Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore ระเบียบว่าด้วยการวัดและประเมินผล โรงเรียนวัดสายลำโพงใต้ พุทธศักราช 2564

ระเบียบว่าด้วยการวัดและประเมินผล โรงเรียนวัดสายลำโพงใต้ พุทธศักราช 2564

Description: ระเบียบว่าด้วยการวัดและประเมินผล โรงเรียนวัดสายลำโพงใต้ พุทธศักราช 2564

Search

Read the Text Version

ระเบยี บว่าดว้ ยการวัดและประเมินผล ตามหลกั สตู รแกนกลางการศึกษาขนั้ พืน้ ฐาน พทุ ธศกั ราช ๒๕๕๑ (ฉบบั ปรับปรุง พ.ศ. ๒๕๖๐) โรงเรยี นวดั สายลาโพงใต้ พทุ ธศกั ราช ๒๕๖๔ โรงเรยี นวัดสายลาโพงใต้ สานกั งานเขตพ้นื ทก่ี ารศกึ ษาประถมศึกษานครสวรรค์ เขต ๓ สานกั งานคณะกรรมการการศกึ ษาข้นั พน้ื ฐาน กระทรวงศึกษาธิการ

คำนำ กระทรวงศึกษาธิการได้มีคำสั่งให้ใช้มาตรฐานการเรียนรู้ และตัวชี้วัด กลุ่มสาระการเรียนรู้ คณติ ศาสตร์ วทิ ยาศาสตร์ และสาระภมู ิศาสตร์ ในกลมุ่ สาระการเรียนรสู้ ังคมศึกษา ศาสนา และวัฒนธรรม (ฉบับปรับปรุง พ.ศ.๒๕๖๐) ตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาชั้นพื้นฐาน พุทธศักราช ๒๕๖๑ โดยสำนักงานคณะกรรมการศึกษาขั้นพื้นฐานได้มีคำสั่งให้เปลี่ยนแปลงมาตรฐานการเรียนรู้และตัวชี้วัด กลุ่มสาระการเรยี นรู้คณิตศาสตร์ และวทิ ยาศาสตร์ ยกเลิกมาตรฐานการเรยี นร้แู ละตวั ชี้วดั สาระที่ ๒ การ ออกแบบและเทคโนโลยี และสาระที่ ๓ เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร ในกลุ่มสาระการเรียนรู้ การงานอาชีพและเทคโนโลยี ตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช ๒๕5๑ (ฉบบั ปรับปรุง พ.ศ. 2560) และประกาศให้บรหิ ารจัดการหลักสตู รสถานศึกษา โรงเรยี นวดั สายลำโพงใต้ จึงได้ดำเนินการพัฒนาหลักสูตรสถานศึกษาโรงเรียนวัดสายลำโพงใต้ พุทธศักราช ๒๕๖4 ตามหลักสูตร แกนกลางการศึกษาชั้นพื้นฐาน พุทธศักราช ๒๕๕๑ (ฉบับปรับปรุง พ.ศ.๒๕๖๐) และเอกสารประกอบ หลักสตู รขน้ึ เพอ่ื ใชเ้ ป็นกรอบและทิศทางในการจดั การเรียนการสอนของโรงเรียน เพ่อื ให้เป็นกระบวนการ นำหลักสูตรไปสู่การปฏบิ ัตอิ ยา่ งมีประสิทธภิ าพ ระเบียบโรงเรียนวัดสายลำโพงใต้ ว่าด้วยการวัดและประเมินผลการเรียนตามหลักสูตร แกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช ๒๕๕๑ (ฉบับปรับปรุง พ.ศ. ๒๕'๖๐) พ.ศ.๒๕๖4 ฉบับนี้ เป็นเอกสารประกอบหลักสูตรที่มีความสำคัญ อันจะเป็นกรอบและแนวทางให้การปฏิบัติการวัตและ ประเมินผลการเรียนรู้ในหลักสูตร เป็นไปตามหลักเกณฑ์และแนวปฏิบัติที่เป็นข้อกำหนดของหลักสูตร แกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช ๒๕๕๑ (ฉบับปรับปรุง พ.ศ. ๒๕๖๐) ทั้งในเรื่องระเบียบ หลกั เกณฑ์ และแนวทางการวัดและประเมนิ ผล (นางสาวชริดา เหลี่ยมด)ี ผ้อู ำนวยการโรงเรียนวดั สายลำโพงใต้

สารบญั หนา้ คำนำ 1 ระเบยี บโรงเรยี นวัดสายลำโพงใต้ ว่าด้วยการประเมนิ ผลการเรยี นรู้ 3 4 ตามหลกั สูตรแกนกลางการศึกษาขัน้ พื้นฐาน พุทธศักราช 2551 5 หมวด 1 หลักการในการวัดและประเมนิ ผลการเรียนรู้ 5 หมวด 2 องค์ประกอบของการวดั และประเมนิ ผลการเรยี นรู้ 5 หมวด 3 วธิ กี ารวดั และประเมนิ ผลการเรยี นรู้ 6 6  การประเมนิ ผลเพ่อื ปรบั ปรงุ พัฒนาการเรียนรู้ 6  การประเมินผลเพ่ือปรบั ปรุงการเรยี นรู้ 8 หมวด 4 เกณฑก์ ารวัดและประเมินผลการเรียนรู้ 10  การตัดสนิ ผลการเรยี น 11  การกำหนดคะแนนระหวา่ งเรียนและปลายปี 12  การประเมินผลการเรยี นร้ใู หร้ ะดับผลการเรยี น 12  การเลื่อนช้นั 13  การเรียนซำ้ ชน้ั 15  การสอนซ่อมเสริม 21  เกณ์การจบระดับประถมศึกษา 21  การให้ระดับผลการเรยี น 21 หมวด 5 การเทยี บโอนผลการเรยี น 22 หมวด 6 การรายงานผลการเรยี น 22  จดุ มุ่งหมายการรายงานผลการเรยี น 23  ข้อมลู ในการรายงานผลการเรียน 24  ลกั ษณะข้อมูลสำหรับการรายงาน 24  เป้าหมายการรายงาน 24  วิธีการรายงาน 24  การกำหนดระยะเวลาในการรายงาน 25 หมวด 7 เอกสารหลักฐานการศึกษา 27  เอกสารหลกั ฐานการศึกษาท่กี ระทรวงศกึ ษาธิการกำหนด - เอกสารหลักฐานการศกึ ษาควบคุมและบังคบั แบบ - เอกสารหลกั ฐานการศึกษาท่ีสถานศกึ ษาดำเนนิ การเอง หมวด 8 การย้ายทเี่ รยี น

สารบัญ (ตอ่ ) หนา้ ภาคผนวก 28 ภาคผนวก ก คณุ ลกั ษณะอนั พงึ ประสงค์ 29 ภาคผนวก ข ตวั อยา่ งเอกสารต่างๆ เกยี่ วกบั การวดั และประเมินผล 45 ภาคผนวก ค คำสง่ั 45

1 ระเบยี บโรงเรียนวัดสายลำโพงใต้ ว่าดว้ ยการวัดและประเมนิ ผลการเรยี น ระดบั ประถมศึกษา พุทธศกั ราช 2564 ตามหลักสตู รแกนกลางการศึกษาขัน้ พืน้ ฐาน พทุ ธศักราช 2551 (ฉบับปรบั ปรุง พ.ศ. 2560) .............................................................................................. โดยที่โรงเรียนวัดสายลำโพงใต้ ได้ประกาศใช้หลักสูตรโรงเรียน ตามหลักสูตรแกนกลาง การศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช ๒๕๕๓ ตามคำสั่งกระทรวงศึกษาธิการ ที่ สพฐ ๑๒๓๘ / ๒๕๖๐ ลง วันที่ ๗ สิงหาคม๒๕๖๐ เรื่องให้ใช้มาตรฐานการเรียนรู้และตัวชี้วัด กลุ่มสาระการเรียนรู้คณิตศาสตร์ วิทยาศาสตร์ และสาระภูมิศาสตร์ ในกลุ่มสาระการเรียนรู้สังคมศึกษา ศาสนา และวัฒนธรรม (ฉบับ ปรับปรุง พ.ศ. ๒๕๖๐) และประกาศสำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพ้ืนฐาน ลงวันที่ ๘ มกราคม พ.ศ. ๒๕๖๑ เรื่อง การบริหารจัดการหลักสูตรสถานศึกษา กลุ่มสาระการเรียนรู้คณิตศาสตร์ และ วิทยาศาสตร์ (ฉบับปรับปรุง พ.ศ. ๒๕๖๐) ตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช ๒๕๕๑ พร้อมทั้งคำสั่งสำนักงานคณะกรรมการการศึกษาชั้นพื้นฐาน ลงวันที่ ๓ พฤษภาคม พ ศ.2561 เรื่องยกเลิกมาตรฐานการเรียนรู้และตัวชี้วัด สาระที่ ๒ การออกแบบและเทคโนโลยี และสาระที่ ๓ เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร ในกลุ่มสาระการเรียนรู้การงานอาชีพและเทคโนโลยี ตามหลักสูตร แกนกลางการศกึ ษาช้นั พน้ื ฐาน พทุ ธศักราช ๒๕๕๑ และเปลย่ี นช่ือกลุ่มสาระการเรยี นรู้ จึงเป็นการสมควร ทก่ี ำหนดระเบยี บโรงเรยี นวัดสายลำโพงใต้ ว่าตวั ยการวัดและประเมนิ ผลการเรยี นตามหลกั สตู รแกนกลาง การศึกษาชั้นพื้นฐาน พุทธศักราช ๒๕๕๑ (ฉบับปรับปรุง พ.ศ. ๒๕๖๐) เพื่อให้การปฏิบัติงานสามารถ ดำเนินการได้อยา่ งมีประสิทธิภาพและสอดคล้องกบั คำสง่ั และประกาศ ดงั ล่าว ฉะนั้น อาศัยอำนาจตามความในมาตรา ๕ แหง่ ประราชบัญญัตกิ ารศึกษาแหง่ ชาติ พ.4.6๕๕๖ และที่แก้ไขเพิ่มเติม (ฉบับที่ ๒ พ.ศ.๒๕๔๕ พร้อมทั้งมาตรา ๑๒ และมาตรา ๓๘ แห่งพระราชบัญญัติ ระเบียบบริหารราชการกระทรวงศึกษาธิการ พ.ศ.๒๕๔๖ คณะกรรมการบริหารหลักสูตรและกลุม่ บริหาร วชิ าการโรงเรียน โดยความเห็นชอบของคณะกรรมการการศึกษาขั้นพน้ื ฐาน จึงวางระเบียบไว้ดงั ต่อไปน้ี ขอ้ ๑ ระเบยี บน้เี รียกว่า \"ระเบยี บโรงเรยี นวัดสายลำโพงใต้ ว่าดว้ ยการวัดและประเมินผลการ เรียนรู้ตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช ๒๕๕1 (ฉบับปรับปรุง พ.ศ. ๒๕๖๐) พ.ศ. 2564” ขอ้ ๒ ระเบียบน้ีใหบ้ ังคบั ใช้ต้งั แต่ ปีการศึกษา ๒๕๖๑ เปน็ ต้นไป ข้อ ๓ ให้ยกเลิกระเบียบโรงเรียนวัดสายลำโพงใต้ จังหวัดนครสวรรค์ ว่าด้วยการวัดและ ประเมินผลตามหลกั สตู รแกนกลางการศกึ ษาข้ันพื้นฐาน พทุ ธศักราช ๒๕๕๑ บรรดาข้อบังคบั หรอื คำส่ังอื่น ใดในสว่ นที่กำหนดไวใ้ นระเบียบน้ี หรือชดั แยง้ กบั ระเบียบน้ี และใหใ้ ชร้ ะเบยี บนี้แทน ข้อ ๔ ระเบียบนี้ให้ใช้ควบคู่กับหลักสูตรโรงเรียนวัดสายลำโพงใต้ พ.ศ.6๕๒4 ตามคำส่ัง กระทรวงศึกษาริการ ที่ สพฐ ๑๒๓๔ / ๒๕๖๐ ลงวนั ท่ี ๗ สิงหาคม ๒๕๖0 เรื่องให้ใช้มาตรฐานการเรียนรู้ และตัวชี้วัดกลุ่มสาระการเรียนรู้คณิตศาสตร์ วิทยาศาสตร์ และสาระภูมิศาสตร์ ในกลุ่มสาระการเรียนรู้

2 สังคมศึกษา ศาสนาและวัฒนธรรม (ฉบับปรับปรุง พ.ศ. 6๒๕๖๐) และประกาศสำนักงานคณะกรรมการ การศึกษาขั้นพื้นฐาน ลงวันที่ ๘ มกราคม พ.ศ.๒๕๖๑ เรื่อง การบริหารจัดการหลักสูตรสถานศกึ ษา กลุ่ม สาระการเรียนรู้คณิตศาสตร์และวิทยาศาสตร์ (ฉบับปรับปรุง พ.ศ. ๒๕๖๐) ตามหลักสูตรแกนกลาง การศึกษาชั้นพื้นฐาน พุทธศักราช ๒๕๕1 พร้อมทั้งคำสั่งสำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน ลงวันที่ ๓ พฤษภาคม พ.ศ.๒๕๖๑ เรื่อง ยกเลิกมาตรฐานการเรียนรู้และตัวชี้วัด สาระที่ ๒ การออกแบบ และเทคโนโลยี และสาระท่ี ๓ เทคโนโลยสี ารสนเทศและการส่ือสาร ในกลุ่มสาระการเรียนรู้การงานอาชีพ และเทคโนโลยี ตามหลกั สูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช ๒๕๕๓ และเปลย่ี นชอื่ กลุ่มสาระ การเรียนรกู้ ารงานอาชพี และเทคโนโลยี เปน็ กลุ่มสาระการเรียนรูก้ ารงานอาชีพ ขอ้ 5 ให้ผบู้ รหิ ารโรงเรยี นรกั ษาการให้เป็นไปตามระเบยี บนี้

3 หมวด 1 หลักการวดั และประเมินผลการเรยี นรู้ ข้อ 6 หลกั การวดั และประเมินผลการเรยี นรู้ การวัดและและประเมินผลการเรียนรู้ของโรงเรียนวัดสายลำโพงใต้ พุทธศักราช 2564 ตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช 2551 (ฉบับปรับปรุง พ.ศ. 2560) เป็น กระบวนการเก็บรวบรวม ตรวจสอบ ตีความผลการเรียนรู้ และพัฒนาการด้านต่างๆ ของผู้เรียนตาม มาตรฐานการเรียนรู้/ตัวชี้วัดของหลักสูตร นำผลไปปรับปรุงพัฒนาการจัดการเรียนรู้และใช้เป็นข้อมูล สำหรับการตัดสินผลการเรียน สถานศึกษาจึงมีกระบวนการจัดการที่เป็นระบบ เพื่อให้การดำเนินการวัด และประเมินผลการเรียนรู้เป็นไปอย่างมีคุณภาพและประสิทธิภาพ ผลการประเมินตรงตามสภาพการ เรียนรู้ ความสามารถที่แท้จริงของผู้เรียน ถูกต้องตามหลักการวัดและประเมินผลการเรียนรู้ รวมทั้ง สามารถรองรับการประเมินภายในและการประเมินภายนอก ตามระบบประกันคุณภาพการศึกษาได้ สถานศกึ ษาจงึ กำหนดหลักการวัดและประเมนิ ผลการเรยี นรู้ เพือ่ เปน็ แนวทางในการตดั สินใจเก่ียวกับการ วัดและประเมนิ ผลการเรยี นร้ขู องสถานศกึ ษา ดงั น้ี 6.1 การประเมินผลการเรียนรู้ของผเู้ รยี น เปดิ โอกาสใหท้ กุ ฝา่ ยทีเ่ กี่ยวข้องมีส่วนร่วม 6.2 การวัดและประเมินผลการเรียนรู้ต้องสอดคล้องและครอบคลุมมาตรฐานการ เรียนรู้/ตัวชี้วัดตามกลุ่มสาระการเรียนรู้ที่กำหนดในหลักสูตร และจัดให้มีการประเมินการอ่าน คิด วเิ คราะหแ์ ละเขียน คณุ ลักษณะอนั พงึ ประสงค์ ตลอดจนกจิ กรรมพัฒนาผเู้ รยี น 6.3 การประเมินผ้เู รยี นพิจารณาจากพัฒนาการของผเู้ รียน ความประพฤติ การสงั เกต พฤติกรรมการเรียนรู้ การร่วมกิจกรรมและการทดสอบควบคู่ไปในกระบวนการเรียนการสอนตามความ เหมาะสมของแตล่ ะระดบั 6.4 การวัดและประเมินผลการเรียนรู้เป็นส่วนหนึ่งของกระบวนการจัดการเรียนการ สอนตอ้ งดำเนินการดว้ ยเทคนิควธิ ีการท่ีหลากหลาย เพอ่ื ให้สามารถวัดและประเมินผลผเู้ รยี นได้อย่างรอบ ด้านทั้งด้านความรู้ ความคิด กระบวนการ พฤติกรรมและเจตคติ เหมาะสมกับสิ่งที่ต้องการวัด ธรรมชาตวิ ิชา และระดับชนั้ ของผูเ้ รียนโดยต้งั อยบู่ นพน้ื ฐานความเท่ยี งตรง ยุตธิ รรม และเชื่อถือได้ 6.5 การประเมินผลการเรียนรู้ มีจุดมุ่งหมายเพื่อปรับปรุงพัฒนาผู้เรียน พัฒนาการ จดั การเรียนรูแ้ ละตัดสนิ ผลการเรยี น 6.6 เปิดโอกาสใหผ้ ู้เรยี นและผมู้ ีสว่ นเก่ียวข้องตรวจสอบผลการประเมินผลการเรยี นรู้ 6.7 มีการเทยี บโอนผลการเรียนระหว่างสถานศกึ ษาและรูปแบบการศึกษาต่าง ๆ 6.8 จัดทำเอกสารหลักฐานการศึกษา เพื่อเป็นหลักฐานการประเมินผลการเรียนรู้ รายงานผลการเรียน แสดงวุฒิการศึกษาและรบั รองผลการเรยี นของผ้เู รียน

4 หมวด 2 องคป์ ระกอบของการวัดและประเมินผลการเรียนรู้ ข้อ 7 การวัดและประเมินผลการเรียนรู้ หลักสูตรโรงเรียนวัดสายลำโพงใต้ พุทธศักราช 2561 ตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษา ข้นั พื้นฐาน พทุ ธศักราช 2551 กำหนดจดุ หมาย สมรรถนะสำคัญของผเู้ รยี น และมาตรฐานการเรียนรู้ เป็นเป้าหมายและกรอบทิศทางในการพัฒนาผู้เรียนให้เป็นคนดี มีปัญญา มีคุณภาพชีวิตที่ดีและมีขีด ความสามารถในการแขง่ ขนั ในเวทีระดบั โลก กำหนดใหผ้ เู้ รยี นไดเ้ รียนร้ตู ามมาตรฐานการเรียนร/ู้ ตวั ชี้วัดท่ี กำหนดในกลุ่มสาระการเรียนรู้ 8 กลุ่มสาระ มีความสามารถด้านการอ่าน คิดวิเคราะห์และเขียน มีคุณลักษณะอันพึงประสงค์และเข้าร่วมกิจกรรมพัฒนาผู้เรียน และการวัดและประเมินผลการเรียนรู้ มีองค์ประกอบดังนี้ 7.1 การวัดและประเมินผลการเรียนรู้ตามรายกลุ่มสาระการเรียนรู้ ผู้สอนทำการวัด และประเมินผลการเรียนรู้ผู้เรียนเป็นรายวิชาตามตัวชี้วัดที่กำหนดใน หน่วยการเรียนรู้ด้วยวิธีการท่ี หลากหลายให้ไดผ้ ลการประเมินตามความสามารถท่ีแท้จริงของผู้เรยี น โดยทำการวัดและประเมินผลการ เรียนรู้ไปพร้อมกับการจัดการเรียนการสอน ได้แก่ การสังเกตพัฒนาการและความประพฤติของผู้เรียน การสังเกตพฤติกรรมการเรียน การร่วมกิจกรรมและการทดสอบ ซึ่งผู้สอนต้องนำนวัตกรรมการวัดและ ประเมินผลการเรียนรู้ทีห่ ลากหลาย เช่น การประเมินสภาพจริง การประเมินการปฏิบัติงาน การประเมิน จากโครงงานและการประเมินจากแฟ้มสะสมผลงาน ไปใช้ในการประเมินผลการเรียนรู้ควบคู่ไปกับการใช้ แบบทดสอบแบบต่าง ๆ และให้ความสำคัญกบั การประเมนิ ระหวา่ งปมี ากกว่าการประเมินปลายปี 7.2 การประเมนิ การอ่าน คดิ วิเคราะหแ์ ละเขียน เปน็ การประเมนิ ศกั ยภาพของผเู้ รียน ในการอ่าน การฟัง การดูและการรับรู้ จากหนังสือ เอกสารและสื่อต่าง ๆ ได้อย่างถูกต้อง แล้วนำมา คิดวิเคราะห์เนื้อหาสาระที่นำไปสู่การแสดงความคิดเห็น การสังเคราะห์สร้างสรรค์ในเรื่องต่าง ๆ และ ถ่ายทอดความคิดน้นั ด้วยการเขียนซงึ่ สะท้อนถึงสตปิ ัญญา ความรู้ ความเขา้ ใจ ความสามารถในการคิด วิเคราะห์ แก้ปัญหา และสร้างสรรค์จินตนาการอย่างเหมาะสมและมีคุณค่าแก่ตนเอง สังคม และ ประเทศชาติ พรอ้ มด้วยประสบการณ์และทักษะในการเขียนท่ีมสี ำนวนภาษาถูกต้อง มเี หตุผลและลำดับ ขน้ั ตอนในการนำเสนอ สามารถสร้างความเขา้ ใจแกผ่ ู้อ่านไดอ้ ย่างชดั เจนตามระดับความสามารถในแต่ละ ระดบั ชนั้ การประเมนิ การอ่าน คดิ วิเคราะห์และเขียน สรุปผลเปน็ รายปี เพื่อวนิ ิจฉัยและใช้เป็นข้อมูล เพอ่ื ประเมนิ การเลอ่ื นชั้นเรยี นและการจบการศกึ ษา 7.3 การประเมินคุณลักษณะอันพึงประสงค์ ตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษา ขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช 2551 เป็นการประเมินรายคุณลักษณะ แล้วรวบรวมผลการประเมิน จากผู้ประเมินทุกฝ่ายนำมาพิจารณาสรุปผลเป็นรายปี เพื่อใช้เป็นข้อมูลประเมินการเลื่อนชั้นเรียนและ การจบการศึกษา 7.4 การประเมินกิจกรรมพัฒนาผู้เรียน เป็นการประเมินการปฏิบัติกิจกรรมตาม จุดประสงค์และเวลาในการเข้าร่วมกิจกรรมตามเกณฑ์ที่กำหนดไว้ในแต่ละกิจกรรมและใช้เป็นข้อมูล ประเมนิ การเลอ่ื นช้นั เรียนและการจบการศกึ ษา

5 หมวด 3 วิธกี ารวดั และประเมินผลการเรียนรู้ ข้อ 8 การประเมินผลเพอ่ื ปรบั ปรงุ พัฒนาการเรยี นรู้ 8.1 การจัดการเรียนรู้ 8.1.1 กลมุ่ สาระการเรียนรู้ ครผู ู้สอนแจง้ ให้นักเรยี นทราบดงั น้ี 1) มาตรฐานการเรียนร้/ู ตวั ชว้ี ดั ชน้ั ปี 2) คุณลักษณะอันพึงประสงค์ 3) การอ่าน คิดวเิ คราะห์ และเขยี น 4) วธิ ีการวัดและประเมนิ ผล ข้อ 1) , 2) และ 3) 5) เกณฑก์ ารผ่านขอ้ 1), 2) และ 3) และการผ่านกลุ่มสาระการเรยี นรู้ 8.1.2 การจัดการเรียนรู้กิจกรรมพัฒนาผู้เรียนครูผู้สอนแจ้งให้นักเรียนทราบ ดงั นี้ 1) จุดประสงคก์ ารเรียนรู้ 2) คุณลกั ษณะอันพงึ ประสงค์ 3) วิธีการวัดและประเมนิ ผลข้อ 1) และ 2) 4) เกณฑก์ ารผ่าน ขอ้ 1) และ 2) และการผา่ นกิจกรรมพฒั นาผเู้ รียน 8.2 ก่อนการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ ผู้สอนต้องประเมินผลก่อนเรียนเพื่อตรวจสอบ ความรูพ้ ืน้ ฐานและทักษะเบ้อื งตน้ ของนกั เรียน 8.3 ระหวา่ งเรียน ผ้สู อนประเมนิ ผลการเรยี นรขู้ องนกั เรยี นเป็นระยะ ๆ ดงั นี้ 8.3.1 ประเมินผลตามตัวชี้วัดชั้นปีของรายวิชาเพื่อพัฒนาการเรียนรู้ของผู้เรยี น และเพื่อการผ่านตัวชีว้ ัดชั้นปี 8.3.2 ประเมินผลตามมาตรฐานการอ่าน คิดวิเคราะห์ และเขียน เพื่อ พฒั นาการเรยี นรแู้ ละการผ่านการประเมินการอา่ น คดิ วเิ คราะห์ และเขยี น 8.3.3 ประเมินผลตามตัวบ่งชี้แต่ละคุณลักษณะอันพึงประสงค์ เพื่อประเมิน วินิจฉัยและปรับเปลีย่ นคณุ ลกั ษณะอันพงึ ประสงค์ และการผา่ นการประเมินคณุ ลกั ษณะอนั พงึ ประสงค์ 8.3.4 ประเมินผลตามจุดประสงค์การเรียนรู้ของกิจกรรมพัฒนาผู้เรียนเพ่ือ พัฒนาการเรียนรู้ของผูเ้ รยี นและเพ่ือผา่ นจุดประสงค์การเรยี นรขู้ องกจิ กรรมพัฒนาผู้เรียน 8.4 ปลายปี เมอ่ื จบกระบวนการเรียนรู้ มกี ารประเมนิ ผลการเรียนรู้ปลายปี โดยเลือก ประเมินเฉพาะตวั ชวี้ ดั ชนั้ ปที ี่สำคัญใหค้ รอบคลมุ ท้งั ความรู้ ทักษะกระบวนการ และการอ่านคดิ วเิ คราะห์ และเขียน คุณลกั ษณะอันพึงประสงค์ เพ่ือตรวจสอบคุณภาพตามทก่ี ำหนดไวใ้ นหลักสตู ร ข้อ 9 การประเมนิ ผลเพอ่ื ปรบั ปรงุ การเรียนรู้ ตามข้อ 7.2 ก่อนการจดั กิจกรรมการเรียนรู้ ข้อ 7.3 ระหว่างเรียน และข้อ 7.4 ปลายปี ถ้านักเรียนมีความรู้ความสามารถต่ำกว่าเกณฑ์ที่กำหนดไว้ ใหผ้ สู้ อนสอนซอ่ มเสรมิ ให้สอดคล้องกบั ลักษณะการเรียนร้ขู องนกั เรียน ขอ้ 10 ให้ใช้ผลการประเมนิ ตามข้อ 7 ในการตดั สินผลดงั นี้ 10.1 ตามข้อ 7.3.1 ตัดสินผลการผา่ นตัวชี้วดั ชั้นปีของรายวิชาเพือ่ พัฒนาการเรยี นรู้ ของผูเ้ รยี นเพอื่ ผ่านตวั ชวี้ ัดชนั้ ปี ใชต้ ดั สินผลการผ่านตวั ช้วี ัดชั้นปี

6 10.2 ตามข้อ 7.3.1 การประเมินผลตัวชี้วัดชั้นปีของรายวิชาเพื่อพัฒนาการเรียนรู้ ของผ้เู รียนและเพ่ือผา่ นตัวช้วี ดั ชั้นปี กับ 7.4 การประเมินผลปลายปี เมอ่ื จบกระบวนการเรียนรู้ ใช้ตัดสิน ผลการผา่ นกลุ่มสาระการเรียนรู้ 10.3 ตามข้อ 7.3.2 การประเมินผลตามมาตรฐานการอ่าน คิดวิเคราะห์ และเขียน กบั การประเมินผลปลายปี ใชต้ ดั สินผลการผ่านการประเมนิ การอ่าน คดิ วิเคราะหแ์ ละเขียน 10.4 ตามข้อ 7.3.3 ตัดสินผลการผ่านคุณลักษณะอนั พึงประสงค์ 10.5 ตามข้อ 7.3.4 ตดั สนิ ผลการผา่ นกจิ กรรมพัฒนาผเู้ รยี น หมวด 4 เกณฑ์การวัดและประเมินผลการเรยี นรู้ ขอ้ 11 การตัดสนิ ผลการเรียน หลักสูตรแกนกลางการศึกษาข้ันพื้นฐาน พุทธศักราช 2551 ได้กำหนดโครงสร้าง เวลาเรียน มาตรฐานการเรียนรู้/ตัวชี้วัด การอ่าน คิดวิเคราะห์และเขียน คุณลักษณะอันพึงประสงค์และกิจกรรม พัฒนาผู้เรียนที่สถานศึกษาต้องจัดให้ผู้เรียนเกิดการเรียนรู้ มีคุณภาพเต็มตามศักยภาพ สถานศึกษา จงึ กำหนดเกณฑก์ ารวัดและประเมนิ ผลการเรียนรู้ เพื่อตัดสนิ ผลการเรียนของผ้เู รยี น ดังนี้ 11.1 ผเู้ รยี นต้องมีเวลาเรยี นไม่นอ้ ยกว่าร้อยละ 80 ของเวลาเรยี นทั้งหมด 11.2 ผู้เรียนต้องได้รับการประเมินทุกตัวชี้วัดชั้นปี และผ่านร้อยละ 100 ของตัวชี้วัด ชนั้ ปรี ายวชิ า 11.3 ผเู้ รียนต้องได้รบั การตัดสินผลการเรียนทุกรายวชิ า 11.4 ผู้เรียนต้องได้รับการประเมินและมีผลการประเมินผ่านตามเกณฑ์ที่กำหนด ในการอ่าน คดิ วิเคราะหแ์ ละเขียน คุณลกั ษณะอันพงึ ประสงค์ และกิจกรรมพฒั นาผู้เรยี น ข้อ 12 การกำหนดคะแนนระหว่างเรียนและปลายปี เพื่อใช้ตัดสินผลการเรียน กำหนด ดงั น้ี 12.1 รายวิชาของกลุ่มสาระการเรียนรู้ ให้นำคะแนนระหว่างเรียนรวมกับปลายภาค เรียน แลว้ นำมาตดั สนิ ผลการเรียน ดังน้ี 12.1.1 กลุ่มสาระการเรียนรภู้ าษาไทย, คณิตศาสตร,์ วิทยาศาสตร์ , สังคมศึกษา ศาสนา และวัฒนธรรม และภาษาต่างประเทศ กำหนดดงั น้ี คะแนนระหว่างปี / ภาค 70 คะแนน คะแนนปลายปี / ภาค 30 คะแนน รวม 100คะแนน 12.1.2 กลุ่มสาระการเรียนรู้สุขศึกษาและพลศึกษา ศลิ ปะ และการงานอาชีพ และเทคโนโลยี กำหนดดังนี้ คะแนนระหว่างปี / ภาค 80 คะแนน คะแนนปลายปี / ภาค 20 คะแนน รวม 100คะแนน

7 12.2 การประเมนิ การอ่าน คดิ วเิ คราะห์ และเขียน เพ่ือการเล่ือนระดับชั้นและ จบการศกึ ษา กำหนดเกณฑก์ ารตัดสินเปน็ 4 ระดับ และความหมายของแต่ละระดับ ดังนี้ ดเี ยยี่ ม หมายถึง มีผลงานที่แสดงถึงความสามารถในการอ่าน คิด วิเคราะหแ์ ละเขยี นทมี่ ีคุณภาพท่ดี ีเลศิ อยูเ่ สมอ ดี หมายถึง มีผลงานที่แสดงถึงความสามารถในการอ่าน คิด วเิ คราะห์และเขยี นทมี่ คี ุณภาพเป็นที่ยอมรับ ผ่าน หมายถึง มีผลงานที่แสดงถึงความสามารถในการอ่าน คิด วิเคราะห์และเขยี นท่ีมีคณุ ภาพเปน็ ทยี่ อมรับ แต่ยังมขี อ้ บกพรอ่ งบางประการ ไมผ่ า่ น หมายถึง ไม่มีผลงานที่แสดงถึงความสามารถในการอ่าน คิด วิเคราะหแ์ ละเขยี นหรอื ถ้ามีผลงาน ผลงานนน้ั ยังมขี อ้ บกพร่องท่ีตอ้ งได้รับการปรับปรงุ แก้ไขหลายประการ 12.3 การสรุปผลประเมินคณุ ลกั ษณะอันพึงประสงค์รวมทกุ คุณลักษณะ เพื่อ การเล่ือนระดับชั้นและจบการศึกษา กำหนดเกณฑ์การตัดสินเป็น 4 ระดับ และความหมายของแต่ละ ระดบั ดงั นี้ ดเี ยย่ี ม หมายถึง นักเรียนปฏิบัติตามคุณลักษณะจนเป็นนิสัยและ นำไปใช้ในชีวิตประจำวันเพื่อประโยชน์สุขของตนเองและสังคมโดยพิจารณาจาก ผลการประเมินระดับดี เย่ียม จำนวน 5 -๘ คณุ ลกั ษณะ และไม่มีคุณลักษณะใดไดผ้ ลการประเมินตำ่ กวา่ ระดับดี ดี หมายถึง นักเรียนมีคุณลักษณะในการปฏิบัติตามเกณฑ์ เพื่อให้ เป็นการยอมรบั ของสังคมโดยพิจารณาจาก (1) ได้ผลการประเมินระดับดีเยี่ยมจำนวน 1-4 คุณลักษณะและไม่มี คณุ ลักษณะใดทไ่ี ดผ้ ลการการประเมนิ ตำ่ กวา่ ระดบั ดีหรือ (2) ได้ผลการประเมินระดับดีเยี่ยมจำนวน 4 คุณลักษณะและไม่มี คณุ ลกั ษณะใดทไ่ี ดผ้ ลการการประเมนิ ตำ่ กว่าระดับดหี รอื (3) ได้ผลการประเมินระดับดีเยี่ยมจำนวน 5-8 คุณลักษณะและไม่มี คุณลกั ษณะใดทไ่ี ด้ผลการการประเมินต่ำกว่าระดบั ดี ผ่าน หมายถึง นักเรียนรับรู้และปฏิบัติตามกฎเกณฑ์และเงื่อนไข ที่โรงเรียนกำหนดโดยพิจารณาจาก (1) ได้ผลการประเมินระดับผ่านจำนวน 5-8 คุณลักษณะและไม่มี คุณลกั ษณะใดทไ่ี ดผ้ ลการการประเมนิ ต่ำกวา่ ระดบั ผา่ นหรือ (2) ได้ผลการประเมินระดับดีจำนวน 4 คุณลักษณะและไม่มี คุณลกั ษณะใดทไ่ี ด้ผลการการประเมินต่ำกวา่ ระดบั ผา่ น ไม่ผ่าน หมายถึง นักเรียนรับรู้และปฏิบัติได้ไม่ครบตามกฎเกณฑ์และ เงอ่ื นไขทโี่ รงเรียนกำหนด โดยพิจารณาจากมผี ลการประเมินระดับไมผ่ า่ น ต้ังแต่1 คณุ ลกั ษณะ 12.4 การประเมินกิจกรรมพัฒนาผู้เรียน จะต้องพิจารณาทั้งเวลาการเข้าร่วม กจิ กรรมอย่างน้อยร้อยละ80 การปฏิบตั ิกจิ กรรม และผลงานของนกั เรียน ต้องผา่ นร้อยละ 70 และให้ผล การประเมินเป็นผา่ นและไม่ผ่าน โดยใหใ้ ช้ตวั อกั ษรแสดงผลการประเมินดังนี้ “ผ” หมายถงึ นักเรียนมีเวลาการร่วมกิจกรรม การปฏิบัติกิจกรรม และมผี ลงานผ่านเกณฑ์

8 “มผ” หมายถงึ นักเรียนมีเวลาการเข้าร่วมกิจกรรม การปฏิบัติ กจิ กรรม และมีผลงานไมผ่ ่านเกณฑ์ ในกรณี ที่นักเรยี นได้ผลการเรียน “มผ” ใหค้ รูผู้สอนจักซ่อมเสรมิ ให้นักเรียน ทำกิจกรรมในส่วนที่นกั เรยี นไม่ไดเ้ ข้าร่วม หรือไมไ่ ดทำจนครบถ้วน แลว้ จึงเปล่ียนผลการเรยี นจากๆไมผ่ ่าน เป็นผ่าน ท้งั นี้ตอ้ งดำเนินการใหเ้ สร็จสิ้นภายในปกี ารศึกษาน้ัน 12.5 การสอนซ่อมเสริม การสอนซอ่ มเสริม เป็นสว่ นหนึ่งของกระบวนการจัดการเรียนรู้และเป็นการ ให้โอกาสแก่ผู้เรียนได้มีเวลาเรียนรู้ส่ิงต่างๆ เพิ่มขึ้น จนสามารถบรรลุตามมาตรฐานการเรียนรู้/ตัวชีว้ ัดที่ กำหนดไว้ การสอนซ่อมเสริมเป็นการสอนกรณีพิเศษนอกเหนือไปจากการสอนตามแผนการจัดการเรียนรู้ ปกติ เพื่อแก้ไขข้อบกพร่องที่พบในผู้เรียน โดยจัดกระบวนการเรียนรู้ที่หลากหลายและคำนึงถึงความ แตกตา่ งระหว่างบุคคลของผู้เรียน การสอนซอ่ มเสริมสามารถดำเนินการไดใ้ นกรณีดังต่อไปนี้ 12.5.1 ผู้เรียนมีความรู้/ทักษะพื้นฐานไม่เพียงพอที่จะศึกษาในแต่ละ รายวิชานัน้ จะจดั การสอนซ่อมเสริม ปรับความร้/ู ทกั ษะพืน้ ฐาน 12.5.2 การประเมินระหวา่ งเรียน ผู้เรียนไม่สามารถแสดงความรู้ ทักษะ กระบวนการหรือเจตคต/ิ คุณลักษณะ ทกี่ ำหนดไวต้ ามมาตรฐานการเรียนรู้/ตวั ชีว้ ัด 12.5.3 ผลการเรียนไม่ถึงเกณฑ์และ/หรือต่ำกว่าเกณฑ์การประเมิน ต้อง จดั การสอนซ่อมเสรมิ ก่อนจะให้ผู้เรยี นสอบแก้ตวั ข้อ 13 การประเมนิ ผลการเรียนรูแ้ ละให้ระดับผลการเรยี น สถานศึกษากำหนดเกณฑ์การตัดสินผลการเรียน ซึ่งสามารถอธิบายผลการเรียนว่า ผเู้ รียนตอ้ งมีความรู้ ทกั ษะและคุณลักษณะโดยรวม ดังนี้ 13.1 กลมุ่ สาระการเรยี นรู้ กำหนดผลการเรยี นเป็น 8 ระดับ คือ ระดับผลการเรียน ความหมาย ชว่ งคะแนนร้อยละ 4 ผลการเรียนดีเยีย่ ม 80 - 100 3.5 ผลการเรียนดีมาก 75 - 79 3 ผลการเรยี นดี 70 - 74 2.5 ผลการเรียนค่อนข้างดี 65 - 69 2 ผลการเรียนปานกลาง 60 - 64 1.5 ผลการเรียนพอใช้ 55 - 59 1 ผลการเรียนผา่ นเกณฑข์ ั้นต่ำ 50 - 54 0 ผลการเรียนตำ่ กว่าเกณฑ์ 0 - 49 13.2 การประเมินผลการอา่ น คิดวเิ คราะห์ และเขียน กำหนดผลจาก การประเมนิ ดงั นี้ ชว่ งคะแนน 86-100 หมายถึง ผลการประเมนิ อย่ใู นระดบั ดีเยยี่ ม ชว่ งคะแนน 70-85 หมายถึง ผลการประเมนิ อย่ใู นระดบั ดี ชว่ งคะแนน 50-69 หมายถงึ ผลการประเมินอยู่ในระดับ ผา่ น ชว่ งคะแนน 0-49 หมายถงึ ผลการประเมินอยใู่ นระดับ ไมผ่ ่าน

9 และแยกใหค้ ะแนนเป็นข้อ ๆ ดังน้ี 1. การอ่าน 35 คะแนน 2. การคิด 30 คะแนน 3. การเขียน 35 คะแนน รวมคะแนนการประเมินผลการอ่าน คิดวิเคราะห์ และเขยี น เป็น 100 คะแนน 13.3 การประเมินคุณลกั ษณะอนั พงึ ประสงค์ ทำผลการประเมินเปน็ 4 ระดบั คือ โดยพจิ ารณาผลการประเมินดังนี้ ช่วงคะแนน 86-100 หมายถงึ ผลการประเมนิ อยูใ่ นระดบั ดเี ย่ียม ช่วงคะแนน 70-85 หมายถงึ ผลการประเมินอยใู่ นระดับ ดี ชว่ งคะแนน 50-69 หมายถึง ผลการประเมินอยใู่ นระดบั ผา่ น ชว่ งคะแนน 0-49 หมายถึง ผลการประเมินอย่ใู นระดับ ไมผ่ ่าน และแยกให้คะแนนเป็นข้อ ๆ ดงั น้ี คุณลักษณะอนั พงึ ประสงค์ ๘ ประการ ได้แก่ - รักชาติ ศาสน์ กษตั ริย์ 15 คะแนน ตัวช้ีวัด เปน็ พลเมืองดีของชาติ 4 คะแนน ธำรงไวซ้ ึ่งความเปน็ ชาติไทย 3 คะแนน ศรัทธา ยึดมัน่ และปฏบิ ัตติ นตามหลักศาสนา 4 คะแนน เคารพเทดิ ทูนสถาบันพระมหากษัตรยิ ์ 4 คะแนน - ซ่ือสตั ย์สุจริต 10 คะแนน ประพฤติตรงตามความเปน็ จริงต่อตนเองทัง้ ทางกาย วาจา ใจ 5 คะแนน ประพฤติตรงตามความเปน็ จริงตอ่ ผอู้ ื่นทั้งทางกาย วาจา ใจ 5 คะแนน - มวี นิ ัย 15 คะแนน ปฏิบตั ติ ามข้อตกลง กฎเกณฑ์ ระเบยี บ ข้อบงั คับของครอบครัว โรงเรียนและสงั คม 15 คะแนน - ใฝเ่ รียนรู้ 15 คะแนน ต้ังใจ เพยี รพยายามในการเรียนและเข้าร่วมกจิ กรรมการเรียนรู้ 8 คะแนน แสวงหาความรู้จากแหล่งเรียนร้ตู า่ งๆ ทัง้ ภายในและภายนอกโรงเรียนดว้ ย การเลอื กใช้สอ่ื อยา่ งเหมาะสม สรุปเปน็ องค์ความรู้ และสามารถนำไปใชใ้ นชวี ติ ประจำวันได้ 7 คะแนน - อยู่อย่างพอเพียง 10 คะแนน ดำเนินชวี ติ อย่างพอประมาณ มีเหตุผล รอบคอบ มีคุณธรรม 5 คะแนน

10 มภี ูมิคมุ้ กนั ในตวั ที่ดี และปรับตวั เพ่อื อยูใ่ นสังคมได้อยา่ งมีความสุข 5 คะแนน - ม่งุ ม่นั ในการทำงาน 10 คะแนน ต้ังใจและรับผดิ ชอบในหน้าท่ีการงาน 5 คะแนน ทำงานดว้ ยความเพยี รพยายามและอดทนเพื่อให้งานสำเร็จตามเปา้ หมาย 5 คะแนน - รักความเปน็ ไทย 10 คะแนน ภาคภมู ใิ จในขนบธรรมเนยี มประเพณี ศิลปะ วัฒนธรรมไทยและมคี วาม กตญั ญูกตเวที 4 คะแนน เห็นคุณคา่ และใชภ้ าษาไทยในการส่ือสารได้อยา่ งถูกต้องและเหมาะสม 3 คะแนน อนุรกั ษ์ และสบื ทอดภูมปิ ัญญาไทย 3 คะแนน - มีจิตสาธารณะ 15 คะแนน ชว่ ยเหลอื ผู้อืน่ ด้วยความเต็มใจโดยไมห่ วงั สง่ิ ตอบแทน 8 คะแนน เข้าร่วมกจิ กรรมท่ีเป็นประโยชนต์ อ่ โรงเรียน ชมุ ชนและสังคม 7 คะแนน 13.4 การประเมนิ การเข้าร่วมกิจกรรมของผูเ้ รียน กำหนดการประเมนิ เป็น 2 ระดบั ดงั น้ีคือ ผา่ น หมายถึง ผา่ นเกณฑ์ ไม่ผ่าน หมายถึง ไมผ่ า่ นเกณฑ์ ขอ้ 14 การเลือ่ นชน้ั สถานศึกษากำหนดกฎเกณฑ์การเลื่อนชั้น โดยพิจารณาให้สอดคล้องกับเกณฑ์การ ตัดสินผลการเรียน ตลอดจนกำหนดเกณฑ์เกี่ยวกับการผ่านตัวชี้วัดที่ชัดเจนและประกาศให้ทราบทั่วกัน ดังน้ี 14.1 ผู้เรียนต้องมีเวลาเรียนตลอดปีการศึกษาไม่น้อยกว่าร้อยละ 80 ของเวลาเรียน ทัง้ หมด 14.2 ผู้เรยี นตอ้ งได้รับการประเมนิ ทกุ ตวั ชวี้ ัดและต้องผ่านทุกตวั ช้ีวดั ของแตล่ ะรายวชิ า 14.3 ผู้เรียนต้องได้รับการตัดสินผลการเรียน และผ่านทุกรายวิชาของกลุ่มสาระการ เรยี นรู้ โดยมีเกณฑ์การผ่าน ดงั นี้ 14.3.1 เวลาเรียนในแต่ละรายวิชาของกลุ่มสาระการเรียนรู้ไม่น้อยกว่าร้อยละ 80 ของเวลาเรียนทงั้ หมด 14.3.2 ต้องได้รับการประเมินทุกตัวชี้วัด และผ่านตัวชี้วัดชั้นปีไม่น้อยกว่าร้อย ละ 100 ของตัวช้วี ัดในรายวิชา 14.3.3 ระดบั ผลการเรยี นต้งั แตร่ ะดับ 1 ขึ้นไป 14.2 การประเมินการอ่าน คิดวิเคราะห์ และเขยี น ผู้เรยี นตอ้ งได้ระดับผลการ เรยี นต้งั แต่ระดับผา่ นเกณฑ์การประเมนิ ข้ึนไป

11 14.4 การประเมินคณุ ลกั ษณะอนั พึงประสงค์ ผูเ้ รียนต้องได้ผลการประเมนิ ระดับ ผ่านเกณฑก์ ารประเมนิ ขึ้นไป 14.5 การประเมิน การเข้าร่วมกิจกรรมพัฒนาผู้เรียน ผู้เรียนต้องได้ผลการ ประเมินระดับผ่าน โดยมีเกณฑก์ ารผ่าน ดังนี้ 14.5.1 ผู้เรียนต้องมีเวลาเข้าร่วมกิจกรรมแต่ละปีไม่น้อยกว่าร้อยละ 80 ของเวลาเรียน 14.5.2 ผู้เรียนผ่านจุดประสงค์การเรียนรู้ไม่น้อยกว่าร้อยละ 100 ของ จดุ ประสงค์การเรียนรู้ในกจิ กรรมพัฒนาผเู้ รยี น 14.5.3 ผเู้ รียนเขา้ รว่ มกจิ กรรมเพอื่ สงั คมและสาธารณะประโยชน์ตามเวลา ที่กำหนดไวใ้ นโครงสร้างของหลักสตู ร ดงั น้ี 1) ชนั้ ประถมศึกษาปีท่ี 1 จำนวน 10 ชว่ั โมง 2) ชน้ั ประถมศึกษาปีท่ี 2 จำนวน 10 ชวั่ โมง 3) ชนั้ ประถมศึกษาปีท่ี 3 จำนวน 10 ชัว่ โมง 4) ชน้ั ประถมศึกษาปีท่ี 4 จำนวน 10 ช่ัวโมง 5) ชั้นประถมศึกษาปีที่ 5 จำนวน 10 ชั่วโมง 6) ชน้ั ประถมศึกษาปีที่ 6 จำนวน 10 ชัว่ โมง การพิจารณาเลื่อนชั้น ถ้าผู้เรียนมีข้อบกพร่องเพียงบางตัวชี้วัด ซึ่งพิจารณาเห็นว่า สามารถพฒั นาและสอนซ่อมเสริมได้ กใ็ หอ้ ยูใ่ นดุลยพินจิ ของคณะกรรมการท่ีจะผ่อนผนั ให้เลอื่ นชัน้ ได้ ในกรณีที่ผู้เรียนมีสติปัญญาและความสามารถดีเลิศ สามารถเรียนรู้ได้เร็วเป็นพิเศษ สถานศึกษาจะให้โอกาสผู้เรียนเลื่อนชั้นระหว่างปีการศึกษา โดยสถานศึกษาแต่งตั้งคณะกรรมการ ประกอบด้วยคณะกรรมการบริหารหลักสูตรและวิชาการและผู้แทนของเขตพื้นที่การศึกษาอย่างน้อย 1 คน เม่อื ผู้เรยี นมคี ณุ สมบตั ิครบถว้ นตามเง่อื นไขทง้ั 3 ประการ ต่อไปน้ี 1) มผี ลการเรยี นปีการศกึ ษาท่ีผา่ นมาและมผี ลการเรยี นระหว่างปีอยู่ในเกณฑด์ เี ย่ียม 2) มีวุฒภิ าวะเหมาะสมท่ีจะเรียนในชั้นที่สูงขึ้น 3) ผ่านการประเมินผลความร้คู วามสามารถตามตวั ช้ีวัดรายปที งั้ หมดในภาคเรียนที่ 2 ปี ปัจจบุ ันและภาคเรยี นท่ี 1 ของปกี ารศึกษาถัดไป การอนมุ ัตใิ หเ้ ลือ่ นไปเรียนชั้นสูงได้ 1 ระดบั ชน้ั น้ี ต้องไดร้ บั การยนิ ยอมจากนกั เรียนและ ผูป้ กครองและดำเนนิ การใหเ้ สร็จสิ้นภายในวันท่ี 1 กนั ยายนของปกี ารศึกษาน้ัน สำหรับในกรณีที่พบว่ามีผู้เรียนกลุ่มพิเศษประเภทต่าง ๆ ที่มีปัญหาในการเรียนรู้ สถานศกึ ษาจะดำเนินงานรว่ มกับสำนักงานเขตพนื้ ท่กี ารศกึ ษาหาแนวทางการแก้ไขและพัฒนา ขอ้ 15 การเรยี นซำ้ ชน้ั หลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช 2551 กำหนดว่า หากผู้เรียน ไมผ่ า่ นรายวิชาจำนวนมากและมแี นวโน้มว่าจะเปน็ ปญั หาต่อการเรียนในระดบั ชนั้ ท่ีสงู ขน้ึ สถานศกึ ษาอาจ ตั้งคณะกรรมการพิจารณาให้เรียนซ้ำชั้นได้ ทั้งนี้ให้คำนึงถึงวุฒิภาวะและความรู้ความสามารถของ นกั เรยี นเป็นสำคญั ผ้เู รยี นทไี่ มม่ ีคณุ สมบตั ิตามเกณฑก์ ารอนุมตั ิเลอ่ื นชั้นเรยี น จะตอ้ งจัดใหเ้ รยี นซำ้ ชนั้ ในกรณีที่ผู้เรยี นขาดคุณสมบัติข้อใดข้อหนง่ึ คณะกรรมการอาจใช้ดุลพินิจให้เลื่อนชั้นได้ หากพิจารณาเหน็ ว่า

12 1) ผู้เรียนมีเวลาเรียนไม่ถึงร้อยละ 80 อันเนื่องจากสาเหตุจำเป็น หรือเหตุ สดุ วสิ ัย แต่มีคณุ สมบตั ิตามข้ออื่น ๆ ครบถว้ น 2) ผู้เรียนผ่านมาตรฐานและตัวชี้วัดไม่ถึงเกณฑ์ตามที่กำหนดในแต่ละรายวิชา และเห็นวา่ สามารถสอนซ่อมเสรมิ ได้ในปีการศกึ ษาถัดไปและมีคุณสมบตั ิข้ออ่นื ๆ ครบถ้วน 3) ผู้เรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 1-3 มีผลการประเมินกลุ่มสาระการเรียนรู้ ภาษาไทยและคณิตศาสตร์ อยู่ในเกณฑ์พอใช้ และผู้เรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 4-6 มีผลการประเมิน กลุ่มสาระการเรียนรู้ ภาษาไทย คณิตศาสตร์ วิทยาศาสตร์ สังคมศึกษา ศาสนา และวัฒนธรรมอยู่ใน เกณฑ์ผ่าน ข้อ 16 การสอนซอ่ มเสรมิ การสอนซ่อมเสรมิ เป็นส่วนหนงึ่ ของกระบวนการจัดการเรียนรู้และเป็นการให้โอกาสแก่ ผู้เรียนได้มีเวลาเรียนรู้สิ่งต่างๆ เพิ่มขึ้น จนสามารถบรรลุตามมาตรฐานการเรียนรู้/ตัวชี้วัดที่กำหนดไว้ การสอนซ่อมเสริมเป็นการสอนกรณีพิเศษนอกเหนือไปจากการสอนตามแผนการจัดการเรียนรู้ปกติ เพ่ือ แก้ไขข้อบกพร่องที่พบในผู้เรียน โดยจัดกระบวนการเรียนรู้ที่หลากหลายและคำนึงถึงความแตกต่าง ระหวา่ งบคุ คลของผเู้ รียน การสอนซอ่ มเสริมสามารถดำเนนิ การได้ในกรณีดงั ต่อไปนี้ 16.1 ผู้เรียนมีความรู้/ทักษะพื้นฐานไม่เพียงพอที่จะศึกษาในแต่ละรายวิชานั้น จะ จดั การสอนซอ่ มเสรมิ ปรับความรู้/ทกั ษะพ้ืนฐาน 16.2 การประเมินระหว่างเรียน ผู้เรียนไม่สามารถแสดงความรู้ ทักษะกระบวนการ หรือเจตคต/ิ คณุ ลกั ษณะ ทกี่ ำหนดไว้ตามมาตรฐานการเรยี นร/ู้ ตัวชว้ี ัด 16.3 ผลการเรียนไม่ถึงเกณฑ์และ/หรือต่ำกว่าเกณฑ์การประเมิน ต้องจัดการสอน ซอ่ มเสริมก่อนจะให้ผู้เรียนสอบแกต้ ัว ขอ้ 17 เกณฑ์การจบระดบั ประถมศึกษา 17.1 ผู้เรียนเรียนรายวิชาพื้นฐาน จำนวน 5,040 ชั่วโมง และรายวิชาเพิ่มเติม/ กจิ กรรมเพ่ิมเติม จำนวน 120 ช่วั โมง และมีผลการประเมินรายวชิ าพืน้ ฐานผ่านทกุ รายวิชา 17.2 ผู้เรียนต้องมีผลการประเมินการอ่าน คิดวิเคราะห์ และเขียน ระดับ “ผ่าน” ขึ้นไป 17.3 ผู้เรยี นต้องมีผลการประเมิน คุณลักษณะอันพงึ ประสงค์ ระดบั “ผา่ น” ขนึ้ ไป 17.4 ผู้เรียนต้องเข้าร่วมกิจกรรมพัฒนาผู้เรียน และได้รับการตัดสินผลการเรียน ” ผา่ น” ทกุ กิจกรรม 17.5 การประเมินคณุ ลักษณะอันพึงประสงค์ คะแนนจากการประเมนิ ระหว่างป/ี ภาค เรยี นในกลุ่มสาระการเรยี นรกู้ ลมุ่ ละ 100 คะแนน

13 ขอ้ 18 การใหร้ ะดับผลการเรยี น 18.1 รายวชิ าของกลมุ่ สาระการเรียนรู้ รายวชิ าทจ่ี ะนับหนว่ ยกิตได้จะตอ้ งได้ระดบั ผล การเรียนตัง้ แต่ 1 ขน้ึ ไป โดยมีการใหร้ ะดบั ผลการเรียนดังน้ี ระดับผลการเรยี น ความหมาย ชว่ งคะแนนร้อยละ 4 ผลการเรียนดเี ยย่ี ม 80 - 100 3.5 ผลการเรยี นดมี าก 75 - 79 3 ผลการเรียนดี 70 - 74 2.5 ผลการเรยี นค่อนขา้ งดี 65 - 69 2 ผลการเรียนปานกลาง 60 - 64 1.5 ผลการเรยี นพอใช้ 55 - 59 1 ผลการเรยี นผา่ นเกณฑ์ขัน้ ตำ่ 50 - 54 0 ผลการเรียนตำ่ กว่าเกณฑ์ 0 - 49 18.2 การประเมินผลการอา่ น คดิ วิเคราะห์ และเขียน กำหนดผลจาก การประเมนิ ดงั นี้ ชว่ งคะแนน 86-100 หมายถึง ผลการประเมนิ อยูใ่ นระดับดเี ย่ียม ช่วงคะแนน 70-85 หมายถงึ ผลการประเมินอย่ใู นระดบั ดี ชว่ งคะแนน 50-69 หมายถึง ผลการประเมนิ อยู่ในระดบั ผ่าน ชว่ งคะแนน 0-49 หมายถงึ ผลการประเมนิ อยใู่ นระดับ ไม่ผา่ น และแยกให้คะแนนเป็นข้อ ๆ ดงั น้ี 1. การอ่าน 35 คะแนน 2. การคดิ 30 คะแนน 3. การเขยี น 35 คะแนน รวมคะแนนการประเมินผลการอ่าน คดิ วเิ คราะห์ และเขยี น เป็น 100 คะแนน 18.3 การประเมนิ คุณลักษณะอันพงึ ประสงค์ ทำผลการประเมนิ เป็น 4 ระดับ คือ โดยพจิ ารณาผลการประเมินดังน้ี ช่วงคะแนน 86-100 หมายถึง ผลการประเมินอยใู่ นระดับดีเยย่ี ม ช่วงคะแนน 70-85 หมายถึง ผลการประเมินอยใู่ นระดบั ดี ชว่ งคะแนน 50-69 หมายถงึ ผลการประเมินอยู่ในระดบั ผ่าน ชว่ งคะแนน 0-49 หมายถึง ผลการประเมนิ อยู่ในระดับ ไม่ผา่ น และแยกใหค้ ะแนนเปน็ ข้อ ๆ ดงั น้ี คณุ ลกั ษณะอันพงึ ประสงค์ ๘ ประการ ไดแ้ ก่ คุณลกั ษณะอนั พึงประสงค์ ๘ ประการ ไดแ้ ก่ - รกั ชาติ ศาสน์ กษัตริย์ 15 คะแนน ตัวชี้วดั เปน็ พลเมืองดขี องชาติ 4 คะแนน ธำรงไวซ้ ่งึ ความเป็นชาติไทย 3 คะแนน

14 ศรทั ธา ยึดม่นั และปฏิบตั ิตนตามหลักศาสนา 4 คะแนน เคารพเทดิ ทูนสถาบันพระมหากษัตริย์ 4 คะแนน - ซื่อสัตย์สจุ ริต 10 คะแนน ประพฤติตรงตามความเปน็ จริงต่อตนเองท้งั ทางกาย วาจา ใจ 5 คะแนน ประพฤตติ รงตามความเป็นจริงต่อผูอ้ น่ื ท้งั ทางกาย วาจา ใจ 5 คะแนน - มวี ินยั 15 คะแนน ปฏบิ ตั ิตามข้อตกลง กฎเกณฑ์ ระเบียบ ข้อบังคบั ของครอบครวั โรงเรียนและสงั คม 15 คะแนน - ใฝ่เรยี นรู้ 15 คะแนน ตง้ั ใจ เพยี รพยายามในการเรียนและเขา้ รว่ มกิจกรรมการเรียนรู้ 8 คะแนน แสวงหาความรู้จากแหล่งเรียนรู้ต่างๆ ทัง้ ภายในและภายนอกโรงเรยี นด้วย การเลอื กใช้สื่อ อย่างเหมาะสม สรปุ เป็นองคค์ วามรู้ และสามารถนำไปใช้ในชีวิตประจำวันได้ 7 คะแนน - อย่อู ยา่ งพอเพยี ง 10 คะแนน ดำเนินชีวติ อยา่ งพอประมาณ มเี หตุผล รอบคอบ มีคณุ ธรรม 5 คะแนน มภี ูมิค้มุ กนั ในตวั ทีด่ ี และปรับตวั เพ่ืออยใู่ นสังคมได้อยา่ งมีความสุข 5 คะแนน - มุง่ มน่ั ในการทำงาน 10 คะแนน ตง้ั ใจและรบั ผดิ ชอบในหนา้ ที่การงาน 5 คะแนน ทำงานดว้ ยความเพียรพยายามและอดทนเพ่อื ใหง้ านสำเรจ็ ตามเป้าหมาย 5 คะแนน - รักความเปน็ ไทย 10 คะแนน ภาคภูมใิ จในขนบธรรมเนียมประเพณี ศิลปะ วัฒนธรรมไทยและมคี วาม กตัญญูกตเวที 4 คะแนน เหน็ คณุ ค่าและใช้ภาษาไทยในการส่ือสารได้อยา่ งถกู ต้องและเหมาะสม 3 คะแนน อนุรักษ์ และสืบทอดภูมปิ ัญญาไทย 3 คะแนน - มจี ิตสาธารณะ 15 คะแนน ช่วยเหลือผู้อนื่ ด้วยความเตม็ ใจโดยไมห่ วงั สิ่งตอบแทน 8 คะแนน เข้ารว่ มกจิ กรรมทเี่ ป็นประโยชน์ต่อโรงเรียน ชุมชนและสงั คม 7 คะแนน

15 18.4 การประเมนิ การเข้าร่วมกจิ กรรมของผูเ้ รียน กำหนดการประเมินเป็น 2 ระดับ ดังนี้คอื ผ่าน หมายถงึ ผา่ นเกณฑ์ ไมผ่ ่าน หมายถึง ไม่ผา่ นเกณฑ์ หมวด 5 การเทยี บโอนผลการเรียน ข้อ 19 การเทียบโอนผลการเรียนของนักเรียนที่เรียนรู้กรณีย้ายสถานศึกษา การเปลี่ยน รปู แบบการศกึ ษา การยา้ ยหลกั สูตร การละทง้ิ การศกึ ษาและขอกลบั เข้ารับการศึกษาตอ่ การศึกษาจาก ต่างประเทศและขอเข้าศึกษาต่อในประเทศ เทยี บโอนความรู้ ทักษะ ประสบการณ์จากแหลง่ การเรียนรู้ อื่น ๆ เช่น สถานประกอบการ สถาบันทางศาสนา สถาบนั การฝึกอบรมอาชีพ การศึกษาโดยครอบครัว การเทยี บโอนผลการเรียนดำเนนิ การในช่วงก่อนเปิดภาคเรียนแรกของโรงเรยี น นักเรียนทไี่ ด้รับการเทียบ โอนผลการเรียนต้องศึกษาต่อเนื่อง ในสถานศึกษานี้อย่างน้อย 1 ภาคเรียน โดยสถานศึกษากำหนด รายวิชา จำนวนหน่วยกิตที่จะรับเทียบโอนตามความเหมาะสม การพิจารณาการเทียบโอน ดำเนินการ ดังนี้ 19.1 พิจารณาจากหลักฐานการศึกษา 19.2 พิจารณาจากความรู้ ประสบการณต์ รงจากการปฏิบตั จิ ริง การทดสอบ การสมั ภาษณ์ เปน็ ต้น 19.3 พิจารณาจากความสามารถและการปฏิบัตจิ ริง 19.4 ในกรณีมีเหตุผลจำเป็นระหว่างเรียน นักเรียนสามารถแจ้งความจำนงขอไป ศึกษาบางรายวิชาในสถานศึกษา/สถานประกอบการอื่น แล้วนำมาเทียบโอนได้ โดยความเห็นชอบของ คณะกรรมการบรหิ ารหลักสูตรและวชิ าการของสถานศึกษา 19.5 การเทียบโอนผลการเรียนให้ดำเนินการในรูปของคณะกรรมการ การเทียบโอน จำนวน 3 – 5 คน 19.6 การเทียบโอนดำเนนิ การดังนี้ 19.6.1 กรณีผู้ขอเทียบโอนมีผลการเรียนมาจากหลักสูตรอื่น นำรายวิชาที่มี ตัวชี้วัด/มาตรฐานการเรียนรู้/ผลการเรียนรู้ที่คาดหวัง/จุดประสงค์/เนื้อหาที่สอดคล้องกันไม่น้อยกว่าร้อย ละ 60 มาเทยี บโอนผลการเรยี นและพจิ ารณาใหร้ ะดบั ผลการเรยี นใหส้ อดคล้องกบั หลักสตู รสถานศึกษา 19.6.2 กรณีการเทียบโอนความรู้ ทักษะและประสบการณ์ พิจารณาจาก เอกสารหลักฐาน (ถ้ามี) โดยให้มีการประเมินด้วยเคร่ืองมอื ที่หลากหลายและให้ระดบั ผลให้สอดคล้องกับ หลกั สูตรสถานศึกษา 19.6.3 กรณีการเทียบโอนที่นักเรียนเข้าโครงการแลกเปลี่ยนต่างประเทศ ดำเนินการตามประกาศกระทรวงศึกษาธิการเรื่องหลักการและแนวปฏิบัติการเทียบชั้นการศึกษาสำหรับ นักเรียนทเี่ ขา้ ร่วมโครงการแลกเปลีย่ น ทั้งนี้วิธีการเทียบโอนผลการเรียนให้เป็นไปตามประกาศของกระทรวงศึกษาธกิ าร และแนวปฏบิ ัตทิ ่เี กยี่ วขอ้ ง

16 แนวปฏิบัตกิ ารเทียบโอนผลการเรียนรูเ้ ข้าส่กู ารศึกษาในระบบระดบั การศึกษาขัน้ พื้นฐาน การเทียบโอน จากการ การเทียบ จัดการศกึ ษา แนวทาง การเทียบโอน การเทยี บโอน โอน โดยศูนยก์ าร การเทยี บโอน การพิจารณา จากการศึกษา จากการศึกษา จากการจัด เรยี นการศึกษา จากการศึกษา ในระบบเข้าสู่การศึกษาในระบบ นอกระบบ การศกึ ษา ตามหลกั สูตร ตามหลกั สตู ร วิธีปฏิบตั ใิ น ต่างประเทศ การจดั เขา้ ช้นั เขา้ สู่ โดย ระยะสน้ั เข้าสู่การศึกษา เรียน การศกึ ษา ครอบครัว หลกั สูตรเฉพาะ ในระบบ ประสบการณ์ ในระบบ เขา้ สู่ การทำงานการ การศกึ ษา ในระบบ ฝกึ อาชพี เขา้ สู่ การศึกษาใน ระบบ ๑.เทยี บโอนรายวชิ า/สาระกจิ กรรมท่ี เทยี บโอน ๑.ใหน้ ำผล พิจารณา ๑. สำเรจ็ การ ผ่านการตดั สินผลการเรียนจาก หมวดวิชา การวดั และ ความรู้ ทักษะ ศึกษาภาค สถานศกึ ษาเดมิ ไดท้ ั้งหมดและจดั เข้า สาระกจิ กรรม ประเมนิ เขต ประสบการณ์ที่ เรียนใดชน้ั ปใี ด ช้ันเรยี นตอ่ เนื่องจากท่เี ขา้ เรียนอยู่เดมิ ทผ่ี ่านการ พนื้ ที่ ขอเทียบโอนวา่ ให้พจิ ารณา เชน่ จบ ป.๑ จดั เขา้ เรียน ป.๒สถาน ตัดสนิ ผลการ การศกึ ษามา ตรงกบั รายวิชา/ เทียบโอนภาค ศกึ ษาอาจประเมิน เรยี นจาก ประกอบการ สาระ/กจิ กรรม เรยี นตอ่ ภาค บางรายวชิ าที่ สถานศึกษา พิจารณา ใด จึงทำการ เรียนปตี อ่ ปี จำเปน็ เพอ่ื การตรวจสอบความรู้ เดิม ๒.ให้ ประเมิน หาก โดยนำพ้นื พ้นื ฐาน ๑. เรยี น สถานศึกษา ปรากฏวา่ ชอ่ื ไม่ ความร้สู ามญั ผา่ นอย่างน้อย ประเมิน ตรงกบั ทีป่ รากฏ เดมิ มา ๓ หมวดวิชา ความรู้ ในโครงสรา้ ง ประกอบ จัดใหเ้ รยี นปีท่ี ทักษะ หลักสูตรให้ การพจิ ารณา ๒ ของ ประสบการ กำหนดและ หรอื อาจ ระดับช้ันและ ณ์เพื่อการ บรรจุช่ือน้ันไว้ ประเมนิ ลงทะเบียน จัดเข้าชน้ั ในหลกั สตู ร เพม่ิ เติมเพ่ือ เรียนตอ่ ไป เรียน ตรวจสอบ ตามปกติ ความรู้พน้ื ฐาน ๒. เรยี น ผา่ นอย่างน้อย

17 การเทยี บโอน จากการ การเทียบ จดั การศกึ ษา แนวทาง การเทียบโอน การเทยี บโอน โอน โดยศนู ยก์ าร การเทียบโอน การพจิ ารณา จากการศึกษา จากการศึกษา จากการจัด เรียนการศกึ ษา จากการศึกษา ในระบบเข้าสู่การศึกษาในระบบ นอกระบบ การศึกษา ตามหลกั สตู ร ตามหลกั สูตร จำนวน/หน่วย ต่างประเทศ การเรยี น/ ๒.รายวิชา/สาระ/กิจกรรมที่ยังไม่ได้ เข้าสู่ โดย ระยะสัน้ เข้าสู่การศึกษา หน่วยนำ้ หนัก ตัดสินผลการเรยี นใหป้ ระเมนิ ตาม การศึกษา ครอบครัว หลักสูตรเฉพาะ เกณฑ์ ในระบบ ประสบการณ์ ในระบบ ทีส่ ถานศึกษากำหนดหากไมผ่ ่านตาม เข้าสู่ การทำงานการ เกณฑ์ใหล้ งะเบยี นเรยี นเพม่ิ เตมิ การศกึ ษา พิจารณาแลว้ เห็นวา่ เทียบโอนผลการ ในระบบ ฝึกอาชพี เขา้ สู่ เรียนได้จำนวนหนว่ ยใหเ้ ปน็ ไปตาม โครง การศกึ ษาใน ระบบ ๖ หมวดวิชา จดั ให้เรียนปที ่ี ๓ ของ ระดับชน้ั และ ลงทะเบียน เรียนตอ่ ใน รายวชิ าท่ี จำเปน็ ต้อง เรียนให้ครบ ตามเกณฑ์การ จบระดบั ชน้ั ตามหลักสตู ร ของ สถานศึกษา ใหม่ท่ีรบั เข้า เรยี น จำนวน/หน่วย พจิ ารณาแล้ว การเรียน/หนว่ ย เหน็ ว่าเทยี บ น้ำหนัก โอนผลการ เรียนไดจ้ ำนวน หน่วยใหเ้ ป็นไป ตามโครง

18 การเทียบโอน จากการ การเทยี บ จัดการศึกษา แนวทาง การเทียบโอน การเทียบโอน โอน โดยศนู ย์การ การเทยี บโอน การพจิ ารณา จากการศึกษา จากการศึกษา จากการจัด เรียนการศกึ ษา จากการศึกษา ในระบบเข้าสู่การศึกษาในระบบ นอกระบบ การศึกษา ตามหลกั สตู ร ตามหลกั สตู ร ผลการเรียน/ ตา่ งประเทศ ผลการ ยอมรับผลการเรียนของสถาน เข้าสู่ โดย ระยะสัน้ เข้าสู่การศึกษา ประเมิน ศึกษาเดมิ การศึกษา ครอบครวั หลกั สูตรเฉพาะ ในระบบ ประสบการณ์ ในระบบ การบนั ทกึ ผล ๑. ไมต่ อ้ งนำรายวิชาและผลการ เขา้ สู่ การทำงานการ การเรียนใน เรียนเดิมกรอกในใบแสดงผลการเรยี น การศึกษา แสดงผลการ ของสถานศกึ ษาใหม่ แตใ่ ห้แนบ เรียน แสดงผลการเรยี นเดิมไว้กับใบแสดงผล ในระบบ ฝกึ อาชพี เข้าสู่ การเรียนใหม่และบนั ทึกจำนวน การศึกษาใน ระบบ ไม่ตอ้ งให้ผล ยอมรับผล ผลการ ผลการ การเรียนใน การประเมิน ประเมนิ ความรู้ ประเมนิ เพ่ิม รายวิชา/ ของเขต ทักษะ เติมใหเ้ ปน็ ไป สาระ/ พื้นที่ มา ประสบการณ์ให้ ตามทีส่ ถาน กิจกรรมท่ีได้ เป็น เปน็ ไปตามที่ ศกึ ษาทีร่ บั เข้า จากการเทยี บ ส่วนประกอ สถานศึกษาใหม่ เรียนกำหนด โอน บในการ กำหนด พิจารณา ไม่ตอ้ งนำ ไม่ต้องนำ นำผลการ ๑. ใหก้ รอร หมวดวิชาและ รายวชิ าผล ประเมินความรู้ รายชือ่ และ ผลการเรยี น การเรียน/ ทกั ษะ จำนวนหน่วย เดิมกรอกใน ผลการวดั ประสบการณ์ ตามรายวชิ า ใบแสดงผล และประเมนิ กรอกในใบ ของ การเรียนของ เดิมของเขต แสดงผลการ สถานศกึ ษาท่ี สถาน พืน้ ท่กี รอก เรียน รบั เขา้ เรียนใน ศกึ ษาใหม่ ในใบ ใบแสดงผลการ แตใ่ ห้แนบใบ แสดงผลการ เรยี นของสถาน แสดงผลการ เรียนของ ศกึ ษาที่รบั เข้า เรยี นเดมิ ไว้กบั สถานศกึ ษา เรียน แสดงผลการ ใหม่ แต่ให้ เรียนใหมแ่ ละ แนบเอกสาร บันทึก เดิมไวก้ บั ใบ

19 การเทยี บโอน จากการ การเทยี บ จัดการศกึ ษา แนวทาง การเทยี บโอน การเทยี บโอน โอน โดยศนู ยก์ าร การเทยี บโอน การพจิ ารณา จากการศึกษา จากการศึกษา จากการจัด เรยี นการศึกษา จากการศึกษา ในระบบเข้าสู่การศึกษาในระบบ นอกระบบ การศกึ ษา ตามหลกั สตู ร ตามหลกั สูตร ต่างประเทศ เขา้ สู่ โดย ระยะสั้น เข้าสู่การศึกษา การศึกษา ครอบครัว หลักสูตรเฉพาะ ในระบบ ประสบการณ์ ในระบบ เข้าสู่ การทำงานการ การศึกษา ในระบบ ฝึกอาชพี เข้าสู่ การศกึ ษาใน ระบบ หน่วยท่ไี ด้รบั จำนวนหน่วยทไ่ี ดร้ ับการเทยี บโอนตาม แสดงผลการ โดยไม่ตอ้ ง กรอกผลการ การเทยี บโอน โครงสร้างหลักสตู รใหมไ่ วใ้ นช่องหมาย เรียนใหม่ เรยี นและแนบ ใบแสดงผลการ ตามโครงสร้าง เหตุ และบันทึก เรยี นจาก สถานศึกษาเดมิ หลักสูตรของ ข้อมูลและ และสถานศึกษา ทรี่ ับเข้าเรยี นไว้ สถานศึกษา จำนวนหน่วย ด้วยกนั และ บันทึกผลการ เดมิ ไว้ในช่อง ทไี่ ด้รับการ เทยี บโอนไว้ใน ชอ่ งหมายเหตุ หมายเหตุ เทียบโอนไวใ้ น ๒. รายวชิ าท่ี ยังไม่ไดต้ ัดสิน ๒. รายวชิ า/ ชอ่ ง ผลการเรียน และสถานศึกษา สาระ/กจิ กรรม หมายเหตุ ท่รี ับเข้าเรยี นได้ ประเมนิ ผลการ ทีย่ งั ไม่ได้ เรียนแล้วใหน้ ำ ผลการประเมนิ ตดั สนิ ผลการ กรอกไว้ในชอ่ ง หมายเหตุ เรียนและได้รับ การประเมินให้ นำผลการ ประเมินกรอก ในชอ่ งหมาย เหตุ

20 การเทยี บโอน จากการ การเทยี บ จัดการศึกษา แนวทาง การเทยี บโอน การเทียบโอน โอน โดยศนู ย์การ การเทยี บโอน การพจิ ารณา จากการศึกษา จากการศึกษา จากการจัด เรียนการศกึ ษา จากการศึกษา ในระบบเข้าสูก่ ารศึกษาในระบบ นอกระบบ การศกึ ษา ตามหลัก สูตร ตามหลักสตู ร การคิดผล ตา่ งประเทศ การเรียนเฉล่ีย การคิดผลการเรยี นเฉลี่ยให้นำผลการ เขา้ สู่ โดย ระยะสน้ั เข้าสู่การศึกษา เรยี นและจำนวนหน่วยจาก การศกึ ษา ครอบครวั หลักสตู รเฉพาะ สถานศกึ ษาเดิมมาคิดรวมกบั ผลการ ในระบบ ประสบการณ์ ในระบบ เรยี นและจำนวนหนว่ ยที่ไดจ้ ากการ เขา้ สู่ การทำงานการ เรียนในสถานศึกษาใหมแ่ ละคิดผล การศึกษา เรียนเฉลี่ยรวมตลอดระดับชัน้ ในระบบ ฝกึ อาชพี เขา้ สู่ การศึกษาใน ระบบ การคิดผล การคิดผล การคิดผลการ ไดต้ ัดสินผล การเรียนเฉล่ีย การเรยี น เรยี นเฉลยี่ ให้คิด การเรยี นจาก ใหค้ ิดจาก เฉลีย่ ให้คิด จากรายวชิ าทไ่ี ด้ หลกั สูตร รายวชิ าท่มี ี จากรายวชิ า จากการเรียนใน ต่างประเทศที่ จำนวนหนว่ ย ทไ่ี ดจ้ าก สถานศกึ ษาใหม่ สถานศึกษาที่ และระดับผล เรียนใน โดยไมต่ ้องนำ รบั เขา้ เรยี นได้ การเรยี นท่ไี ด้ สถานศกึ ษา ผลการประเมิน ประเมินแล้ว เรยี นใน ใหม่ โดยนำ ความรู้ ทักษะ และไดร้ ะดบั สถานศกึ ษา ผลการ ประสบการณ์ ผลการเรยี น ใหม่ ประเมินของ มาคดิ รวม ให้นำมาคิดผล เขตพ้ืนทท่ี ่ีมี การเรยี นเฉลี่ย ระดบั ผลการ รวมกบั ผลการ เรียนมาคดิ เรียนทไ่ี ด้จาก รวม การเรียนใน สถานศกึ ษาท่ี รับเข้าเรียน ตลอดระดบั ช้ัน

21 หมวด 6 การรายงานผลการเรียน การรายงานผลการเรียน เป็นการแจ้งผลการเรียนรู้และพัฒนาการในด้านต่าง ๆ ซึ่งเป็ น ความก้าวหน้าของผู้เรียนให้ผู้เรียนและผู้ที่เกี่ยวข้องรับทราบอย่างนอ้ ยภาคเรยี นละ 1 ครั้ง เพื่อใช้เปน็ ข้อมูลในการปรับปรุงแก้ไขและส่งเสริมพัฒนาการของผู้เรียนให้ประสบความสำเร็จอย่างมีประสิทธิภาพ รวมทั้งใช้เป็นข้อมูลสำหรับออกเอกสารหลักฐานการศึกษา การตรวจสอบ ยืนยัน การรับรองผลการ เรยี นและวุฒกิ ารศกึ ษาของผู้เรยี น ขอ้ 20 จุดมุ่งหมายการรายงานผลการเรียน 20.1 เพ่ือแจง้ ให้ผู้เรยี น ผ้เู กี่ยวขอ้ งทราบความกา้ วหน้าของผเู้ รียน 20.2 เพื่อให้ผู้เรียน ผู้เกี่ยวข้องใช้เป็นข้อมูลในการปรับปรุงแก้ไข ส่งเสริมและ พฒั นาการเรยี นของผเู้ รียน 20.3 เพื่อให้ผู้เรียน ผู้เกี่ยวข้องใช้เป็นข้อมูลในการวางแผนการเรียน กำหนดแนวทา งาการศึกษาและการเลอื กอาชีพ 20.4 เพื่อเป็นข้อมูลให้ผู้ที่มีหน้าที่เกี่ยวข้อง ใช้ดำเนินการออกเอกสารหลักฐาน การศกึ ษาตรวจสอบและรับรองผลการเรยี น หรอื วฒุ ิทางการศึกษาของผูเ้ รียน 20.5 เพื่อเป็นข้อมูลสำหรับสถานศึกษา เขตพื้นที่การศึกษาและหน่วยงานต้นสังกัดใช้ ประกอบในการกำหนดนโยบาย วางแผนในการพัฒนาคุณภาพการศกึ ษา ข้อ 21 ข้อมูลในการรายงานผลการเรยี น 21.1 ข้อมูลระดับชั้นเรียน ประกอบด้วย ผลการประเมินความรู้ ความสามารถ พฤติกรรมการเรียน ความประพฤติและผลงานในการเรียนของผู้เรียน เป็นข้อมูลสำหรับรายงานให้ผู้มี ส่วนเกี่ยวขอ้ ง ได้แก่ ผู้เรียน ผู้สอนและผู้ปกครอง ได้รับทราบความก้าวหน้า ความสำเร็จในการเรยี น ของผเู้ รียนเพือ่ นำไปใชใ้ นการวางแผนกำหนดเปา้ หมายและวธิ ีการในการพัฒนาผูเ้ รียน 21.2 ข้อมูลระดับสถานศึกษา ประกอบด้วย ผลการประเมินผลสัมฤทธิ์ทางการเรยี น กลุ่มสาระการเรียนรู้ 8 กลุ่มสาระ ผลการประเมินการอ่าน คิดวิเคราะห์และเขียน ผลการประเมิน คุณลักษณะอันพึงประสงค์ ผลการประเมินกิจกรรมพัฒนาผู้เรียนรายปี/รายภาค ผลการประเมิน ความก้าวหน้าในการเรียนรู้รายปี/รายภาคโดยรวมของสถานศึกษา เพื่อใช้เป็นข้อมูลและสารสนเทศใน การพัฒนาการเรียนการสอนและคุณภาพของผู้เรียน ให้เป็นไปตามมาตรฐานการเรียนรู้/ตัวชี้วัด การ ตัดสินการเลื่อนชั้นและการซ่อมเสริมผู้เรียนที่มีข้อบกพร่องให้ผ่านระดับชั้นและเป็นข้อมูลในการออก เอกสารหลักฐานการศกึ ษา 21.3 ข้อมูลการประเมินคุณภาพระดับเขตพื้นที่การศึกษา ได้แก่ ผลการประเมิน คณุ ภาพของผเู้ รยี นดว้ ยแบบประเมนิ ท่ีสำนกั งานเขตพน้ื ท่ีการศึกษาจัดทำข้ึนในกลุ่มสาระการเรียนรู้สำคัญ ในระดับชั้นที่นอกเหนือจากการประเมินคุณภาพระดับชาติ เป็นข้อมูลที่ผู้เกี่ยวข้องใช้วางแผนและ ดำเนินการพัฒนาคุณภาพการศึกษาของสถานศึกษาเพื่อให้เกิดการยกระดับคุณภาพและมาตรฐาน การศกึ ษาของผเู้ รียนและสถานศกึ ษา

22 21.4 ข้อมูลผลการประเมินคุณภาพระดับชาติ ได้แก่ ผลการประเมินคุณภาพของ ผู้เรียนด้วยแบบประเมินที่เป็นมาตรฐานระดับชาติในกลุ่มสาระการเรียนรู้ท่ีสำคัญในประถมศึกษาปีที่ 6 ซึ่งดำเนินการโดยหน่วยงานระดับชาติ เป็นข้อมูลที่ผู้เกี่ยวข้องใช้วางแผนและดำเนินการพัฒนาคุณภาพ การศึกษาในส่วนที่เกี่ยวข้อง เพื่อให้เกิดการยกระดับคุณภาพและมาตรฐานการศึกษาของผู้เรียน สถานศกึ ษา และนำไปรายงานในเอกสารหลักฐานการศึกษาของผู้เรยี น 21.5 ข้อมูลพัฒนาการของผูเ้ รยี นด้านอืน่ ๆ ประกอบด้วย ข้อมูลเกี่ยวกับพัฒนาการ ทางด้านร่างกาย จิตใจ อารมณ์ สังคมและพฤติกรรมต่าง ๆ เป็นข้อมูลส่วนหนึ่งของการแนะแนวและ จดั ระบบการดูแลช่วยเหลือเพอ่ื แจง้ ใหผ้ เู้ รียน ผ้สู อน ผ้ปู กครอง และผูเ้ กย่ี วข้องได้รับทราบข้อมลู โดยผู้ มีหน้าที่รับผิดชอบแต่ละฝ่ายนำไปใช้ปรับปรุงแก้ไขและพัฒนาผู้เรียนให้เกิดพัฒนาการอย่างถูกต้อง เหมาะสม รวมทั้งนำไปจดั ทำเอกสารหลกั ฐานแสดงพัฒนาการของผเู้ รียน ข้อ 22 ลักษณะข้อมูลสำหรับการรายงาน การรายงานผลการเรียน สถานศกึ ษารายงานผลการเรียนดงั น้ี 22.1 ผลการเรียนรู้กลุ่มสาระการเรียนรู้รายงานเป็นระดับผลการเรียน “0 – 4” ( 8 ระดับ) 22.2 ผลการประเมินการอ่านคิดวิเคราะห์และเขียน รายงานผลการประเมินคุณภาพ เป็น ดีเย่ยี ม ดี ผา่ น และไมผ่ า่ น 22.3 ผลการประเมินคุณลักษณะอันพึงประสงค์รายงานผลการประเมินคุณภาพเป็น ดเี ยยี่ ม ดี ผา่ น และไม่ผา่ น 22.4 ผลการประเมินกิจกรรมพัฒนาผู้เรียนรายงานผลการประเมินคุณภาพเป็น ผ่าน และ ไม่ผ่าน ข้อ 23 เปา้ หมายการรายงาน การดำเนินการจัดการศึกษา ประกอบด้วยบุคลากรหลายฝ่ายร่วมมือประสานงานกัน พัฒนาผู้เรียนทั้งทางตรงและทางอ้อม ให้ความรู้ความสามารถ คุณธรรม จริยธรรมและค่านิยมอันพึง ประสงค์ โดยมีผู้มีส่วนเกี่ยวข้องควรได้รับการรายงานผลการประเมินของผู้เรียนเพื่อใช้เป็นข้อมูลในการ ดำเนินงานดังนี้ กลุ่มเป้าหมาย การใช้ขอ้ มูล ผ้เู รยี น - ปรบั ปรุง แกไ้ ขและพัฒนาการเรียน รวมทง้ั พฒั นาร่างกาย อารมณ์ ผสู้ อน สงั คมและพฤติกรรมต่างๆ ของคน ครวู ดั ผล นายทะเบยี น - วางแผนการเรียน การเลอื กแนวทางการศึกษา และอาชีพในอนาคต ครูแนะแนว - แสดงผลการเรียน ความรู้ ความสามารถ และวุฒกิ ารศกึ ษาของตน - วางแผนและดำเนินการปรับปรุง แก้ไขและพฒั นาผเู้ รียน - ปรบั ปรุง แกไ้ ขและพัฒนาการจัดการเรียนการสอน - ตรวจสอบความถูกตอ้ งในการประเมนิ ผลของผู้สอน/ผเู้ รยี น - พัฒนาระบบ ระเบยี บและแนวทางการประเมินผลการเรยี น - จัดทำเอกสารหลกั ฐานการศกึ ษา - ให้คำแนะนำผู้เรียนในดา้ นตา่ ง ๆ

23 กลุม่ เปา้ หมาย การใช้ขอ้ มูล คณะกรรมการบริหาร - พิจารณาใหค้ วามเหน็ ชอบผลการเรียนของผู้เรยี น หลักสตู รและวชิ าการของ - พฒั นาแนวทางการจดั การศกึ ษาของสถานศึกษา สถานศึกษา ผู้บริหารสถานศึกษา - พิจารณาตดั สิน และอนุมตั ผิ ลการเรยี นของผู้เรยี น - พัฒนากระบวนการจดั การเรยี นของสถานศกึ ษา - วางแผนการบริหารจัดการศกึ ษาด้านตา่ ง ๆ ผ้ปู กครอง - รับทราบผลการเรยี นและพัฒนาการของผู้เรยี น - ปรบั ปรุง แกไ้ ขและพฒั นาการเรียนของผเู้ รียน รวมท้ังการดแู ล สขุ ภาพอนามัย รา่ งกาย จติ ใจ อารมณ์ สังคมและพฤตกิ รรมตา่ ง ๆ ของผูเ้ รยี น - พจิ ารณาวางแผนและส่งเสรมการเรยี น การเลือกแนวทางการศึกษา และอาชพี ในอนาคตของผู้เรยี น ฝา่ ย/หนว่ ยงานทม่ี หี นา้ ท่ี - ตรวจสอบ และรบั รองผลการเรียนและวฒุ ิการศกึ ษาของผูเ้ รยี น ตรวจสอบรับรองความรู้ - เทียบระดบั /วฒุ กิ ารศกึ ษาของผูเ้ รยี น และวฒุ กิ ารศึกษา/ - เทยี บโอนผลการเรยี น สถานศกึ ษา สำนกั งานเขตพ้ืนที่ - ยกระดับและพัฒนาการศึกษาของสถานศึกษาในเขตพ้ืนทก่ี ารศึกษา การศกึ ษา/หน่วยงานตน้ - นเิ ทศ ตดิ ตาม และใหค้ วามช่วยเหลอื การพัฒนาคณุ ภาพการศกึ ษา สังกดั ของสถานศึกษาที่มีผลการประเมนิ ตำ่ กว่าคา่ เฉลย่ี ของสำนักงานเขต พื้นที่การศึกษา ขอ้ 24 วิธกี ารรายงาน การรายงานผลการเรียนให้ผเู้ กยี่ วข้องรับทราบ ดำเนนิ การดังน้ี 24.1 การรายงานผลการเรยี นในเอกสารหลักฐานการศกึ ษา ได้แก่ 24.1.1 ระเบยี บแสดงผลการเรียน (ปพ.1) 24.1.2 แบบรายงานผสู้ ำเรจ็ การศึกษา (ปพ.3) 24.1.3 แบบรายงานผลการพัฒนาคุณภาพผู้เรียนรายบคุ คล 24.1.4 แบบบันทกึ ผลการเรียนประจำรายวิชา 24.1.5 ระเบียนสะสม 24.1.6 ใบรับรองผลการเรยี น 24.1.7 แบบบนั ทกึ ผลการประเมินมาตรฐานการเรียนรู้/ตวั ชีว้ ัดชั้นปี / ผลการเรียนรู้ / จดุ ประสงคก์ ารเรียนรู้ 24.2 การรายงานคณุ ภาพการศึกษาใหผ้ เู้ ก่ียวข้องทราบ รายงานหลายวธิ ี เชน่ 24.2.1 รายงานคณุ ภาพการศึกษาประจำปี 24.2.2 วารสาร/จุลสารของสถานศึกษา 24.2.3 จดหมายส่วนตัว 24.2.4 การให้คำปรกึ ษาหารอื เป็นรายบุคคล

24 24.2.5 การให้พบครทู ่ีปรกึ ษาหรอื การประชมุ ผูป้ กครอง ขอ้ 25 การกำหนดระยะเวลาในการรายงาน ดงั น้ี 25.1 ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนกลุ่มสาระการเรียนรู้ 8 กลุ่มสาระ ผลการประเมินการ อ่าน คิดวิเคราะห์และเขียน ผลการประเมินคุณลักษณะอันพึงประสงค์ ผลการประเมินกิจกรรมพัฒนา ผู้เรียน จะรายงานหลงั จากประเมินผลปลายปีแลว้ เสรจ็ ภายใน 15 วนั 25.2 ผลการประเมินคุณภาพระดับเขตพื้นที่การศึกษา จะรายงานผลหลังจากได้ รับทราบผลภายใน 7 วัน 25.3 ผลการประเมินคุณภาพระดับชาติ จะรายงานผลหลังจากได้รับทราบภายใน 7 วัน 25.4 ข้อมูลพัฒนาการของนักเรียนประกอบด้วย ข้อมูลเกี่ยวกับพัฒนาการทางด้าน ร่างกาย จิตใจ อารมณ์ สังคม และพฤติกรรมต่าง ๆ จะรายงานให้ทราบพร้อมกับการรายงานผล ในข้อ 1 หมวด 7 เอกสารหลักฐานการศึกษา หลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช 2551 กำหนดให้มีเอกสารหลักฐาน ทางการศึกษา 2 ประเภท คอื เอกสารหลักฐานการศึกษาท่ีกระทรวงศึกษาธิการกำหนด และเอกสาร หลักฐานการศึกษาท่ีสถานศกึ ษากำหนด รายละเอียด ดังน้ี ข้อ 26 เอกสารหลักฐานการศึกษาที่กระทรวงศึกษาธิการกำหนดเป็นเอกสารควบคุมและ บังคับแบบ เรียกว่า แบบประเมินผลตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน (ปพ.) จัดทำขึ้นเพื่อ ตดั สนิ รบั รองผลการเรยี น ของผู้เรยี นตามหลกั สูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพน้ื ฐาน พุทธศักราช 2551 (ปรับปรุง พ.ศ. 2561) ที่ใช้เป็นหลักฐานสำหรับการตรวจสอบ ยืนยัน และรับรองคุณสมบัติทางการ ศึกษาของผเู้ รียนไดต้ ลอดไป สถานศึกษาตอ้ งใชแ้ บบพมิ พแ์ ละดำเนินการจดั ทำตามที่กระทรวงศึกษาธิการ กำหนดไวเ้ ป็นมาตรฐานเดียวกนั ดังน้ี ข้อ 26.1 เอกสารหลักฐานการศกึ ษาควบคุมและบังคับแบบ มีดังน้ี 26.1.1 ระเบียนแสดงผลการเรียน (ปพ.1) เปน็ หลักฐานเพือ่ แสดงผลการเรียน และรับรองผลการเรียนของผู้เรียนตามรายวิชา ผลการประเมินการอ่าน คิดวิเคราะห์และเขียน ผลการ ประเมินคุณลักษณะอันพึงประสงค์ของสถานศึกษา และผลการประเมินกิจกรรมพัฒนาผู้เรียน สถานศึกษาจะต้องบันทึกข้อมูล และออกเอกสารนี้ให้ผู้เรียนเป็นรายบุคคล เมื่อผู้เรียนจบการศึกษา ระดับประถมศึกษา (ชั้นประถมศึกษาปีท่ี 6) หรือเม่ือลาออกจากสถานศกึ ษาในทุกกรณี ระเบยี นแสดงผลการเรียน (ปพ.1) นำไปใช้ประโยชน์ ดงั นี้ - แสดงผลการเรียนของผูเ้ รยี นตามโครงสรา้ งหลักสตู รของสถานศกึ ษา - รบั รองผลการเรยี นของผเู้ รียนตามข้อมูลทบ่ี ันทกึ ในเอกสาร - ตรวจสอบผลการเรียนและวฒุ ิการศึกษาของผ้เู รยี น

25 - ใช้เป็นหลักฐานการศึกษาเพื่อสมัครเข้าศึกษาต่อ สมัครงานหรือขอรับ สทิ ธิประโยชนอ์ ่ืนใดท่พี ึงมไี ด้ตามวุฒิการศกึ ษานั้น 26.1.2 แบบรายงานผู้สำเร็จการศึกษา (ปพ. 3) เป็นเอกสารอนุมัติการจบ หลกั สตู ร โดยบนั ทกึ รายชอื่ และข้อมูลของผจู้ บการศึกษาระดับประถมศึกษา (ชน้ั ประถมศึกษาปที ่ี 6) แบบรายงานผ้สู ำเร็จการศึกษา (ปพ.3) นำไปใช้ประโยชน์ ดังน้ี - ใช้ตัดสินและอนมุ ัตผิ ลการเรียนของผู้เรียน - แสดงรายชื่อผู้จบหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน แต่ละระดับ การศึกษาทีไ่ ดร้ บั การรับรองวุฒจิ ากกระทรวงศึกษาธกิ าร - ใช้สำหรับตรวจสอบ ค้นหา พิสูจน์ ยืนยันและรับรองวุฒิหรือผลการศึกษา ของผจู้ บหลักสูตรการศกึ ษา 26.2 เอกสารหลกั ฐานการศกึ ษาท่ีสถานศึกษาดำเนนิ การเอง เอกสารหลักฐานการศึกษาที่สถานศึกษากำหนด เป็นเอกสารที่จัดทำขึ้นเพื่อ บันทึกพัฒนาการผลการเรียนรู้ และข้อมูลสำคัญเกี่ยวกับผู้เรียน เช่น แบบบันทึกผลการเรียนประจำ รายวิชา แบบรายงานประจำตัวนักเรียน ระเบียนสะสม ใบรับรองผลการเรียน และเอกสารอื่น ๆ ตาม วตั ถุประสงค์ของการนำเอกสารไปใช้ 26.2.1 แบบรายงานผลการพัฒนาคุณภาพผู้เรียนรายบุคคล เป็นเอกสารท่ี สถานศึกษาจัดทำขึ้นเพื่อบันทึกข้อมูลผลการเรียนรายวิชา และพัฒนาการด้านต่าง ๆ ของผู้เรียนแต่ละ คน ตามเกณฑก์ ารตดั สินผ่านระดบั ชั้นของหลักสูตรแกนกลางการศึกษาข้ันพ้นื ฐาน รวมทั้งข้อมูลด้านอื่น ๆ ของผู้เรียนที่บ้านและสถานศึกษา โดยจัดทำเป็นเอกสารรายบุคคล เพื่อใช้สำหรับส่ือสารให้ผู้ปกครอง ของผูเ้ รยี นแตล่ ะคนไดร้ บั ทราบผลการเรียนและพัฒนาการด้านต่าง ๆ ของผ้เู รียนอยา่ งตอ่ เน่ือง แบบรายงานประจำตวั นกั เรยี น นำไปใชป้ ระโยชน์ ดังนี้ - รายงานผลการเรียน ความประพฤติ และพัฒนาการของผู้เรียนให้ ผู้ปกครองไดร้ ับทราบ - ใช้เป็นเอกสารสื่อสาร ประสานงาน เพื่อความร่วมมือในการพัฒนาและ ปรบั ปรุงแกไ้ ขผ้เู รยี น - เป็นเอกสารสำหรับตรวจสอบ ยืนยัน และรับรองผลการเรียนและ พัฒนาการต่าง ๆ ของผเู้ รียน 26.2.2 แบบบันทึกผลการเรียนประจำรายวิชา เป็นเอกสารที่สถานศึกษาจัด ทำขึ้น เพื่อให้ครูผู้สอนใช้บันทึกพัฒนาการ ผลการเรียนรู้ กิจกรรมพัฒนาผู้เรียน คุณลักษณะอันพึ ง ประสงค์ และการอ่าน คิดวิเคราะห์ และเขียน สำหรับการพิจารณาตัดสินผลการเรียนแต่ละรายวิชา เป็นรายหอ้ งเรยี น เอกสารบันทึกผลการเรียนรายวชิ า นำไปใช้ประโยชน์ ดงั น้ี - ใช้บันทึกพัฒนาการผลการเรียนรู้ คุณลักษณะอันพึงประสงค์ การอ่าน คิดวิเคราะห์ และเขยี น และผลการประเมนิ กจิ กรรมพัฒนาผ้เู รยี นของผ้เุ รยี นแตล่ ะรายวชิ า - ใช้เป็นหลักฐานสำหรับตรวจสอบ รายงาน และรับรองข้อมูลเกี่ยวกับ พัฒนาการ และผลการเรยี นรขู้ องผู้เรียน

26 เอกสารบันทกึ ผลการเรยี นรายวชิ า นำไปใช้ประโยชน์ ดังน้ี - ใช้บันทึกพัฒนาการผลการเรียนรู้ คุณลักษณะอันพึงประสงค์ การอ่าน คดิ วเิ คราะห์ และเขยี น และผลการประเมนิ กิจกรรมพัฒนาผ้เู รียนของผู้เรียนแต่ละรายวชิ า - ใช้เป็นหลักฐานสำหรับตรวจสอบ รายงาน และรับรองข้อมูลเกี่ยวกับ พัฒนาการ และผลการเรียนรู้ของผเู้ รียน 26.2.3 ระเบียนสะสม เป็นเอกสารที่สถานศึกษาจัดทำขึ้น เพื่อบันทึกข้อมูล เกี่ยวกับพัฒนาการของผู้เรียนในด้านต่างๆ เป็นรายบุคคล โดยจะบันทึกข้อมูลของผู้เรียนอย่างต่อเนื่อง ตลอดช่วงระยะเวลาการศึกษาตามหลกั สูตรแกนกลางการศกึ ษาข้ันพ้ืนฐาน 12 ปี ระเบียนสะสม นำไปใชป้ ระโยชน์ ดงั น้ี - ใช้เป็นข้อมูลในการแนะแนวทางการศึกษาและการประกอบอาชีพของ ผู้เรยี น - ใช้เป็นข้อมูลในการพัฒนาปรับปรุงบุคลิกภาพ ผลการเรียน และการ ปรับตัวของผู้เรยี น - ใช้ติดต่อสื่อสาร รายงานพัฒนาคุณภาพของผู้เรียนระหว่างสถานศึกษา กับผู้ปกครอง - ใช้เป็นหลักฐานสำหรับตรวจสอบ รับรอง และยืนยันคุณสมบัติของ ผู้เรียน 26.2.4 ใบรับรองผลการเรียน เป็นเอกสารที่สถานศึกษาจัดทำขึ้นเพื่อใช้เป็น เอกสารสำหรับรับรองความเป็นนักเรยี นของผู้เรียนเป็นการชัว่ คราวตามท่ีผู้เรียนร้องขอ ทั้งกรณีท่ผี ู้เรียน กำลงั ศกึ ษาอยใู่ นสถานศกึ ษาและเม่อื จบการศึกษาไปแลว้ ใบรบั รองผลการเรยี น นำไปใชป้ ระโยชน์ ดังนี้ - รับรองความเปน็ นักเรียนของสถานศึกษาท่ีเรยี นหรือท่เี คยเรยี น - รับรองและแสดงความรู้ วฒุ กิ ารศกึ ษาของผเู้ รียน - ใช้เป็นหลักฐานแสดงคุณสมบัติของผู้เรียนในการสมัครเข้าศึกษาต่อ สมัครเขา้ ทำงาน หรอื มกี รณอี ่ืนใดที่ผู้เรียนแสดงคณุ สมบตั เิ ก่ยี วกบั วุฒิความรู้ หรือสถานการณเ์ ป็นผ้เู รียน ของตน - เป็นหลักฐานสำหรับตรวจสอบ รับรอง ยืนยันการใช้สิทธิ์ความเป็น ผูเ้ รียน หรือการไดร้ ับการรบั รองจากสถานศกึ ษา 26.2.5 แบบบันทึกผลการประเมินมาตรฐานการเรียนรู้/ตัวช้ีวดั ชน้ั ปี /ผลการ เรียนรู้ / จุดประสงค์การเรยี นรู้ เป็นเอกสารที่สถานศึกษาจัดทำขึ้น เพื่อใช้เปน็ เอกสารหลักฐานสำหรบั แสดงผลการเรียนตามมาตรฐาน/ตัวชว้ี ัดชั้นปี โดยแสดงผลการประเมินมาตรฐาน/ตวั ชี้วัดช้นั ปี ที่ผู้เรียนได้ ประเมินไปแลว้ ในระดับช้ันทผ่ี ู้เรียนกำลังศึกษาอยู่ สถานศกึ ษาจะออกเอกสารหลกั ฐานแบบบันทึกผลการ ประเมินมาตรฐาน/ตัวชี้วัดชั้นปี เม่ือผู้เรียนย้ายที่เรียนไปยังสถานศึกษาอื่นในขณะที่ยังไม่ได้รับการ ประเมนิ ผลปลายปกี ารศกึ ษานั้น

27 หมวด 8 การยา้ ยทเ่ี รียน ข้อ 27 นักเรียนคนใดจำเป็นต้องย้ายที่เรยี น โรงเรียนจัดทำเอกสารหลักฐานการเรียนของ นกั เรยี นไปใหโ้ รงเรยี นใหม่ ดงั น้ี คอื 27.1 ระเบยี นแสดงผลการเรยี น (ปพ.1) 27.2 แบบรายงานผลการพัฒนาคณุ ภาพผ้เู รยี นรายบุคคล 27.3 ระเบยี นสะสม 28.4 แบบบันทึกผลการประเมินมาตรฐานการเรียนรู้ /ตัวชี้วัด / ผลการเรียนรู้ / จดุ ประสงคก์ ารเรยี นรู้ ประกาศ ณ วนั ท่ี 17 เดอื น พฤษภาคม พ.ศ. 2564 (ลงชอ่ื ) (ลงช่ือ) (นายวัชระ นิวตั สมบตั ิเจรญิ ) (นางสาวชริดา เหลี่ยมด)ี ประธานกรรมการสถานศึกษาข้นั พนื้ ฐาน ผ้อู ำนวยการโรงเรียนวัดสายลำโพงใต้ โรงเรยี นวดั สายลำโพงใต้

28 ภาคผนวก

29 ภาคผนวก ก คณุ ลกั ษณะอนั พึงประสงค์ ตามหลกั สตู รแกนกลาง การศึกษาข้ันพื้นฐาน พุทธศักราช 2551

30 คุณลกั ษณะอนั พงึ ประสงค์ ตามหลกั สตู รแกนกลาง การศกึ ษาขนั้ พน้ื ฐาน พทุ ธศกั ราช 2551 คณุ ลกั ษณะอนั พงึ ประสงคท์ งั้ 8 ประการ ได้แก่ 1) รกั ชาติ ศาสน์ กษตั ริย์ 2) ซอ่ื สตั ยส์ จุ รติ 3) มวี ินัย 4) ใฝเ่ รียนรู้ 5) อย่อู ยา่ งพอเพยี ง 6) มงุ่ มนั่ ในการทำงาน 7) รักความเปน็ ไทย 8) มีจติ สาธารณะ การนำคุณลักษณะอนั พึงประสงค์ท้งั 8 ประการดงั กลา่ ว ไปพัฒนาผเู้ รยี นใหม้ ี ประสทิ ธิภาพและเกิดประสิทธิผลนน้ั สถานศึกษาต้องมีความเข้าใจเกยี่ วกบั คุณลกั ษณะอนั พึงประสงค์ อย่างชดั เจนโดยพิจารณาจาก นิยาม ตัวชว้ี ดั พฤติกรรมบ่งช้ี และเกณฑก์ ารให้คะแนนของคุณลกั ษณะอนั พงึ ประสงค์ ซ่งึ มรี ายละเอยี ด ดังน้ี ข้อที่ 1 รักชาติ ศาสน์ กษตั ริย์ นิยาม รักชาติ ศาสน์ กษตั รยิ ์ หมายถงึ คุณลักษณะทแี่ สดงออกถึงการเปน็ พลเมอื งดขี องชาติ ธำรงไว้ ซงึ่ ความเปน็ ชาติไทย ศรัทธา ยดึ มั่นในศาสนา และเคารพเทิดทนู สถาบนั พระมหากษัตริย์ ผู้ที่รักชาติ ศาสน์ กษัตริย์ คือ ผู้ที่มีลักษณะซึ่งแสดงออกถึงการเป็นพลเมืองดีของชาติ มคี วามสามคั คปี รองดอง ภมู ใิ จ เชิดชคู วามเปน็ ชาติไทย ปฏบิ ตั ิตนตามหลกั ศาสนาทีต่ นนบั ถอื และแสดงความจงรักภกั ดตี อ่ สถาบันพระมหากษตั ริย์ ตัวชีว้ ดั 1.1 เป็นพลเมอื งดขี องชาติ 1.2 ธำรงไว้ซ่ึงความเป็นชาติไทย 1.3 ศรทั ธา ยึดมน่ั และปฏิบัติตนตามหลักศาสนา 1.4 เคารพเทิดทนู สถาบนั พระมหากษัตริย์ ตวั ชีว้ ัดและพฤติกรรมบง่ ช้ี พฤติกรรมบ่งช้ี ตัวชว้ี ดั 1.1.1 ยนื ตรงเคารพธงชาติ รอ้ งเพลงชาติ และอธิบายความหมาย 1.1 เป็นพลเมืองดขี องชาติ ของเพลงชาติได้ถูกตอ้ ง 1.1.2 ปฏิบัติตนตามสิทธิ และหนา้ ท่ีพลเมอื งดีของชาติ 1.2 ธำรงไวซ้ ึ่งความเป็น 1.1.3 มคี วามสามคั คี ปรองดอง ชาติไทย 1.2.1 เขา้ ร่วม สง่ เสรมิ สนับสนุนกิจกรรมท่ีสรา้ งความสามัคคี ปรองดอง ท่เี ป็นประโยชน์ตอ่ โรงเรียน ชมุ ชนและสังคม 1.2.2 หวงแหน ปกป้อง ยกย่องความเป็นชาติไทย

31 ตวั ช้ีวัด พฤตกิ รรมบ่งช้ี 1.3 ศรทั ธา ยึดมน่ั และปฏบิ ัติตน 1.3.1 เข้ารว่ มกจิ กรรมทางศาสนาท่ตี นนบั ถือ ตามหลักของศาสนา 1.3.2 ปฏบิ ตั ิตนตามหลักของศาสนาที่ตนนบั ถือ 1.3.3 เปน็ แบบอย่างทีด่ ขี องศาสนกิ ชน 1.4 เคารพเทดิ ทูนสถาบัน 1.4.1 เข้ารว่ มและมสี ่วนร่วมในการจัดกจิ กรรมทเ่ี ก่ียวกบั สถาบนั พระมหากษัตริย์ พระมหากษัตรยิ ์ 1.4.2 แสดงความสำนึกในพระมหากรุณาธคิ ณุ ของพระมหากษตั รยิ ์ 1.4.3 แสดงออกซง่ึ ความจงรักภกั ดีตอ่ สถาบนั พระมหากษัตรยิ ์ เกณฑก์ ารให้คะแนน ระดับประถมศกึ ษา ตัวชีว้ ดั ท่ี 1.1 เปน็ พลเมืองดีของชาติ พฤติกรรมบ่งช้ี ไมผ่ ่าน (0) ผา่ น (1) ดี (2) ดเี ยี่ยม(3) 1.1.1 ยนื ตรง ไมย่ ืนตรงเคารพ ยืนตรงเมื่อได้ยิน ยนื ตรงเมอื่ ได้ยิน ยนื ตรงเมอื่ ได้ยนิ เคารพธงชาติ รอ้ ง ธงชาติ เพลงชาติ ร้องเพลง เพลงชาติ รอ้ งเพลง เพลงชาติ ร้องเพลง เพลงชาติ และ ชาติ และอธิบาย ชาติ และอธบิ าย ชาติ และอธบิ าย อธบิ ายความหมาย ความหมายของ ความหมายของ ความหมายของ ของเพลงชาติ เพลงชาติได้ถูกต้อง เพลงชาตไิ ด้ถกู ต้อง เพลงชาติได้ถูกต้อง ไดถ้ ูกต้อง ปฏิบัติตนตามสิทธิ ปฏบิ ัตติ นตามสิทธิ ปฏบิ ตั ิตนตามสทิ ธิ 1.1.2 ปฏบิ ัติ และหนา้ ที่ของ และหนา้ ท่ีของ และหนา้ ท่ขี อง ตนตามสทิ ธิ หน้าท่ี นกั เรยี น และให้ นักเรียนและให้ พลเมืองดี และให้ พลเมอื งดขี องชาติ ความรว่ มมือรว่ มใจ ความร่วมมือรว่ มใจ ความร่วมมือรว่ มใจ 1.1.3 มคี วาม ในการทำกจิ กรรม ในการทำกิจกรรม ในการทำกิจกรรม สามัคคีปรองดอง กบั สมาชกิ ในช้นั กบั สมาชกิ ใน กบั สมาชิกใน เรียน โรงเรียน โรงเรียนและชุมชน ตวั ช้วี ดั ท่ี 1.2 ธำรงไวซ้ ึ่งความเปน็ ชาติไทย พฤติกรรมบ่งช้ี ไมผ่ ่าน (0) ผ่าน (1) ดี (2) ดีเยี่ยม(3) 1.2.1 เขา้ รว่ ม ไม่เขา้ ร่วม เข้ารว่ มกิจกรรมที่ เขา้ ร่วมกิจกรรม เขา้ ร่วมกิจกรรม สง่ เสรมิ สนบั สนุน กิจกรรมทส่ี ร้าง สร้างความสามัคคี และมีส่วนร่วมใน และมีสว่ นร่วมใน กจิ กรรมที่สรา้ ง ความสามัคคี ปรองดอง และเปน็ การจัดกิจกรรมที่ การจัดกจิ กรรมท่ี ความสามัคคี ประโยชนต์ อ่ สรา้ งความสามคั คี สรา้ งความสามัคคี ปรองดอง โรงเรยี นและชุมชน ปรองดองและเป็น ปรองดองและเป็น ทีเ่ ป็นประโยชน์ ประโยชนต์ ่อ ประโยชนต์ ่อ โรงเรยี น และชมุ ชน โรงเรยี น ชมุ ชน ตอ่ โรงเรียน และสังคม ชื่นชมใน ชุมชนและสงั คม ความเปน็ ชาตไิ ทย 1.2.2 หวงแหน ปกปอ้ ง ยกยอ่ ง ความเปน็ ชาติไทย

32 ตัวชวี้ ดั ที่ 1.3 ศรทั ธา ยดึ มั่น และปฏิบัติตนตามหลกั ของศาสนา พฤติกรรมบ่งชี้ ไม่ผ่าน (0) ผ่าน (1) ดี (2) ดเี ย่ียม(3) 1.3.1 เข้าร่วม ไม่เขา้ รว่ ม เข้าร่วมกิจกรรม เขา้ รว่ มกิจกรรม เข้ารว่ มกิจกรรม กจิ กรรมทางศาสนา กิจกรรมทาง ทางศาสนาท่ีตนนับ ทางศาสนาที่ตนนับ ทางศาสนา ทต่ี นนบั ถือ ศาสนาทีต่ น ถอื และปฏบิ ัตติ น ถือและปฏิบตั ิตน ทตี่ นนบั ถือปฏิบตั ิ ตามหลกั ของ ตามหลักของ ตนตามหลกั 1.3.2 ปฏบิ ตั ติ น นบั ถอื ศาสนาตามโอกาส ศาสนาอยา่ ง ของศาสนาอย่าง ตามหลักของศาสนา ทตี่ นนบั ถือ สมำ่ เสมอ สม่ำเสมอ 1.3.3 เปน็ และเปน็ แบบอยา่ ง แบบอย่างท่ดี ขี อง ท่ดี ขี องศาสนิกชน ศาสนิกชน ตัวชีว้ ดั ที่ 1.4 เคารพเทิดทูนสถาบนั พระมหากษัตรยิ ์ พฤตกิ รรมบ่งชี้ ไมผ่ ่าน (0) ผา่ น (1) ดี (2) ดีเยย่ี ม(3) 1.4.1 เข้ารว่ ม ไม่เข้าร่วม เขา้ รว่ มกิจกรรมท่ี เขา้ ร่วมกจิ กรรม เข้าร่วมกิจกรรม และมีส่วนรว่ ม กิจกรรมที่ เกี่ยวกับสถาบัน และมีสว่ นร่วมใน และมีส่วนรว่ มใน ในการจัดกจิ กรรมท่ี เกย่ี วกบั สถาบัน พระมหากษัตริย์ การจัดกจิ กรรมท่ี การจัดกิจกรรมท่ี เก่ยี วกบั สถาบัน พระมหากษัตริย์ ตามทโ่ี รงเรยี นและ เก่ยี วกบั สถาบัน เกย่ี วกบั สถาบนั พระมหากษัตรยิ ์ ชมุ ชนจดั ขนึ้ พระมหากษัตรยิ ์ พระมหากษัตริย์ 1.4.2 แสดง ตามที่โรงเรียนและ ตามทโ่ี รงเรียนและ ความสำนึกใน ชมุ ชนจัดขึ้น ชุมชนจดั ข้นึ ชืน่ ชม พระมหากรณุ าธิคุณ ในพระราชกรณยี กจิ พระปรีชา ขอพระมหากษัตริย์ สามารถของ 1.4.3 แสดงออกซง่ึ พระมหากษัตรยิ ์ และพระราชวงศ์ ความจงรกั ภักดีต่อ สถาบันพระมหา กษตั รยิ ์ ข้อท่ี 2 ซื่อสตั ย์สจุ ริต นิยาม ซ่ือสัตย์สจุ รติ หมายถึง คณุ ลักษณะทแ่ี สดงออกถึงการยึดม่ันในความถูกตอ้ งประพฤติตรงตาม ความเป็นจริงตอ่ ตนเองและผู้อ่นื ทง้ั ทางกาย วาจา ใจผู้ที่มคี วามซื่อสตั ยส์ จุ รติ คอื ผู้ท่ีประพฤติตรงตาม ความเป็นจรงิ ทั้งทางกาย วาจา ใจ และยดึ หลักความจรงิ ความถูกตอ้ งในการดำเนินชวี ติ มีความละอายและ เกรงกลัวตอ่ การกระทำผิด ตวั ชว้ี ัด 2.1 ประพฤตติ รงตามความเป็นจรงิ ต่อตนเองทง้ั ทางกาย วาจา ใจ 2.2 ประพฤตติ รงตามความเปน็ จรงิ ตอ่ ผู้อืน่ ทง้ั ทางกาย วาจา ใจ

33 ตวั ช้วี ัดและพฤตกิ รรมบง่ ชี้ พฤติกรรมบ่งชี้ ตัวชีว้ ดั 2.1.1 ให้ข้อมูลทถี่ กู ต้องและเปน็ จริง 2.1 ประพฤติตรงตาม 2.1.2 ปฏบิ ตั ิตนโดยคำนึงถึงความถกู ต้องละอายและเกรงกลวั ความเปน็ จรงิ ตอ่ ตนเองท้ังทาง ตอ่ การกระทำผดิ กาย วาจา ใจ 2.1.3 ปฏิบัตติ ามคำมน่ั สญั ญา 2.2 ประพฤตติ รงตาม 2.2.1 ไมถ่ อื เอาส่งิ ของหรือผลงานของผู้อน่ื มาเปน็ ของตนเอง ความเปน็ จริงต่อ ผ้อู ่ืนทง้ั ทาง 2.2.2 ปฏบิ ัตติ นต่อผู้อ่ืนดว้ ยความซอ่ื ตรง กาย วาจา ใจ 2.2.3 ไมห่ าประโยชน์ในทางที่ไม่ถกู ต้อง เกณฑ์การใหค้ ะแนน ระดบั ประถมศึกษา ตวั ชีว้ ัดที่ 2.1 ประพฤติตรงตามความเปน็ จริงต่อตนเองทั้งทางกาย วาจา ใจ พฤติกรรมบ่งช้ี ไม่ผ่าน (0) ผ่าน (1) ดี (2) ดเี ยี่ยม(3) 2.1.1 ใหข้ อ้ มลู ท่ี ไมใ่ ห้ขอ้ มูลที่ ให้ขอ้ มลู ทถี่ ูกต้อง ให้ข้อมลู ที่ถูกต้อง ให้ข้อมูลที่ถูกต้อง ถูกต้องและเป็นจรงิ 2.1.2 ปฏบิ ัติตน ถกู ต้องและเปน็ จริง และเป็นจรงิ และเปน็ จรงิ ปฏิบตั ิ และเป็นจริง ปฏบิ ัติ โดยคำนงึ ถึง ความถกู ต้อง ปฏบิ ตั ใิ นสิ่งท่ี ในสิง่ ท่ีถูกตอ้ ง ในส่งิ ทถี่ ูกตอ้ ง ละอายและ เกรงกลัว ถูกต้อง ทำตาม ทำตามสญั ญาที่ตน ทำตามสัญญาท่ตี นให้ ต่อการกระทำผดิ 2.1.3 ปฏิบัติตาม สัญญาทีต่ นให้ไว้ ใหไ้ ว้กับเพือ่ นพอ่ แม่ ไว้กบั เพื่อน คำมนั่ สัญญา กับเพื่อน หรือผ้ปู กครอง และ พ่อแม่ หรอื พ่อแม่ หรือ ครู ละอายและเกรง ผู้ปกครอง และครู ผู้ปกครอง กลวั ทจี่ ะทำ ละอายและ และครู ละอาย ความผดิ เกรงกลวั ที่จะทำ และเกรงกลัว ความผิดเปน็ ทีจ่ ะทำความผดิ แบบอย่างทดี่ ดี ้าน ความซอื่ สตั ย์

34 ตัวชว้ี ดั ที่ 2.2 ประพฤติตรงตามความเปน็ จริงต่อผู้อนื่ ทงั้ ทางกาย วาจา ใจ พฤติกรรมบ่งชี้ ไมผ่ ่าน (0) ผา่ น (1) ดี (2) ดเี ย่ยี ม(3) 2.2.1 ไมถ่ ือเอาส่ิงของ นำสงิ่ ของของ ไม่นำสิ่งของ และ ไม่นำสิง่ ของ และ ไมน่ ำสง่ิ ของ และ หรือผลงานของผ้อู ่ืน คนอื่นมาเป็น ผลงานของผู้อื่น ผลงานของผู้อนื่ มา ผลงานของผู้อืน่ มา เป็นของตนเองปฏบิ ตั ิ มาเปน็ ของตนเอง ของตนเอง มาเป็นของตนเอง เป็นของตนเอง ตนตอ่ ผอู้ น่ื ดว้ ยความ 2.2.2 ปฏบิ ตั ิตนตอ่ ปฏบิ ัติตนตอ่ ผ้อู ่นื ปฏบิ ัตติ นตอ่ ผอู้ น่ื ซือ่ ตรง ผ้อู นื่ ด้วยความซ่ือตรง ด้วยความซ่ือตรง ด้วยความซือ่ ตรง 2.2.3 ไมห่ าประโยชน์ ไม่หา ข้อที่ 3 มีวินัย นยิ าม มวี นิ ยั หมายถึง คณุ ลักษณะทแี่ สดงออกถงึ การยดึ มั่นในข้อตกลง กฎเกณฑ์ และ ระเบียบข้อบงั คับของครอบครัว โรงเรยี น และสังคม ผู้ท่มี ีวินัย คือ ผู้ทป่ี ฏบิ ัตติ นตามขอ้ ตกลง กฎเกณฑ์ ระเบยี บ ข้อบงั คบั ของครอบครัว โรงเรียน และสังคมเป็นปกติวสิ ยั ไมล่ ะเมดิ สิทธขิ องผู้อนื่ ตัวช้วี ัด 3.1 ปฏบิ ัติตามข้อตกลง กฎเกณฑ์ ระเบียบขอ้ บังคบั ของครอบครัว โรงเรียน และสังคม ตัวชว้ี ดั และพฤติกรรมบ่งชี้ ตวั ชว้ี ัด พฤตกิ รรมบ่งช้ี 3.1 ปฏบิ ัตติ ามขอ้ ตกลง กฎเกณฑ์ 3.1.1 ปฏบิ ตั ิตน ตามขอ้ ตกลง กฎเกณฑ์ ระเบยี บ ข้อบังคับ ระเบียบ ข้อบงั คับ ของ ของครอบครวั โรงเรยี นและสงั คม ไม่ละเมดิ สทิ ธขิ องผู้อื่น ครอบครัว โรงเรยี น และสังคม 3.1.2 ตรงต่อเวลาในการปฏบิ ัติกิจกรรมต่าง ๆ ในชวี ติ ประจำวัน และ รับผิดชอบในการทำงาน

35 เกณฑ์การใหค้ ะแนน ระดบั ประถมศกึ ษา ตวั ชีว้ ัดท่ี 3.1 ปฏิบตั ิตามขอ้ ตกลง กฎเกณฑ์ ระเบียบ ข้อบังคบั ของครอบครวั โรงเรยี นและสงั คม พฤตกิ รรมบ่งช้ี ไม่ผ่าน (0) ผ่าน (1) ดี (2) ดเี ย่ียม(3) 3.1.1 ปฏิบตั ติ นตาม ไม่ปฏิบัตติ นตาม ปฏบิ ัตติ ามข้อตกลง ปฏิบตั ติ ามข้อตกลง ปฏิบัตติ าม กฎเกณฑ์ ระเบียบ กฎเกณฑ์ ระเบียบ ข้อตกลงกฎเกณฑ์ ข้อตกลง กฎเกณฑ์ ขอ้ ตกลง กฎเกณฑ์ ขอ้ บงั คับของ ขอ้ บงั คับ ของ ระเบยี บ ข้อบังคับ ครอบครวั และ ครอบครวั และ ของครอบครัว ระเบยี บข้อบังคับของ ระเบียบ ข้อบังคับ โรงเรียน ตรงตอ่ โรงเรียน ตรงตอ่ โรงเรียนและ เวลาในการปฏบิ ัติ เวลาในการปฏิบัติ สงั คม ไม่ละเมดิ ครอบครัว โรงเรยี น ของครอบครัวและ กจิ กรรมต่าง ๆ กิจกรรมต่างๆ ใน สิทธิของผอู้ ่นื ในชวี ิต ชวี ติ ประจำวนั และ ตรงต่อเวลา และสังคม ไมล่ ะเมิด โรงเรยี น ประจำวัน รับผดิ ชอบในการ ในการปฏบิ ตั ิ ทำงาน กิจกรรมตา่ งๆ สิทธขิ องผอู้ ืน่ ในชีวติ ประจำวนั 3.1.2 ตรงตอ่ เวลา และรบั ผิดชอบใน การทำงาน ใน การปฏิบัตกิ จิ กรรม ตา่ งๆ ใน ชีวิตประจำวนั และ รบั ผิดชอบในการ ทำงาน ขอ้ ท่ี 4 ใฝเ่ รียนรู้ นิยาม ใฝเ่ รยี นรู้ หมายถึง คุณลักษณะท่ีแสดงออกถึงความต้งั ใจ เพยี รพยายามในการเรยี น แสวงหาความร้จู ากแหลง่ เรียนร้ทู ้งั ภายในและภายนอกโรงเรียน ผูท้ ใี่ ฝ่เรยี นรู้ คอื ผทู้ ่ีมีลักษณะซึ่งแสดงออกถึงความต้ังใจ เพยี รพยายามในการเรยี นและ เขา้ รว่ มกจิ กรรมการเรียนรู้ แสวงหาความรจู้ ากแหล่งเรยี นร้ทู ง้ั ภายในและภายนอกโรงเรียนอยา่ ง สม่ำเสมอ ดว้ ยการเลือกใช้สื่ออยา่ งเหมาะสม บนั ทึกความรู้ วิเคราะห์ สรุปเปน็ องค์ความรู้ แลกเปลย่ี น เรยี นรู้ ถา่ ยทอด เผยแพร่ และนำไปใช้ในชวี ติ ประจำวันได้ ตวั ชวี้ ดั 4.1 ตง้ั ใจ เพียรพยายามในการเรียนและเขา้ รว่ มกจิ กรรมการเรียนรู้ 4.2 แสวงหาความรจู้ ากแหล่งเรียนรู้ ตา่ งๆ ทง้ั ภายในและภายนอกโรงเรียน ดว้ ยการเลือกใชส้ ื่ออยา่ งเหมาะสม สรปุ เป็นองคค์ วามรู้ และสามารถนำไปใชใ้ นชีวติ ประจำวนั ได้

36 ตวั ช้วี ดั และพฤตกิ รรมบ่งชี้ ตวั ช้ีวดั พฤตกิ รรมบ่งชี้ 4.1 ต้งั ใจ เพียรพยายาม 4.1.1 ตง้ั ใจเรยี น ในการเรียนและเขา้ ร่วมกิจกรรม 4.1.2 เอาใจใส่และมีความเพียรพยายามในการเรยี นรู้ การเรียนรู้ 4.1.3 สนใจเขา้ ร่วมกจิ กรรมการเรียนรู้ตา่ ง ๆ 4.2 แสวงหาความรจู้ าก 4.2.1 ศึกษาค้นควา้ หาความรู้จากหนงั สอื เอกสาร สิง่ พิมพ์ ส่อื แหล่งเรียนรู้ ต่างๆ ทั้งภายในและ เทคโนโลยีตา่ งๆ แหลง่ เรยี นรู้ทั้งภายในและภายนอกโรงเรียน และ ภายนอกโรงเรียน ด้วยการ เลือกใชส้ ่อื ได้อย่างเหมาะสม เลือกใชส้ ่อื อยา่ งเหมาะสม สรุป 4.2.2 บนั ทกึ ความรู้ วิเคราะห์ตรวจสอบ จากสิง่ ที่เรียนรู้ สรปุ เปน็ องค์ เป็นองค์ความรู้ และ ความรู้ สามารถนำไปใช้ใน 4.2.3 แลกเปลี่ยนความรู้ ด้วยวิธกี ารต่างๆ และนำไปใชใ้ น ชวี ติ ประจำวันได้ ชวี ติ ประจำวนั เกณฑก์ ารให้คะแนน ระดบั ประถมศึกษา ตวั ช้ีวดั ที่ 4.1 ตั้งใจ เพียรพยายาม ในการเรยี นและเขา้ ร่วม กิจกรรม พฤติกรรมบ่งช้ี ไมผ่ า่ น (0) ผา่ น (1) ดี (2) ดเี ย่ียม(3) 4.1.1 ตั้งใจเรยี น ไมต่ ัง้ ใจเรียน เขา้ เรียนตรงเวลา เข้าเรียนตรงเวลา เข้าเรยี นตรงเวลา 4.1.2 เอาใจใส่และมี ตัง้ ใจเรยี น เอาใจใส่ ตัง้ ใจเรยี น เอาใจ ต้งั ใจเรียน เอาใจใส่ ความเพยี รพยายามใน ในการเรยี น มีสว่ น ใส่ และมีความ และมคี วามเพยี ร การเรียนรู้ รว่ มในการเรยี นรู้ เพยี รพยายามใน พยายามใน 4.1.3 เขา้ รว่ มกิจกรรม และเข้ารว่ มกิจกรรม การเรียนรู้ มสี ว่ น การเรียนรู้ การเรียนร้ตู า่ งๆ การเรียนรู้ ตา่ งๆ รว่ มในการเรยี นรู้ มีส่วนรว่ มในการ เป็นบางคร้ัง และเขา้ ร่วม เรียนรแู้ ละเข้าร่วม กจิ กรรมการเรยี นรู้ กจิ กรรมการเรยี นรู้ ต่างๆ บ่อยคร้ัง ต่าง ๆ ทั้งภายใน และภายนอก โรงเรยี นเป็นประจำ

37 ตัวช้วี ดั ที่ 4.2 แสวงหาความร้จู ากแหลง่ เรยี นรู้ ตา่ ง ๆ ทง้ั ภายในและภายนอกโรงเรยี น ดว้ ยการเลอื กใช้สื่อ อยา่ งเหมาะสม สรปุ เปน็ องคค์ วามรู้ สามารถนำไปใชใ้ นชวี ติ ประจำวนั ได้ พฤตกิ รรมบ่งชี้ ไม่ผา่ น (0) ผา่ น (1) ดี (2) ดเี ยย่ี ม(3) 4.2.1 ศึกษาคน้ คว้า ไม่ศึกษาคน้ ควา้ ศึกษาค้นคว้าความรู้ ศึกษาคน้ คว้าหา ศึกษาค้นคว้าหา หาความรู้จากหนังสือ หาความรู้ จากหนงั สอื เอกสาร ความรูจ้ ากหนังสือ ความรจู้ ากหนังสือ เอกสาร สงิ่ พิมพ์ สื่อ ส่งิ พิมพ์ สื่อ เอกสาร ส่ิงพิมพ์ เอกสาร สิง่ พิมพ์ ส่ือ เทคโนโลยีต่าง ๆ แหล่ง เทคโนโลยี สือ่ เทคโนโลยแี ละ เทคโนโลยี และ เรียนรทู้ ้ังภายในและ แหลง่ เรยี นรู้ สารสนเทศ แหล่ง สารสนเทศ แหล่ง ภายนอกโรงเรยี น และ ทง้ั ภายในและ เรียนรู้ ท้งั ภายใน เรยี นรู้ทั้งภายใน เลือกใชส้ ่อื ได้อย่าง ภายนอกโรงเรียน และภายนอก และภายนอก เหมาะสม เลอื กใช้สอ่ื โรงเรียน และ โรงเรยี น เลอื กใช้ 4.2.2 บันทกึ ความรู้ ไดอ้ ย่างเหมาะสม เลือกใช้สื่อได้ สือ่ ได้อย่างเหมาะสม วิเคราะหข์ ้อมลู จากส่งิ ที่ และมีการ อยา่ งเหมาะสม มีการบันทึกความรู้ เรยี นรู้ สรปุ เปน็ องค์ บันทกึ ความรู้ มีการบันทึก วิเคราะหข์ ้อมลู ความรู้ ความรู้ วิเคราะห์ สรุปเปน็ องค์ความรู้ 4.2.3 แลกเปล่ียนเรียนรู้ ขอ้ มูล สรุป เปน็ และแลกเปลยี่ น ด้วยวธิ ีการตา่ งๆ และ องค์ความรู้ และ เรยี นรู้ ดว้ ยวธิ ีการ นำไปใชใ้ น แลกเปลีย่ นเรียนรู้ ที่หลากหลาย และ ชวี ติ ประจำวัน กบั ผูอ้ นื่ ได้ นำไปใช้ใน ชีวติ ประจำวัน ขอ้ ที่ 5 อยู่อยา่ งพอเพียง นิยาม อยู่อยา่ งพอเพยี ง หมายถงึ คุณลกั ษณะทแี่ สดงออกถงึ การดำเนินชวี ติ อย่างพอประมาณ มเี หตุผล รอบคอบ มีคณุ ธรรม มภี ูมิค้มุ กนั ในตวั ทีด่ ี และปรบั ตวั เพือ่ อยูใ่ นสงั คมได้อย่างมีความสขุ ผู้ที่อยู่อย่างพอเพียง คือ ผู้ที่ดำเนินชีวิตอย่างประมาณตน มีเหตุผล รอบคอบ ระมดั ระวงั อย่รู ว่ มกบั ผอู้ ื่นด้วยความรับผิดชอบ ไมเ่ บยี ดเบียนผู้อ่ืน เหน็ คุณคา่ ของทรพั ยากรต่างๆ มีการ วางแผนปอ้ งกันความเสย่ี งและพรอ้ มรับการเปลย่ี นแปลง ตัวชว้ี ัด 5.1. ดำเนนิ ชีวติ อย่างพอประมาณ มีเหตุผล รอบคอบ มีคุณธรรม 5.2 มีภูมิคุม้ กนั ในตัวท่ดี ี ปรบั ตวั เพื่ออยู่ในสงั คมได้อย่างมคี วามสุข

38 ตวั ช้ีวดั และพฤตกิ รรมบง่ ช้ี พฤตกิ รรมบ่งชี้ ตัวชวี้ ดั 5.1.1ใช้ทรัพยส์ ินของตนเอง เช่น เงิน สง่ิ ของ เครื่องใช้ ฯลฯ 5.1 ดำเนนิ ชีวติ อย่าง อยา่ งประหยัดคุ้มคา่ และเกบ็ รักษาดูแลอย่างดรี วมทงั้ การใช้เวลาอยา่ งเหมาะสม พอประมาณ มเี หตุผล 5.1.2 ใชท้ รัพยากรของส่วนรวมอย่างประหยดั คุ้มคา่ และเก็บรกั ษาดูแลอย่างดี รอบคอบ มีคณุ ธรรม 5.1.3 ปฏบิ ัติตนและตัดสนิ ใจดว้ ยความรอบคอบ มเี หตผุ ล 5.1.4ไม่เอาเปรยี บผอู้ ื่นและไมท่ ำใหผ้ ู้อน่ื เดือดร้อน พร้อมให้อภยั 5.2 มีภมู คิ ุ้มกนั ในตวั ท่ดี ี เมื่อผู้อนื่ กระทำผดิ พลาด ปรับตวั เพ่ืออยใู่ น สงั คมได้อย่างมีความสขุ 5.2.1วางแผนการเรยี น การทำงานและการใชช้ วี ติ ประจำวันบนพน้ื ฐานของ ความรู้ ขอ้ มูล ขา่ วสาร 5.2.2 รูเ้ ทา่ ทันการเปล่ยี นแปลงของสังคมและสภาพแวดล้อม ยอมรับและปรับตวั เพือ่ อยู่ร่วมกับผอู้ ่ืนได้อยา่ งมคี วามสุข เกณฑ์การใหค้ ะแนน ระดับประถมศกึ ษา ตัวช้ีวดั ที่ 5.1 ดำเนินชีวติ อยา่ งพอประมาณ มีเหตุผล รอบคอบ มีคุณธรรม พฤติกรรมบ่งชี้ ไม่ผา่ น (0) ผ่าน (1) ดี (2) ดีเยย่ี ม(3) 5.1.1ใชท้ รพั ยส์ ินของ ใชเ้ งินและของ ใช้ทรพั ยส์ ิน ใชท้ รพั ย์สนิ ใชท้ รัพยส์ ิน ตนเอง เช่น เงิน ส่ิงของ ใช้สว่ นตวั ของตนเองและ ของตนเองและ ของตนเองและ เคร่ืองใช้ ฯลฯ อย่าง อยา่ งไม่ ทรัพยากรของ ทรพั ยากรของ ทรัพยากรของ ประหยัด คุ้มค่าและเก็บ ประหยัด ส่วนรวมอย่าง ส่วนรวม สว่ นรวม อย่าง รักษาดูแลอย่างดี รวมท้ังการ ประหยัด อยา่ งประหยดั ประหยดั ใชเ้ วลาอย่างเหมาะสม คุ้มค่า คุ้มคา่ คุ้มคา่ 5.1.2 ใชท้ รัพยากรของ เก็บรักษาดูแล เกบ็ รกั ษาดแู ล เกบ็ รักษาดูแล ส่วนรวมอย่างประหยัด อยา่ งดี อยา่ งดี อย่างดี คุม้ คา่ และเกบ็ รักษาดูแล รอบคอบ รอบคอบ มี รอบคอบ อย่างดี มีเหตผุ ล เหตุผล มเี หตผุ ล 5.1.3 ปฏิบัติตนและ ไมเ่ อาเปรียบ ไม่เอาเปรยี บ ตัดสนิ ใจด้วยความ ผอู้ ่นื และไม่ทำ ผูอ้ ่ืน ไมท่ ำให้ รอบคอบ มเี หตุผล ให้ผู้อน่ื ผู้อ่นื เดอื ดร้อน 5.1.4 ไม่เอาเปรยี บผู้อน่ื เดือดร้อน และใหอ้ ภยั และไม่ทำให้ผอู้ นื่ เดือดร้อน เมือ่ ผอู้ น่ื พรอ้ มให้อภัย เม่ือผู้อน่ื กระทำ กระทำผิดพลาด ผิดพลาด

39 ตัวชว้ี ัดท่ี 5.2 มภี ูมคิ ้มุ กนั ในตัวที่ดี ปรบั ตัวเพื่ออยใู่ นสงั คมไดอ้ ย่างมคี วามสขุ พฤตกิ รรมบ่งช้ี ไมผ่ ่าน (0) ผ่าน (1) ดี (2) ดเี ยย่ี ม(3) 5.2.1 วางแผนการเรียน ไมว่ างแผนการ ใช้ ความรู้ ใช้ ความรู้ ใช้ ความรู้ ขอ้ มูล การทำงานและการใช้ เรียนและ ข้อมูล ขา่ วสาร ข้อมลู ขา่ วสาร ขา่ วสารในการวาง ชีวิตประจำวันบน การใช้ ในการวาง ในการวาง แผนการเรยี น พน้ื ฐานของ ความรู้ ชีวติ ประจำวัน แผนการเรียน แผนการเรียน การทำงานและใช้ ขอ้ มูลขา่ วสาร การทำงานและ การทำงานและ ในชีวิตประจำวนั 5.2.2 รู้เทา่ ทนั การ ใช้ ใน ใชใ้ น ยอมรบั การ เปล่ียนแปลงของสังคม ชวี ิตประจำวัน ชีวติ ประจำวนั เปล่ยี นแปลงของ และสภาพแวดล้อม รบั รู้การ ยอมรับการ ครอบครัว ชมุ ชน ยอมรบั และปรับตวั อยู่ เปลย่ี นแปลง เปลยี่ นแปลงของ สงั คม ร่วมกบั ผู้อน่ื ไดอ้ ย่างมี ของครอบครัว ครอบครวั สภาพแวดลอ้ ม ความสขุ ชุมชนและ ชุมชนสังคม และปรบั ตวั อยู่ สภาพแวดล้อม และ ร่วมกบั ผู้อน่ื สภาพแวดลอ้ ม ไดอ้ ย่างมคี วามสุข ขอ้ ที่ 6 มุ่งมัน่ ในการทำงาน นิยาม มุ่งมั่นในการทำงาน หมายถึง คุณลักษณะทแ่ี สดงออกถงึ ความตง้ั ใจและรับผดิ ชอบใน การทำหนา้ ที่การงาน ด้วยความเพยี รพยายาม อดทน เพ่ือใหง้ านสำเร็จตามเปา้ หมาย ผูท้ ่มี ุ่งม่ันในการทำงาน คือ ผทู้ ่มี ลี กั ษณะซง่ึ แสดงออกถึงความต้ังใจปฏิบตั ิหน้าที่ท่ี ไดร้ ับมอบหมายด้วยความเพียรพยายาม ท่มุ เทกำลังกาย กำลงั ใจ ในการปฏิบตั ิกจิ กรรมต่าง ๆ ใหส้ ำเรจ็ ลลุ ว่ ง ตามเปา้ หมายท่กี ำหนดดว้ ยความรับผิดชอบ และมีความภาคภมู ิใจในผลงาน ตัวชี้วัด 6 .1 ตัง้ ใจและรบั ผดิ ชอบในหน้าที่การงาน 6 .2 ทำงานด้วย ความเพยี รพยายาม และ อดทนเพอ่ื ให้งานสำเรจ็ ตามเปา้ หมาย ตวั ชีว้ ัดและพฤติกรรมบง่ ช้ี พฤตกิ รรมบ่งชี้ ตัวช้ีวัด 6 .1.1 เอาใจใสต่ อ่ การปฏบิ ัตหิ น้าทท่ี ไ่ี ด้รับมอบหมาย 6 .1.2 ต้งั ใจและรบั ผิดชอบในการทำงานให้สำเรจ็ 6 .1 ตง้ั ใจและรบั ผดิ ชอบ 6 .1.3 ปรับปรุงและพฒั นาการทำงานดว้ ยตนเอง ในการปฏิบัตหิ นา้ ท่ี การงาน 6 .2.1 ทุ่มเททำงาน อดทน ไมย่ อ่ ท้อต่อปัญหาและอุปสรรคในการทำงาน 6 .2.2 พยายามแก้ปัญหาและอปุ สรรคในการทำงานให้สำเร็จ 6 .2 ทำงานดว้ ย ความ 6 .2.3 ชื่นชมผลงานดว้ ยความภาคภมู ิใจ เพียร พยายาม และ อดทนเพอื่ ใหง้ านสำเรจ็ ตามเปา้ หมาย

40 เกณฑ์การให้คะแนน ระดบั ประถมศกึ ษา ตวั ชี้วดั ที่ 6 .1 ตั้งใจและรับผดิ ชอบในการปฏบิ ตั ิหนา้ ท่กี ารงาน พฤตกิ รรมบ่งชี้ ไมผ่ ่าน (0) ผา่ น (1) ดี (2) ดีเยี่ยม(3) 6.1.1 เอาใจใส่ ไมต่ ง้ั ใจปฏบิ ัติ ตัง้ ใจและ ต้ังใจและรบั ผดิ ชอบ ต้งั ใจและ ต่อการปฏบิ ตั ิ หน้าทกี่ ารงาน หนา้ ท่ที ไ่ี ดร้ บั รับผดิ ชอบในการ ในการปฏิบตั หิ น้าท่ีที่ รบั ผิดชอบในการ มอบหมาย 6.1.2 ตงั้ ใจและ ปฏบิ ตั ิหนา้ ท่ที ีไ่ ดร้ บั ไดร้ บั มอบหมายให้ ปฏิบตั ิหน้าท่ที ไ่ี ดร้ ับ รบั ผิดชอบใน การทำงานให้ มอบหมายให้สำเร็จ สำเร็จ มกี ารปรบั ปรุง มอบหมายใหส้ ำเร็จ สำเรจ็ 6.1.3 ปรบั ปรงุ มกี ารปรบั ปรุงการ และพฒั นาการ มีการปรบั ปรุงและ และพฒั นาการ ทำงานดว้ ยตนเอง ทำงานใหด้ ีขน้ึ ทำงานใหด้ ีขน้ึ พฒั นาการทำงาน ให้ดขี ้ึนด้วยตนเอง ตวั ชี้วดั ท่ี 6 .2 ทำงานด้วย ความเพียรพยายาม และ อดทนเพื่อให้งานสำเรจ็ ตามเป้าหมาย พฤติกรรมบ่งชี้ ไมผ่ า่ น (0) ผ่าน (1) ดี (2) ดเี ย่ยี ม(3) 6.2.1 ท่มุ เท ไม่ขยัน อดทน ทำงานดว้ ยความ ทำงานด้วยความขยัน ทำงานด้วยความ ทำงานอดทนไม่ ในการทำงาน ขยนั อดทน และ อดทน และพยายาม ขยันอดทน และ ย่อท้อตอ่ ปัญหา พยายามให้งาน ใหง้ านสำเร็จตาม พยายามให้งาน และอุปสรรค สำเรจ็ ตาม เป้าหมาย ไม่ย่อท้อ สำเร็จตาเปา้ หมาย ในการทำงาน เป้าหมาย และชืน่ ตอ่ ปัญหาในการ ภายในเวลาท่ี 6.2.2 พยายาม ชมผลงานด้วย ทำงาน และชน่ื ชม กำหนด ไมย่ ่อท้อ แกป้ ัญหาและ ความภาคภมู ิใจ ผลงานดว้ ยความ ต่อปญั หาแก้ปัญหา อปุ สรรคในการ ภาคภมู ิใจ ทำงานให้สำเรจ็ 6.2.3 ชื่นชม ผลงานด้วยความ ภาคภูมใิ จ

41 ข้อที่ 7 รกั ความเป็นไทย นิยาม รกั ความเปน็ ไทย หมายถึง คุณลักษณะท่ีแสดงออกถึงความภาคภูมใิ จ เห็นคณุ ค่าร่วม อนุรักษ์ สบื ทอดภมู ิปญั ญาไทย ขนบธรรมเนียมประเพณี ศิลปะและวฒั นธรรม ใช้ภาษาไทยในการ สอื่ สารได้อยา่ ถูกตอ้ งและเหมาะสม ผ้ทู ่รี กั ความเป็นไทย คือ ผทู้ ่ีมคี วามภาคภูมิใจ เหน็ คุณค่า ชน่ื ชม มีสว่ นร่วมในการ อนรุ ักษ์ สืบทอด เผยแพรภ่ มู ิปัญญาไทย ขนบธรรมเนียมประเพณี ศลิ ปะและวัฒนธรรมไทย มีความ กตญั ญูกตเวที ใชภ้ าษาไทยในการส่อื สารอย่างถูกตอ้ งเหมาะสม ตัวชว้ี ดั 7.1 ภาคภมู ิใจในขนบธรรมเนยี มประเพณี ศลิ ปะ วัฒนธรรมไทย และมีความกตญั ญูกตเวที 7.2 เห็นคุณค่าและใช้ภาษาไทยในการส่ือสารได้อยา่ งถูกต้องเหมาะสม 7.3 อนรุ กั ษ์ และสบื ทอดภมู ิปญั ญาไทย ตัวชว้ี ดั ตวั ชีว้ ัดและพฤติกรรมบง่ ช้ี 7.1 ภาคภูมิใจใน พฤตกิ รรมบ่งชี้ ขนบธรรมเนียมประเพณี ศิลปะ วฒั นธรรมไทย 7.1.1 แตง่ กายและมีมารยาทงดงามแบบไทย มีสมั มาคารวะ กตญั ญู และมคี วามกตัญญูกตเวที กตเวทีต่อผู้มพี ระคุณ 7.1.2 รว่ มกิจกรรมทีเ่ กี่ยวข้องกับประเพณี ศลิ ปะและวัฒนธรรมไทย 7.2 เห็นคุณค่าและ 7.1.3 ชักชวน แนะนำใหผ้ ูอ้ ่ืนปฏบิ ตั ิตามขนบธรรมเนียมประเพณี ใช้ภาษาไทย ในการสื่อสารได้ ศลิ ปะและวฒั นธรรมไทย อย่างถูกต้องเหมาะสม 7.2.1 ใชภ้ าษาไทยและเลขไทยในการสื่อสารได้อยา่ งถูกต้องเหมาะสม 7.3 อนุรักษ์ สืบทอด 7.2.2 ชกั ชวน แนะนำ ให้ผอู้ นื่ เห็นคุณคา่ ของการใชภ้ าษาไทยท่ีถูกต้อง ภูมปิ ญั ญาไทย 7.3.1 นำภมู ิปญั ญาไทยมาใช้ให้เหมาะสมในวิถชี วี ติ 7.3.2 รว่ มกิจกรรมท่เี กยี่ วข้องกบั ภมู ปิ ญั ญาไทย

42 เกณฑ์การใหค้ ะแนน ระดับประถมศึกษา ตวั ชว้ี ดั ที่ 7.1 ภาคภมู ิใจในขนบธรรมเนียมประเพณี ศลิ ปะ วัฒนธรรมไทย และมคี วามกตญั ญกู ตเวที พฤตกิ รรมบ่งช้ี ไมผ่ า่ น (0) ผ่าน (1) ดี (2) ดเี ยย่ี ม(3) ปฏบิ ัตติ นเป็นผ้มู ี 7.1.1 แตง่ กายและมี ไม่มีสัมมาคารวะ ปฏบิ ัตติ นเปน็ ผมู้ ี ปฏบิ ตั ิตนเปน็ ผ้มู ี มารยาทแบบไทย มสี ัมมาคารวะ มารยาทงดงามแบบไทย ตอ่ ผใู้ หญ่ มารยาทแบบไทย มารยาทแบบไทย กตญั ญูกตเวทตี ่อ ผมู้ ีพระคุณ แตง่ มีสัมมาคารวะ กตัญญู มีสมั มาคารวะ มีสัมมาคารวะ กายแบบไทยดว้ ย ความภาคภมู ใิ จ กตเวทตี ่อผู้มพี ระคุณ กตัญญูกตเวทีต่อผู้ กตัญญูกตเวทตี อ่ เขา้ รว่ มหรือมีสว่ น ร่วมในการจดั 7.1.2 รว่ มกจิ กรรมที่ มพี ระคุณ และแต่ง ผูม้ ีพระคณุ และ กิจกรรมท่ี เกย่ี วขอ้ งกับ เกีย่ วขอ้ งกับประเพณี กายแบบไทย เข้า แตง่ กายแบบไทย ประเพณี ศิลปะ และวัฒนธรรม ศิลปะและวัฒนธรรมไทย รว่ มหรอื มีส่วนร่วม ดว้ ยความ ไทย ชกั ชวน แนะนำเพ่อื นและ 7.1.3 ชักชวน แนะนำ ในกจิ กรรมที่ ภาคภูมิใจ เข้า คนอ่ืนปฏิบัตติ าม ขนบธรรมเนยี ม ใหผ้ ู้อน่ื ปฏบิ ัติตาม เกี่ยวขอ้ งกบั ร่วม หรอื มสี ว่ น ประเพณี ศลิ ปะและ ขนบธรรมเนียมประเพณี ประเพณี ร่วมในกจิ กรรมที่ วฒั นธรรมไทย ศลิ ปะและวัฒนธรรมไทย ศิลปะและ เก่ยี วข้องกับ ดเี ยี่ยม(3) ใช้ภาษาไทย วฒั นธรรมไทย ประเพณี ศลิ ปะ เลขไทยในการ สือ่ สารได้ถูกต้อ และวัฒนธรรม เหมาะสม และ แนะนำ ชกั ชวน ไทย ใหผ้ ้อู ืน่ ใช้ ภาษาไทยที่ ตวั ชวี้ ัดที่ 7.2 เห็นคณุ ค่าและใช้ภาษาไทยในการส่ือสารได้อยา่ งถกู ต้องเหมาะสม ถกู ต้องเปน็ ประจำเป็นแบบ พฤติกรรมบ่งช้ี ไมผ่ ่าน (0) ผ่าน (1) ดี (2) อย่างท่ดี ีดา้ นการ ใช้ภาษาไทย 7.2.1ใชภ้ าษาไทยและ ไมส่ นใจใช้ ใชภ้ าษาไทย ใชภ้ าษาไทย เลขไทยในการส่ือสารได้ ภาษาไทย เลขไทย ในการ เลขไทย ในการ อย่างถูกต้องเหมาะสม อยา่ งถูกต้อง สือ่ สารได้ถูกต้อง สอ่ื สารได้ถูกต้อง 7.2.2 ชักชวน แนะนำ เหมาะสม และ เหมาะสม และ ใหผ้ ูอ้ ื่นเหน็ คุณค่าของ แนะนำให้ผู้อ่นื ใช้ แนะนำ ชักชวน การใชภ้ าษาไทยท่ี ภาษาไทย ใหผ้ อู้ ่นื ใช้ ถกู ต้อง ท่ีถูกต้อง ภาษาไทยที่ ถกู ต้อง

43 ตวั ชวี้ ัดที่ 7.3 อนุรักษ์ สืบทอด ภูมิปญั ญาไทย พฤติกรรมบ่งช้ี ไม่ผา่ น (0) ผา่ น (1) ดี (2) ดเี ยี่ยม(3) 7.3.1 นำภูมิปัญญาไทย ไม่สนใจภมู ิ สืบค้นภูมิปญั ญา สบื คน้ ภมู ปิ ญั ญา สบื คน้ มาใช้ใหเ้ หมาะสมในวถิ ี ปัญญาไทย ชวี ิต ไทยทีใ่ ช้ในทอ้ งถิน่ ไทยที่มีอยใู่ น ภูมปิ ญั ญาไทย 7.3.2 รว่ มกิจกรรมท่ี เก่ยี วข้องกับภูมปิ ัญญา เขา้ รว่ ม และ ทอ้ งถน่ิ เข้าร่วม เข้ารว่ มและ ไทย 7.3.3 แนะนำ ชักชวนคนใน และชักชวนคนใน ชกั ชวนคน มสี ว่ นร่วม ในการ สบื ทอดภูมิปัญญาไทย ครอบครวั หรือ ครอบครวั เพ่ือน ในครอบครัว เพ่ือนเข้ารว่ ม และผอู้ นื่ เข้าร่วม เพ่อื น และผอู้ ื่น กิจกรรมท่เี กี่ยวข้อง กจิ กรรมทเี่ กี่ยวข้อง เข้าร่วมกจิ กรรมที่ กับภมู ปิ ัญญาไทย กับภมู ปิ ัญญาไทย เกย่ี วขอ้ งกบั ภูมิ ปญั ญาไทย ใช้ และแนะนำ ใหเ้ พ่ือนใช้ ข้อที่ 8 มจี ิตสาธารณะ นิยาม มีจิตสาธารณะ หมายถึง คุณลักษณะที่แสดงออกถึงการมสี ว่ นรว่ มในกจิ กรรมหรือสถานการณท์ ่ี กอ่ ใหเ้ กิดประโยชนแ์ กผ่ อู้ ื่น ชมุ ชน และสงั คม ด้วยความเต็มใจ กระตือรือรน้ โดยไม่หวังผลตอบแทน ผทู้ ่ีมีจิตสาธารณะ คอื ผู้ทม่ี ีลักษณะเป็นผู้ให้และช่วยเหลือผูอ้ ืน่ แบง่ ปนั ความสุขสว่ นตนเพอื่ ทำ ประโยชน์แกส่ ่วนรวม เข้าใจ เห็นใจผู้ทีม่ ีความเดือดร้อน อาสาชว่ ยเหลอื สังคม อนุรักษส์ ิ่งแวดล้อม ดว้ ย แรงกาย สติปัญญา ลงมือปฏิบัติเพอ่ื แก้ปญั หา หรือร่วมสร้างสรรค์ส่ิงท่ีดีงามให้เกิดในชมุ ชน โดยไมห่ วัง ส่ิงตอบแทน ตวั ชี้วดั 8.1 ช่วยเหลือผ้อู ื่นดว้ ยความเต็มใจโดยไมห่ วังผลตอบแทน 8.2 เข้าร่วมกจิ กรรมท่ีเป็นประโยชน์ตอ่ โรงเรียน ชุมชน และสังคม ตวั ชี้วัดและพฤตกิ รรมบง่ ช้ี ตวั ชี้วัด พฤติกรรมบ่งชี้ 8.1 ชว่ ยเหลอื ผู้อนื่ ดว้ ย 8.1.1 ช่วยพอ่ แม่ ผปู้ กครอง ครูทำงานด้วยความเตม็ ใจ ความเต็มใจโดย ไมห่ วัง 8.1.2 อาสาทำงานให้ผูอ้ น่ื ด้วยกำลังกาย กำลังใจ และกำลังสตปิ ญั ญาโดยไม่ ผลตอบแทน หวงั ผลตอบแทน 8.1.3 แบ่งปนั ส่งิ ของ ทรัพย์สนิ และอน่ื ๆ และช่วยแกป้ ัญหาหรือ สรา้ งความสุขให้กับผู้อื่น 8.2 เขา้ ร่วมกจิ กรรมที่เปน็ 8.2.1 ดูแล รกั ษาสาธารณสมบัตแิ ละส่ิงแวดล้อมด้วยความเตม็ ใจ ประโยชน์ต่อโรงเรียน 8.2.2 เขา้ ร่วมกิจกรรมท่เี ป็นประโยชน์ต่อโรงเรียน ชมุ ชนและสงั คม ชุมชน และสังคม 8.2.3 เข้ารว่ มกิจกรรมเพ่ือแก้ปญั หาหรอื ร่วมสรา้ งส่ิงที่ดงี ามของส่วนรวม ตาม สถานการณ์ท่ีเกดิ ข้ึนดว้ ยความกระตือรือรน้

44 เกณฑก์ ารใหค้ ะแนน ระดับประถมศกึ ษา ตัวช้ีวัดท่ี 8.1 ช่วยเหลือผู้อ่ืนดว้ ยความเต็มใจและพึงพอใจ พฤตกิ รรมบ่งช้ี ไมผ่ า่ น (0) ผ่าน (1) ดี (2) ดเี ยี่ยม(3) 8.1.1 ชว่ ยพ่อแม่ ไม่ชว่ ยเหลือ ช่วยพอ่ แม่ ช่วยพอ่ แมผ่ ปู้ กครอง ชว่ ยพอ่ แม่ และครทู ำงาน ผปู้ กครองและครู ผู้ปกครองและครู พ่อแม่ ผู้ปกครอง ผู้ปกครองและครู อาสาทำงาน ชว่ ย ทำงาน อาสา คิด ชว่ ยทำ และ ทำงาน ช่วยคดิ ทำงานดว้ ย และครู ทำงาน อาสา แบ่งปนั ส่ิงของให้ ชว่ ยทำ แบ่งปนั ผู้อนื่ ด้วยความ สิ่งของ ความเตม็ ใจ ทำงานและแบง่ ปนั เตม็ ใจ และชว่ ยแกป้ ญั หา 8.1.2 อาสาทำงานให้ ส่งิ ของใหผ้ ู้อืน่ ด้วย ใหผ้ ู้อ่นื ดว้ ยความ เตม็ ใจ ผอู้ ื่นด้วยกำลังกาย ความ กำลังใจ และกำลัง เต็มใจ สตปิ ญั ญา ด้วยความ สมัครใจ 8.1.3 แบง่ ปนั สงิ่ ของ ทรัพย์สินและอืน่ ๆ และชว่ ยแกป้ ัญหา หรอื สร้างความสุข ให้กับผ้อู ่ืน ตัวช้ีวดั ท่ี 8.2 เข้ารว่ มกิจกรรมท่เี ปน็ ประโยชน์ต่อโรงเรยี น ชุมชน และสังคม พฤติกรรมบ่งชี้ ไมผ่ า่ น (0) ผ่าน (1) ดี (2) ดเี ย่ียม(3) 8.2.1 ดแู ล รักษา ไมส่ นใจดแู ล ดูแล รักษาทรัพย์ ดูแล รักษาทรัพย์ ดูแล รักษาทรัพย์ สาธารณสมบัติ และ รกั ษา สมบตั ิ ส่ิงแวดล้อม สมบตั ิ สิ่งแวดลอ้ ม สมบตั ิ สิง่ แวดลอ้ ม สิ่งแวดลอ้ ม ทรัพยส์ มบัตแิ ละ ของห้องเรียน ของห้องเรียน ของห้องเรยี น ด้วยความเต็มใจ สิ่งแวดล้อมของ โรงเรยี น และเข้า โรงเรียน ชุมชน โรงเรยี น ชุมชน 8.2.2 เข้ารว่ ม โรงเรียน รว่ มกจิ กรรมเพ่อื และเข้าร่วม และเข้าร่วม กิจกรรมท่เี ป็น สังคมและ กจิ กรรมเพือ่ กจิ กรรมเพอ่ื ประโยชน์ต่อ สาธารณประโยชน์ สังคมและ สังคมและ โรงเรียน ชมุ ชนและ ของโรงเรยี นดว้ ย สาธารณประโยชน์ สาธารณประโยชน์ สังคม ความเต็มใจ ของโรงเรยี นด้วย ของโรงเรยี นและ 8.2.3 เขา้ รว่ ม ความเต็มใจ ชุมชนด้วย กิจกรรม เพื่อ ความเตม็ ใจ แก้ปัญหา หรอื รว่ ม สรา้ งสงิ่ ท่ีดงี ามของ สว่ นรวม ตาม สถานการณ์ทเี่ กดิ ขึน้ ดว้ ยความ กระตือรือร้น

45 ภาคผนวก ข ตวั อย่างเอกสารต่างๆ เก่ยี วกับการวัดและประเมนิ ผล

46 ปพ.1 ระเบียนแสดงผลการเรียน (Transcript) เป็นเอกสารบันทึกผลการเรยี นตามสาระการเรยี นร้กู ลมุ่ วิชาและกจิ กรรมตา่ ง ๆ ใชเ้ ป็น หลกั ฐานในการสมคั รเข้าศึกษาตอ่ สมคั รทำงาน