Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore บันทึกหลังแผน หน่วยที่ 2 ความร้อนและทฤษฎีจลน์

บันทึกหลังแผน หน่วยที่ 2 ความร้อนและทฤษฎีจลน์

Published by khaimook spp, 2022-08-08 15:23:43

Description: บันทึกหลังแผน หน่วยที่ 2 ความร้อนและทฤษฎีจลน์

Search

Read the Text Version

แผนการจดั การเรยี นรทู้ ี่ 14 กลุ่มสาระการเรยี นรูว้ ิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี รหัสวิชา ว30205 รายวิชา ฟิสกิ ส์ 5 หนว่ ยการเรยี นรู้ท่ี 2 ช่อื หน่วยการเรียนรู้ ความรอ้ นและทฤษฎจี ลน์ของแกส๊ เรอื่ ง ความรอ้ น วันท…ี่ …….เดือน……………พ.ศ……………… เวลา……………………น. จานวน 2 ชวั่ โมง ช้นั มัธยมศกึ ษาปีที่ 6 ผสู้ อน นางสาวไข่มุก สพุ ร สาระฟสิ ิกส์ 4. เข้าใจความสัมพันธ์ของความร้อนกับการเปลี่ยนอุณหภูมิและสถานะของสสาร สภาพยืดหยุ่นของ วัสดุและมอดุลัสของยัง ความดันในของไหล แรงพยุง และหลักของอาร์คิมีดิส ความตึงผิวและแรงหนืดของ ของเหลว ของไหลอุดมคติ และสมการแบร์นูลลี กฎของแก๊ส ทฤษฎีจลนข์ องแกส๊ อุดมคติและพลังงานในระบบ ทฤษฎีอะตอมของโบร์ ปรากฏการณ์โฟโตอิเล็กทริก ทวิภาวะของคลื่นและอนุภาค กัมมันตภาพรังสี แรงนวิ เคลียร์ ปฏกิ ิริยานวิ เคลียร์ พลงั งานนวิ เคลียร์ ฟิสิกส์อนุภาค รวมท้ังนาความร้ไู ปใชป้ ระโยชน์ ผลการเรียนรู้ อธิบายและคานวณความร้อนที่ทาใหส้ สารเปลี่ยนอุณหภมู ิ ความร้อนที่ทาให้สสารเปล่ียนสถานะและ ความร้อนทีเ่ กิดจากการถ่ายโอนตามกฎการอนรุ ักษ์พลงั งาน จุดประสงคก์ ารเรยี นรู้ 1. นักเรยี นอธิบายความหมายของระดบั อุณหภูมิหรอื สเกลอณุ หภมู ิได้ (K) 2. นักเรียนอธิบายผลหลักการเปลี่ยนอณุ หภูมแิ ละการเปลี่ยนสถานะของสสารได้ (K) 3. นักเรียนสืบค้นความหมายของอุณหภมู ิ ระดับอุณหภูมิ หรือสเกลอุณหภูมิได้ และหลักการเปลีย่ น อณุ หภูมิและการเปล่ียนสถานะของสสารได้ (P) 4. ความใฝเ่ รยี นรแู้ ละอยากร้อู ยากเหน็ (A) สาระการเรยี นรู้ เมื่อสสารได้รับหรือคายความร้อน สสารอาจมีอุณหภูมิเปลี่ยนไป และสสารอาจเปลี่ยนสถานะโดยไม่ เปลี่ยนอุณหภูมิ ซึ่งปริมาณความร้อนที่ทาให้สสารเปลี่ยนอุณหภูมิ คานวณได้จากสมการ Q=mcΔT ส่วน ปริมาณของพลังงานความร้อนท่ที าให้สสารเปลี่ยนสถานะคานวณไดจ้ ากสมการ Q=mL

สาระสาคัญ ความร้อน คอื พลงั งานรปู หน่งึ ซึ่งจะถา่ ยเทจากวตั ถทุ ีม่ อี ณุ หภมู ิสงู ไปสวู่ ัตถุทมี่ ีอณุ หภมู ติ า่ กว่า พลังงาน 1 แคลอรี คือ พลังงานความร้อนที่ทาให้น้าที่มีมวล 1 กรัม มีอุณหภูมิเพิ่มขึ้น 1 องศาเชล เซียส (ในช่วง 14.5 ºC ถึง 15.5 ºC) พลงั งาน 1 บีทยี ู คอื พลังงานความรอ้ นท่ีทาให้นา้ มวล 1 ปอนด์ มีอุณหภูมเิ พม่ิ ข้นึ 1 องศาฟาเรนไฮต์ (ในช่วง 58.1 ºF ถึง 59.1 ºF) หน่วยของพลังงานความร้อน (thermal energy) ทีน่ ยิ มใช้ มดี งั นี้ 1) จลู (Joule, J) 2) แคลอรี (Calorie, cal) 3) บที ียู (British Thermal Unit, BTU) (ข้อสงั เกต: ในระบบ S1 ของพลังงานความร้อน มหี นว่ ยเปน็ กูล (J) การเปล่ยี นหน่วยของพลงั งานความร้อน 1 cal = 4.186 J 1 BTU = 252 cal = 1,055 J อุณหภูมิ (temperature) คือ ระดับของความร้อน หรือกล่าวอีกอย่างหนึ่งว่า ค่าอย่างหนึ่งท่ี เกีย่ วข้องกับพลงั งานจลนข์ องโมเลกุลของระบบ เทอร์มอมเิ ตอร์ คือ เครอื่ งมอื ที่ใช้สาหรับวัดอณุ หภูมิ แบง่ เปน็ 4 ชนิด คือ 1) แบบเซลเชียส แบง่ สเกลไว้ 100 ช่อง มีจดุ เยือกแข็ง 0 ºC จดุ เดอื ด 100 ºC 2) แบบฟาเรนไฮต์ แบง่ สเกลไว้ 180 ชอ่ ง มีจดุ เยือกแขง็ 32 ºF จุดเดือด 212 \" 3) แบบโรเมอร์ แบง่ สเกลไว้ 80 ช่อง มีจดุ เยอื กแข็ง 0 'R จุดเดือด 80 R 4) แบบเคลวิน แบง่ สเกลไว้ 100 ช่อง มีจดุ เยือกแข็ง 273.16 K จุดเดือด 373.16 K ความจุความร้อน (heat capacity) หมายถึง ปริมาณพลังงานความร้อนที่ทาให้วัตถุมีอุณหภูมิ เปล่ียนไป 1 หนว่ ยองศา นิยาม C = Δ������ ΔT โดยท่ี C = ความจคุ วามรอ้ น (J/K) ΔQ = พลังงานความรอ้ น (J) ΔT = อุณหภมู ิท่เี ปลีย่ นแปลง (K)

ความรอ้ นจาเพาะ (specific heat) หมายถงึ ปรมิ าณพลงั งานความรอ้ นทีจ่ ะทาให้วัตถุมวล 1 หน่วย มอี ณุ หภมู เิ ปลี่ยนไป 1 หน่วยองศา สูตร Q = mcΔT โดยท่ี c = ความร้อนจาเพาะ (J/Kg.K) m = มวลของวัตถุ (kg) สถานะของสาร มี 3 สถานะ ดงั นี้ 1) ของแข็ง (solid) คือ สารที่มีแรงดึงดูดระหว่างโมเลกุลมาก ทาให้โมเลกุลอยู่ใกล้กันเมื่อมีแรงมา กระทารปู ทรงจะไม่เปล่ียนแปลงมาก เช่น เหลก็ , ทองแดง, กอ้ นหนิ 2) ของเหลว (liquid) คอื สารท่ีมีแรงดงึ ดูดระหวา่ งโมเลกลุ น้อย โมเลกุลจึงเคลื่อนท่ไี ปมาได้บ้าง ทาให้ รูปทรงของของเหลวเปล่ียนแปลงไปตามภาชนะทบี่ รรจุ เชน่ นา้ , นา้ มัน, ปรอท 3) แก๊ส (gas) คือ สารที่มีแรงดึงดูดระหว่างโมเลกุลน้อยมาก จนโมเลกุลของแก๊สอยู่ห่างกันมาก และ เคลอ่ื นท่ฟี ุง้ กระจายเตม็ ภาชนะทบี่ รรจุ เช่น อากาศ, ออกซิเจน ความร้อนแฝง หมายถึง ค่าพลังงานความร้อนที่ทาให้วัตถุทั้งก้อนเปลี่ยนสถานะ โดยอุณหภูมิไม่ เปลยี่ น สูตร Q = mL โดยที่ L = ความร้อนแฝง (J/kg) ข้อสังเกต : ความรอ้ นแฝงของการหลอมเหลวของนา้ = 333 KJ /kg = 333 J/g ความรอ้ นแฝงของการกลายเป็นไอของนา้ = 2,256 kJ/kg = 2,256 J/g ความร้อนแฝงจาเพาะ หมายถึง ค่าพลังงานความร้อนที่ทาให้วัตถุมวล 1 หน่วย เปลี่ยนสถานะโดย อณุ หภมู ไิ มเ่ ปล่ียน การถ่ายโอนความร้อน คือ การส่งผ่านความร้อนจากวัตถุที่มีอุณหภูมิสูงกว่าไปสู่อีกวัตถุหนึ่งที่มี อณุ หภมู ิตา่ กว่า การถ่ายโอนความร้อนมี 3 รปู แบบ ดังน้ี 1) การนาความรอ้ น 2) การพาความร้อน 3) การแผร่ ังสคี วามรอ้ น การนาความร้อน คือ การถ่ายโอนพลังงานความร้อนผา่ นตัวนาความร้อน โดยโมเลกุลของตัวนาไมไ่ ด้ เคล่อื นตามไป โดยมากเปน็ โลหะประเภทตา่ ง ๆ ทาหน้าที่เป็นตัวนาความร้อน เช่น การนาความร้อนของโลหะ ท่ีถกู เผาไฟที่ปลายขา้ งหน่งึ ส่งผ่านความร้อนไปยังปลายอีกข้างหนึ่ง การพาความร้อน คอื กระบวนการถ่ายโอนพลังงานความร้อน โดยอาศยั การเคลื่อนท่ีของโมเลกุลของ สารเป็นพาหะพาความร้อนจากที่หนึ่งไปยังอีกที่หนึ่ง เช่น การพาความร้อนของน้าจากก้นภาชนะ ไปยังผิว ดา้ นบนทีเ่ ย็นกวา่ การแผ่รังสีความร้อน คือ การส่งพลังงานความร้อนโดยไม่ต้องอาศัยตัวกลาง เช่น การเคลื่อนที่ของ คล่ืนแมเ่ หลก็ ไฟฟา้

สมรรถนะสาคัญ ความสามารถในการคดิ - ทักษะการคิดวิเคราะห์ - ทกั ษะการคดิ สังเคราะห์ คณุ ลักษณะอันพึงประสงค์ (จิตวทิ ยาศาสตร์) ความใฝ่เรียนรู้และมีความอยากรู้อยากเห็น นักเรียนแสดงออกถึงความตั้งใจความต้องการที่จะรู้และ เสาะแสวงหาความร้เู กยี่ วกบั สงิ่ ต่างๆ ทีสนใจหรอื ต้องการคน้ พบสิง่ ใหม่ แสดงออกไดโ้ ดยการถามคาถาม หรือมี ความสงสัยในสิ่งที่สนใจอยากรู้ มีความกระตือรือร้นในการเสาะแสวงหาข้อมูลที่เกี่ยวข้องกับสิ่งที่สนใจ เพียร พยายามในการเรียนและการทากจิ กรรมต่างๆ แสวงหาความร้จู ากแหลง่ เรียนร้ตู ่างๆ อยเู่ สมอ โดยการเลือกใช้ สื่ออย่างเหมาะสม บันทึกความรู้ วิเคราะห์ สรุปเป็นองค์ความรู้ แลกเปลี่ยนเรียนรู้ ถ่ายทอด เผยแพร่ และ นาไปใช้ในชวี ติ ประจาวนั ได้ ช้ินงาน/ภาระงาน ใบงานที่ 2.1 ความรอ้ น กิจกรรมการเรียนรู้ วิธีสอนใชร้ ปู แบบวงจรการเรียนรู้ 5 ขนั้ ตอน (5E Learning Cycle model) ข้ันท่ี 1 ขนั้ สร้างความสนใจ ( 15 นาที ) 1. ครูทบทวนบทเรียนทผี่ า่ นมา เรื่อง ไฟฟ้าและแม่เหลก็ ไฟฟา้ 2. ครูต้ังคาถามเพือ่ นาเข้าสู่บทเรียนใหม่ เร่อื ง ความร้อนและทฤษฎจี ลนข์ องแกส๊ ดังน้ี - บอลลนู สามารถลอยข้นึ ไปบนทอ้ งฟา้ ไดเ้ กดิ จากสง่ิ ใดและมหี ลกั การอย่างไร (แนวคาตอบ ครูบอลลูนสามารถลอยขึ้นได้โดยอาศัยหลักการของแก๊สตามกฎของชาร์ล โดยท่ี อากาศร้อนเกิดจากการเผาไหม้ของแก๊สโพรเพนจากบรเิ วณฐานบอลลูน ส่งผลให้อากาศภายในบอลลูนร้อนข้ึน โมเลกุลของอากาศเกิดการขยายตัว ความหนาแน่นของอากาศภายในน้อยกว่าภายนอก และเนื่องจากภายใต้ ความดันบรรยากาศที่เท่ากันจึงเกิดแรงลอยตัว บอลลูนจึงลอยขึ้นด้านบนได้) โดยเมื่อนักเรียนศึกษาเรียนรูจ้ น จบหน่วยการเรียนรนู้ ีแ้ ล้ว นกั เรยี นจะต้องตอบคาถามและให้เหตุผลของขอ้ คาถามนไี้ ด้ 3. ครตู ้ังคาถามเพื่อนาเข้าสู่การทากิจกรรม เรือ่ ง ความร้อน ดังนี้ - สง่ิ ใดทีม่ ีผลตอ่ การเปล่ียนสถานะของสสาร (แนวคาตอบ ความรอ้ น ซ่งึ เปน็ ปจั จยั สาคญั อยา่ งหนง่ึ ทีม่ ีผลโดยตรงต่อสถานะของสสาร)

ขั้นท่ี 2 ขน้ั สารวจและคน้ หา ( 45 นาที ) 4. ให้นักเรียนแบ่งกลมุ่ กลุม่ ละ 4 - 5 คน และให้ตัวแทนกลมุ่ มารับใบงาน 5. นักเรียนแตล่ ะกลุม่ ศกึ ษากจิ กรรมจากใบงานที่ 2.1 ความร้อน 6. ครูชแี้ จงจดุ ประสงคแ์ ละวิธกี ารปฏิบัติกจิ กรรมให้นกั เรียนทราบ 7. นกั เรียนลงมอื ปฏิบัตกิ จิ กรรม และรายงานผล ขั้นที่ 3 ข้ันสร้างคาอธิบายและลงข้อสรุป ( 30 นาที ) 8. นักเรียนแตล่ ะกลมุ่ ส่งตัวแทนออกมานาเสนอผลการปฏบิ ัติกจิ กรรมหน้าชั้น 9. ครใู ห้นักเรียนร่วมกันอภปิ รายเพือ่ นาไปสู่การสรปุ โดยใชค้ าถามต่อไปนี้ - จากการทากิจกรรม นกั เรยี นทราบหรอื ไมว่ ่าความรอ้ นมีความหมายวา่ อย่างไร (แนวคาตอบ ความร้อนเป็นพลังงานรปู หนงึ่ ท่ีสะสมอยใู่ นรูปพลังงานจลน์ของโมเลกุลของวตั ถุ) - หนว่ ยทใ่ี ชใ้ นการวัดปริมาณความร้อนของสาร นอกจากหนว่ ยจลู แลว้ ยังมีหน่วยใดอีกบ้างและ มีค่าเทา่ ใดเม่ือเทียบกบั หน่วยจลู (แนวคาตอบ หนว่ ยแคลอรี โดยท่ี 1 แคลอรี มคี า่ เท่ากับ 4.2 จลู และหนว่ ยบที ียู โดยท่ี 1 บีทียู มคี า่ เท่ากับ 252 แคลอรี หรือ 1,055 จูล) 10. ครูและนักเรียนร่วมกันอภิปรายเกย่ี วกับ เรอ่ื ง ความรอ้ น ดังนี้ ความร้อน คือ พลังงานรูปหน่ึง ซึ่งจะถา่ ยเทจากวัตถุทมี่ ีอณุ หภมู สิ งู ไปสวู่ ัตถทุ ม่ี อี ณุ หภมู ติ ่ากว่า พลังงาน 1 แคลอรี คือ พลังงานความร้อนที่ทาให้น้าที่มีมวล 1 กรัม มีอุณหภูมิเพิ่มขึ้น 1 องศาเชล เซยี ส (ในชว่ ง 14.5 ºC ถึง 15.5 ºC) พลังงาน 1 บที ยี ู คอื พลังงานความร้อนท่ีทาใหน้ ้ามวล 1 ปอนด์ มีอณุ หภูมเิ พ่ิมขนึ้ 1 องศาฟาเรนไฮต์ (ในช่วง 58.1 ºF ถึง 59.1 ºF) หน่วยของพลังงานความร้อน (thermal energy) ทีน่ ยิ มใช้ มดี ังนี้ 1) จลู (Joule, J) 2) แคลอรี (Calorie, cal) 3) บที ียู (British Thermal Unit, BTU) (ข้อสงั เกต: ในระบบ S1 ของพลังงานความรอ้ น มีหนว่ ยเปน็ กลู (J) การเปลี่ยนหน่วยของพลังงานความร้อน 1 cal = 4.186 J 1 BTU = 252 cal = 1,055 J อุณหภูมิ (temperature) คือ ระดับของความร้อน หรือกล่าวอีกอย่างหนึ่งว่า ค่าอย่างหนึ่งท่ี เกยี่ วขอ้ งกับพลังงานจลน์ของโมเลกุลของระบบ ความจุความร้อน (heat capacity) หมายถึง ปริมาณพลังงานความร้อนที่ทาให้วัตถุมีอุณหภูมิ เปลย่ี นไป 1 หน่วยองศา

นิยาม C = Δ������ ΔT โดยที่ C = ความจคุ วามรอ้ น (J/K) ΔQ = พลงั งานความร้อน (J) ΔT = อณุ หภูมิทเ่ี ปล่ยี นแปลง (K) ความรอ้ นจาเพาะ (specific heat) หมายถงึ ปรมิ าณพลงั งานความร้อนท่จี ะทาใหว้ ัตถุมวล 1 หน่วย มีอุณหภูมเิ ปล่ียนไป 1 หน่วยองศา สตู ร Q = mcΔT โดยที่ c = ความร้อนจาเพาะ (J/Kg.K) m = มวลของวัตถุ (kg) สถานะของสาร มี 3 สถานะ ดังน้ี 1) ของแข็ง (solid) คือ สารที่มีแรงดึงดูดระหว่างโมเลกุลมาก ทาให้โมเลกุลอยู่ใกล้กันเมื่อมีแรงมา กระทารูปทรงจะไมเ่ ปล่ียนแปลงมาก เชน่ เหล็ก, ทองแดง, ก้อนหนิ 2) ของเหลว (liquid) คอื สารทีม่ แี รงดงึ ดดู ระหวา่ งโมเลกลุ นอ้ ย โมเลกุลจงึ เคลอ่ื นทไี่ ปมาได้บ้าง ทาให้ รปู ทรงของของเหลวเปลย่ี นแปลงไปตามภาชนะทบ่ี รรจุ เชน่ นา้ , นา้ มัน, ปรอท 3) แก๊ส (gas) คือ สารที่มีแรงดึงดูดระหว่างโมเลกุลน้อยมาก จนโมเลกุลของแก๊สอยู่ห่างกันมาก และ เคลอื่ นที่ฟุง้ กระจายเต็มภาชนะทีบ่ รรจุ เชน่ อากาศ, ออกซิเจน ความร้อนแฝง หมายถึง ค่าพลังงานความร้อนที่ทาให้วัตถุทั้งก้อนเปลี่ยนสถานะ โดยอุณหภูมิไม่ เปลี่ยน สตู ร Q = mL โดยที่ L = ความรอ้ นแฝง (J/kg) ข้อสังเกต : ความร้อนแฝงของการหลอมเหลวของน้า = 333 KJ /kg = 333 J/g ความร้อนแฝงของการกลายเป็นไอของนา้ = 2,256 kJ/kg = 2,256 J/g ความร้อนแฝงจาเพาะ หมายถึง ค่าพลังงานความร้อนที่ทาให้วัตถุมวล 1 หน่วย เปลี่ยนสถานะโดย อณุ หภูมไิ ม่เปล่ยี น การถ่ายโอนความร้อน คือ การส่งผ่านความร้อนจากวัตถุที่มีอุณหภูมิสูงกว่าไปสู่อีกวัตถุหนึ่งที่มี อณุ หภูมิตา่ กว่า การถา่ ยโอนความรอ้ นมี 3 รูปแบบ ดงั น้ี 1) การนาความร้อน 2) การพาความร้อน 3) การแผร่ ังสคี วามรอ้ น การนาความร้อน คือ การถ่ายโอนพลังงานความรอ้ นผ่านตวั นาความร้อน โดยโมเลกุลของตวั นาไม่ได้ เคลื่อนตามไป โดยมากเปน็ โลหะประเภทตา่ ง ๆ ทาหนา้ ท่ีเปน็ ตัวนาความร้อน เชน่ การนาความร้อนของโลหะ ทถ่ี ูกเผาไฟทปี่ ลายขา้ งหนง่ึ สง่ ผ่านความร้อนไปยงั ปลายอีกข้างหน่ึง

การพาความร้อน คอื กระบวนการถ่ายโอนพลังงานความร้อน โดยอาศัยการเคล่ือนท่ีของโมเลกุลของ สารเป็นพาหะพาความร้อนจากที่หนึ่งไปยังอีกที่หนึ่ง เช่น การพาความร้อนของน้าจากก้นภาชนะ ไปยังผิว ดา้ นบนทีเ่ ยน็ กว่า การแผ่รังสีความร้อน คือ การส่งพลังงานความร้อนโดยไม่ต้องอาศัยตัวกลาง เช่น การเคลื่อนที่ของ คลนื่ แม่เหลก็ ไฟฟ้า ข้นั ท่ี 4 ข้ันขยายความรู้ ( 15 นาที ) 11. ครเู ปิดวดิ ีทัศน์การเรียนรู้ เร่อื ง การถา่ ยโอนความร้อน เพื่อยกตวั อย่างการถา่ ยโอนความร้อนท่ีพบได้ ในชีวิตประจาวันให้นักเรียนได้เข้าใจมากขึ้น เป็นการเชื่อมโยงความรู้ที่เรียนเข้าสู่การดารงชีวิตใน ชีวิตประจาวัน ข้ันที่ 5 ประเมนิ ผล ( 15 นาที ) 12. ครูสังเกตและประเมินพฤติกรรมของนักเรียนในขณะที่ให้นักเรียนปฏิบัติกิจกรรมและ การนาเสนอผลการปฏิบัติกจิ กรรม วสั ด/ุ อปุ กรณ์ สื่อและแหล่งเรยี นรู้ 1. หนงั สือเรยี นฟิสิกส์ ม.6 เล่ม 1 สังกัด อจท. 2. หนงั สอื เรยี นฟสิ กิ ส์ ม.6 เล่ม 5 สงั กัด สสวท. 3. PowerPoint เรอื่ ง ความรอ้ นและทฤษฎีจลน์ของแก๊ส 4. ห้องเรียน 5. หอ้ งสมดุ 6. แหลง่ ข้อมูลสารสนเทศ 7. ใบงานท่ี 2.1 ความร้อน

การวดั ผลและประเมินผล จดุ ประสงคก์ ารเรยี นรู้ วิธวี ัด เคร่ืองมอื เกณฑก์ ารประเมิน 1. นักเรียนอธิบายความหมาย ตรวจใบงาน ใบงานที่ 2.1 ความรอ้ น ได้ระดับคุณภาพดี ของระดับอุณหภูมิหรือสเกล จึงผ่านเกณฑ์ อณุ หภมู ิได้ (K) 2. นักเรียนอธิบายผลหลักการ เปลี่ยนอุณหภูมิและการเปลี่ยน สถานะของสสารได้ (K) ความใฝ่เรียนรู้และอยากรู้อยาก เห็น (A) 3. นักเรียนสืบค้นความหมาย สังเกตและประเมินการ แ บ บ ป ร ะ เ ม ิ น ก า ร ได้ระดับคุณภาพดี ของอุณหภูมิ ระดับอุณหภูมิ ปฏบิ ตั กิ จิ กรรม ปฏิบัติกิจกรรมการ จึงผา่ นเกณฑ์ หรือสเกลอุณหภูมิได้ และ สบื คน้ หลักการเปลี่ยนอุณหภูมิและ การเปลี่ยนสถานะของสสารได้ (P) 4. มคี วามอยากรู้อยากเหน็ (A) สังเกตและประเมินการ แบบประเมินการความ ได้ระดับคุณภาพดี ความอยากรู้อยากเหน็ อยากรอู้ ยากเหน็ จงึ ผา่ นเกณฑ์ 5. คุณลักษณะด้านความใฝ่ สังเกตพฤติกรรม แ บ บ ป ร ะ เ ม ิ น ค ุ ณ - ได้ระดับคุณภาพดี เรยี นรู้ ลักษณะอันพึงประสงค์ จงึ ผา่ นเกณฑ์ ดา้ นใฝเ่ รียนรู้ ความคิดเห็นของผ้บู รหิ ารสถานศกึ ษา ............................................................................................................................. ................................................. .................................................................................. ............................................................................................ ............................................................................................................................. ................................................. ............................................................................................................................. ................................................. .............................................................................................................................................................................. ............................................................................................................................. ................................................. ............................................................................................................................. ................................................. ..............................................................................................................................................................................

ลงชอ่ื ................................................................ผบู้ รหิ ารสถานศึกษา (…………………….………….……….………………………….) ........./........................./.........

บนั ทกึ หลังการจัดกิจกรรมการเรยี นรู้ ผลการจดั กจิ กรรม ตารางท่ี 1 ผลการประเมนิ ด้านความรู้ (K) ลาดบั ที่ ระดับชน้ั จานวน ดมี าก (4) สรุปผลการประเมิน ปรบั ปรุง (1) รวม นกั เรยี น 90% ดี (3) พอใช้ (2) - 1 ม.6/1 85% 10% - - 100% 2 ม.6/3 30 80% 15% - - 100% 3 ม.6/4 32 80% 20% - - 100% 4 ม.6/5 27 รวม 20% - 100% 29 100 ตารางท่ี 2 ผลการประเมินด้านทกั ษะกระบวนการทางวิทยาศาสตร์ (P) ลาดบั ที่ ระดบั ชั้น จานวน สรุปผลการประเมิน พอใช้ (1 – 4) รวม นักเรียน ดมี าก (9 – 12) ดี (5 – 8) - 1 ม.6/1 - 100% 2 ม.6/3 30 80% 20% - 100% 3 ม.6/4 32 90% 10% - 100% 4 ม.6/5 27 85% 15% 100% 29 80% 20% 100 รวม

บนั ทึกหลังการจดั กิจกรรมการเรียนรู้ ผลการจดั กจิ กรรม ตารางท่ี 3 ผลการประเมนิ ดา้ นเจตคติ (A) ลาดับที่ ระดบั ช้ัน จานวน ดีมาก (3) สรุปผลการประเมนิ พอใช้ (1) รวม นักเรยี น 80% ดี (2) - 1 ม.6/1 90% 20% - 100% 2 ม.6/3 30 85% 10% - 100% 3 ม.6/4 32 80% 15% - 100% 4 ม.6/5 27 รวม 20% 100% 29 100 ตารางที่ 4 ผลการประเมินด้านคุณลักษณะอนั พึงประสงค์ ลาดับที่ ระดบั ชนั้ จานวน ดมี าก (3) สรุปผลการประเมิน ไม่ผา่ น (0) รวม นกั เรยี น 100% ดี (2) ผา่ น (1) - 1 ม.6/1 100% - 100% 2 ม.6/3 30 100% -- - 100% 3 ม.6/4 32 100% -- - 100% 4 ม.6/5 27 -- 100% 29 รวม -- 100

บนั ทึกหลังการสอน ช้ันมธั ยมศกึ ษาปีท่ี 6/1 ผลการสอน ดา้ นความรู้ นักเรียนส่วนใหญ่เข้าใจในเนื้อหาสาระได้ดีมาก คิดเป็นร้อยละ 90 และมีบางส่วนมกี ารเรียนรูท้ ี่ดี คิด เป็นรอ้ ยละ 10 ดา้ นทกั ษะ นักเรียนส่วนใหญ่มีทักษะในระดับดีมาก คิดเป็นร้อยละ 90 และมีบางส่วนมีทักษะระดับที่ดี คิดเป็น ร้อยละ 10 ด้านเจตคติ นักเรียนส่วนใหญ่มีเจตคตใิ นระดับดีมาก คิดเป็นร้อยละ 80 และมีบางส่วนมีเจตคติระดับที่ดี คิดเป็น ร้อยละ 20 ดา้ นสมรรถนะ นกั เรยี นมคี วามสามารถในการคดิ วเิ คราะหแ์ ละสังเคราะหไ์ ด้ ดา้ นคุณลกั ษณะอนั พึงประสงค์ นกั เรียนทุกคนมคี วามใฝเ่ รียนรู้ทดี่ ีมาก ปญั หา/อปุ สรรค - แนวทางการแก้ไข - หมายเหตุ - ลงช่ือ..........................................................ผู้สอน ( นางสาวไข่มกุ สุพร )

บันทกึ หลงั การสอน ช้นั มธั ยมศกึ ษาปที ่ี 6/3 ผลการสอน ด้านความรู้ นักเรียนส่วนใหญ่เข้าใจในเนื้อหาสาระได้ดีมาก คิดเป็นร้อยละ 85 และมีบางส่วนเรียนรู้ได้ดี คิดเป็น รอ้ ยละ 15 ดา้ นทักษะ นกั เรียนส่วนใหญ่มที กั ษะในระดบั ดีมาก คิดเป็นร้อยละ 90 และมีบางสว่ นมีทกั ษะในระดับดี 10 ดา้ นเจตคติ นกั เรียนส่วนใหญม่ เี จตคตทิ ี่ดีมาก คดิ เป็นรอ้ ยละ 90 และมบี างสว่ นมเี จตคตทิ ดี่ ี คดิ เปน็ รอ้ ยละ 10 ด้านสมรรถนะ นกั เรยี นมีความสามารถในการคดิ วิเคราะหแ์ ละสงั เคราะห์ได้ ด้านคณุ ลกั ษณะอันพึงประสงค์ นักเรยี นทุกคนมีความใฝ่เรยี นรู้ที่ดมี าก ปญั หา/อุปสรรค - แนวทางการแก้ไข - หมายเหตุ - ลงช่ือ..........................................................ผสู้ อน ( นางสาวไข่มุก สุพร )

บันทึกหลังการสอน ชน้ั มธั ยมศึกษาปีท่ี 6/4 ผลการสอน ด้านความรู้ นักเรียนส่วนใหญ่เข้าใจในเนื้อหาสาระได้ดีมาก คิดเป็นร้อยละ 80 และมีบางส่วนเรียนรู้ได้ดี คิดเป็น ร้อยละ 20 ด้านทกั ษะ นักเรียนส่วนใหญ่มีทักษะในระดับดีมาก คิดเป็นร้อยละ 85 และมีบางส่วนมีทักษะในระดับดี คิดเป็น รอ้ ยละ 15 ดา้ นเจตคติ นกั เรยี นส่วนใหญม่ เี จตคติทดี่ ีมาก คดิ เป็นร้อยละ 85 และมีบางส่วนมีเจตคตทิ ี่ดี คดิ เปน็ ร้อยละ 15 ดา้ นสมรรถนะ นักเรียนมคี วามสามารถในการคิดวเิ คราะหแ์ ละสังเคราะหไ์ ด้ ด้านคุณลกั ษณะอันพึงประสงค์ นกั เรียนทกุ คนมคี วามใฝ่เรียนร้ทู ีด่ มี าก ปญั หา/อปุ สรรค - แนวทางการแก้ไข - หมายเหตุ - ลงช่อื ..........................................................ผู้สอน ( นางสาวไข่มุก สุพร )

บันทกึ หลงั การสอน ช้นั มธั ยมศกึ ษาปที ่ี 6/5 ผลการสอน ด้านความรู้ นักเรียนส่วนใหญ่เข้าใจในเนื้อหาสาระได้ดีมาก คิดเป็นร้อยละ 80 และมีบางส่วนเรียนรู้ได้ดี คิดเป็น รอ้ ยละ 20 ดา้ นทักษะ นกั เรียนส่วนใหญ่มที กั ษะในระดบั ดีมาก คิดเป็นร้อยละ 80 และมีบางสว่ นมีทกั ษะในระดับดี 20 ดา้ นเจตคติ นกั เรียนส่วนใหญม่ เี จตคตทิ ี่ดีมาก คดิ เป็นรอ้ ยละ 80 และมบี างสว่ นมเี จตคตทิ ดี่ ี คดิ เปน็ รอ้ ยละ 20 ด้านสมรรถนะ นกั เรยี นมีความสามารถในการคดิ วิเคราะหแ์ ละสงั เคราะห์ได้ ด้านคณุ ลกั ษณะอันพึงประสงค์ นักเรยี นทุกคนมีความใฝ่เรยี นรู้ที่ดมี าก ปญั หา/อุปสรรค - แนวทางการแก้ไข - หมายเหตุ - ลงช่ือ..........................................................ผสู้ อน ( นางสาวไข่มุก สุพร )

แผนการจัดการเรยี นรู้ที่ 15 กลมุ่ สาระการเรียนรวู้ ิทยาศาสตรแ์ ละเทคโนโลยี รหสั วชิ า ว30205 รายวชิ า ฟิสกิ ส์ 5 หนว่ ยการเรียนรทู้ ่ี 2 ช่อื หนว่ ยการเรยี นรู้ ความรอ้ นและทฤษฎีจลนข์ องแกส๊ เรอื่ ง การขยายตวั เชิงความรอ้ นของของแขง็ และคานวณปริมาณท่ีเก่ยี วข้องกบั ความรอ้ นได้ วันท…ี่ …….เดือน……………พ.ศ……………… เวลา……………………น. จานวน 1 ชัว่ โมง ชนั้ มัธยมศกึ ษาปีที่ 6 ผสู้ อน นางสาวไข่มกุ สพุ ร สาระฟสิ กิ ส์ 4. เข้าใจความสัมพันธ์ของความร้อนกับการเปลี่ยนอุณหภูมิและสถานะของสสาร สภาพยืดหยุ่นของ วัสดุและมอดุลัสของยัง ความดันในของไหล แรงพยุง และหลักของอาร์คิมีดิส ความตึงผิวและแรงหนืดของ ของเหลว ของไหลอดุ มคติ และสมการแบร์นูลลี กฎของแกส๊ ทฤษฎจี ลน์ของแกส๊ อุดมคติและพลังงานในระบบ ทฤษฎีอะตอมของโบร์ ปรากฏการณ์โฟโตอิเล็กทริก ทวิภาวะของคลื่นและอนุภาค กัมมันตภาพรังสี แรงนิวเคลยี ร์ ปฏิกิริยานวิ เคลียร์ พลงั งานนิวเคลยี ร์ ฟิสิกสอ์ นภุ าค รวมทัง้ นาความรู้ไปใชป้ ระโยชน์ ผลการเรียนรู้ อธิบายและคานวณความร้อนที่ทาใหส้ สารเปลีย่ นอุณหภมู ิ ความร้อนที่ทาให้สสารเปลี่ยนสถานะและ ความร้อนท่ีเกิดจากการถา่ ยโอนตามกฎการอนรุ กั ษ์พลังงาน จุดประสงค์การเรยี นรู้ 1. นักเรียนอธิบายผลการขยายตวั เชิงความรอ้ นของของแข็งได้ (K) 2. นกั เรียนคานวณปริมาณทเี่ กย่ี วข้องกบั ความรอ้ นได้ (P) 3. ความใฝเ่ รียนรูแ้ ละอยากรูอ้ ยากเห็น (A) สาระการเรยี นรู้ เมื่อสสารได้รับหรือคายความร้อน สสารอาจมีอุณหภูมิเปลี่ยนไป และสสารอาจเปลี่ยนสถานะโดยไม่ เปลี่ยนอุณหภูมิ ซึ่งปริมาณความร้อนที่ทาให้สสารเปลี่ยนอุณหภูมิ คานวณได้จากสมการ Q=mcΔT ส่วน ปรมิ าณของพลังงานความรอ้ นที่ทาใหส้ สารเปล่ียนสถานะคานวณไดจ้ ากสมการ Q=mL

สาระสาคัญ เมื่อให้ความร้อนแต่สสาร จะทาให้อุณหภูมิ ความยาว หรือปริมาตรของสสารเพิ่มขึ้น และถ้าสสาร สญู เสยี ความร้อนหรอื คายความร้อนจะทาให้อุณหภูมิ ความยาว หรอื ปรมิ าตรของสสารลดลงการเปลี่ยนแปลง ของสสารท่ีเกิดขึน้ เม่ือได้รบั ความร้อน เรยี กวา่ การขยายตัวเชิงความร้อน ซึ่งสามารถเกดิ ได้ท้งั การขยายตัวเชิง เส้นหรอื การขยายตวั เชิงปรมิ าตร โดยจะขึน้ อยกู่ บั สถานะของสาร ในกรณีที่สารอยู่ในสถานะของแข็ง อะตอมหรืออนุภาคในของแข็งจะสั่นรอบๆ ตาแหน่งสมดุลด้วย แอมพลิจูดและความถี่ ค่าหนึ่ง เมื่อของแข็งมีอุณหภูมิสูงขึ้น จะทาให้อนุภาคสันด้วย แอมพลิจูดที่เพิ่มมากขนึ้ ส่งผลให้ระยะห่างระหว่างอนุภาค เฉลี่ยมากขึ้น ของแข็งจึงมีการขยายตัว เรียกว่า การขยายตัวเชิงเส้น โดย ของแข็งแต่ละชนิดจะขยายตัวได้มากหรือน้อยขึ้น อยู่กับสัมประสิทธิ์การขยายตัวเชิงเส้น ( coefficient of linear expansiori) ซึ่งเป็นค่าคงตัวเฉพาะของวัสดุแต่ละชนิด และอุณหภูมิของของแข็งที่เปลี่ยนไป สามารถ เขียนแสดง ความสัมพนั ธไ์ ด้ ดังสมการ ∆L = ������L0∆T ∆L คอื ความยาวของของแข็งที่เปลี่ยนไป มหี นว่ ยเปน็ เมตร (m) ������ คือ สมั ประสทิ ธก์ิ ารขยายตัวเชงิ เส้นของวัสดุ มีหนว่ ยเปน็ ตอ่ เคลวิน (K-1) L0 คอื ความยาวเต็มของของแขง็ มหี น่วยเปน็ เมตร (m) ∆T คือ อุณหภมู ขิ องของแข็งท่เี ปลีย่ นไป มหี นว่ ยเป็น เคลวิน (K) สมรรถนะสาคญั ความสามารถในการคิด - ทักษะการคดิ วเิ คราะห์ - ทักษะการคดิ สงั เคราะห์ คณุ ลกั ษณะอนั พึงประสงค์ (จติ วิทยาศาสตร์) ความใฝ่เรียนรู้และมีความอยากรู้อยากเห็น นักเรียนแสดงออกถึงความตั้งใจความต้องการทีจ่ ะรู้และ เสาะแสวงหาความร้เู กีย่ วกับสงิ่ ตา่ งๆ ทสี นใจหรือตอ้ งการค้นพบสิ่งใหม่ แสดงออกได้โดยการถามคาถาม หรือมี ความสงสัยในสิ่งที่สนใจอยากรู้ มีความกระตือรือร้นในการเสาะแสวงหาข้อมูลที่เกี่ยวข้องกับสิ่งที่สนใจ เพียร พยายามในการเรียนและการทากิจกรรมตา่ งๆ แสวงหาความรูจ้ ากแหล่งเรียนรตู้ ่างๆ อยเู่ สมอ โดยการเลือกใช้ สื่ออย่างเหมาะสม บันทึกความรู้ วิเคราะห์ สรุปเป็นองค์ความรู้ แลกเปลี่ยนเรียนรู้ ถ่ายทอด เผยแพร่ และ นาไปใช้ในชวี ติ ประจาวนั ได้

ชิน้ งาน/ภาระงาน ใบงานท่ี 2.2 การคานวณปริมาณตา่ งๆ ที่เก่ียวขอ้ งกบั ความรอ้ น กจิ กรรมการเรยี นรู้ วธิ สี อนใช้รปู แบบวงจรการเรยี นรู้ 5 ขนั้ ตอน (5E Learning Cycle model) ขั้นท่ี 1 ขนั้ สร้างความสนใจ ( 5 นาที ) 1. ครเู ปิดวดี ิทศั นเ์ กี่ยวกบั การสรา้ งถนนคอนกรีต หรือการสรา้ งทางรถไฟ ให้นกั เรยี นศกึ ษา โดยครูคอย ถามคาถามกระตุ้นเพื่อเชื่อมโยงความรู้ใหม่จากวีดิทัศน์กับความรู้ที่นักเรียนกาลังจะได้ศึกษาเกี่ยวกับการ ขยายตัวเชิงความรอ้ นของของแขง็ 2. ครูสุ่มนักเรียนเพื่อถามคาถามว่า “ในชีวิตประจาวันของนักเรียน นอกจากการสร้างถนนคอนกรีต แล้ว ยังมีสิง่ ใดบ้างที่เมื่อผลติ หรอื สร้างขึ้นมักจะต้องคานงึ ถงึ คุณสมบัติการขยายตัวเชิงความร้อนของวสั ดุนัน้ ๆ ด้วย” 3. ครูและนักเรียนร่วมกันสนทนาอภิปรายเกี่ยวกับการขยายตัวเชิงความร้อนของของแข็ง เพื่อเข้าสู่ บทเรียน ขัน้ ที่ 2 ขั้นสารวจและคน้ หา ( 25 นาที ) 4. นักเรยี นแต่ละคนศึกษากิจกรรมจากใบงานที่ 2.2 การคานวณปริมาณต่างๆ ท่เี ก่ียวข้องกับความร้อน 5. ครูชี้แจงจุดประสงคแ์ ละวธิ กี ารปฏบิ ัตกิ จิ กรรมให้นกั เรียนทราบ 6. นกั เรียนลงมือปฏบิ ัตกิ ิจกรรม และรายงานผล ข้ันท่ี 3 ขนั้ สรา้ งคาอธบิ ายและลงขอ้ สรุป ( 15 นาที ) 7. ครูและนักเรียนร่วมกันลงข้อสรุป โดยให้นักเรียนอธิบายสรุปความรู้เกี่ยวกับความร้อนที่ได้ศึกษา มาแล้วทั้งเนื้อหาและตัวอย่างจากหนังสือเรียน และกิจกรรมที่นอกเหนือจากหนังสือเรียน พร้อมทั้งยกอย่าง สถานการณใ์ นชีวิตประจาวนั ที่เกี่ยวข้องเพื่อทดสอบความเข้าใจ 8. ครูเปิดโอกาสใหน้ ักเรยี นสอบถามเน้ือหาที่ได้ศึกษาผา่ นมาแลว้ ในส่วนที่ยังไม่เข้าใจหรือสงสัย จากนั้น ครูให้ความรู้เพิ่มเติมในส่วนนั้น โดยที่ครูอาจจะใช้ PowerPoint เรื่อง ความร้อนและทฤษฎีจลน์ของแก๊ส มาเปดิ ให้นกั เรยี นดูประกอบเพอื่ ช่วยในการอธิบายให้เข้าใจมากยิ่งขึ้น ขั้นท่ี 4 ขั้นขยายความรู้ ( 10 นาที ) 9. ครใู หน้ ักเรยี นใช้โทรศัพทม์ ือถือสแกน QR Code เรอื่ ง การขยายตวั จากความร้อน จากหนังสือเรียน เพ่อื เป็นการศกึ ษาเพิม่ เตมิ จากสื่อดจิ ิทัล ซ่ึงเปน็ ความรเู้ พ่ิมเตมิ ท่นี อกเหนือจากหนงั สือเรียน

ขัน้ ท่ี 5 ประเมนิ ผล ( 5 นาที ) 10. ครูสังเกตและประเมินพฤติกรรมของนักเรียนในขณะที่ให้นักเรียนปฏิบัติกิจกรรมและ การนาเสนอผลการปฏบิ ตั กิ จิ กรรม วัสด/ุ อปุ กรณ์ สอ่ื และแหลง่ เรียนรู้ 1. หนังสือเรียนฟิสิกส์ ม.6 เลม่ 1 สังกดั อจท. 2. หนังสอื เรียนฟสิ กิ ส์ ม.6 เลม่ 5 สงั กดั สสวท. 3. PowerPoint เร่ือง ความร้อนและทฤษฎีจลน์ของแกส๊ 4. วดี ทิ ศั นก์ ารเรยี นรู้ เรอ่ื ง การสรา้ งถนนคอนกรีต 5. หอ้ งเรยี น 6. ห้องสมดุ 7. แหลง่ ขอ้ มลู สารสนเทศ 8. ใบงานที่ 2.2 การคานวณปริมาณตา่ งๆ ท่ีเกี่ยวข้องกบั ความรอ้ น

การวัดผลและประเมนิ ผล จุดประสงค์การเรยี นรู้ วธิ ีวดั เครือ่ งมือ เกณฑ์การประเมนิ 1. นักเรียนอธิบายผลการ ตรวจใบงาน ใ บ ง า น ที่ 2 .2 ก า ร ได้ระดับคุณภาพดี ขยายตัวเชิงความร้อนของ คานวณปริมาณต่างๆ จึงผ่านเกณฑ์ ของแขง็ ได้ (K) ที่เกี่ยวข้องกับความ รอ้ น 2. นักเรียนคานวณปริมาณที่ สังเกตและประเมินการ แ บ บ ป ร ะ เ ม ิ น ก า ร ได้ระดับคุณภาพดี เก่ยี วขอ้ งกบั ความรอ้ นได้ (P) ปฏบิ ตั กิ ิจกรรม ปฏิบัติกิจกรรมการ จงึ ผ่านเกณฑ์ คานวณ 4. มีความอยากรู้อยากเหน็ (A) สังเกตและประเมินการ แบบประเมินการความ ได้ระดับคุณภาพดี ความอยากรอู้ ยากเห็น อยากร้อู ยากเหน็ จงึ ผา่ นเกณฑ์ 5. คุณลักษณะด้านความใฝ่ สงั เกตพฤติกรรม แ บ บ ป ร ะ เ ม ิ น ค ุ ณ - ได้ระดับคุณภาพดี เรยี นรู้ ลักษณะอันพึงประสงค์ จงึ ผา่ นเกณฑ์ ดา้ นใฝเ่ รียนรู้ ความคดิ เห็นของผ้บู รหิ ารสถานศกึ ษา ............................................................................................................................. ................................................. ............................................................................................................................................... ............................... ................................................................................................... ........................................................................... ............................................................................................................................. ................................................. .............................................................................................................................................................................. ............................................................................................................................. ................................................. ............................................................................................................................. ................................................. .............................................................................................................................................................................. ลงชื่อ................................................................ผู้บรหิ ารสถานศึกษา (…………………….………….……….………………………….) ........./........................./.........

บนั ทึกหลังการจดั กิจกรรมการเรยี นรู้ ผลการจัดกจิ กรรม ตารางท่ี 1 ผลการประเมินด้านความรู้ (K) ลาดับท่ี ระดับชั้น จานวน ดมี าก (4) สรุปผลการประเมนิ ปรบั ปรุง (1) รวม นกั เรยี น 100% ดี (3) พอใช้ (2) - 1 ม.6/1 80% - 100% 2 ม.6/3 30 90% -- - 100% 3 ม.6/4 32 90% 20% - - 100% 4 ม.6/5 27 10% - 100% 29 รวม 10% - 100 ตารางท่ี 2 ผลการประเมินด้านทักษะกระบวนการทางวิทยาศาสตร์ (P) ลาดบั ที่ ระดบั ช้นั จานวน สรปุ ผลการประเมิน พอใช้ (1 – 4) รวม นักเรียน ดีมาก (9 – 12) ดี (5 – 8) - 1 ม.6/1 - 100% 2 ม.6/3 30 90% 10% - 100% 3 ม.6/4 32 70% 30% - 100% 4 ม.6/5 27 80% 20% 100% 29 80% 20% 100 รวม

บนั ทึกหลังการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ ผลการจดั กจิ กรรม ตารางที่ 3 ผลการประเมนิ ดา้ นเจตคติ (A) ลาดบั ท่ี ระดับชัน้ จานวน ดีมาก (3) สรุปผลการประเมนิ พอใช้ (1) รวม นักเรียน 100% ดี (2) - 1 ม.6/1 80% - - 100% 2 ม.6/3 30 100% 20% - 100% 3 ม.6/4 32 100% - - 100% 4 ม.6/5 27 รวม - 100% 29 100 ตารางที่ 4 ผลการประเมินดา้ นคุณลักษณะอนั พงึ ประสงค์ ลาดับท่ี ระดับช้นั จานวน ดมี าก (3) สรุปผลการประเมนิ ไม่ผ่าน (0) รวม นักเรียน 100% ดี (2) ผา่ น (1) - 1 ม.6/1 100% - 100% 2 ม.6/3 30 100% -- - 100% 3 ม.6/4 32 100% -- - 100% 4 ม.6/5 27 -- 100% 29 รวม -- 100

บันทึกหลังการสอน ช้ันมัธยมศึกษาปที ี่ 6/1 ผลการสอน ด้านความรู้ นักเรยี นทกุ คนเข้าใจในเน้ือหาสาระไดด้ มี าก คดิ เป็นรอ้ ยละ 100 ด้านทกั ษะ นักเรียนส่วนใหญ่มีทักษะในระดับดีมาก คิดเป็นร้อยละ 90 และบางส่วนมีทักษะในระดับดี คิดเป็น ร้อยละ 10 ดา้ นเจตคติ นักเรียนทุกคนมเี จตคติในระดบั ดีมาก คดิ เป็นร้อยละ 100 ดา้ นสมรรถนะ นกั เรียนมคี วามสามารถในการคิดวเิ คราะหแ์ ละสังเคราะห์ได้ ดา้ นคุณลักษณะอันพึงประสงค์ นักเรยี นทกุ คนมีความใฝ่เรียนร้ทู ีด่ ีมาก ปญั หา/อปุ สรรค - แนวทางการแก้ไข - หมายเหตุ - ลงชือ่ ..........................................................ผูส้ อน ( นางสาวไขม่ กุ สพุ ร )

บันทกึ หลงั การสอน ช้นั มธั ยมศกึ ษาปที ่ี 6/3 ผลการสอน ด้านความรู้ นักเรียนส่วนใหญ่เข้าใจในเนื้อหาสาระได้ดีมาก คิดเป็นร้อยละ 80 และมีบางส่วนเรียนรู้ได้ดี คิดเป็น รอ้ ยละ 20 ดา้ นทักษะ นกั เรียนส่วนใหญ่มที กั ษะในระดบั ดีมาก คิดเป็นร้อยละ 70 และมีบางสว่ นมีทกั ษะในระดับดี 20 ดา้ นเจตคติ นกั เรียนส่วนใหญม่ เี จตคตทิ ี่ดีมาก คดิ เป็นรอ้ ยละ 80 และมบี างสว่ นมเี จตคตทิ ดี่ ี คดิ เปน็ รอ้ ยละ 20 ด้านสมรรถนะ นกั เรยี นมีความสามารถในการคดิ วิเคราะหแ์ ละสงั เคราะห์ได้ ด้านคณุ ลกั ษณะอันพึงประสงค์ นักเรยี นทุกคนมีความใฝ่เรยี นรู้ที่ดมี าก ปญั หา/อุปสรรค - แนวทางการแก้ไข - หมายเหตุ - ลงช่ือ..........................................................ผสู้ อน ( นางสาวไข่มุก สุพร )

บันทกึ หลังการสอน ชนั้ มัธยมศึกษาปที ี่ 6/4 ผลการสอน ดา้ นความรู้ นักเรียนส่วนใหญ่เข้าใจในเนื้อหาสาระได้ดีมาก คิดเป็นร้อยละ 90 และมีบางส่วนเรียนรู้ได้ดี คิดเป็น รอ้ ยละ 10 ดา้ นทักษะ นักเรียนส่วนใหญ่มีทักษะในระดับดีมาก คิดเป็นร้อยละ 80 และมีบางส่วนมีทักษะในระดับดี คิดเป็น ร้อยละ 20 ด้านเจตคติ นักเรยี นทกุ คนมีเจตคติในระดบั ดีมาก คดิ เปน็ ร้อยละ 100 ดา้ นสมรรถนะ นกั เรียนมีความสามารถในการคิดวเิ คราะห์และสงั เคราะหไ์ ด้ ดา้ นคุณลักษณะอนั พงึ ประสงค์ นกั เรียนทุกคนมคี วามใฝ่เรยี นรูท้ ี่ดมี าก ปญั หา/อปุ สรรค - แนวทางการแกไ้ ข - หมายเหตุ - ลงชอื่ ..........................................................ผู้สอน ( นางสาวไข่มกุ สุพร )

บันทึกหลงั การสอน ช้นั มัธยมศึกษาปีที่ 6/5 ผลการสอน ดา้ นความรู้ นักเรียนส่วนใหญ่เข้าใจในเนื้อหาสาระได้ดีมาก คิดเป็นร้อยละ 90 และมีบางส่วนเรียนรู้ได้ดี คิดเป็น รอ้ ยละ 10 ดา้ นทกั ษะ นักเรียนส่วนใหญ่มที ักษะในระดบั ดมี าก คดิ เป็นรอ้ ยละ 80 และมีบางสว่ นมที ักษะในระดบั ดี 20 ดา้ นเจตคติ นักเรียนทุกคนมีเจตคตใิ นระดบั ดีมาก คิดเปน็ รอ้ ยละ 100 ด้านสมรรถนะ นักเรียนมคี วามสามารถในการคิดวเิ คราะหแ์ ละสงั เคราะห์ได้ ดา้ นคณุ ลกั ษณะอันพึงประสงค์ นกั เรียนทุกคนมคี วามใฝ่เรยี นรูท้ ี่ดมี าก ปญั หา/อุปสรรค - แนวทางการแกไ้ ข - หมายเหตุ - ลงชือ่ ..........................................................ผู้สอน ( นางสาวไข่มุก สพุ ร )

แผนการจัดการเรียนรูท้ ่ี 16 กลุม่ สาระการเรยี นรู้วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี รหัสวชิ า ว30205 รายวิชา ฟิสกิ ส์ 5 หน่วยการเรยี นรู้ท่ี 2 ช่ือหน่วยการเรยี นรู้ ความร้อนและทฤษฎีจลนข์ องแกส๊ เร่ือง แกส๊ อุดมคติ วันท…่ี …….เดอื น……………พ.ศ……………… เวลา……………………น. จานวน 2 ชวั่ โมง ชั้นมัธยมศกึ ษาปีที่ 6 ผสู้ อน นางสาวไข่มกุ สพุ ร สาระฟิสิกส์ 4. เข้าใจความสัมพันธ์ของความร้อนกับการเปลี่ยนอุณหภูมิและสถานะของสสาร สภาพยืดหยุ่นของ วัสดุและมอดุลัสของยัง ความดันในของไหล แรงพยุง และหลักของอาร์คิมีดิส ความตึงผิวและแรงหนืดของ ของเหลว ของไหลอุดมคติ และสมการแบร์นลู ลี กฎของแก๊ส ทฤษฎีจลนข์ องแก๊สอุดมคติและพลังงานในระบบ ทฤษฎีอะตอมของโบร์ ปรากฏการณ์โฟโตอิเล็กทริก ทวิภาวะของคลื่นและอนุภาค กัมมันตภาพรังสี แรงนิวเคลียร์ ปฏกิ ริ ิยานวิ เคลยี ร์ พลงั งานนวิ เคลยี ร์ ฟสิ กิ ส์อนภุ าค รวมท้งั นาความรูไ้ ปใชป้ ระโยชน์ ผลการเรียนรู้ อธิบายกฎของแกส๊ อุดมคตแิ ละคานวณปริมาณตา่ ง ๆ ท่เี กีย่ วขอ้ ง จดุ ประสงคก์ ารเรยี นรู้ 1. นกั เรียนอธบิ ายความสมั พันธ์ระหวา่ งอุณหภมู ิ ความดนั และปรมิ าตรของแกส๊ ได้ (K) 2. นกั เรยี นสบื คน้ ความสัมพันธ์ระหวา่ งอุณหภูมิ ความดัน และปรมิ าตรของแกส๊ ได้ (P) 3. ความใฝ่เรียนรแู้ ละอยากรูอ้ ยากเห็น (A) สาระการเรียนรู้ แก๊สอุดมคติเป็นแก๊สที่โมเลกุลมีขนาดเล็กมากไม่มีแรงยดึ เหนี่ยวระหว่างโมเลกุล มีการเคลื่อนที่แบบสุ่ม และมีการชนแบบยดื หย่นุ ความสัมพันธ์ระหว่างความดัน ปริมาตร และอุณหภูมิของแก๊สอุดมคติเป็นไปตามกฎของแก๊สอุดม คติ เขยี นแทนไดด้ ้วยสมการ ������������ = ������������������ = ������������������������

สาระสาคัญ สมบตั ขิ องแกส๊ อุดมคติ จากการศึกษาของนักวิทยาศาสตร์ในอดีตเกี่ยวกับพฤติกรรมและสมบัติต่างๆ ของแก๊ส พบว่า โดยทัว่ ไปแก๊สเกือบทกุ ชนิดจะมีสมบตั ิบางประการที่คล้ายกัน สามารถสรุปและอธบิ ายสมบตั ิต่างๆ ของแก๊สได้ ด้วย ทฤษฎีจลน์ของแก๊ส (Kinetic theory of gas) ซึ่งเป็นทฤษฎีที่อธิบายเกี่ยวกับ สมบัติทางกายภาพและ การเคลอื่ นที่ของแก๊ส โดยมีสมมติฐาน ดังนี้ 1. แก๊สประกอบด้วยโมเลกลุ จานวนมาก โดยทกุ ๆ โมเลกลุ ของแก๊สจะมีลักษณะ เป็นก้อนกลม ขนาด เท่ากัน ซึ่งเป็นขนาดที่เล็กมาก โมเลกุลเหล่านี้จะมีการขนผนังภาชนะ แล้วกระดอนแบบยืดห ยุ่น เรียกว่า การชนแบบยืดหยุ่น (clastic collision) และเนื่องจากโมเลกุล ของแก๊สอยู่ห่างกันมาก โอกาสของการชน กนั เองระหวา่ งโมเลกุลจึงน้อยมาก ถอื ไดว้ ่าไมม่ กี ารชน กนั ระหว่างโมเลกลุ 2. แต่ละโมเลกุลของแก๊สมีขนาดเล็ก มากถือได้ว่ามีปริมาตรน้อยมากเมื่อเทียบกับ ปริมาตรของแก๊ส ทง้ั หมดในภาชนะ จงึ กล่าวไดว้ ่า โมเลกลุ ของแกส๊ ไมม่ ปี ริมาตร 3. โมเลกุลของแก๊สอยหู่ ่างกันมาก สง่ ผลให้มีแรงยดึ เหนี่ยวระหว่างโมเลกุลของ แกส๊ น้อยมากจนถือได้ วา่ ไม่มีแรงยดึ เหน่ยี ว ระหวา่ งโมเลกลุ หรือแรงใดๆ มากระทาตอ่ กัน แมก้ ระทั้งแรงดึงดดู ของโลก 4. โมเลกุลของแก๊สมีการเคลื่อนที่แบบสุ่มหรอื เปน็ การเคลื่อนที่แบบอิสระในทุกๆ ทิศทางแบบไม่เปน็ ระเบยี บ ด้วยอัตราเรว็ คงตัวซงึ่ เป็นไปตามกฎการเคลอ่ื นท่ขี องนิวตัน แก๊สที่มีสมบัติเป็นไปสมมติฐานดังกล่าวทุกประการ เรียกว่า แก๊สสมบูรณ์ (perfect gas) ถือได้ว่า เป็นแก๊สอุดมคติ (idical gas) โดยสมมติฐานเป็นแบบจาลองของแก๊สอุดมคติ (ideal gas model) ไม่สามารถ พบไดใ้ นธรรมชาติ ดังน้ัน แก๊สท่ีมีอยู่ในธรรมชาติจะเรียกว่า แก็สจริง (real gas) เน่ืองจากจะประกอบดว้ ย โมเลกุลของ แก๊สที่มีแรงยึดเหน่ียวระหว่างโมเลกุลกับมีปริมาตร แต่อย่างไรกต็ าม แก๊สจริงจะมสี มบัติใกลเ้ คียงกับแก๊สอุดม คตไิ ดเ้ ม่ืออุณหภูมสิ ูงและมีความดนั ตา่ กฎของแก๊สอดุ มคติ จากการศึกษาและทดลองของนักวิทยาศาสตร์หลายท่านเกี่ยวกับความสัมพันธ์ระหว่างความ ดัน ปริมาตร และอุณหภูมิของแก๊ส แล้วสรุปความสัมพันธ์ของปริมาณดังกล่าวออกมาเป็นกฎต่างๆ เรียกว่า กฎของแก๊ส (gas law) 1. กฎของบอยล์ (Boyle's law) รอเบิร์ต บอยล์ (Robert Boyle) (พ.ศ. 2170-2234) ได้สรุปผล การศึกษาและทดลองแล้วเสนอแนวคิดว่า 'สาหรับแก๊สในภาชนะปิด ถ้าอุณหภูมิ (T) ของแก๊สคงตัว ปริมาตร (V) ของแกส๊ ใด ๆ จะแปรผกผันกบั ความดนั (P) ของแก๊สนั้นๆ \"สามารถเขยี นแสดงความสัมพนั ธไ์ ด้ ดงั นี้ ������ ∝ ������ หรือ PV = k ������

2. กฎของชารล์ (Charles' law) ชาก อาแลกซองตร์ เซซา ชาร์ล (Jacques Alexandre Ce'sar Charles) (พ.ศ. 2289-2366) ไดส้ รปุ ผลการศึกษาและทดลอง แล้วเสนอแนวคิดวา่ \"สาหรบั แกส๊ ในภาชนะปิด ถา้ ความดัน (P) ของแก๊สคงตัว ปริมาตร (V) ของแก๊สใด ๆ จะแปรผนั ตรงกบั อณุ หภมู สิ ัมบรู ณ์ (T) ของแก๊สนัน้ ๆ\" สามารถเขียนแสดงความสัมพนั ธ์ได้ ดังน้ี ������ ∝ ������ หรือ ������ = ������ ������ 3. กฎของเกย-์ ลูสแซก (Gay-Lussac's law) โชแซฟ-ลุย เก-ลูซกั (Joseph-Loius Gay-Lussac) (พ.ศ. 2321-2393) ได้สรุปผลการศกึ ษาและทดลอง แล้วเสนอแนวคิดวา่ \"สาหรับแก๊สในภาชนะปิด ถ้า ปรมิ าตร (V) ของแก๊สคงตวั ดวามดนั (P) ของแกส๊ ใด ๆ จะแปรผนั ตรงกับอุณหภูมิสัมบูรณ์ (T) ของแก๊สน้ัน ๆ\" สามารถเขียนแสดงความสัมพันธไ์ ด้ ตังนี้ ������ ∝ ������หรอื ������ = ������ ������ สมรรถนะสาคัญ ความสามารถในการคิด - ทักษะการคิดวิเคราะห์ - ทกั ษะการคดิ สังเคราะห์ คุณลักษณะอนั พงึ ประสงค์ (จติ วิทยาศาสตร์) ความใฝ่เรียนรู้และมีความอยากรู้อยากเห็น นักเรียนแสดงออกถึงความตั้งใจความต้องการทีจ่ ะรู้และ เสาะแสวงหาความรเู้ กย่ี วกับสิ่งตา่ งๆ ทีสนใจหรอื ตอ้ งการคน้ พบสิง่ ใหม่ แสดงออกไดโ้ ดยการถามคาถาม หรือมี ความสงสัยในสิ่งที่สนใจอยากรู้ มีความกระตือรือร้นในการเสาะแสวงหาข้อมูลที่เกี่ยวข้องกับสิ่งที่สนใจ เพียร พยายามในการเรียนและการทากจิ กรรมต่างๆ แสวงหาความรู้จากแหล่งเรยี นรตู้ ่างๆ อยูเ่ สมอ โดยการเลือกใช้ สื่ออย่างเหมาะสม บันทึกความรู้ วิเคราะห์ สรุปเป็นองค์ความรู้ แลกเปลี่ยนเรียนรู้ ถ่ายทอด เผยแพร่ และ นาไปใช้ในชีวิตประจาวนั ได้ ช้นิ งาน/ภาระงาน ใบงานที่ 2.3 แกส๊ ในอดุ มคติ

กจิ กรรมการเรยี นรู้ วธิ ีสอนใชร้ ปู แบบวงจรการเรยี นรู้ 5 ขั้นตอน (5E Learning Cycle model) ข้นั ที่ 1 ข้นั สรา้ งความสนใจ ( 15 นาที ) 1. ครูทบทวนความรู้เดิมในเรื่อง ความร้อน อุณหภูมิ การเปลี่ยนสถานะสสาร การถ่ายโอนความร้อน และการขยายตวั เชงิ ความร้อนของของแข็ง 2. ครนู าลูกโป่งอดั แก๊สทีม่ รี ูปร่างตา่ งๆ มาให้นกั เรียนดู โดยมีประเดน็ คาถาม ดงั นี้ - เพราะเหตใุ ด รปู รา่ ง รวมทงั้ ปรมิ าตรของสารทอี่ ย่ใู นสถานะแก๊สจงึ มีความไม่แน่นอน (แนวคาตอบ ครูเปิดโอกาสให้นักเรียนแสดงความคิดเห็นอย่างอิสระ โดยไม่คาดหวังคาตอบท่ี ถูกต้อง) 3. ครแู ละนักเรยี นรว่ มกนั สนทนาอภปิ รายเกี่ยวกบั แกส๊ ในอดุ มคติ เพ่อื เข้าส่บู ทเรียน ขน้ั ที่ 2 ขั้นสารวจและค้นหา ( 40 นาที ) 4. ให้นักเรยี นแบง่ กล่มุ กลมุ่ ละ 4 - 5 คน และใหต้ ัวแทนกลมุ่ มารับใบงาน 5. นักเรียนแตล่ ะกลุ่มศึกษากิจกรรมจากใบงานท่ี 2.3 แกส๊ ในอดุ มคติ 6. ครชู ้แี จงจดุ ประสงค์และวิธีการปฏิบตั ิกิจกรรมใหน้ กั เรยี นทราบ 7. นักเรยี นลงมอื ปฏบิ ตั กิ จิ กรรม และรายงานผล ข้นั ที่ 3 ข้นั สร้างคาอธบิ ายและลงขอ้ สรปุ ( 35 นาที ) 8. นกั เรียนแต่ละกลุ่มสง่ ตัวแทนออกมานาเสนอผลการปฏิบัตกิ ิจกรรมหน้าช้นั 9. ครูให้นักเรยี นร่วมกันอภปิ รายเพอ่ื นาไปสู่การสรปุ โดยใช้คาถามตอ่ ไปน้ี - นักวิทยาศาสตร์ในอดีตศึกษาเกี่ยวกับพฤติกรรมและสมบัติต่างๆ ของแก๊ส พบว่า โดยทั่วไปแก๊ส เกือบทกุ ชนิดจะมีสมบตั บิ างประการท่คี ล้ายกนั สามารถสรุปและอธิบายสมบัติตา่ งๆ ของแกส๊ ได้ดว้ ยทฤษฎใี ด (แนวคาตอบ ทฤษฎจี ลน์ของแกส๊ (Kinetic theory of gas)) - โมเลกุลของแก๊สที่มีลักษณะ เป็นก้อนกลม ขนาดเท่ากัน ซึ่งเป็นขนาดที่เล็กมาก โมเลกุลเหล่าน้ี จะมีการขนผนงั ภาชนะ แล้วกระดอนแบบยืดหยนุ่ เรยี กวา่ การชนแบบใด (แนวคาตอบ การชนแบบยืดหยุ่น (clastic collision)) - แก๊สที่มีสมบัตเิ ปน็ ไปสมมติฐานทกุ ประการ ถือได้ว่าเป็นแก๊สอุดมคติ (idical gas) ซึ่งเรียกอีกช่อื หนงึ่ วา่ อย่างไร (แนวคาตอบ เรยี กว่า แก๊สสมบูรณ์ (perfect gas)) - แก๊สจรงิ (real gas) กับ แก๊สอดุ มคติ (idical gas) แตกตา่ งกนั หรอื ไม่ อย่างไร (แนวคาตอบ แตกต่างกัน เพราะแก๊สจริง เปน็ แกส๊ ทีส่ ามารถพบได้ตามธรรมชาติ สว่ นแก๊สอุดมคติ เปน็ แก๊สทไ่ี ม่สามารถพบได้ในธรรมชาติ)

10. ครูและนักเรียนร่วมกันอภิปรายเกี่ยวกับ เรื่อง แก๊สอุดมคติ ดังนี้ คุณสมบัติของแก๊สอุดมคติ สามารถอธิบายได้ด้วยตัวแปร 3 ตัว คอื ความดนั ปรมิ าตร และอณุ หภูมิ นอกจากนี้ความสัมพันธ์ระหว่างตัว แปรทั้งสามสามารถอธิบายได้ด้วยสมการต่างๆ เรียกว่า กฎของแก๊ส ประกอบด้วย กฎของบอยล์ กล่าวไวว้ ่า สาหรับแก๊สในภาชนะปิด ถ้ารักษาอุณหภูมิให้คงตัว ปริมาณของแก๊สจะแปรผกผันกับความดันของแก๊ส ดังสมการ ������ ∝ 1 กฎของชาร์ล กล่าวไว้ว่า สาหรับแก๊สในภาชนะปิด เม่ือความดันคงตัว ปริมาตรของแก๊สที่ ������ มีมวลคงตัวจะแปรผนั ตรงกับอุณหภูมิ ดังสมการ ������ ∝ ������ และกฎของเกย์-ลูสแซก กล่าวไว้ว่า เม่ือปริมาตรของ แก๊สคงตัว ความดันของแก๊สท่ีมีมวลคงตัวจะแปรผันตรงกับอุณหภูมิ ดังสมการ ������ ∝ ������ ซึ่งจากกฎของบอยล์ กฎของชาร์ล และกฎของเกย์-ลูสแซก สามารถเขียนความสัมพันธ์ของกฎทั้งสามได้เป็น ������������ = ������������������ และ ������������ = ������������������������ เรยี กวา่ กฎของแก๊สอุดมคติ ขั้นท่ี 4 ข้ันขยายความรู้ ( 20 นาที ) 11. ครอู ธิบายความรู้เพิ่มเตมิ ที่เกี่ยวข้องการดารงชีวิตในชวี ติ ประจาวนั นน่ั คอื การหายใจ (breathing) การหายใจ เป็นกลไกการสูดลมหายใจเข้าและปล่อยลมหายใจออก เกิดจากการทางานร่วมกันของกะบังลม และกล้ามเนื้อยืดกระดูกซี่โครง โดยเมื่อเราหายใจเขา้ กล้ามเนื้อยืดกระดูกซี่โครงจะหดตวั กะบังลมเลื่อนต่าลง กระดูกซี่โครงเลื่อนสูงข้ึน ส่งผลให้มีปริมาตรภายในช่องอกเพิม่ ขึ้น ความดันภายในช่องอกลดต่าลงอากาศจาก ภายนอกจึงเคลื่อนที่เข้าสู่ปอด และเมื่อเราหายใจออกกล้ามเนื้อยืดกระดูกซี่โครงจะคลายตัวกะบังลมเลื่อน สูงขึ้น กระดูกซี่โครงเลื่อนต่าลง ส่งผลให้มีปริมาตรภายในช่องอกลดลง ความดันภายในช่องอกลดเพิ่มสูงขึ้น อากาศจึงเคลื่อนที่ออกจากปอด ซึ่งกลไกดังกล่าวมีความสอดคล้องกับกฎของบอยล์ (ปริมาตรแปรผกผันกับ ความดัน) ขั้นท่ี 5 ประเมินผล ( 10 นาที ) 12. ครูสังเกตและประเมินพฤติกรรมของนักเรียนในขณะที่ให้นักเรียนปฏิบัติกิจกรรมและ การนาเสนอผลการปฏบิ ัติกจิ กรรม วสั ด/ุ อุปกรณ์ ส่ือและแหล่งเรียนรู้ 1. หนงั สือเรียนฟิสกิ ส์ ม.6 เล่ม 1 สงั กดั อจท. 2. หนังสือเรียนฟสิ ิกส์ ม.6 เล่ม 5 สังกดั สสวท. 3. PowerPoint เรอ่ื ง ความรอ้ นและทฤษฎีจลนข์ องแกส๊ 4. ลูกโป่งอดั แก๊สรูปรา่ งตา่ งๆ 5. ห้องเรียน 6. ห้องสมุด 7. แหล่งข้อมูลสารสนเทศ 8. ใบงานที่ 2.3 แกส๊ อุดมคติ

การวดั ผลและประเมนิ ผล จดุ ประสงคก์ ารเรยี นรู้ วิธวี ัด เคร่ืองมือ เกณฑ์การประเมิน 1. นกั เรียนอธบิ ายความสัมพันธ์ ตรวจใบงาน ใบงานท่ี 2.3 แก๊สอุดม ได้ระดับคุณภาพดี ระหว่างอุณหภูมิ ความดัน และ คติ จงึ ผา่ นเกณฑ์ ปรมิ าตรของแกส๊ ได้ (K) 2. นักเรียนสืบค้นความสัมพันธ์ สังเกตและประเมินการ แ บ บ ป ร ะ เ ม ิ น ก า ร ได้ระดับคุณภาพดี ระหว่างอุณหภูมิ ความดัน และ ปฏิบตั กิ จิ กรรม ปฏิบัติกิจกรรมการ จงึ ผา่ นเกณฑ์ ปริมาตรของแกส๊ ได้ (P) สบื คน้ 4. มคี วามอยากรูอ้ ยากเหน็ (A) สังเกตและประเมินการ แบบประเมินการความ ได้ระดับคุณภาพดี ความอยากรูอ้ ยากเหน็ อยากรอู้ ยากเห็น จึงผา่ นเกณฑ์ 5. คุณลักษณะด้านความใฝ่ สงั เกตพฤตกิ รรม แ บ บ ป ร ะ เ ม ิ น ค ุ ณ - ได้ระดับคุณภาพดี เรยี นรู้ ลักษณะอันพึงประสงค์ จงึ ผา่ นเกณฑ์ ดา้ นใฝ่เรยี นรู้ ความคิดเหน็ ของผู้บริหารสถานศกึ ษา ............................................................................................................................. ................................................. .................................................................................. ............................................................................................ ............................................................................................................................. ................................................. ............................................................................................................................. ................................................. .............................................................................................................................................................................. ............................................................................................................................. ................................................. ............................................................................................................................. ................................................. .............................................................................................................................................................................. ลงชือ่ ................................................................ผ้บู รหิ ารสถานศึกษา (…………………….………….……….………………………….) ........./........................./.........

บนั ทกึ หลังการจดั กิจกรรมการเรยี นรู้ ผลการจดั กจิ กรรม ตารางท่ี 1 ผลการประเมินด้านความรู้ (K) ลาดบั ที่ ระดับช้นั จานวน ดมี าก (4) สรุปผลการประเมิน ปรบั ปรุง (1) รวม นกั เรยี น 80% ดี (3) พอใช้ (2) - 1 ม.6/1 70% 20% - - 100% 2 ม.6/3 30 90% 30% - - 100% 3 ม.6/4 32 70% 10% - - 100% 4 ม.6/5 26 รวม 30% - 100% 29 100 ตารางท่ี 2 ผลการประเมินดา้ นทกั ษะกระบวนการทางวิทยาศาสตร์ (P) ลาดบั ที่ ระดบั ชั้น จานวน สรุปผลการประเมิน พอใช้ (1 – 4) รวม นกั เรียน ดมี าก (9 – 12) ดี (5 – 8) - 1 ม.6/1 - 100% 2 ม.6/3 30 80% 20% - 100% 3 ม.6/4 32 70% 30% - 100% 4 ม.6/5 26 90% 10% 100% 29 70% 30% 100 รวม

บันทกึ หลังการจัดกิจกรรมการเรยี นรู้ ผลการจดั กจิ กรรม ตารางท่ี 3 ผลการประเมนิ ดา้ นเจตคติ (A) ลาดับท่ี ระดับชน้ั จานวน ดีมาก (3) สรุปผลการประเมิน พอใช้ (1) รวม นกั เรียน 90% ดี (2) - 1 ม.6/1 80% 10% - 100% 2 ม.6/3 30 100% 20% - 100% 3 ม.6/4 32 80% - - 100% 4 ม.6/5 26 รวม 20% 100% 29 100 ตารางท่ี 4 ผลการประเมนิ ดา้ นคณุ ลักษณะอนั พึงประสงค์ ลาดับที่ ระดับช้ัน จานวน ดมี าก (3) สรปุ ผลการประเมนิ ไมผ่ า่ น (0) รวม นักเรียน 100% ดี (2) ผ่าน (1) - 1 ม.6/1 100% - 100% 2 ม.6/3 30 100% -- - 100% 3 ม.6/4 32 100% -- - 100% 4 ม.6/5 26 -- 100% 29 รวม -- 100

บันทึกหลงั การสอน ช้นั มัธยมศกึ ษาปที ่ี 6/1 ผลการสอน ด้านความรู้ นักเรียนส่วนใหญ่เข้าใจในเนื้อหาสาระได้ดีมาก คิดเป็นร้อยละ 80 และมีบางส่วนเรียนรู้ได้ดี คิดเป็น ร้อยละ 20 ด้านทกั ษะ นักเรยี นสว่ นใหญม่ ที ักษะในการสบื คน้ ได้ดีมาก คดิ เป็นร้อยละ 80 และมบี างส่วนมที ักษะในการสืบค้น ไดด้ ี คดิ เป็นร้อยละ 20 ด้านเจตคติ นกั เรยี นสว่ นใหญ่มเี จตคตทิ ด่ี ีมาก คดิ เปน็ รอ้ ยละ 90 และมีบางส่วนมีเจตคตทิ ี่ดี คดิ เปน็ ร้อยละ 10 ดา้ นสมรรถนะ นกั เรียนมีความสามารถในการคดิ วิเคราะหแ์ ละสงั เคราะหไ์ ด้ ด้านคณุ ลักษณะอนั พึงประสงค์ นกั เรยี นทุกคนมีความมงุ่ ม่ันในการทางานที่ดีมาก ปัญหา/อปุ สรรค - แนวทางการแก้ไข - หมายเหตุ - ลงช่อื ..........................................................ผ้สู อน ( นางสาวไขม่ ุก สุพร )

บนั ทกึ หลังการสอน ชนั้ มัธยมศึกษาปที ่ี 6/3 ผลการสอน ด้านความรู้ นักเรียนส่วนใหญ่เข้าใจเน้ือหาสาระได้ดีมาก คิดเป็นร้อยละ 70 และมบี างสว่ นเรยี นรู้ได้ดี คิดเป็นร้อย ละ 30 ดา้ นทกั ษะ นกั เรยี นส่วนใหญม่ ที กั ษะในการสืบคน้ ได้ดีมาก คดิ เป็นรอ้ ยละ 70 และมีบางสว่ นมีทักษะในการสืบค้น ไดด้ ี คดิ เป็นรอ้ ยละ 30 ด้านเจตคติ นักเรียนสว่ นใหญ่มเี จตคติท่ดี มี าก คดิ เปน็ ร้อยละ 80 และมีบางส่วนมีเจตคตทิ ด่ี ี คิดเปน็ รอ้ ยละ 20 ดา้ นสมรรถนะ นกั เรยี นมีความสามารถในการคิดวเิ คราะห์และสังเคราะหไ์ ด้ ดา้ นคุณลักษณะอนั พงึ ประสงค์ นกั เรียนทุกคนมีความมุ่งมน่ั ในการทางานที่ดีมาก ปัญหา/อุปสรรค - แนวทางการแก้ไข - หมายเหตุ - ลงชือ่ ..........................................................ผสู้ อน ( นางสาวไข่มุก สพุ ร )

บันทกึ หลงั การสอน ชั้นมธั ยมศกึ ษาปีท่ี 6/4 ผลการสอน ด้านความรู้ นกั เรียนส่วนใหญ่เข้าใจเน้ือหาสาระไดด้ ีมาก คดิ เป็นร้อยละ 90 และมบี างสว่ นเรยี นรูไ้ ด้ดี คิดเป็นร้อย ละ 10 ดา้ นทักษะ นักเรยี นส่วนใหญ่มที กั ษะในการสืบคน้ ไดด้ ีมาก คดิ เป็นรอ้ ยละ 90 และมีบางสว่ นมีทกั ษะในการสืบค้น ได้ดี คิดเปน็ ร้อยละ 10 ด้านเจตคติ นักเรยี นทุกคนมเี จตคติทีด่ มี าก คดิ เป็นรอ้ ยละ 100 ดา้ นสมรรถนะ นักเรียนมีความสามารถในการคดิ วเิ คราะห์และสังเคราะหไ์ ด้ ดา้ นคุณลักษณะอันพึงประสงค์ นักเรยี นทกุ คนมคี วามมุ่งมน่ั ในการทางานได้ดีมาก ปญั หา/อุปสรรค - แนวทางการแก้ไข - หมายเหตุ - ลงชื่อ..........................................................ผ้สู อน ( นางสาวไขม่ กุ สพุ ร )

บันทกึ หลงั การสอน ชั้นมธั ยมศกึ ษาปีท่ี 6/5 ผลการสอน ด้านความรู้ นกั เรียนส่วนใหญ่เข้าใจเน้ือหาสาระไดด้ ีมาก คดิ เปน็ ร้อยละ 70 และมบี างสว่ นเรยี นรูไ้ ด้ดี คิดเป็นร้อย ละ 30 ดา้ นทักษะ นักเรยี นส่วนใหญ่มที กั ษะในการสืบคน้ ได้ดีมาก คิดเปน็ รอ้ ยละ 70 และมีบางสว่ นมีทกั ษะในการสืบค้น ได้ดี คิดเปน็ ร้อยละ 30 ด้านเจตคติ นักเรยี นทุกคนมเี จตคติทีด่ มี าก คดิ เป็นรอ้ ยละ 100 ดา้ นสมรรถนะ นักเรียนมีความสามารถในการคดิ วเิ คราะห์และสังเคราะหไ์ ด้ ดา้ นคุณลักษณะอันพึงประสงค์ นักเรยี นทกุ คนมคี วามมุ่งมน่ั ในการทางานทีด่ ีมาก ปญั หา/อุปสรรค - แนวทางการแก้ไข - หมายเหตุ - ลงช่อื ..........................................................ผ้สู อน ( นางสาวไขม่ กุ สพุ ร )

แผนการจดั การเรียนรทู้ ี่ 17 กลุม่ สาระการเรยี นร้วู ิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี รหสั วชิ า ว30205 รายวชิ า ฟิสิกส์ 5 หน่วยการเรยี นรู้ท่ี 2 ชื่อหนว่ ยการเรียนรู้ ความรอ้ นและทฤษฎจี ลน์ของแกส๊ เรอ่ื ง การคานวณปรมิ าณท่เี กี่ยวขอ้ งกบั แกส๊ อุดมคติ วันท…่ี …….เดอื น……………พ.ศ……………… เวลา……………………น. จานวน 1 ชั่วโมง ชน้ั มัธยมศึกษาปีที่ 6 ผู้สอน นางสาวไข่มุก สพุ ร สาระฟสิ กิ ส์ 4. เข้าใจความสัมพันธ์ของความร้อนกับการเปลี่ยนอุณหภูมิและสถานะของสสาร สภาพยืดหยุ่นของ วัสดุและมอดุลัสของยัง ความดันในของไหล แรงพยุง และหลักของอาร์คิมีดิส ความตึงผิวและแรงหนืดของ ของเหลว ของไหลอดุ มคติ และสมการแบร์นูลลี กฎของแก๊ส ทฤษฎีจลน์ของแก๊สอุดมคติและพลังงานในระบบ ทฤษฎีอะตอมของโบร์ ปรากฏการณ์โฟโตอิเล็กทริก ทวิภาวะของคลื่นและอนุภาค กัมมันตภาพรังสี แรงนิวเคลียร์ ปฏิกริ ยิ านิวเคลยี ร์ พลงั งานนิวเคลียร์ ฟิสกิ สอ์ นภุ าค รวมทัง้ นาความรไู้ ปใช้ประโยชน์ ผลการเรยี นรู้ อธบิ ายกฎของแก๊สอุดมคตแิ ละคานวณปริมาณต่าง ๆ ที่เกยี่ วขอ้ ง จดุ ประสงค์การเรยี นรู้ 1. นักเรียนสามารถอธิบายและใช้กฎต่าง ๆ ของแกส๊ อดุ มคติได้ (K) 2. นกั เรียนคานวณหาอุณหภมู ิ ความดัน ปรมิ าตร และจานวนโมลหรือมวลของแกส๊ อดุ มคติได้ (P) 3. ความใฝเ่ รียนรู้และอยากรู้อยากเหน็ (A) สาระการเรียนรู้ แก๊สอุดมคติเป็นแก๊สที่โมเลกุลมีขนาดเลก็ มากไม่มีแรงยดึ เหน่ียวระหว่างโมเลกุล มีการเคลื่อนที่แบบสมุ่ และมีการชนแบบยืดหย่นุ ความสัมพันธ์ระหว่างความดัน ปริมาตร และอุณหภูมิของแก๊สอุดมคติเป็นไปตามกฎของแก๊สอุดม คติ เขยี นแทนไดด้ ้วยสมการ ������������ = ������������������ = ������������������������

สาระสาคัญ สมบตั ิของแก๊สอุดมคติ จากการศึกษาของนักวิทยาศาสตร์ในอดีตเกี่ยวกับพฤติกรรมและสมบัติต่างๆ ของแก๊ส พบว่า โดยทวั่ ไปแก๊สเกอื บทกุ ชนิดจะมสี มบัติบางประการท่ีคล้ายกัน สามารถสรปุ และอธบิ ายสมบตั ิตา่ งๆ ของแก๊สได้ ด้วย ทฤษฎีจลน์ของแก๊ส (Kinetic theory of gas) ซึ่งเป็นทฤษฎีที่อธิบายเกี่ยวกับ สมบัติทางกายภาพและ การเคล่อื นท่ีของแก๊ส โดยมสี มมติฐาน ดังน้ี 1. แกส๊ ประกอบด้วยโมเลกลุ จานวนมาก โดยทกุ ๆ โมเลกลุ ของแกส๊ จะมลี ักษณะ เปน็ กอ้ นกลม ขนาด เท่ากัน ซึ่งเป็นขนาดที่เล็กมาก โมเลกุลเหล่านี้จะมีการขนผนังภาชนะ แล้วกระดอนแบบยืดหยุ่น เรียกว่า การชนแบบยืดหยุ่น (clastic collision) และเนื่องจากโมเลกุล ของแก๊สอยู่ห่างกันมาก โอกาสของการชน กนั เองระหวา่ งโมเลกุลจงึ นอ้ ยมาก ถอื ไดว้ า่ ไมม่ กี ารชน กันระหว่างโมเลกลุ 2. แต่ละโมเลกุลของแก๊สมีขนาดเล็ก มากถือได้ว่ามีปริมาตรน้อยมากเมื่อเทียบกับ ปริมาตรของแก๊ส ทั้งหมดในภาชนะ จงึ กลา่ วได้วา่ โมเลกลุ ของแก๊สไมม่ ปี รมิ าตร 3. โมเลกุลของแกส๊ อย่หู า่ งกันมาก สง่ ผลใหม้ แี รงยดึ เหนย่ี วระหว่างโมเลกลุ ของ แกส๊ น้อยมากจนถือได้ วา่ ไม่มีแรงยดึ เหนี่ยว ระหว่างโมเลกลุ หรือแรงใดๆ มากระทาตอ่ กัน แม้กระทง้ั แรงดงึ ดูดของโลก 4. โมเลกุลของแก๊สมีการเคลือ่ นทีแ่ บบสุ่มหรือเป็นการเคลื่อนที่แบบอิสระในทุกๆ ทิศทางแบบไม่เป็น ระเบยี บ ดว้ ยอตั ราเรว็ คงตวั ซ่ึงเปน็ ไปตามกฎการเคลอ่ื นท่ีของนิวตัน แก๊สที่มีสมบัติเป็นไปสมมติฐานดังกล่าวทุกประการ เรียกว่า แก๊สสมบูรณ์ (perfect gas) ถือได้ว่า เป็นแก๊สอุดมคติ (idical gas) โดยสมมติฐานเป็นแบบจาลองของแก๊สอุดมคติ (ideal gas model) ไม่สามารถ พบไดใ้ นธรรมชาติ ดงั น้ัน แก๊สทมี่ อี ยู่ในธรรมชาตจิ ะเรียกว่า แกส็ จริง (real gas) เนื่องจากจะประกอบด้วย โมเลกุลของ แก๊สที่มีแรงยึดเหนี่ยวระหว่างโมเลกุลกับมีปริมาตร แต่อย่างไรก็ตาม แก๊สจริงจะมีสมบัติใกล้เคียงกับแก๊สอุดม คติได้เมอื่ อุณหภมู ิสงู และมคี วามดนั ต่า กฎของแก๊สอดุ มคติ จากการศึกษาและทดลองของนักวิทยาศาสตร์หลายท่านเกี่ยวกับความสัมพันธ์ระหว่างความ ดัน ปริมาตร และอุณหภูมิของแก๊ส แล้วสรุปความสัมพันธ์ของปริมาณดังกล่าวออกมาเป็นกฎต่างๆ เรียกว่า กฎของแกส๊ (gas law) 1. กฎของบอยล์ (Boyle's law) รอเบิร์ต บอยล์ (Robert Boyle) (พ.ศ. 2170-2234) ได้สรุปผล การศึกษาและทดลองแล้วเสนอแนวคิดว่า 'สาหรับแก๊สในภาชนะปิด ถ้าอุณหภูมิ (T) ของแก๊สคงตัว ปริมาตร (V) ของแกส๊ ใด ๆ จะแปรผกผนั กับความดนั (P) ของแก๊สน้นั ๆ \"สามารถเขียนแสดงความสมั พนั ธไ์ ด้ ดังน้ี ������ ∝ ������ หรือ PV = k ������ เม่ือ k เปน็ ค่าคงตัว

จากสมการ เมื่อนามาพิจารณาพลังงานจลน์ของแก๊ส ที่อุณหภูมิและมวลของแก๊สคงตัว จะได้ว่า พลังงานจลน์เฉลี่ยของโมเลกุลแก๊สก็จะคงตัวด้วย ถ้าหากพิจารณาการเปลี่ยนสภาวะของแก๊สจากสภาวะที่ 1 ไปสภาวะที่ 2 โดยท่อี ุณหภมู ิมีค่าคงตวั สามารถเขียนแสดงความสมั พันธไ์ ด้ ดังนี้ P1V1 = P2Y2 2. กฎของชาร์ล (Charles' law) ชาก อาแลกซองตร์ เซซา ชาร์ล (Jacques Alexandre Ce'sar Charles) (พ.ศ. 2289-2366) ได้สรุปผลการศึกษาและทดลอง แล้วเสนอแนวคิดว่า \"สาหรับแก๊สในภาชนะปิด ถ้าความดัน (P) ของแกส๊ คงตวั ปริมาตร (V) ของแกส๊ ใด ๆ จะแปรผันตรงกบั อุณหภูมสิ ัมบรู ณ์ (T) ของแก๊สน้ัน ๆ\" สามารถเขียนแสดงความสมั พนั ธไ์ ด้ ดงั น้ี ������ ∝ ������ หรือ ������ = ������ ������ เม่อื k เปน็ คา่ คงตัว จากสมการ เมื่อนามาพิจารณาพลังงานจลนข์ องแก๊ส ที่ความดันและมวลของแก๊สคงตัว จะได้ว่า เมื่อ อุณหภูมิเพิ่มขึ้น ความเร็วของโมเลกุลของแก๊สจะเพิ่มขึ้นดว้ ย จึงทาให้การเปลี่ยนแปลงโมเมนตัมที่เกิดจาการ ชนกันของแกส๊ และการชนผนังภาชนะของแก๊สมคี ่าเพิ่มขนึ้ ตาม แตเ่ พอ่ื ใหอ้ ตั ราการเปลี่ยนแปลงโมเมนตัมเท่า เดิมตามกฎการอนุรักษ์โมเมนตัมจึงต้องทาให้เกิดอัตราการชนลดลง ดังนั้น แก๊สจึงต้องเพิ่มปริมาตรเพื่อให้ ระยะห่างระหว่างโมเลกุลของแก๊สมีมากขึ้น ซึ่งถ้าหากพิจารณาการเปลี่ยนสภาวะของแก๊สจากสภาวะที่ 1 ไป สภาวะท่ี 2 โดยทคี่ วามดันมีคา่ คงตวั สามารถเขยี นแสดงดวามสมั พนั ธ์ได้ ดงั น้ี ������1 = ������2 ������1 ������2 โดยที่ T คอื อุณหภมู ิสมั บรู ณ์หรอื อณุ หภมู ิในหนว่ ยเคลวิน 3. กฎของเกย์-ลูสแซก (Gay-Lussac's law) โชแซฟ-ลุย เก-ลูซัก (Joseph-Loius Gay-Lussac) (พ.ศ. 2321-2393) ได้สรุปผลการศึกษาและทดลอง แล้วเสนอแนวคิดว่า \"สาหรับแก๊สในภาชนะปิด ถ้าปรมิ าตร (V) ของแกส๊ คงตวั ดวามดนั (P) ของแกส๊ ใด ๆ จะแปรผนั ตรงกบั อุณหภูมสิ ัมบูรณ์ (T) ของแก๊สน้ัน ๆ\"สามารถเขยี นแสดงความสัมพันธไ์ ด้ ตงั น้ี ������ ∝ ������หรอื ������ = ������ ������ เมอ่ื k เป็นค่าคงตวั จากสมการ เมื่อนามาพิจารณาพลังงานจลน์ของแก๊ส ที่ปริมาตรและมวลของแก๊สคงตัว จะได้ว่า เมื่อ อุณหภูมิเพิ่มขึ้น พลังงานจลน์เฉลี่ยของแก๊สจะเพิ่มขึ้น เนื่องจากมีการชนกันของแก๊สและการชนผนังภาชนะ ของแก๊สมากขึ้น ทาให้อัตราการเปลี่ยนแปลงโมเมนตัม จากการชนเพิ่มมากขึ้น ส่งผลให้ความดันของแก๊ส เพิ่มขึ้นด้วย ซึ่งถ้าหากพิจารณาการเปลี่ยนสภาวะของแก๊สจากสภาวะที่ 1ไปสภาวะที่ 2 โดยที่ปริมาตรของ แกส๊ มีคา่ คงตัว สามารถเขียนแสดงความสมั พันธไ์ ด้ ดงั นี้

������1 = ������2 ������1 ������2 จากผลการทดลองรวมทง้ั ข้อสรปุ ของนักวิทยาศาสตรห์ ลายทา่ น จึงมีการรวบรวมกฎของแกส๊ ที่ได้ กลา่ วมาทัง้ หมด โดยสามารถสรปุ ความสัมพันธ์ของกฎต่าง ๆ ได้ ดังนี้ กฎของบอยล์ : ������ ∝ 1 เมอื่ มวลและอุณหภมู ิของแก๊สคงตัว กฎของชารล์ ������ : ������ ∝ ������ เม่ือมวลและความดนั ของแก๊สคงตัว กฎของเกย-์ ลูสแซก : ������ ∝ ������ เมอื่ มวลและปริมาตรของแก๊สคงตวั หากนากฎของแกส๊ ทั้งสามมารวมกัน สามารถเขยี นแสดงความสมั พันธ์ได้ ดงั นี้ ������ ∝ ������ หรอื ������������ = ������ ������ ������ เม่ือ k เปน็ คา่ คงตวั และสามารถเขียนความสัมพันธก์ ารเปล่ยี นสภาวะของแก๊สจากสภาวะท่ี 1 ไปสภาวะที่ 2 ได้ดังนี้ ������1������1 = ������2������2 ������1 ������2 เมอ่ื พิจารณาสมการท่ี 2.17 พบว่า จากการทดลองใชแ้ ก๊สชนิดต่าง ๆ ทมี่ ปี ริมาตรต่างกัน ค่าคงตัว (k) ในสมการท่ี 2.16 จะแปรผนั ตรงกับจานวนโมล (n) ของแก๊ส กลา่ วได้วา่ สาหรบั แกส๊ ชนิดหนึง่ ๆ สามารถเขยี น แสดงความสัมพนั ธ์ไดด้ ังน้ี ������������ ������ ������ หรอื ������������ = ������������ ������ ������ โดยที่ R เปน็ คา่ คงตัว เรยี กว่า คา่ คงตัวของแก๊ส (gas constant) ดังน้ัน กฎของแก๊สอดุ มคติ (ideal gas law) สามารถเขยี นแสดงความสัมพันธไ์ ด้ ดังน้ี ������������ = ������������������ P คอื ความดันของแก๊ส มหี น่วยเป็น นิวตนั ต่อตารางเมตร (N/m2) V คือ ปริมาตรของภาชนะบรรจแุ ก๊ส มีหนว่ ยเปน็ ลกู บาศก์เมตร (m2) n คอื จานวนโมลของแก๊ส มีหน่วยเป็นโมล (mol) R คอื ค่าคงตัวของแก๊ส มีค่าเท่ากบั 8.314510 จูลต่อโมล เควิน (J/mol K) T คอื อุณหภูมสิ มั บรู ณ์ มีหนว่ ยเป็น เคลวิน (K) จากนิยามของโมล (mole) ซงึ่ เปน็ หน่วยฐานในระบบเอสไอ จะไดว้ ่า ปริมาณของสาร1 โมล มีอนุภาค เท่ากับจานวนอะตอมของคาร์บอน-12 ที่มีมวล 12 กรัม พอดี โดยมีค่าเท่ากับ 6.02 x 1023 อะตอม เรียก จ านวนนี้ว่าค่าคงตัวอาโวกาโตร (Avogadro constant) เขียนแทน ด้วยสัญลักษณ์ NA จะได้ว่า NA = 6.02 x 1023 mol-1

เมอื่ n เป็นจานวนโมลของแก๊ส และ N เป็นจานวนโมเลกุลของแกส๊ สามารถเขียนความสมั พนั ธไ์ ด้ ดังน้ี ������ ������ = ������������ หากนาจานวนโมลของแก๊ส จากสมการที่ 2.20 แทนลงในสมการท่ี 2.19 จะไดว้ ่า ������ ������������ = ������ ������������ ������ ������ เรียกว่า ค่าคงตัวของโบลด์ซมันน์ (Bolizmann constan) มีค่าเทา่ กับ เน่อื งจาก ������������ = ������������ ������������ = 8.31 ������/������������������ ������ = 1.38 ������ 10−23 ������/������ 6.02 ������ 1023 ������������������−1 ดังนัน้ กฎของแกส๊ อดุ มคติ สามารถเขียนดวามสัมพนั ธ์อกี รูปแบบหนึง่ ได้ ดงั น้ี PV = NkBT P คอื ความตนั ของแก๊ส มหี น่วยเปน็ นิวตนั ตอ่ ตารางเมตร (N/m2) V คือ ปรมิ าตรของภาชนะบรรจุแก๊ส มหี น่วยเป็น ลกู บาศก์เมตร (m3) N คือ จานวนโมเลกุลของแก๊ส มหี น่วยเปน็ โมเลกุล (molecule) kB คือ ค่าคงตัวของโบลด์ซมันน์ มีคา่ เท่ากบั 1.38 x 10-23 จลู ต่อเควนิ (J/K) T คือ อุณหภูมสิ ัมบูรณ์ มหี นว่ ยเปน็ เคลวนิ (K) การนาแก๊สหลายชนิดที่ไม่ทาปฏิกิริยาเคมีต่อกันมาผสมรวมกัน สามารถนากฎของแก๊สอุดมคติมาใช้ ในการพจิ ารณาได้ เชน่ หากนาแกส๊ 3 ชนิด ทมี่ จี านวนโมล n1 n2 และ n3 ตามลาดับ มาผสมกนั สามารถเขียน แสดงความสมั พนั ธ์กฎของแกส๊ อดุ มคตสิ าหรบั แก๊สผสมน้ีได้ ดังสมการ PV = (n1 + n2 + n3) RT โดยท่ี P คือ ความดนั รวม และ T คือ อุณหภูมิของแกส๊ ซึ่งจากสมการที่ 2.16 เขยี นไดเ้ ป็น ������ = (������1+ ������2+ ������3 )������������ ������ ������ = ������1������������ + ������2������������ + ������3������������ ������ ������ ������ ������ = ������1 + ������2 + ������3 จะได้ว่า P1 P2 และ P3 คือ ความดนั ของแกส๊ ชนดิ ท่ี 1 2 และ 3 ตามลาดับ ซงึ่ เรยี กว่า ความดันย่อย (partial pressure) ของแก๊สแตล่ ะชนิด และในกรณีแกส๊ ผสมน้ี สามารถเขียนแสดงความสัมพนั ธก์ ฎของแก๊ส อุดมดตสิ าหรับแกส๊ ผสมอีกรปู แบบหนึง่ ได้ ดังสมการ PV = (N1 + N2+ N3)kBT โดยที่ N1 N2 และ N3 คอื จานวนโมเลกลุ ของแกส๊ แต่ละชนิด

สมรรถนะสาคัญ ความสามารถในการคดิ - ทกั ษะการคิดวเิ คราะห์ - ทกั ษะการคิดสงั เคราะห์ คณุ ลกั ษณะอันพึงประสงค์ (จิตวิทยาศาสตร์) ความใฝ่เรียนรู้และมีความอยากรู้อยากเห็น นักเรียนแสดงออกถึงความตั้งใจความต้องการทีจ่ ะรู้และ เสาะแสวงหาความรเู้ ก่ยี วกับสง่ิ ตา่ งๆ ทสี นใจหรือต้องการค้นพบส่ิงใหม่ แสดงออกได้โดยการถามคาถาม หรอื มี ความสงสัยในสิ่งที่สนใจอยากรู้ มีความกระตือรือร้นในการเสาะแสวงหาข้อมูลที่เกี่ยวข้องกับสิ่งที่สนใจ เพียร พยายามในการเรียนและการทากจิ กรรมต่างๆ แสวงหาความรูจ้ ากแหล่งเรียนรู้ต่างๆ อยเู่ สมอ โดยการเลือกใช้ สื่ออย่างเหมาะสม บันทึกความรู้ วิเคราะห์ สรุปเป็นองค์ความรู้ แลกเปลี่ยนเรียนรู้ ถ่ายทอด เผยแพร่ และ นาไปใชใ้ นชีวติ ประจาวนั ได้ ช้ินงาน/ภาระงาน ใบงานที่ 2.4 การคานวณปริมาณที่เก่ยี วข้องกบั แกส๊ อุดมคติ กจิ กรรมการเรียนรู้ วธิ ีสอนใช้รูปแบบวงจรการเรียนรู้ 5 ข้ันตอน (5E Learning Cycle model) ข้นั ท่ี 1 ขั้นสรา้ งความสนใจ ( 10 นาที ) 1. ครูทบทวนความรู้เดิมในเร่อื งนิยามของแกส๊ อดุ มคติ 2. ครใู ชค้ าถามเพอ่ื กระตุ้นให้นักเรียนเกิดการเรียนรู้ โดยมปี ระเดน็ คาถาม ดงั นี้ - กฎของแก๊สอดุ มคติ เกิดจากความสมั พนั ธ์ระหว่างกฎของแก๊สใดบ้าง อยา่ งไร (แนวคาตอบ ครูเปิดโอกาสให้นักเรียนแสดงความคิดเห็นอย่างอิสระ โดยไม่คาดหวังคาตอบที่ ถูกตอ้ ง) 3. ครูและนกั เรยี นร่วมกันสนทนาอภิปรายเกีย่ วกบั การคานวณปริมาณต่างๆ ท่ีเกีย่ วขอ้ งกับแก๊สในอุดม คติ เพ่ือเข้าสู่บทเรียน ขัน้ ที่ 2 ขั้นสารวจและค้นหา ( 25 นาที ) 4. นักเรยี นแต่ละคนศกึ ษากิจกรรมจากใบงานท่ี 2.4 การคานวณปรมิ าณทเี่ กย่ี วข้องกบั แก๊สในอุดมคติ 5. ครชู ีแ้ จงจุดประสงคแ์ ละวธิ กี ารปฏิบตั กิ จิ กรรมให้นักเรียนทราบ 6. นักเรียนลงมอื ปฏิบตั กิ จิ กรรม และรายงานผล

ขั้นที่ 3 ขั้นสร้างคาอธิบายและลงขอ้ สรปุ ( 15 นาที ) 7. ครูใหน้ กั เรยี นร่วมกันอภิปรายเพอ่ื นาไปส่กู ารสรุป โดยใช้คาถามต่อไปน้ี - แนวคิดที่ว่า “สาหรับแก๊สในภาชนะปิด ถ้าอุณหภูมิของแก๊สคงตัว ปริมาตรของแก๊สใดๆ จะ แปรผกผนั กบั ความดันของแก๊สน้ันๆ แนวคิดน้ีเปน็ กฎของใคร (แนวคาตอบ กฎของบอยล์ (Boyle’s lew) ) - กฎของชารล์ กลา่ วไวว้ ่าอย่างไร (แนวคาตอบ สาหรับแก๊สในภาชนะปิด ถ้าความดันของแกส๊ คงตัว ปริมาตรของแก๊สใดๆ จะแปร ผันตรงกับอณุ หภูมิสมั บูรณ์ของแก๊สนั้นๆ) - จงอธิบายตัวแปรสถานะของแกส๊ อดุ มคติ (แนวคาตอบ T อุณหภูมิ ใช้อุณหภูมิในหน่วยเคลวิน ซึ่งก็คืออุณหภูมิสัมบูรณ์, V ปริมาตร จาก สมบัติของแก๊สอุดมคติ ทาให้สามารถใช้ปริมาตรของภาชนะได้, P ความดัน เป็นความดันสัมบูรณ์ของระบบ แก๊สท่กี าลงั พจิ ารณา) 8. ครแู ละนกั เรยี นรว่ มกันอภิปรายเกี่ยวกบั การใชก้ ฎของแก๊สอุดมคติ ดงั น้ี กฎของแก๊สอุดมคติ (ideal gas law) สามารถเขียนแสดงความสัมพันธ์ได้ ดังนี้ PV =nRT P คือ ความดันของแก๊ส มีหน่วยเป็น นิวตันต่อตารางเมตร (N/m2) V คือ ปริมาตรของภาชนะบรรจุแก๊ส มีหน่วยเป็น ลูกบาศก์เมตร (m2) n คือ จานวนโมลของแก๊ส มีหน่วยเป็นโมล (mol) R คือ ค่าคงตัวของแก๊ส มีค่าเท่ากับ 8.314510 จูลต่อโมล เควิน (J/mol K) T คือ อุณหภูมิสัมบูรณ์ มีหน่วยเป็น เคลวิน (K) จากนิยามของโมล (mole) ซ่งึ เปน็ หน่วยฐานในระบบเอสไอ จะได้วา่ ปริมาณของสาร1 โมล มีอนุภาค เท่ากับจานวนอะตอมของคาร์บอน-12 ที่มีมวล 12 กรัม พอดี โดยมีค่าเท่ากับ 6.02 x 1023 อะตอม เรียก จ านวนนี้ว่าค่าคงตัวอาโวกาโตร (Avogadro constant) เขียนแทน ด้วยสัญลักษณ์ NA จะได้ว่า NA = 6.02 x 1023 mol-1 เมือ่ n เป็นจานวนโมลของแก๊ส และ N เปน็ จานวนโมเลกุลของแกส๊ สามารถเขียนความสัมพันธ์ได้ ดงั นี้ ������ ������ = ������������ หากนาจานวนโมลของแก๊ส จากสมการที่ 2.20 แทนลงในสมการท่ี 2.19 จะได้ว่า ������ ������������ = ������ ������������ ������ ������ เรียกวา่ คา่ คงตัวของโบลด์ซมนั น์ (Bolizmann constan) มคี ่าเทา่ กบั เนื่องจาก ������������ = ������������ ������������ = 8.31 ������/������������������ ������ = 1.38 ������ 10−23 ������/������ 6.02 ������ 1023 ������������������−1

ดงั นั้น กฎของแก๊สอดุ มคติ สามารถเขียนดวามสมั พนั ธ์อกี รูปแบบหน่ึงได้ ดังน้ี PV = NkBT P คอื ความตันของแก๊ส มหี น่วยเปน็ นวิ ตนั ตอ่ ตารางเมตร (N/m2) V คือ ปริมาตรของภาชนะบรรจุแกส๊ มหี นว่ ยเปน็ ลูกบาศก์เมตร (m3) N คือ จานวนโมเลกลุ ของแก๊ส มหี น่วยเปน็ โมเลกุล (molecule) kB คือ ค่าคงตวั ของโบลดซ์ มันน์ มคี า่ เทา่ กับ 1.38 x 10-23 จลู ตอ่ เควิน (J/K) T คือ อุณหภูมิสมั บรู ณ์ มหี นว่ ยเปน็ เคลวิน (K) การนาแก๊สหลายชนิดที่ไม่ทาปฏิกิริยาเคมีต่อกันมาผสมรวมกัน สามารถนากฎของแก๊สอุดมคติมาใช้ ในการพิจารณาได้ เช่น หากนาแกส๊ 3 ชนิด ทีม่ จี านวนโมล n1 n2 และ n3 ตามลาดับ มาผสมกัน สามารถเขยี น แสดงความสัมพันธ์กฎของแกส๊ อดุ มคตสิ าหรบั แกส๊ ผสมน้ีได้ ดงั สมการ PV = (n1 + n2 + n3) RT โดยที่ P คอื ความดนั รวม และ T คือ อุณหภมู ขิ องแกส๊ ซ่งึ จากสมการที่ 2.16 เขียนไดเ้ ป็น ������ = (������1+ ������2+ ������3 )������������ ������ ������ = ������1������������ + ������2������������ + ������3������������ ������ ������ ������ ������ = ������1 + ������2 + ������3 จะไดว้ า่ P1 P2 และ P3 คือ ความดนั ของแกส๊ ชนิดท่ี 1 2 และ 3 ตามลาดับ ซ่งึ เรียกว่า ความดนั ย่อย (partial pressure) ของแกส๊ แต่ละชนดิ และในกรณแี ก๊สผสมนี้ สามารถเขียนแสดงความสมั พันธ์กฎของแก๊ส อุดมดติสาหรับแกส๊ ผสมอีกรูปแบบหน่ึงได้ ดังสมการ PV = (N1 + N2+ N3)kBT โดยที่ N1 N2 และ N3 คอื จานวนโมเลกลุ ของแก๊สแตล่ ะชนิด ข้นั ที่ 4 ขนั้ ขยายความรู้ ( 5 นาที ) 9. ครูยกตัวอย่างโจทย์ปัญหาเพื่อตรวจสอบความเข้าใจ ดังนี้ พิจารณากระบอกสูบ 2 กระบอก กระบอกสูบแรก มีปริมาตรเป็นสองเท่าของกระบอกสูบที่ 2 กระบอกสูบทั้งสองมีอุณหภูมิเท่ากัน และบรรจุ แกส๊ ชนดิ เดียวกนั จะหาความดนั ของแก๊สภายในกระบอกสูบทงั้ สองได้หรือไม่ เพราะเหตใุ ด ข้ันที่ 5 ประเมนิ ผล ( 5 นาที ) 10. ครูสังเกตและประเมินพฤติกรรมของนักเรียนในขณะที่ให้นักเรียนปฏิบัติกิจกรรมและ การนาเสนอผลการปฏบิ ัตกิ จิ กรรม

วสั ดุ/อุปกรณ์ ส่ือและแหลง่ เรียนรู้ 1. หนงั สือเรียนฟสิ กิ ส์ ม.6 เล่ม 1 สังกดั อจท. 2. หนงั สือเรยี นฟสิ กิ ส์ ม.6 เลม่ 5 สังกัด สสวท. 3. PowerPoint เรอื่ ง ความร้อนและทฤษฎจี ลนข์ องแกส๊ 4. ห้องเรียน 5. ห้องสมุด 6. แหล่งข้อมูลสารสนเทศ 7. ใบงานท่ี 2.4 การคานวณปริมาณที่เกย่ี วขอ้ งกับแกส๊ ในอุดมคติ การวดั ผลและประเมนิ ผล จดุ ประสงคก์ ารเรียนรู้ วธิ ีวัด เครื่องมอื เกณฑ์การประเมนิ 1. นักเรียนสามารถอธิบายและ ตรวจใบงาน ใ บ ง า น ที่ 2 .4 ก า ร ได้ระดับคุณภาพดี ใช้กฎต่าง ๆ ของแก๊สอุดมคติได้ ค า น ว ณ ป ร ิ ม า ณ ที่ จึงผ่านเกณฑ์ (K) เกี่ยวข้องกับแก๊สใน อดุ มคติ 2. นักเรียนคานวณหาอุณหภูมิ สังเกตและประเมินการ แ บ บ ป ร ะ เ ม ิ น ก า ร ได้ระดับคุณภาพดี ความดัน ปริมาตร และจานวน ปฏบิ ัตกิ ิจกรรม ปฏิบัติกิจกรรมการ จึงผ่านเกณฑ์ โมลหรือมวลของแก๊สอุดมคติได้ คานวณ (P) 4. มคี วามอยากร้อู ยากเหน็ (A) สังเกตและประเมินการ แบบประเมินการความ ได้ระดับคุณภาพดี ความอยากร้อู ยากเห็น อยากร้อู ยากเห็น จงึ ผ่านเกณฑ์ 5. คุณลักษณะด้านความใฝ่ สงั เกตพฤติกรรม แ บ บ ป ร ะ เ ม ิ น ค ุ ณ - ได้ระดับคุณภาพดี เรยี นรู้ ลักษณะอันพึงประสงค์ จงึ ผา่ นเกณฑ์ ดา้ นใฝ่เรยี นรู้ ความคิดเห็นของผบู้ ริหารสถานศึกษา ............................................................................................................................. ................................................. .................................................................................. ............................................................................................ ............................................................................................................................. ................................................. ลงชอ่ื ................................................................ผู้บริหารสถานศกึ ษา (…………………….………….……….………………………….) ........./........................./.........

บนั ทกึ หลังการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ ผลการจัดกิจกรรม ตารางท่ี 1 ผลการประเมนิ ด้านความรู้ (K) ลาดบั ท่ี ระดับชนั้ จานวน ดมี าก (4) สรุปผลการประเมนิ ปรับปรุง (1) รวม นกั เรยี น 100% ดี (3) พอใช้ (2) - 1 ม.6/1 80% - 100% 2 ม.6/3 30 100% -- - 100% 3 ม.6/4 32 70% 20% - - 100% 4 ม.6/5 26 100% 29 รวม -- 100 30% - ตารางที่ 2 ผลการประเมินดา้ นทักษะกระบวนการทางวิทยาศาสตร์ (P) ลาดับท่ี ระดับชน้ั จานวน สรุปผลการประเมิน พอใช้ (1 – 4) รวม นกั เรียน ดมี าก (9 – 12) ดี (5 – 8) - 1 ม.6/1 - 100% 2 ม.6/3 30 100% - - 100% 3 ม.6/4 32 100% - - 100% 4 ม.6/5 26 100% - 100% 29 80% 20% 100 รวม

บนั ทกึ หลังการจดั กิจกรรมการเรยี นรู้ ผลการจดั กจิ กรรม ตารางที่ 3 ผลการประเมินด้านเจตคติ (A) ลาดบั ท่ี ระดับช้ัน จานวน ดีมาก (3) สรปุ ผลการประเมิน พอใช้ (1) รวม นกั เรียน 100% ดี (2) - 1 ม.6/1 100% - - 100% 2 ม.6/3 30 100% - - 100% 3 ม.6/4 32 80% - - 100% 4 ม.6/5 26 รวม 20% 100% 29 100 ตารางที่ 4 ผลการประเมนิ ดา้ นคุณลกั ษณะอันพึงประสงค์ ลาดบั ท่ี ระดับช้ัน จานวน ดมี าก (3) สรปุ ผลการประเมิน ไม่ผ่าน (0) รวม นกั เรยี น 100% ดี (2) ผา่ น (1) - 1 ม.6/1 100% - 100% 2 ม.6/3 30 100% -- - 100% 3 ม.6/4 32 100% -- - 100% 4 ม.6/5 26 -- 100% 29 รวม -- 100


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook