ แิ ละศาลาโถงอเนกประสงค์ ไมม่ ีอาคารและ แบบแผนมากนกั พระสงฆฝ์ ่ายนี้จะอยู่จาวดั เฉพาะเพยี งช่วงเข้าพรรษา และมุง่ ธดุ งค์เข้าปา่ ลึก ปักกลด ฝึกหดั กรรมฐานจิต และจารกิ ไปเร่ือยๆ ก่อนกลบั ออกมาจาพรรษาท่ีวดั อกี ครงั้ เม่อื ถึงฤดูเข้าพรรษาใหม่ ความ ต้องการทาสงั ฆกรรมใดๆ กเ็ พียงอาศัยการกาหนดขึน้ ใชเ้ พียงชวั่ คราวเทา่ นั้น วัดคามวาสี สร้างข้ึนสาหรบั เป็นทีพ่ ง่ึ ของชุมชนหรือเมอื งโดยตรง ภารกจิ หลักของพระภกิ ษสุ งฆ์ฝา่ ยนมี้ ่งุ ไป ในทางปฏิบัตดิ ้านพธิ ีกรรมทางศาสนา และการเนน้ ศกึ ษาทางหนังสือเพอื่ แสวงหาความรู้ สาหรับใช้ในการสั่ง สอนฆราวาสมากกว่าฝกึ ปฏิบตั ิด้านวปิ สั สนาธรุ ะ พระสงฆฝ์ ่ายน้จี ึงมีความสมั พันธแ์ ละเกีย่ วข้องกบั โลก ภายนอก ตลอด ทาใหแ้ นวทางหลกั ด้านปฏบิ ัตติ อ้ งเปลี่ยนไปจากการมุ่งหาหนทางเพอ่ื ให้ “ตนเอง” พน้ จาก สงั สารวฏั มา เปน็ เพอ่ื ชว่ ยให้ “ผู้อน่ื ” พน้ ทกุ ขแ์ ทน เปน็ การปฏบิ ตั ทิ ่ีไมใ่ ช่เพ่อื มงุ่ ผลตรสั รแู้ ละนิพพาน หากแต่ การเนน้ ผลทาง ปริยัติธรรมทงั้ คอยชี้แนะช่วยเหลอื บรรเทาทกุ ข์แกเ่ วไนยสัตวท์ ั้งปวงได้ ก็เท่ากับเปน็ การสงั่ สม ทานบารมีและ ยกระดบั จติ ของตนให้สงู ข้นึ ในขณะเดียวกนั ถอื เปน็ หลกั สาคัญในการฝกึ จิตเพ่ือการ “ละวาง” วัดประเภทน้จี ะ มีองค์ประกอบทางสถาปัตยกรรมทเี่ ป็นอาคารมากกวา่ วัดอรญั วาสี ตามความตอ้ งการใชง้ าน กาหนดแบบแผน ทงั้ ดา้ นรปู แบบและแผนผงั รวมมกี ฎเกณฑค์ ่อนขา้ งชัดเจน ความหมายภาคใต้ ภาคใต้ เป็นภมู ภิ าคหนึง่ ของไทย ต้งั อยบู่ นคาบสมุทรมลายู ขนาบดว้ ยอา่ วไทยทางฝ่งั ตะวันออก และ ทะเลอนั ดามนั ทางฝง่ั ตะวนั ตก มีเนอ้ื ทร่ี วม 70,715.2 ตารางกโิ ลเมตร ความยาวจากเหนอื จดใตป้ ระมาณ 750 กิโลเมตร ทกุ จงั หวัดของภาคมพี ้ืนทตี่ ดิ ชายฝงั่ ทะเล ยกเว้นจงั หวัดยะลาและจงั หวัดพทั ลงุ ภมู ิประเทศของ ภาคใต้ เต็มไปขุนเขานอ้ ยใหญ่ โดยเฉพาะบรเิ วณตอนกลางของภูมภิ าค เช่น จังหวดั ระนอง จงั หวัดชมุ พร จงั หวัดสรุ าษฎรธ์ านี จังหวดั พังงา จังหวัดนครศรีธรรมราช และ จังหวดั กระบ่ี โดยมี จุดสงู สดุ ของภาคใต้อยูท่ ่ี

ยอดเขาหลวง 1,835 เมตร เหนอื ระดบั นา้ ทะเลปานกลาง ต้ังอยใู่ นอุทยานแหง่ ชาติ เขาหลวง จงั หวัด นครศรีธรรมราช • ทิศเหนอื มีพนื้ ท่ตี ดิ ตอ่ กับจังหวดั ประจวบครี ขี นั ธ์ ดินแดนท่ีอยูท่ างเหนือสดุ ของภาคคือ อาเภอปะทวิ จังหวัดชุมพร • ทศิ ตะวันออก มีพนื้ ทตี่ ดิ ต่อกับอา่ วไทย ดนิ แดนบนแผน่ ดนิ ใหญ่ท่ีอยทู่ างตะวนั ออกสุดของภาค คอื อาเภอตากใบ จังหวดั นราธวิ าส • ทศิ ใต้ มีพน้ื ท่ตี ิดกับประเทศมาเลเซีย ดนิ แดนท่ีอยใู่ ต้สุดของภาค (และของประเทศไทย) คอื อาเภอเบตง จงั หวดั ยะลา • ทศิ ตะวันตก มพี น้ื ที่ติดต่อกับทะเลอนั ดามนั ดินแดนบนแผ่นดินใหญท่ ี่อยู่ทางตะวันตกสุดของภาค คือ อาเภอทา้ ยเหมอื ง จังหวดั พังงา ภาคใต้ ประกอบด้วย 15 จังหวดั ได้แก่ กระบี่ ชมุ พร ตรัง นครศรธี รรมราช นราธิวาส ปัตตานี พงั งา พทั ลุง ภูเก็ต ยะลา ระนอง สงขลา สตูล สุราษฎรธ์ านี และ หัวหิน จังหวดั ที่ใหญท่ ่สี ดุ : คอื สุราษฎรธ์ านี จังหวดั ทเ่ี ล็กทส่ี ุด: คือ ภูเก็ต ลักษณะภูมิประเทศ ประกอบดว้ ย พืน้ ท่รี าบ ป่าไม้ ภูเขา หาดทราย นา้ ตก ถา่ ทะเลสาบ และกล่มุ เกาะในท้องทะเลทัง้ สอง ฝงั่ มี เทือกเขาทส่ี าคญั ไดแ้ ก่ เทอื กเขาตะนาวศรี เทอื กเขาภเู ก็ต เทือกเขานครศรีธรรมราช โดยมเี ทือกเขาสนั กา ลาคีรี เป็น พรมแดนก้นั ระหว่างไทยกบั มาเลเซีย รวมความยาวของเทอื กเขาภาคใตท้ ง้ั หมดกว่า 1,000 กิโลเมตร มี แมน่ ้าสายสาคัญ ไดแ้ ก่ แม่นา้ พุมดวง แม่นา้ ตาปี แม่นา้ ปตั ตานแี ม่นา้ ท่าทอง แม่นา้ ตะกัว่ ปา่ แมน่ ้า ปากพนงั และแมน่ า้ ตรงั ชายหาดทางฝงั่ อา่ วไทยเกิดจากการยกตวั สงู ข้ึน จึงมที รี่ าบชายฝ่งั ทะเลยาวเรียบกวา้ ง นา้ ต้นื สว่ น ทางดา้ นทะเลอนั ดามัน เป็นลักษณะของชายฝง่ั ยบุ ตา่ ลง มีทรี่ าบนอ้ ย ชายหาดเว้าแหวง่ มีหนา้ ผาสูงชนั ชายฝง่ั เปน็ โขดหินและป่าโกงกาง สภาพ อากาศค่อนข้างรอ้ น แต่เนอ่ื งจากไดร้ ับอทิ ธพิ ลของลมมรสุม จงึ ทาใหม้ ีฝนตก ชุกตลอดทง้ั ปี โดยเร่ิมจากเดือนพฤษภาคมถึง เดือนกันยายน เปน็ ลมมรสมุ ตะวันตกเฉียงใต้ ซง่ึ จะทาให้เกดิ ฝน ตกและคลืน่ ลมแรงทางฝง่ั ทะเลอันดามนั และอทิ ธพิ ลของ ลมมรสมุ ตะวันออกเฉียงเหนือระหว่างเดอื น พฤศจกิ ายนถึงกุมภาพนั ธท์ างฝง่ั ทะเลอา่ วไทยตั้งแตจ่ งั หวัดชุมพรลงไป ภาค ใต้จงึ มเี พยี ง 2 ฤดูคือ ฤดูรอ้ น และ ฤดูฝน

ความหมายแอพพลิเคช่นั แอพพลเิ คช่นั (Application) หมายถึง โปรแกรม หรือชุดสงั่ ที่ใช้ควบคุมการท างานของคอมพวิ เตอร์ เคล่ือนทแ่ี ละอปุ กรณ์ตอ่ พวงต่างๆ เพ่ือให้ทางานตามคาส่ัง และตอบสนองความต้องการของผใู้ ช้ โดย แอพพลเิ คชนั่ (Application) จะต้องมีสงิ่ ท่เี รยี กวา่ สว่ นติดต่อกับผู้ใช้ (User Interface หรือ UI) เพอื่ เปน็ ตวั กลางการใช้งานตา่ งๆ ประเภทของแอพพลเิ คชั่น 1.แอพพลเิ คชน่ั ระบบ เป็นสว่ นซอฟตแ์ วร์ระบบหรอื ระบบปฏบิ ตั ิการ (Operating system) ที่ทา หน้าท่ีควบคุมการท างานของอปุ กรณแ์ ละรองรบั การใชง้ านของแอพพลิเคชั่นหรือโปรแกรมต่างๆ ที่ตดิ ต้ังอยู่ ภายในคอมพวิ เตอร์เคลอื่ นท่ี 2.แอพพลเิ คชั่นทตี่ อบสนองความตอ้ งการของกล่มุ ผู้ใช้ เป็นซอฟต์แวรป์ ระยุกตห์ รอื โปรแกรมประยกุ ต์ ทที่ างานภายใตร้ ะบบปฏบิ ตั กิ าร มีวตั ถปุ ระสงคเ์ ฉพาะอยา่ ง เนื่องจากผใู้ ชม้ คี วามต้องการใช้แอพพลเิ คชัน่ ที่ แตกตา่ งกัน จานวนของอุปกรณ์คอมพวิ เตอรเ์ คลอื่ นท่ีมหี ลากหลายชนิด ขนาดหน้าจอที่แตกต่าง จงึ มผี ู้ผลติ และพัฒนาแอพพลเิ คชั่นใหมๆ่ ข้นึ เปน็ จานวนมาก เพอ่ื รองรบั การใชง้ านในทกุ ๆด้าน โปรแกรมทใ่ี ช้ดาเนินงาน โปรแกรมglide ปจั จบุ ันนคี้ งปฏเิ สธไม่ไดเ้ ลยทจ่ี ะบอกวา่ โทรศัพท์มอื ถอื นั้นเป็นสว่ นสาคัญในชีวิตของเราทุกๆ ดา้ น แล้วถา้ หากเรามไี อเดยี ทีจ่ ะแก้ไขปัญหาต่างๆ หรอื ปรบั ปรงุ กระบวนการท างานใหส้ ะดวกมากขึน้ หลายคนก็ เรมิ่ คิดจะทาmobile app มาแก้ปัญหาตา่ งๆ น้ี กอ่ นเป็นอันดับแรก ซง่ึ ก็มขี ัน้ ตอนการพฒั นาประมาณน้ี Main Idea → Plan → Design → Code → Deploy → Monitor

ขน้ั ตอนเหล่านค้ี งต้องใช้เวลา บคุ คลเป็นอยา่ งมาก แตห่ ลายคนคงไม่ไดท้ จี่ ะมคี วามรู้ในการพฒั นา mobile app ขนาดนี้ แตห่ ากเรามี idea ที่ดี แล้วอยากจะลดขนั้ ตอนการท างานลง จนสามารถทาคนเดยี วได้ก็ คงดี ซ่งึ ปัจจบุ นั ไดม้ บี รกิ ารใหม้ ีการพัฒนา application บน platform เชน่ เว็บแอพมากมายหลายเจ้า ซง่ึ จะ มา ชว่ ยลดขนั้ ตอนหลกั ๆ คือ การ Code ที่ใครๆ ก็บอกว่ายากลงได้ วนั น้ีกเ็ ลยจะขอยกตวั อยา่ ง platform ท่ี ชือ่ วา่ Glide Glide ทางานอย่างไร? Glide จะมาช่วยจดั การในด้านการแสดงผลข้อมลู ต่างๆ จาก Google Sheet ทเี่ รามใี ห้มาอยบู่ น Smart Phone สามารถเลือกรปู แบบการแสดงผลได้หลากหลายแบบตามตอ้ งการ โดยแค่เรามขี ้อมลู ใน Google Sheet กเ็ ปล่ียนเป็น mobile app ไดง้ า่ ยๆ ครับ

บทท่ี 3 วธิ ีการจัดทาโครงงาน วสั ดแุ ละอปุ กรณ์ 1.โปรแกรม Microsoft Word 2. Google sheet 3.glideapps วธิ ีการจดั ทาโครงงาน 1.คดิ หวั ขอ้ โครงงานเพ่ือน าเสนอครทู ี่ปรกึ ษา 2.ศกึ ษาเเละค้นควา้ ข้อมลู เรอื่ งที่เราสนใจ คือเรอื่ ง วัดดงั ในภาคใตเ้ เละศกึ ษาคน้ คว้าเพ่ิมเตมิ โดยคน้ หา จากเวบ็ ไซต์ต่างๆจากอนิ เตอรเ์ น็ตเเละทาการจัดเก็บข้อมลู เพอ่ื จะทาเนื้อหาตอ่ ไป 3.จดั ทาโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอรเ์ พ่ือเสนอครทู ป่ี รึกษา 4. จัดทาโครงงานคอมพวิ เตอรเ์ รอื่ ง วัดดงั ในภาคใตโ้ ดยสรา้ งบทเรียนที่สนใจตามแบบเสนอโครงรา่ งท่ี เสนอ

บทท่ี 4 ผลการศกึ ษา การจัดทาโครงงานคอมพิวเตอร์พฒั นาสอื่ เพอื่ การศึกษาเรอ่ื ง วดั ดังในภาคใตแ้ ละวัตถปุ ระสงคเ์ พือ่ เผยแพร่ความรเู้ ก่ยี วกับประวัติความเป็นมาของวัดและประวตั ขิ องแต่ละวัดในภาคใต้ คอมพิวเตอรโ์ ดยใช้ โปรแกรม Google Sheet, Glide มีผลการดาเนินงานโครงงาน ดงั น้ี วัตถุประสงค์ 1.เพื่อการศึกษาการสรา้ งแอพพลิเคชน่ั ของสมาทร์โฟน 2.เพอื่ ใช้เทคโนโลยใี นการสง่ เสรมิ และเผยแพรพ่ ระพทุ ธศาสนา การพฒั นาโครงงาน สอ่ื เพอื่ การศกึ ษาเรือ่ งประวัติความเป็นมาและใหค้ วามรเู้ รื่องหลักการและการปฎบิ ตั ติ นให้ถกู ต้องตาม กาละเทศะ โปรแกรม Glide

บทที่ 5 สรปุ ผลและขอ้ เสนอแนะ การจัดทาโครงงานคอมพวิ เตอรส์ ่อื เพ่อื การศึกษาเรอื่ ง วัดดังในภาคใตเ้ พ่ือใหค้ วามรู้เกยี่ วกบั วดั ต่างๆ ในภาคใต้ สามารถสรปุ ผลการดาเนนิ งานโครงงานและข้อเสนอแนะ ดังน้ี การดาเนนิ การจดั ทาโครงงาน 1.วตั ถุประสงค์ของโครงงาน -เพือ่ การศึกษาการสรา้ งแอพพลเิ คชั่นของสมาทรโ์ ฟน -เพอื่ ใช้เทคโนโลยีในการสง่ เสริมและเผยแพรพ่ ระพุทธศาสนา 2.ซอฟต์แวร์ -โปรแกรม Microsoft Word -Google sites - Glide สรปุ ผลการศกึ ษา การดาเนนิ งานโครงงานนบ้ี รรลุวัตถปุ ระสงค์ที่ไดก้ าหนดไว้คอื เพอ่ื เปน็ ส่อื การเรียนรู้แกผ่ ทู้ สี่ นใจ เกี่ยวกับวดั ดงั ในภาคใต้สร้างความสนใจช่วยพฒั นาให้ความรู้เก่ยี วกบั วัดให้แกผ่ เู้ รียน มคี วามเขา้ ใจการจัดทา โครงงานช้นิ นี้ขนึ้ มาเพื่ออยากให้เป็นส่วนหนึง่ ในการใช้โปรแกรมให้เกง่ ยงิ่ ขึน้ ของผทู้ ส่ี นใจ ข้อเสนอแนะ 1.ควรมีการเพม่ิ เน้ือหาท่มี คี วามหลากหลายมากกวา่ นี้ 2.ควรทาสอื่ ใหม้ ีความนา่ สนใจมากกว่านี้

บรรณานุกรม สถานที่ตง้ั ของวดั ต่างๆ https://travel.trueid.net/detail/RmQRBEPJybpA https://travel.trueid.net/detail/4ld4B7nPRLql https://www.wongnai.com/listings/temples-hatyai-songkhla https://weekdayspecialthailand.com/11702 https://th.tripadvisor.com/Attractions-g2098280-Activities- c47-Chumphon_Province.html วดั ทส่ี นใจ https://www.wongnai.com/attractions/330758hd- %E0%B8%A7%E0%B8%B1%E0%B8%94%E0%B8%9E%E0% B8%A3%E0%B8%B0%E0%B8%9A %E0%B8%A3%E0%B8%A1%E0%B8%98%E0%B8%B2%E0% B8%95%E0%B8%B8%E0%B8%AA %E0%B8%A7%E0%B8%B5

ภำคผนวก




Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook