2๒๗8๗1 วชิ า วนิ ัยบญั ญตั ิ เน้อื ใน นกั ธรรม ช้นั โท เลม 2 281
๒2๗8๘2 คมู ือการศกึ ษานกั ธรรมชนั้ โท เน้อื ใน นกั ธรรม ช้นั โท เลม 2 ขอบขายเน้อื หา วชิ าวินยั : วินยั มุข เลมที่ ๒ 282
2๒8๗3๙ วชิ า วนิ ัยบญั ญตั ิ สกิ ขาบทนอกพระปาติโมกข ความหมายของพระปาติโมกข ในวิชาวินัย หลักสูตรนักธรรมชั้นตรี เราไดศึกษาพระวินัยบัญญัติจากหนังสือนวโกวาท และหนังสือวินัยมุขเลม ๑ ซึ่งไดประมวลสิกขาบท ๒๒๗ สิกขาบท ท่ีเปนศีลหรือสิกขาบทของ ฝายภิกษุ และจัดเปนสิกขาบทที่มาในพระปาติโมกข ซึ่งเรียกวา อาทิพรหมจริยกาสิกขา มาครบถวนแลว ในวิชาวินัยหลักสูตรนักธรรมช้ันโทน้ี เราจะไดศึกษาประมวลสิกขาบท ที่ไมไดมาในพระปาติโมกข ท่ีเรียกวา อภิสมาจาริกาสิกขา (อภิสมาจารสิกขา) คือขอศึกษา เกี่ยวกับขนบธรรมเนียม และมารยาทท่ีดีงามในการอยูรวมกันของพระสงฆ หรือขอวัตรปฏิบัติที่ พระพุทธองคทรงแสดงไวในหมวดขันธกะ (พระบาลีวินัยปฎก เลม ๔ – ๗) กอนอื่นพึงทราบ ความหมายของพระปาติโมกขกอน คําวา ปาติโมกข (หรือใชวา ปาฏิโมกข) หมายถึง ประมวลบทบัญญัติ และคําสอน ทเ่ี ปน หลกั ใหญของพระพุทธเจาทกุ พระองค มี ๒ ประเภท คือ ๑. โอวาทปาตโิ มกข ประมวลหลักการสาํ คญั ทเี่ ปน ทัง้ คาํ สัง่ และคาํ สอนรวมอยูดวยกัน ท่ีทรงแสดงแกพระสาวกเพ่ือเผยแผพระศาสนา เชน ประมวลคําสอนที่เปนหลักการสําคัญ คือ การไมทําบาปทั้งปวง การทําความดีใหถึงพรอม การทําจิตของตนใหผองแผว หรือละชั่ว ประพฤติดี ทําจิตใหผ อ งใส ซงึ่ จดั เปน จาริตตศีล (หลกั ที่ควรประพฤต)ิ ๒. อาณาปาติโมกข ประมวลพระพุทธบัญญัติหรือสิกขาบทท่ีเปนคําส่ัง หรือขอหาม ในพระบาลีวินัยปฎกท้ังสิ้น (ของฝายภิกษุสงฆ ๒๒๗ สิกขาบท ของฝายภิกษุณีสงฆ ๓๑๑ สกิ ขาบท) ซ่ึงจดั เปน วารติ ตศีล (กฎท่ีเปน ขอหาม) ดังนั้น คําวา ปาติโมกข ในวิชาวินัยน้ี พึงทราบวาหมายถึงอาณาปาติโมกข ซึ่งทรงอนุญาตใหส งฆย กขน้ึ แสดงทกุ ก่งึ เดอื น แตจ ะเรยี กสนั้ ๆ วา พระปาติโมกข เน้อื ใน นกั ธรรม ช้นั โท เลม 2 283
2๒๘8๐4 คมู ือการศกึ ษานกั ธรรมชน้ั โท เน้อื ใน นกั ธรรม ช้นั โท เลม 2 ความแตกตางแหง “สกิ ขา” กับ “สกิ ขาบท” คําวา สิกขา หมายถึง ขอท่ีจะตองศึกษา ขอปฏิบัติสําหรับฝกอบรม มี ๓ อยาง ซึ่งเรียกวา ไตรสิกขา คอื ๑. อธิสีลสิกขา การศึกษาในศีล หมายถึง ขอปฏิบัติสําหรับฝกอบรมในทางความ ประพฤติขั้นสูง ไดแก ปาติโมกขสังวรศีล ศีลคือการสํารวมในพระปาติโมกข เวนขอท่ี พระพุทธเจาทรงหาม ทําตามขอที่ทรงอนุญาต จัดเปนศีลท่ียิ่งกวาสูงกวาศีลท่ัวไป เพราะ นอกจากพระพทุ ธเจา แลว ไมมีใครสามารถบญั ญตั ไิ ด ๒. อธิจิตตสิกขา การศึกษาในอธิจิต หมายถึง ขอปฏิบัติสําหรับฝกอบรมจิตเพ่ือให เกิดสมาธิชั้นสูง ไดแก การฝกอบรมจิตใหสงบจนถึงขั้นสมาบัติ ๘ อันเปนบาทฐานใหเกิด วปิ ส สนา จัดเปนสมาธทิ ีย่ ิง่ กวา สมาธิจติ ทว่ั ไปเพราะเกดิ มีเฉพาะกาลทพี่ ระพุทธเจา อบุ ตั เิ ทา น้ัน ๓. อธิปญญาสิกขา การศึกษาในอธิปญญา หมายถึง ขอปฏิบัติสําหรับฝกอบรม ปญ ญาเพื่อใหเกดิ ความรแู จง อยางสูง มองเห็นสภาพของส่ิงท้ังหลายตามเปนจริงไดแก วิปสสนา ญาณ คอื ปญญาที่กําหนดรอู าการของไตรลักษณ จัดเปนปญญาขั้นสูงยิ่ง เพราะเกิดมีเฉพาะกาล ทีพ่ ระพทุ ธเจาอบุ ตั เิ ทา น้ัน สิกขาบท หมายถึง ขอที่ตองศึกษา บทแหงการศึกษา หรือแนวทางใหลุถึงสิกขา หมายถึง บทบัญญัติขอหนึ่ง ๆ ในพระวินัยที่ภิกษุพึงศึกษาปฏิบัติ ขอกําหนดหน่ึง ๆ ซ่ึงเปน ขอหา มเพ่ือการฝก ฝนตนสําหรับพระภิกษุสามเณร หรือสวนแหงขอปฏิบัติในการฝกตนแตละขอ ซ่ึงพระพุทธเจาทรงบัญญัติไว กลาวใหชัด คือ ศีล ๕ ศีล ๘ ศีล ๑๐ ศีล ๒๒๗ ศีล ๓๑๑ แตละขอ ๆ เรียกวาสิกขาบท เพราะเปนขอท่ีจะตองศึกษา หรือเปนบทฝกฝนอบรมตนของสาธุชน อุบาสก อุบาสิกา สามเณร ภิกษุ และภิกษุณีตามลําดับ กลาวใหชัด สิกขาบท ก็คือศีลสิกขา อันเปน สวนหนึ่งแหงสิกขา ๓ น่ันเอง โดยสรุปก็คือ สิกขา มคี วามหมายกวา งกวา สกิ ขาบท พระวินัย : สิกขาบทในและนอกพระปาตโิ มกข พระวินัย หมายถึง ประมวลกฎสําหรับฝกอบรมกาย วาจา ของภิกษุและภิกษุณี ท่ีพระพุทธองคทรงบัญญัติไว และพระอรหันตเถระรวบรวมจัดเปนหมวดหมูในคราว ปฐมสังคายนา โดยเรียกวา พระบาลีวินัยปฎก (พระไตรปฎกเลมท่ี ๑ ถึงเลมท่ี ๘) พระวินัยหรือ สิกขาบท เม่ือกลาวอีกนยั หน่งึ ก็คือ พระพุทธบญั ญัตทิ ีจ่ ําแนกเปน ๒ ประการ คือ 284
2๒8๘5๑ วชิ า วนิ ัยบญั ญตั ิ ๑. มูลบัญญัติ พระบัญญัติเดิม คือขอท่ีทรงต้ังหรือทรงบัญญัติไวแตแรกเร่ิมหลังจาก เกิดเรอ่ื งขึ้น เชน ทรงบัญญัติปาราชิกสิกขาบทที่ ๑ เปนครั้งแรกเพียงวา ภิกษุใดเสพเมถุนธรรม เปน ปาราชกิ หาสังวาสมไิ ด ดังนีเ้ ปนตน ๒. อนุบัญญัติ พระบัญญัติเพ่ิมเติม หมายถึง บทแกไขเพ่ิมเติมท่ีพระพุทธเจา ทรงบัญญัติเสริมหรือผอนพระบัญญัติท่ีวางไวเดิม เพ่ือความเหมาะสมหรือรัดกุมยิ่งข้ึน เชน ทรงบัญญัติปาราชิกสิกขาบทท่ี ๑ เพิม่ เตมิ เปน ครั้งที่ ๒ วา อน่ึง ภิกษใุ ดเสพเมถนุ ธรรม โดยท่ีสุด แมกับสัตวเ ดรจั ฉานเพศเมีย เปน ปาราชกิ หาสงั วาสมิได พระวินัย วาโดยความหมายที่มุงถึงขอบัญญัติท่ีพระพุทธเจาทรงหาม หรือบทหนึ่ง ๆ แหงพระพุทธบัญญัติ ซ่ึงเปรียบเหมือนมาตราหนึ่ง ๆ แหงพระราชบัญญัติหรือกฎหมายทาง บา นเมือง ก็คือ สกิ ขาบท ท่จี ดั เปน ศลี สกิ ขานนั่ เอง พระวินัยหรือสกิ ขาบท มี ๒ ประเภท คอื ๑. อาทิพรหมจริยกาสิกขา ขอศึกษาอันเปนสวนเบื้องตนแหงพรหมจรรย หมายถึง หลักการศกึ ษาอบรมในฝายบทบัญญัติ หรือขอปฏิบัติที่เปนเบื้องตนของพรหมจรรย (ไตรสิกขา) สําหรับปองกันความประพฤติเสียหาย ไดแก สิกขาบทในพระปาติโมกขของสงฆทั้งสองฝายคือ ภกิ ษสุ งฆและภิกษณุ สี งฆ สิกขาบทในพระปาติโมกข หมายถึง สกิ ขาบทท่ที รงบัญญัติเปนขอหาม ปรับโทษ สาํ หรบั พระภกิ ษผุ ฝู า ฝน กระทาํ ผดิ ไวในพระปาตโิ มกข ในสิกขาบทของพระภิกษุ ๒๒๗ สิกขาบท จัดเปนสิกขาบทในพระปาติโมกข ๑๕๐ สิกขาบท คือ (๑) ปาราชิก ๔ สกิ ขาบท (๒) สังฆาทเิ สส ๑๓ สิกขาบท (๓) นสิ สคั คยิ ปาจิตตีย ๓๐ สกิ ขาบท (๔) ปาจติ ตีย ๙๒ สิกขาบท (๕) ปาฏิเทสนยี ะ ๔ สิกขาบท (๖) อธิกรณสมถะ ๗ สกิ ขาบท สวนอีก ๗๗ สิกขาบท คอื อนิยต ๒ สิกขาบท และเสขิยวัตร ๗๕ สิกขาบท จัดเปนสิกขาบทนอก พระปาติโมกข ๒. อภิสมาจาริกาสิกขา (หรือ อภิสมาจารสิกขา) ขอศึกษาอันเปนสวนอภิสมาจาร เน้อื ใน นกั ธรรม ช้นั โท เลม 2 285
เน้อื ใน นกั ธรรม ช้นั โท เลม 2 286 286
2๒8๘7๓ วชิ า วนิ ยั บญั ญตั ิ ความผิดสถานเบาชั้นรองลงมาจากปาฏิเทสนียะ ไมปรากฏในพระพุทธบัญญัติโดยตรง เพราะ เปนอาบัติที่แฝงอยูในอาบัติอื่น ๆ โดยสวนใหญจะแฝงอยูกับบทภาชนียหรือวินีตวัตถุ (เรื่องที่ ทรงวินิจฉัย) แหงอาบัติปาราชิก สังฆาทิเสส และปาจิตตียทุกสิกขาบทและสวนที่แยกเปน แผนกหนึ่งโดยเฉพาะปรากฏอยูในเสขิยกัณฑแหงคัมภีร มหาวิภังคทุติยภาค หรือที่เรียกวา เสขิยวตั ร จาํ นวน ๗๕ สกิ ขาบท ซงึ่ เปนพระพุทธบัญญัติที่เนนการวางกิริยาทางกายและวาจาให เหมาะสมแกความเปนภิกษุ แมไมไดเปนชื่ออาบัติ แตปรับอาบัติทุกกฏจึงมีจํานวนมากมาย กาํ หนดแนนอนไมไ ด ในพระวนิ ัยปฎกทา นไมไ ดกาํ หนดนบั ไวว า มีจํานวนทั้งหมดเทาไร ขอบขา ยทกี่ ําหนดใหศ กึ ษา ในหนังสือวินัยมุขเลม ๒ ซ่ึงวาดวยสิกขาบทนอกพระปาติโมกข หรืออภิสมาจาร ที่กําหนดเปนหลักสูตรวิชาวินัย นักธรรมช้ันโท ทานแบงเนื้อหาออกเปน ๑๒ กัณฑ (บท หมวด หรอื ตอน) โดยนับตอ เน่ืองจากหนังสอื วนิ ัยมุขเลม ๑ ดังตอ ไปนี้ กณั ฑท่ี ๑๑ กายบริหาร กัณฑท ่ี ๑๒ บรขิ ารบริโภค กณั ฑท ่ี ๑๓ นสิ สัย กัณฑท ่ี ๑๔ วัตร กณั ฑท่ี ๑๕ คารวะ กณั ฑท ่ี ๑๖ จําพรรษา กณั ฑท ่ี ๑๗ อโุ บสถ ปวารณา กณั ฑท ่ี ๑๘ อุปปถกิรยิ า กัณฑท ี่ ๑๙ กาลิก ๔ กัณฑท ่ี ๒๐ ภณั ฑะตา งเจา ของ กัณฑท ่ี ๒๑ วนิ ัยกรรม กณั ฑท ี่ ๒๒ ปกิณณกะ เน้อื ใน นกั ธรรม ช้นั โท เลม 2 287
๒2๘8๔8 คมู อื การศกึ ษานกั ธรรมชน้ั โท เน้อื ใน นกั ธรรม ช้นั โท เลม 2 กัณฑท ่ี ๑๑ กายบริหาร กายบริหาร หมายถงึ การปฏบิ ตั ิรักษารา งกายใหสะอาดปลอดภัย มี ๑๔ ขอ ดงั น้ี ๑. อยาพึงไวผมยาว จะไวไดเ พยี ง ๒ เดือน หรอื ๒ น้ิว ๒. อยาพงึ ไวหนวดเครา ๓. อยา พึงไวเล็บยาว ๔. อยาพงึ ไวขนจมกู ยาว ๕. อยา พึงนําออกเสียซ่ึงขนในทแ่ี คบ เวนไวแ ตอ าพาธ ๖. อยา พงึ ผัดหนา ไลห นา ทาหนา ยอมหนา เจมิ หนา ยอ มตัว ๗. อยาพึงแตง เคร่ืองประดับตาง ๆ ๘. อยา พงึ สองดหู นา ในกระจกหรือวัตถุอ่นื ๙. อยา พึงเปลือยกายในท่ีไมบังควร ในเวลาไมบ งั ควร ๑๐. อยา งพึงนุงหม ผาอยางคฤหสั ถ ๑๑. เม่ือถา ยอุจจาระแลว ถามนี ํ้า ตองชาํ ระ ๑๒. อยาพงึ ใหทําสัตถกรรมและวัตถิกรรมในหรอื ใกลทแี่ คบ ๑๓. ภกิ ษตุ องใชไ มชําระฟน ๑๔. นา้ํ ที่ใชด่ืมตอ งกรองกอน ในกัณฑน้ี ทานแสดงถึงขอท่ีจะพึงปฏิบัติตอรางกายของภิกษุ เพ่ือจะรักษา รา งกายใหปราศจากโทษอันเกดิ จากความไมสะอาด และเพอ่ื สงเสรมิ ใหปฏบิ ัติตัวถกู ตอ งตามหลัก แหง สุขอนามัยวิธี ซึง่ มีอธบิ ายดงั น้ี ขอ ท่ี ๑ อยา พงึ ไวผมยาว จะไวไ ดเพยี ง ๒ เดือน หรอื ๒ นิ้ว ตอ งปลง (คือโกน) ทิ้งเสีย หมายถึง ภิกษุจะไวผมนาน และยาวเกินกวากําหนดน้ีมิได ตองปลงท้ิงเสียภายในกําหนด อน่ึง แมวายังไมถึงกําหนดเวลา ๒ เดือนก็จริง แตผมนั้นยาว ๒ น้ิว ก็จะตองปลงท้ิง หรือผมน้ัน ยาวไมถ งึ ๒ นว้ิ แตถ งึ กําหนด ๒ เดือนแลว กต็ อ งปลงทงิ้ เชนกนั ถา ไมปฏิบัติ ตองอาบตั ทิ ุกกฏ ขอที่ ๒ อยาพึงไวหนวดเครา พึงโกนท้ิงเสีย ก็เชนเดียวกับเร่ืองผม หนวด ไดแก ขน ที่ข้ึนอยูเหนือริมฝปาก ใตริมฝปาก และท่ีคาง สวนเครา ไดแก ขนที่งอกข้ึนตอจากจอนผมขางใบหู ลงมาประสานตอ กบั หนวดท่ีคาง ภิกษุบางรปู มีแตหนวด ไมม ีเครา บางรูปมที ้ังหนวดมที ้ังเครา 288
2๒8๘9๕ วชิ า วนิ ัยบญั ญตั ิ หนวดและเคราน้ี ทานมิไดกําหนดไวแนนอนวานานเทาไร ยาวเทาไร เหมือนอยางผม แตถาปลอยไวยาวเกินไป ก็ดูจะรกรุงรัง เห็นแลวไมนาเลื่อมใส ดูคลายกับโจรผูรายมากกวา ดังน้ัน เมื่อหนวดเครายาวพอควร ตองโกนทิ้งเสีย จะถอนออกดวยแหนบก็ได แตอาจจะเกิด ความเจบ็ ปวดและทาํ ลายประสาทตาได ขอท่ี ๓ อยาพึงไวเล็บยาว พึงตัดเสียดวยมีดเล็กพอเสมอเนื้อ รวมถึงขอหามเกี่ยวกับ เร่ืองเลบ็ อืน่ ๆ เชน หามไมใหขดั เล็บใหเกล้ียงเกลา แตถาเล็บเปอน จะขัดมลทินหรือแคะมูลเล็บ กส็ ามารถทําได ขอที่ ๔ อยาพึงไวขนจมูกยาว หมายถึง ขนจมูกที่ยาวออกมานอกชองจมูกทั้ง ๒ ซ่งึ มองดแู ลวนารงั เกียจ ไมส ุภาพ ดงั นัน้ เมื่อขนจมกู ยาว พนชอ งจมูกออกมาควรตดั หรือถอนทง้ิ เสยี ขอท่ี ๕ อยา พงึ นําออกเสยี ซงึ่ ขนในท่แี คบ เวนไวแตอาพาธ หมายถึง หามไมใหตัด หรอื โกนขนที่เกดิ ข้นึ ตามฐานอนั เปนที่ตั้งแหงอวัยวะเพศและขอบทวารหนัก (ในหนังสือวินัยมุขเลม ๒ ขนในที่แคบ ทานใหความหมายวา ไดแกขนในรมผาและท่ีรักแร) เวนไวแตอาพาธ คือเปนฝ มีแผล หรือโรคผิวหนัง เปนตน ทานใหนําออกได มิฉะน้ันจะเปนอุปสรรคตอการชําระแผลใสยา หรอื ทําใหแผลหายยาก ขอที่ ๖ อยาพึงผัดหนา ไลหนา ทาหนา เจิมหนา ยอมตัว เวนไวแตอาพาธ กอนอื่น พงึ ทราบความหมายกิรยิ าอาการเก่ียวกบั การแตง หนา ดงั น้ี - การผัดหนา คอื การใชแปงหรือดินสอพองท่ีเปนผงมาผัดหรือลูบท่ีหนาเพ่ือ ทําใหใ บหนา ขาวนวลดสู วยงามขึ้น - การไลหนา คอื การใชแ ปงหรอื ดินสอพองละลายหนา ไลบริเวณใบหนา เปน การรองพ้ืนเสียคร้ังหนึ่งกอน เม่ือแหงแลวจึงนําเอาแปงผงมาผัดทับอีกครั้งหนึ่ง จะทําใหใบหนา เรียบขาวผองสวยงามยิ่งขน้ึ ปจจบุ ันมแี ปงนา้ํ สาํ หรับไลหนา รองพื้น - การทาหนา คือการใชสีทาหนา เพ่ือใหดูสวยงามขึ้น เหมือนหญิงสาวบางคนท่ี ตองการจะใหเน้ือแกมทั้งสองขางของตนอมเลือดฝาด เปนสีชมพูเร่ือ ๆ เหมือนกับสีมะปรางสุก อนั แสดงออกถึงการที่มีสุขภาพอนามัยสมบูรณ เพ่ือใหด ูสวยงามและชวนมองมากขึน้ - การเจิมหนา คือการแตมดวยแปงกระแจะท่ีศีรษะหรือท่ีหนาผากซึ่งผูใหญ ทําใหผูนอย หรือผูสูงศักดิ์ทําให เพ่ือความเปนสิริมงคล หรือการเจิมดวยมโนศิลาคือนํ้ายาหรือ สที ี่ใชเขียนรูปภาพ - การยอมตัว คือการทาตัวดวยขม้ิน เหมือนกับหญิงในครั้งโบราณ เปนตน เพ่ือทาํ ใหผิวพรรณขาวเหลืองผอ งผุดประดุจหญงิ ชาววัง เปนเหตใุ หด สู วยงามนารักยง่ิ ขน้ึ เน้อื ใน นกั ธรรม ช้นั โท เลม 2 289
เน้อื ใน นกั ธรรม ช้นั โท เลม 2 290 290
2๒9๘๗1 วชิ า วนิ ยั บญั ญตั ิ ๒) หามมิใหสีกายดวยของมิบังควร เชน ทําไมเปนรูปมือ หรือจักเปนฟนมังกร และ เกลยี วเชือกที่คม เพราะอาจเปนอันตรายได ๓) หามมิใหผลัดกันถูตัวเหมือนชาวบาน มิใหเอาหลังตอหลังสีกัน เพราะเปนกิริยา คลา ยสตั วเ ดรัจฉาน แตใชบ ิดเปน เกลียวหรอื ฝา มอื ไมหาม ขอ ๑๐ อยา พึงนงุ หม ผาอยา งคฤหสั ถ หมายถงึ หา้ มมใิ หภ้ กิ ษุนุ่งหม่ แบบชาวบา้ น คอื นุ่งกางเกง สวมเสอื ใส่หมวก ใช้ผา้ โพก และผ้านุ่งผ้าห่มสฉี ูดฉาดต่าง ๆ หลากชนิด รวมถึง อาการนุ่งหม่ ต่าง ๆ อนั ไมใ่ ชก่ ริ ยิ าของภกิ ษุ อนงึ การนุ่งหม่ แบบคฤหสั ถน์ นั พวกภกิ ษุในฝา่ ยมหายานหรอื อาจรยิ วาท (เชน่ พระจนี ญีปุ่น) นิยมใช้อยู่ ถ้าภิกษุอาพาธ นุ่งกางเกงเพือบําบัดอาพาธได้ เช่น เป็นโรคไส้เลือน นุ่งกางเกงใน กอ็ นุโลมได้ เพราะอยใู่ นทปี กปิด มดิ ชดิ ซงึ ถา้ ไม่นุ่งกจ็ ะเป็นอนั ตรายอาพาธหนัก เพมิ ขนึ ขอ ๑๑ เม่ือถายอุจจาระแลว ถามีนํ้า ตองชําระ เว้นไว้แต่หานําไม่ได้ หรอื ไม่มี ภาชนะตกั เชน่ นจี ะเชด็ ดว้ ยไมห้ รอื ของอนื กไ็ ด้ ในขอ้ นี พระพทุ ธองคท์ รงบญั ญตั ไิ วเ้ พอื อนามยั ของภกิ ษุวา่ เมอื ถ่ายอจุ จาระแลว้ ถา้ มนี ํา ตอ้ งใชน้ ําชาํ ระ จะใชส้ งิ อนื ชาํ ระแทนไมไ่ ด้ เพราะนํานนั สามารถชาํ ระไดส้ ะอาดกวา่ ปลอดภยั กว่า อนงึ เกยี วกบั เรอื งสขุ อนามยั การถ่ายอจุ จาระ ในขทุ ทกวตั ถุขนั ธกะ จุลลวรรค ทตุ ยิ ภาค (พระไตรปิฎกเล่มที ๗) พระพทุ ธองคท์ รงวางหลกั ทเี ป็นพระพทุ ธานุญาตไวใ้ หภ้ กิ ษุปฏบิ ตั ิ ดงั นี ๑) พระพทุ ธานุญาตหลุมถายอุจจาระ มปี ฐมเหตุมาจากภกิ ษุทงั หลายถ่ายอจุ จาระ ลงในทนี ันๆ ในอาราม เป็นเหตุให้อารามสกปรก จึงทรงอนุญาตให้ถ่ายอุจจาระในทสี มควร ขา้ งหนึงของอาราม ต่อมาอารามมกี ลนิ เหมน็ กท็ รงอนุญาตใหส้ รา้ งหลุมอจุ จาระ ๒) พระพุทธานุญาตวัจกุฎีและประตูวัจกุฎี มปี ฐมเหตุมาจากภิกษุทงั หลายถ่าย อจุ จาระในทแี จง้ มคี วามลาํ บากดว้ ยรอ้ นบา้ ง หนาวบา้ ง จงึ ทรงอนุญาตใหม้ วี จั กฎุ ี เมอื วจั กฎุ ไี ม่มี บานประตู กท็ รงอนุญาตบานประตอู กี ๓) พระพุทธานุญาตเชือกหอยสําหรับเหนี่ยวถายเปนตน มปี ฐมเหตุมาจากภกิ ษุ รูปหนึงชราทุพพลภาพ ถ่ายอุจจาระแล้วลุกขนึ ล้มลง จึงทรงอนุญาตเชอื กหอ้ ยสําหรบั เหนียว ในสมัยนัน วัจกุฎียังไม่มีเครืองล้อม ภิกษุทงั หลายจึงกราบทูลให้ทรงทราบ พระพุทธองค์จึง ทรงอนุญาตใหล้ อ้ มรวั ได้ ๔) พระพุทธานุญาตหมออุจจาระเปนตน เมอื ยงั ไม่มหี มอ้ อุจจาระ กท็ รงอนุญาต หมอ้ อจุ จาระ เมอื กระบอกตกั นําชาํ ระอจุ จาระไมม่ ี กท็ รงอนุญาตกระบอกตกั นําชาํ ระอุจจาระ เมอื ภกิ ษุนงั ถ่ายลาํ บาก กท็ รงอนุญาตเขยี งรองเทา้ สาํ หรบั นงั ถ่าย เน้อื ใน นกั ธรรม ช้นั โท เลม 2 291
๒2๘9๘2 คมู ือการศกึ ษานกั ธรรมชนั้ โท เน้อื ใน นกั ธรรม ช้นั โท เลม 2 ขอ ๑๒ อยาพึงใหทําสัตถกรรมและวัตถิกรรมในหรือใกลที่แคบ ในทนี ี คําว่า สัตถกรรม หมายถงึ การกระทาํ ใดๆ ในทแี คบคอื ใกลบ้ รเิ วณทวารหนัก ๒ นิว ดว้ ยการใชม้ ดี ผ่า หรอื ตดั ใชเ้ ขม็ แทง ใชห้ นามบ่ง ใชว้ ตั ถุแหลมคมต่างๆ เจาะ รวมถงึ ใชเ้ ล็บขดี ข่วน ส่วนคําว่า วตั ถกิ รรม หมายถงึ การใชห้ นงั หรอื ผา้ ผกู รดั ทที วารหนกั เพอื รดั หวั ไสห้ รอื รดิ สดี วง พระพทุ ธองคท์ รงหา้ มไมใ่ หท้ าํ สตั ถกรรม ดว้ ยทรงบญั ญตั วิ ่า “ภิกษุท้ังหลาย ภิกษุไมพึง ใหทําการผาตัดในที่แคบ รูปใดใหทํา ตองอาบัติถุลลัจจัย” และทรงหา้ มไม่ใหท้ ําวตั ถกิ รรม ดว้ ย ทรงบญั ญตั วิ ่า “ภกิ ษทุ งั้ หลาย ภกิ ษไุ มพ ึงใหทําวัตถกิ รรม ในที่ประมาณ ๒ นว้ิ โดยรอบแหงที่แคบ รูปใดใหทําตอ งอาบตั ถิ ุลลัจจัย” แต่ในสมยั ปจั จุบนั วิทยาศาสตร์ทางการแพทย์เจรญิ ลําหน้าไปมาก เมอื ภิกษุเป็นโรค รดิ สดี วงทวาร กอ็ นุโลมใหแ้ พทยผ์ ชู้ าํ นาญทาํ การผา่ ตดั ได้ ขอท่ี ๑๓ ภิกษุตองใชไมชําระฟน เพราะเปนธรรมเนียมของภิกษุตองใชไมชําระฟน ท้ังนี้ สืบเน่ืองจากในสมัยหนึ่ง ภิกษุท้ังหลายไมเค้ียวไมชําระฟน ปากมีกลิ่นเหม็น ภิกษุทั้งหลาย จึงกราบทูลใหพระพุทธองคทรงทราบ พระพุทธองคจึงตรัสถึงโทษในการไมเค้ียวไมชําระฟนวา มี ๕ ประการ คือ (๑) นัยนตาไมแจมใส (๒) ปากมีกลิ่นเหม็น (๓) ลิ้นรับรสอาหารไมบริสุทธิ์ (๔) ดีและเสมหะหอหุมอาหาร (๕) ไมชอบอาหาร (คือเบื่ออาหาร เพราะฉันไมรูรส) และตรัสถึง อานสิ งส (ประโยชน หรอื ผลดี) ในการเค้ียวไมชําระฟนวามี ๕ ประการ ที่ตรงกันขาม คือ (๑) นัยนตา แจมใส (๒) ปากไมมีกลิ่นเหม็น (๓) ลิ้นรับรสอาหารบริสุทธ์ิ (๔) ดีและเสมหะไมหอหุมอาหาร (๕) ชอบอาหาร แลวทรงอนญุ าตใหภิกษใุ ชไมชําระฟน นับแตน้ันมา (ว.ิ จุล.๗/๔๐) อนึ่ง ในวินัยมุขเลม ๒ ทานกลาวถึงประโยชนจากการเค้ียวไมชําระฟนไว ๕ อยาง โดยสํานวนวา (๑) ฟนไมสกปรก (๒) ปากไมเหม็น (๓) เสนประสาทรับรสหมดจดดี (๔) เสมหะ ไมหมุ อาหาร (๕) ฉนั อาหารมรี ส (เวลาตอบขอสอบพึงใชตามวินัยมุข) ไมชําระฟนนั้น ในสมัยพุทธกาล พระพุทธองคทรงหามมิใหใชขนาดที่ยาวเกินไป หรือ สั้นเกินไป แตใหใชข นาดความยาวประมาณ ๔ น้ิว ถงึ ๘ นวิ้ ขอที่ ๑๔ น้าํ ที่ใชดมื่ ตอ งกรองกอ น ทง้ั นเ้ี พื่อปองกนั ตัวสัตว และเพื่อใหน้ําสะอาด สําหรับ ในขอน้ีทรงอนุญาตผากรองนํ้าไว จะใชผาท่ีเปนผืน หรือแผนผาเล็ก ๆ ผูกกับกระบอกไมหรือวัตถุ อยางใดอยางหนงึ่ ซ่งึ มลี กั ษณะเหมอื นกระบอกไมท เี่ รียกวา ธมกรก ก็ได เพื่อปองกันที่จะดื่มตัวสัตว เขาไป และเพ่อื ตอ งการใหภิกษุไดด่ืมนาํ้ ที่สะอาดปราศจากสิ่งท่ีอาจจะเปนอันตรายไดด วย 292
2๒9๘3๙ วชิ า วนิ ัยบญั ญตั ิ กณั ฑท ่ี ๑๒ บรขิ ารบริโภค บรขิ ารบรโิ ภค หมายถงึ บรขิ ารเครอ่ื งใชส อยของภกิ ษุ ทา นจําแนกไว ๔ อยาง คอื เน้อื ใน นกั ธรรม ช้นั โท เลม 2 ๑.จีวร จีวร แปลวา ผา เปนผาบริขารดั้งเดิมและจําเปนอยางย่ิงของภิกษุ เพราะในการบวช เปน ภิกษุจะขาดบรขิ ารสําคัญนี้ไมไ ด โดยในพิธีอุปสมบท พระกรรมวาจาจารยผูแทนสงฆจะตอง สอบถามวา ปรปิ ุณฺณนฺเต ปตฺตจวี รํ บาตรและจวี รของเธอมคี รบบรบิ ูรณแลวหรือ ? ซึ่งถามีไมครบ สงฆจะไมย อมทําการอุปสมบทให เพราะการเปน ภกิ ษุตองมีเครอื่ งนงุ หม ปกปด รา งกายนน้ั จีวรน้ันคราวแรกคงมีเพียง ๒ ผืน คือผานุงผืนหนึ่ง ผาหมผืนหน่ึง ในคราวตอมา พระพุทธองคทรงพิจารณาจากประสบการณท่ีทรงเผชิญกับความหนาวเย็นของสภาพอากาศ ในฤดหู นาว (เดอื น ๓ – เดือน ๔ สมัยพุทธกาล) ทรงเห็นวาเครื่องนุงหมเพียง ๒ ผืนไมเพียงพอ จึงทรงอนญุ าตผา ซอนนอกเพม่ิ เตมิ ขน้ึ อกี ผืนหนึ่งเพอื่ ใชใ นฤดหู นาว จีวรอันเปนบริขารเคร่ืองนุงหมของภิกษุ จึงมี ๓ ผืน เรียกวา “ติจีวรํ” หรือ ไตรจีวร แปลวา ผา ๓ ผืน ดังน้ี 293
๒2๙9๐4 คมู อื การศกึ ษานกั ธรรมชนั้ โท เน้อื ใน นกั ธรรม ช้นั โท เลม 2 ๑. อันตรวาสก แปลวา ผาที่อยูระหวางกายเบื้องตํ่า หมายถึง ผาสําหรับนุง ท่ีเรา เรยี กกันวา สบง ๒. อุตตราสงค แปลวา ผาที่เกยี่ วอยใู นสว นกายดา นบน หมายถงึ ผาสําหรับหม ที่เรา เรยี กกนั ท่ัวไปวา จวี ร ๓. สังฆาฏิ แปลวา ผาทาบซอน หมายถึง ผาทาบสําหรับหมซอนปองกันความหนาว ในฤดหู นาวที่เรารูจกั กันทุกวนั น้ี คือผา พาดหรอื ทาบไหลทบั จวี ร ประมาณหรือขนาดของไตรจีวรนั้น ทานกําหนดไววา สังฆาฏิ และอุตตราสงค ยาว ๙ คืบ กวาง ๖ คืบ โดยคืบพระสุคต สวนในเมืองไทยเราท่ีใชกันอยู สังฆาฏิและอุตราสงค ยาว ไมเกิน ๖ ศอก กวางไมเกิน ๔ ศอก สวนอันตรวาสก ยาวไมเกิน ๖ ศอก กวางไมเกิน ๒ ศอก แตก็ยังใหญยาวเกินไปตองลดลงมาใหเหมาะสมแกขนาดของบุคคล ซ่ึงไมมีกําหนดที่แนนอน สําหรับภิกษุขนาด ปานกลาง สังฆาฏิกับอุตตราสงคลดดานยาวเสีย ๑ คืบ ดานกวาง ๘ นิ้ว อันตรวาสกลดดานยาวลงเหลือเพียง ๕ ศอก ถึง ๕ ศอก ๘ นิ้ว ดานกวางเหลือเพียง ๑ ศอก ๑ คืบ ๔ นิว้ จะพอเหมาะพอดี ผาหมถา แคบหรอื ส้ันเกินไป เมื่อหมก็หลุดงายไมสวยงาม ถายาว เกินไปกจ็ ะทําใหร ุมรา ม ผา นงุ ก็เหมือนกัน 294
2๒9๙5๑ วชิ า วนิ ัยบญั ญตั ิ พระพุทธานญุ าตผา สาํ หรบั ทาํ จวี ร ๖ ชนิด คอื เน้อื ใน นกั ธรรม ช้นั โท เลม 2 ๑. โขมะ ผา ทําดวยเปลือกไม เชน ผาลนิ ิน ๒. กปั ปาสิกะ ผา ทําดวยฝาย ๓. โกเสยยะ ผาทาํ ดวยไหม เชน ผาแพร ๔. กัมพละ ผา ทาํ ดวยขนสัตว ยกเวนผมและขนมนุษย เชน ผา สกั หลาด ๕. สาณะ ผาทําดวยเปลือกปาน ซง่ึ เปน ผาเนอ้ื สาก ๖. ภงั คะ ผาทําดวยของ ๕ อยางน้ัน อยางใดอยางหน่ึงปนกัน เชน ผาทําดวย ดายแกมไหม เคร่ืองนุงหมที่ทําดวยของอ่ืนนอกจากผา ๖ ชนิดเหลาน้ี หามมิใหใช ตามท่ีทานระบุ ไวในพระบาลี อันเปนของพวกเดียรถียใชกันอยู มี ๘ ชนิด คือ (๑) คากรอง (๒) เปลือกตนไมกรอง (๓) ผลไมกรอง (๔) ผากําพลทําดวยผมคน (๕) ผากําพลที่ทําดวยหางขนสัตว (๖) ปกนกเคา (๗) หนังเสือ (๘) ผาทําดวยปอ ภิกษุนุงหมผาที่ทําดวยของเหลาน้ีเปนวัตร ตองอาบัติถุลลัจจัย นงุ เพยี งชัว่ ครั้งชวั่ คราว ตอ งอาบัตทิ ุกกฏ พระพุทธบัญญัติหามใชจีวรที่ไมตัด : สมัยน้ัน พวกภิกษุฉัพพัคคียใชจีวรที่ไมไดตัด ใชจีวรท่ียอมนํ้าฝาดมีสีเหมือนงาชาง ชาวบานพากันเพงโทษ ติเตียน โพนทะนา ความทราบถึง พระพุทธองค จึงตรัสหามวา “ดูกอนภิกษุทั้งหลาย ภิกษุไมพึงใชจีวรที่ไมตัด รูปใดใช ตอ งอาบตั ิทุกกฏ” ผาไตรจีวรนั้นพระพุทธองคตรัสสั่งไวใหเปนของตัด คือมิใหใชผาที่เปนแผนเดียวกัน 295
2๒๙9๒6 คมู ือการศกึ ษานกั ธรรมชนั้ โท ทง้ั หมดตลอดผนื ใหต ดั เปนแผนเล็กแผนใหญ และนํามาเย็บประกบกันใหเปนผืนเทาประมาณที่ ทรงบัญญัติ ครั้งแรกๆ น้ัน คงจะไมใหตัดเปนระเบียบเหมือนในปจจุบัน เพราะภิกษุเที่ยวไปหา เศษผาที่เขาท้ิงและผาหมศพ ไดผาท้ังเน้ือหยาบและละเอียดมีขนาดตาง ๆ กันมาดูแลวไมเปน ระเบียบเรียบรอย พระพุทธองคจ งึ ทรงโปรดใหพระอานนทต ัดใหเหมือนผืนนาของชาวมคธรัฐ สรุปวา จีวรนั้นมีพระพุทธบัญญัติใหตัดทําเปนกระทงมีเสนค่ัน กระทงใหญเหมือนกับ ผืนนาแปลงใหญ เรียกวา มณฑล กระทงเล็กเหมือนผืนนาแปลงเล็ก เรียกวา อัฑฒมณฑล มีเสนคั่นในระหวางดุจคันนาขวางอยู เรียกวา อัฑฒกุสิ รวมมณฑล อัฑฒมณฑล และอัฑฒกุสิ เรียกวา ขัณฑ ในระหวางขัณฑ มีเสนคั่นดุจคันนายืนหรือตั้ง แตยาวตลอดท้ังผืน เรียกวา กุสิ ดงั น้ัน จวี รผนื หน่ึงตองมีขัณฑไมนอยกวา ๕ ขัณฑ คือตองใชผาอยางนอย ๕ แถบ หรือ ๕ แผน มาเยบ็ ประกบตดิ กัน แถบหนง่ึ แบง เปน ๒ สว น คอื แถบใหญท ่ีเรยี กวา มณฑล แถบนอยท่ีเรียกวา อัฑฒมณฑล และมีกุสิค่ันอยูในระหวาง (หากจะทําใหเกินกวา ๕ ขัณฑ ก็ได แตตองทําเปน ขัณฑขอน คือขัณฑคี่ ไดแก ๗,๙,๑๑ ขัณฑ เปนตน) เฉพาะขัณฑกลาง เรียกวา วิวัฏฏะ อกี ๔ ขณั ฑ เรียกชื่อวา อนุววิ ัฏฏะ และยงั มีชอื่ เรยี กตาง ๆ กันออกไปตามสถานท่ตี ้ัง ดังตอไปนี้ (๑) อัฑฒมณฑล คีเวยยกะ (๒) มณฑล วิวฏั ฏะ (๓) อฑั ฒมณฑล ชงั เฆยยกะ (๔) มณฑล อนุวิวัฏฏะ (๕) อฑั ฒมณฑล พาหันตะ (๖) มณฑล อนวุ วิ ัฏฏะ (๗) อัฑฒกุสิ (๘) กสุ ิ (๙) อนุวาต (๑๐) รังดมุ (๑๑) ลกู ดุม เน้อื ใน นกั ธรรม ช้นั โท เลม 2 296
29๒๙7๓ วชิ า วนิ ัยบญั ญตั ิ ตวั อยา งแผนทจี่ วี ร ๕ ขณั ฑ ในคัมภีรอรรถกถาวินัย (สมันตปาสาทิกา) ไดอธิบายความหมายของช่ือเรียกตาง ๆ ของจีวรท่ี ตัดเปน ๕ ขันฑ ตามลาํ ดับทพ่ี ระพทุ ธองคตรัสไว ดังน้ี ๑. กุสิ คือสวนของผาที่มีลักษณะเปนเสนค่ันยาวอยูติดขอบจีวรท้ัง ดานยาวและดานกวาง ๒. อัฑฒกสุ ิ คือสว นของผาท่เี ปนเสนคัน่ สน้ั ๆ อยูเปนตอน ๆ ในระหวางกุสิ ๓. มณฑล คือสว นของผา ทีเ่ ปน วงกวางอยใู นแตล ะขัณฑ (ตอนหรอื สวน) แหง จีวร ๕ ขัณฑ ๔. อฑั ฒมณฑล คอื สว นของผา ที่เปนวงเล็กๆ ๕. ววิ ัฏฏะ คอื สว นของผาทอ่ี ยตู รงกลางของจวี รซึ่งเย็บมณฑล และอัฑฒ- มณฑลเขาดว ยกนั ๖. อนวุ วิ ัฏฏะ คือสวนของผา สองสว นทอี่ ยูสองดานของจีวร ๗. คีเวยยกะ คอื สวนของผาทเี่ อาดายเยบ็ อยา งดีทาบเขามาทีหลังเพื่อทําให ยดึ แนนอยูบ รเิ วณจวี รทีพ่ นั รอบคอ ๘. ชงั เฆยยกะ คือสวนของผาท่ีเอาดายเย็บอยางดีทาบเขามาทีหลังอยู บริเวณจวี ร สวนทคี่ ลมุ แขง ๙. พาหันตะ คือสวนของผาท่ีเปนชายอยูสองดานของจีวร ซ่ึงเมื่อภิกษุหม จีวรไดข นาดพอดี จะมว นมาพาดอยทู แี่ ขน มดี านหนาอยูนอก เน้อื ใน นกั ธรรม ช้นั โท เลม 2 297
2๒๙9๔8 คมู ือการศกึ ษานกั ธรรมชนั้ โท เน้อื ใน นกั ธรรม ช้นั โท เลม 2 พระพทุ ธานญุ าตใหย อ มจีวรดวยของ ๖ อยาง อยางใดอยางหน่ึง คือ (๑) รากหรือเหงา (๒) ตน ไม (๓) เปลือกไม (๔) ใบไม (๕) ดอกไม (๖) ผลไม สีท่ีหามยอมจีวรมี ๗ สี คือ (๑) สีคราม (๒) สีเหลือง (๓) สีแดง (๔) สีบานเย็น (๕) สีแสด (๖) สชี มพู (๗) สดี าํ สีเหลืองเจือแดงเขมหรือสีเหลืองหมน เชน สีที่ยอมดวยแกนขนุน หรือที่เรียกวาสีกรัก เปน สที ี่รบั รองวาใชไ ด (สกี รกั เปน สีจีวรนยิ มในปจ จุบนั ) จีวรนั้น หามมิใหใชผาที่กาววาว จึงทรงหามมิใหใชจีวรที่เปนรูปลายสัตว จีวรที่เปน ลายดอกไม ผลไม เปนตน เวนไวแตจีวรมีดอกเล็กๆ ไมกาววาว เชน ดอกเมล็ดพริกไทย หรือ ท่ีเปนร้ิว เชนแพรโล ใชได เพ่ือปองกันลมพัดจีวรปลิว จึงทรงอนุญาตรังดุม (หวง) และลูกดุมสําหรับกลัดผา อตุ ตราสงค และสังฆาฏิ ซึ่งอยูท่ีชายลางแหงหนึ่งและที่ขอบอนุวาตดานบนตรงขัณฑกลางแหงหน่ึง รังดุมติดไวดานขวา ลูกดุมติดไวดานซาย ลูกดุมในพระบาลี ทรงอนุญาตใหทําดวยของเหลานี้ คือ (๑) กระดูก (๒) งา (๓) เขา (๔) ไมไผ (๕) ไมรวก (๖) ไมแกน (๗) ครั่ง (๘) กะลา (๙) โลหะ (๑๐) สังข (๑๑) ดายถัก แมลูกถวินที่ติดอยูท่ีปลายประคดเอว ก็ควรทําดวยวัตถุ ดังกลาวนี้ (แตใ นปจ จุบนั ไมนิยมแลว ) สําหรับผาอันตรวาสกนั้น เพ่ือปองกันการหลุด จึงทรงอนุญาตประคดเอวไว ๒ ชนิด คือ (๑) ประคดแผน ซึ่งใชดายหรือไหมถักเปนแผน เชน ที่ใชอยูในปจจุบันนี้ เรียกอีกอยางวา ประคดลังกา (๒) ประคดไสสุกร คือผาเย็บเปนปลอก ทรงหามใชประคดเอวท่ีถักดวยสีตาง ๆ และแบบตา ง ๆ ซงึ่ ทําใหวิจิตรกาววาว นอกจากไตรจีวร ยังมีผาที่ทรงอนุญาตใหใชเพ่ิมอีก ๖ ชนิด คือ (๑) วัสสิกสาฏิกะ ผาอาบนํ้าฝน (๒) กัณฑุปฏิจฉาทิ ผาปดฝ (๓) นิสีทนะ ผาปูน่ัง (๔) ปจจัตถรณะ ผาปูนอน (๕) มุขปุญฉนะ ผา เช็ดปาก (๖) ปริกขารโจละ ผาใชเปน บริขาร เชน ถุงบาตรและยาม ผาอาบน้ํา จํากัดประมาณ ๖ คืบ กวาง ๒ คืบคร่ึง แหงคืบพระสุคต ใหมีใชไดเพียง ผืนเดียวเทา นั้น และใชไดเฉพาะฤดฝู นเทา น้นั เม่อื หมดฤดฝู นตองเลิกใช ผาปดฝก็เชนเดียวกัน ยาว ๔ คืบ กวาง ๒ ศอก ใหมีไดผืนเดียว ในคราวอาพาธ รา งกายเปนแผล เชน ออกฝดาษ สุกใส พุพอง เม่ือหายแลว ตอ งเลิกใช ผานิสีทนะ มีจํากัดประมาณยาว ๒ คืบ กวางคืบคร่ึง ชายคืบหนึ่ง วิธีทําผานิสีทนะน้ัน มี ๓ แบบ คือ (๑) แบบของพระอรรถกถาจารย คือชายผายาว ๑ คืบครึ่ง ตัดเปน ๓ ขนาดเทากัน ทางดานกวาง กวางชายละ ๖ น้ิว ตอชายเขาแลวเปนผานิสีทนะยาว ๓ คืบ กวาง ๑ คืบคร่ึง (๒) แบบของสมเด็จพระมหาสมณเจา กรมพระยาปวเรศวริยาลงกรณ คือ ชายยาว ๒ คืบ กวาง ๑ คืบ ตัดเปน ๓ ชาย ชายใหญกวาง ๖ นิ้ว ชายเล็กกวาง ๓ นิ้ว ยาวเทากัน ตอชายเขา 298
2๒9๙9๕ วชิ า วนิ ัยบญั ญตั ิ แลว เปนผานิสีทนะยาว ๒ คืบ ๖ น้ิว กวาง ๒ คืบ (๓) แบบพิเศษ คือเอาชาย ๑ คืบจัตุรัสนั้น ตัดกลางใหเปน ๒ ชายเทากัน ชายหนึ่งๆ ยาว ๑ คืบ กวาง ๖ น้ิว เอาชายหนึ่งตัดกลางใหเปน ๒ ชายเทากัน อีกชายหน่ึงๆ กวาง ๖ น้ิวจัตุรัส เอาเพลาะติดเขากับดานสกัดของชายใหญ ดานละชาย เปนชายเดียว ยาว ๒ คืบ กวาง ๖ น้ิว เอาเพลาะติดเขากับตัวผานิสีทนะ ทางดาน ยาว เมือ่ ตอ ชายเขาแลว ผานสิ ีทนะน้นั เปนกวางยาว ๒ คืบจัตุรสั ซง่ึ จะเทากันทกุ ดา น ไตรจีวรและผาที่นอกจากไตรจีวรที่ทรงอนุญาตไวสําหรับใชสอยดังกลาวมาน้ี โปรดให อธิษฐาน คําวา อธิษฐาน ในทางพระวินัยหมายถึงการตั้งเอาไวหรือต้ังใจกําหนดเอาไว คือ ตั้งเอาไวเปนของนนั้ ๆ หรือต้ังใจกําหนดเอาไววาจะใชเปนของประจําตัวชนิดน้ันๆ เชน ไดผามา ผนื หนึ่งตง้ั ใจไววาจะใชเปนสังฆาฏิ สบง จีวร ก็อธิษฐานเปนอยางนั้นๆ เม่ืออธิษฐานแลว ผาน้ัน เรียกวาเปนผาอธิษฐาน หรือผาครอง วิธีอธิษฐานมี ๒ ลักษณะ โดยใชกายคือมือสัมผัสแลว กําหนดนึกคําอธิษฐานในใจ หรือเปลงวาจาก็ได เม่ือจะเปล่ียนใหมตองปจจุทธรณ คือถอน อธิษฐานของเดมิ กอน ผาอ่ืนนอกจากนี้มีกําหนดยาวตั้งแต ๘ น้ิว กวาง ๔ นิ้วข้ึนไป จัดเขาในอติเรกจีวร ตองวิกัปไว คําวา วิกัป หมายถึง การทําใหเปนของสองเจาของ คือขอใหภิกษุ สามเณรอ่ืน รวมเปนเจาภาพของจีวรหรือบาตรนั้นๆ ดวย ซ่ึงมีผลทําใหไมตองอาบัติเพราะเก็บอติเรกจีวร หรืออติเรกบาตรไวเกินกําหนด มี ๒ ลักษณะ (๑) สัมมุขาวิกัป วิกัปตอหนา คือการนําผาอติเรก จวี ร เขา ไปหาภิกษุทตี่ นตอ งการจะวิกัปดว ยแลว กลา วคําวิกัปตอหนา (๒) ปรัมมุขาวิกัป วิกัปลับหลัง คือการเอาอติเรกจีวรไปฝากใหภ กิ ษุรูปอนื่ ชวยวิกัปกบั ภิกษุอีกรูปหน่ึง ๒. บาตร บาตร เปนบริขารด้ังเดิมของภิกษุคูกับไตรจีวร เพราะเปนบริขารสําหรับใชบิณฑบาต เล้ียงชีพ บาตรนัน้ ทรงอนุญาตไว ๒ ชนิด คือ (๑) บาตรดินเผา (๒) บาตรเหล็ก สิง่ ท่หี า มใชแทนบาตร มี ๓ ชนดิ คอื (๑) กระทะดิน (๒) กะโหลกน้ําเตา (๓) กะโหลก หวั ผี เพราะเปน ส่งิ ไมเ หมาะสม ชนิดของบาตรทหี่ า มใช ซง่ึ ระบไุ วในพระบาลี มี ๑๑ ชนิด คือ (๑) บาตรทอง (๒) บาตรเงิน (๓) บาตรแกว มณี (๔) บาตรแกวไพฑูรย (๕) บาตรแกว ผลึก (๖) บาตรแกว หงุ (๗) บาตรทองแดง (๘) บาตรทองเหลือง (๙) บาตรดบี ุก (๑๐) บาตรสังกะสี (๑๑) บาตรไม เน้อื ใน นกั ธรรม ช้นั โท เลม 2 299
3๒๙0๖0 คมู ือการศกึ ษานกั ธรรมชนั้ โท ขนาดของบาตร ทานระบไุ ว ๓ ขนาด คอื (๑) ขนาดใหญ จุขาวสกุ แหงขาวสารก่ึงอาฬหกะ กนิ ได ๑๐ คน (๒) ขนาดกลาง จขุ า วสกุ แหงขา วสารนาฬีหน่ึง กินได ๕ คน (๓) ขนาดเลก็ จขุ าวสุกแหงขา วสารปตถะหน่ึง คอื ๒ คนกินเหลือ ๓ คน กนิ ไมพ อ บาตรน้ันทรงอนุญาตใหภิกษุอธิษฐานไวไดเพียงใบเดียว ตั้งแตใบท่ี ๒ ไปเรียกวา อติเรกบาตร ซ่ึงเก็บไวไดเพียง ๑๐ วัน ตองวิกัปไวภายในกําหนด ถาจะเปลี่ยนบาตรใหม ตอง ปจจุทธรณบาตรเดิมเสียกอนแลวจึงอธิษฐานบาตรใหมได บาตรท่ีใชไมได จําจะตองเปล่ียนใหม นน้ั ตองมรี อยราวแหงเดียวถงึ ๑๐ นิ้ว หรอื หลายแหงรวมแลว ๑๐ น้ิว เชน มีรอย ๕ แหง แหงละ ๒ นิ้ว ก็เปลี่ยนได ถายังไมถึง ๑๐ น้ิว ภิกษุขอบาตรกับคฤหัสถท่ีมิใชญาติ มิใชปวารณา (เคยเอย ปากใหข อไว) ไดม าตองนิสสัคคียปาจิตตีย หรือบาตรน้ันแตกทะลุอาหารร่ัวออกได เพราะในครั้ง พทุ ธกาล บาตรนอกจากจะใชใสอาหารสาํ หรบั ฉนั แลว ยงั ใชสาํ หรับตักหรอื ใสนํ้าดม่ื อีกดว ย ธรรมเนียมระวังรักษาบาตร ในครั้งพุทธกาล คงใชบาตรดินเผากันเปนพื้น บาตรเหล็ก คงจะมีนอย จึงมีธรรมเนียมระวังรักษาบาตรกันอยางกวดขัน หามมิใหวางบาตร เก็บบาตรในท่ี จะตกแตก หรอื ในทท่ี จ่ี ะเปนอันตรายตอ บาตร ซ่ึงในพระบาลมี ีหา มไว ดงั น้ี (๑) หามวางบาตรบนเตียง (๒) หา มวางบาตรบนตัง่ (มาหรือโตะ) (๓) หา มวางบาตรบนรม (๔) หามวางบาตรบนพนัก (๕) หามวางบาตรบนพรึง (ชานนอกพนกั ) (๖) หา มวางบาตรบนตึก (เกรงลกุ ขนึ้ ไมม สี ติ บาตรจะแตก) (๗) หามแขวนบาตร (เชนราวจวี ร) (๘) ไมใหควํา่ บาตรท่ีคมแข็ง อันจะประทุษรา ยบาตร (๙) มบี าตรอยูในมอื หา มผลักบานประตู อนึ่ง ทานใหรูจักรักษาบาตร โดยหามไมใหใชบาตรตางกระโถน จะท้ิงกางปลา กระดูก เนือ้ ลงในบาตร ไมค วร หา มลางมือ บวนปากลงในบาตร จะเอามือเปอ นจับบาตรกไ็ มควร ฉันแลว ตองลางบาตร จะเกบ็ บาตรท้งั ยงั เปย กๆ ไมได หามผึ่งบาตรท้ังยังเปยก ตองเช็ดนํ้าใหหมดกอนจึงผ่ึง เน้อื ใน นกั ธรรม ช้นั โท เลม 2 300
3๒0๙1๗ วชิ า วนิ ัยบญั ญตั ิ จะผึ่งไวน านก็ไมได ใหผึง่ ไวเพยี งชวั่ ครหู น่งึ นอกจากน้ี ยังทรงอนุญาตเชิงไวสําหรับรองบาตร แตหามมิใหใชของที่เปนอกัปปยะ และของท่ีวิจิตรกาววาวดวยรูปตางๆ ใหใชของเรียบๆ ปกติ จะทําดวยดีบุก หรือสังกะสี หรือไม ก็ไมได สวนฝาบาตรมีขึ้นในภายหลัง และทรงอนุญาตถุงมีสายโยคไวสําหรับใสบาตรเขาไวเพ่ือ คลอ งจะงอยบาในเวลาเดินทาง ๓. เครือ่ งอปุ โภค เครื่องอุปโภค คือสิ่งของสําหรับใชสอย เดิมทีดูเหมือนมีพระพุทธประสงคจะใหภิกษุ มบี รขิ ารเพียงเลก็ นอ ย พอติดตัวไปไหนมาไหนไดส ะดวก แตตอมาก็ทรงอนุญาตเพิ่มข้ึนเปนสิ่งๆ ไปตามความจําเปน ดงั นั้น ในทีน่ ี้บรขิ ารท่ที านจัดเปนเครอื่ งอุปโภค มี ๕ อยาง คือ (๑) กลองเข็ม (๒) เครื่องกรองน้าํ (๓) มดี โกนพรอมทั้งฝก หินสําหรับลับ และเคร่ืองสะบัด (๔) รม (๕) รองเทา แตละอยา งมีขอ หามและขอ อนุญาต ดงั นี้ ๑. กลองเข็ม หามมิใหใชของท่ีทําดวยกระดูก งา และเขา หากภิกษุทําข้ึนใชเองตอง อาบัติปาจิตตีย ใชของที่คนอ่ืนทําขึ้น ตองอาบัติทุกกฏ ตองทําลายเสียกอนจึงจะแสดงอาบัติตก กลองเข็มท่ีทําดว ยวัตถอุ ืน่ นอกจาก ๓ อยา งนี้ ทรงอนุญาตใหใชได ๒. เคร่ืองกรองนํ้า เปนผาก็มี เปนกระบอกกนผูกผาท่ีเรียกวา ธมกรก ก็มี หรือ อยางอ่ืนก็ไดเหมือนกัน โดยสามารถใชกรองนํ้าไดเพื่อใหภิกษุไดดื่มนํ้าสะอาด ภิกษุใดไมมี ผากรองน้ํา หามมิใหเดินทางไกลกวาคร่ึงโยชนข้ึนไป ถาหาอยางอ่ืนไมได ใหอธิษฐานชาย ผาสังฆาฏิ เปนผากรองนํ้า ถาภิกษุอื่นไมมีผากรองนํ้า ออกปากขอยืม หามมิใหหวง ตองใหยืม ผากรองนํ้าน้ัน ขอ นีม้ พี ระพทุ ธประสงคอ กี ประการหน่ึงกเ็ พอ่ื มิใหภ ิกษดุ มื่ น้าํ ทม่ี ตี ัวสตั วเขา ไป ๓. มีดโกน พรอมทั้งฝก หินสําหรับลับ และเคร่ืองสะบัด เปนวัตถุที่ทรงอนุญาตไว สาํ หรบั ปลงผม โกนหนวด ไมจัดวาเปนศัสตราวุธ แตสําหรับภิกษุผูที่เคยเปนชางกัลบก (ชางตัด แตงผม) มากอน หามมิใหมีมีดโกนไวสําหรับตัว ท้ังน้ีเพ่ือจะตัดมิใหใชวิชาชีพเดิมและเพื่อมิให หวนระลึกถงึ ความหลงั ซึ่งจะไดมีสมาธติ งั้ หนาบําเพญ็ สมณธรรมตอไป ๔. รม ทา นหามมิใหใชของกาววาว เชน มีสีที่ฉูดฉาด ปกดวยไหมสีตาง ๆ ใหใชแตท่ี ทาํ เรียบๆ ทรงอนุญาตใหใชไ ดเ ฉพาะในวัดและบรเิ วณใกลๆ วัด หามไมใ หก้ันรม เขา บานหรือเดิน ตามถนนหนทาง และตามละแวกบาน เวนแตอาพาธเจ็บไขไมสบาย หรือเมื่อถูกแดดถูกฝน อาพาธจะกําเริบ เชน ปวดศีรษะ เชนน้ีก้ันรมเขาบานได ทานพระอรรถกถาจารยผอนปรนใหวา ถากนั้ เพ่ือกันจีวรเปย กฝน ก้ันเพอื่ ปอ งกันภยั เพอ่ื รกั ษาตวั เชน ในคราวแดดจัด สามารถทาํ ได เน้อื ใน นกั ธรรม ช้นั โท เลม 2 301
๒3๙0๘2 คมู ือการศกึ ษานกั ธรรมชน้ั โท ๕. รองเทา มี ๒ ชนดิ คือ (ก) ปาทกุ า เขียงเทา (ข) อุปาหนา รองเทาไมม ีสน (ก) ปาทุกา เขียงเทา นาจะไดแกรองเทามีสน มีรองเทาไมเปนตัวอยาง เหมือน รองเทาท่คี นจีนชอบสวม ท่ีเรยี กวา เกีย๊ ะ เขยี งเทา ทร่ี ะบชุ ่ือไวในพระบาลี มี ๑๕ ชนิด คอื (๑) เขยี งเทาทาํ ดว ยไม (๒) เขยี งเทา ทําดวยทอง (๓) เขยี งเทาทาํ ดว ยเงิน (๔) เขียงเทาประดับดวยแกว มณี (๕) เขียงเทา ประดบั ดวยแกวไพฑรู ย (๖) เขียงเทา ประดับดว ยแกวผลึก (๗) เขยี งเทาประดบั ดว ยทองแดง (๘) เขยี งเทา ทาํ ดว ยดีบุก (๙) เขยี งเทา ทําดวยสงั กะสี (๑๐) เขยี งเทา สานดวยใบตาล (๑๑) เขยี งเทาสานดวยตอก (๑๒)เขียงเทาทําดวยหญาตางชนิด (๑๓)เขียงเทาสานดวยใบเปง (๑๔) เขียงเทา สานดวยแฝก (๑๕)เขียงเทาถักหรือปกดวยขนเจยี ม เขียงเทาท้ัง ๑๕ อยางดังกลาวมาน้ีหามทุกอยาง แตเขียงเทาที่ทําดวยไม หาม เฉพาะสวมเดิน สวนที่ตรึงอยูกับทีถ่ า ยอจุ จาระ ปสสาวะ และเปนทีช่ ําระ ทรงอนุญาต (ข) อปุ าหนา รองเทาไมม สี น ชนิดท่ีทรงอนุญาต มี ๗ ชนดิ คอื (๑) เปนรองเทาทําดวยหนังสามัญช้ันเดียว ใชไดทั่วไป มากช้ันเปนของเกา ใชได แตถ าเปน ของใหมใชไดเ ฉพาะปจจนั ตชนบท เปน รองเทาชนดิ มสี ายใชนวิ้ คีบ (๒) เปน รองเทาไมม ีสีท่ีตองหาม แตสาํ รอกสีออกแลว ใชไ ด (๓) หูหรอื สายรัดไมมีสที ่ตี องหาม เปลี่ยนหูหรือสายรัดใหมใชได (๔) ไมข ลบิ ดวยหนังสตั วทีต่ อ งหา ม (๕) ไมป กสน ปกหลังเทา ปกแขง (๖) ไมใชพ ้นื ยัดนุน ตรงึ หรอื ประดับดวยขนนกกระทา ขนนกยูง (๗) ไมมหี เู ปน ชองดงั เขาแกะ ดงั งา มแมงปอง สีรองเทาท่ีตองหามมี ๗ อยาง คือ (๑) สีขาบ (๒) สีเหลือง (๓) สีแดง (๔) สีบานเย็น (๕) สีแสด (๖) สีชมพู (๗) สดี ํา รองเทาขลิบดวยหนังสัตวตองหามมี ๘ ชนิด คือ (๑) หนังราชสีห (๒) หนังเสือโครง (๓) หนังเสือเหลอื ง (๔) หนังชะมด (๕) หนงั นาก (๖) หนงั แมว (๗) หนังคาง (๘) หนงั นกเคา แมว รองเทาไมม ีสน ที่ทรงอนุญาตนัน้ ภกิ ษจุ ะใชใ นทีท่ ว่ั ไปไมไ ด ถาไมเจ็บเทา หามไมใหสวม เขา บา น เปนอาคันตกุ ะเขาไปวัดอืน่ ก็ตอ งถอด ภายในวดั ของตนเองหรือในปาสวมได ฝาเทาบาง เน้อื ใน นกั ธรรม ช้นั โท เลม 2 302
3๒0๙3๙ วชิ า วนิ ยั บญั ญตั ิ เหยียบพ้ืนท่ีแข็งไมได หรือฤดูรอน พื้นรอน เหยียบเขา เทาพองสวมเขาบานได เขาวัดอ่ืนได ในฤดูฝน ไปในทช่ี ้นื แฉะ ภกิ ษผุ ูอาพาธเปน โรคภยั สวมเพอ่ื กนั เทาเย็นได จํานวนของรองเทาน้ัน ในคัมภีรส ุมังคลวิสาลินี (อรรถกถาพระสตุ ตนั ตปฎก) ทานระบุวา ภิกษุสามารถมีรองเทาไดเพียง ๒ คู คูหนึ่งสําหรับสวมในวัด คูหน่ึงสําหรับสวมเวลาเดินปา ถา เกินกวาน้ัน ทา นใหเ สียสละใหผ ูอ ื่น เพราะจะเปนการสะสม ๔. เครอ่ื งเสนาสนะ คําวา เสนาสนะ แยกเปน ๒ คํา คือเสนะแปลวา ท่ีนอน และอาสนะ แปลวา ท่ีน่ัง รวมเปนเสนาสนะ แปลวา ท่ีนอนและที่นั่ง หมายถึง ที่อยูอาศัยของภิกษุ เชนกุฏิ วิหาร และ เครื่องใชเกยี่ วกับสถานท่ี เชน โตะ เกา อ้ี แมโ คนไม เมอ่ื ภกิ ษใุ ชเปนทอ่ี ยูอ าศยั กเ็ รียกวาเสนาสนะ ในทน่ี ้ีทา นกาํ หนดใหศกึ ษา ๘ อยาง คือ ๑. เตยี ง ทรงอนุญาตใหมีเทาสูงไดเพียง ๘ น้ิวพระสคุ ต ถา เปนของใหญหรือมีรูปสัตวราย ที่เทา เชน เตยี งจมกู สิงห ทเ่ี รียกวาบลั ลงั ก หา มใช ๒. ตั่ง คือมาสําหรับนั่งสี่เหลี่ยมรี น่ังไดสองคนก็มี ถามีเทาสูงเกิน ๘ น้ิว พระสุคต หา มใช ๓. อาสันทิ คอื มา สาํ หรับนั่งเหมือนต่ัง แตเ ปน ส่เี หลีย่ มจัตุรสั นัง่ ไดค นเดียว มี ๒ ชนิดคอื (๑) สัตตังคะ อาสนะมีองคเจ็ด คือเทา ๔ พนัก ๓ ดาน ไดแก พนักสําหรับพิง ๑ ท่วี างแขน ๒ ตรงกบั เกา อี้มแี ขน สูงกวา ๘ นิ้วก็ใชไ ด (๒) ปญจังคะ อาสนะมีองค ๕ คือ เทา ๔ พนักพิง ๑ ไดแกเกาอี้ไมมีแขน ไมได กลา วประมาณสงู ไว คงจะอนุโลมใชเหมอื นสัตตังคะ ๔. ฟูกเตียง คือที่นอน หามมิใหใชฟูกท่ียัดดวยนุนและสําลี ฟูกที่อนุญาตใหใชไดมี ๕ อยาง คือ (๑) ฟูกทย่ี ัดดวยขนแกะ ขนปกนกเคา และขนสัตว ๔ เทาอยางอ่ืนก็ใชได ยกเวน ผมและขนมนุษย (๒) ฟกู ทย่ี ัดดว ยทอนผาหรือเศษผา (๓) ฟกู ทยี่ ดั ดว ยเปลือกไม เชนเปลอื กมะพรา ว เปน ตน (๔) ฟูกทย่ี ัดดว ยหญา และฟางขาว (๕) ฟูกท่ียัดดวยใบไม ยกเวน ใบพิมเสนลวน ๆ แตถ าเจือปนกับของอ่ืน ก็อนุญาต เน้อื ใน นกั ธรรม ช้นั โท เลม 2 303
๓3๐0๐4 คมู ือการศกึ ษานกั ธรรมชน้ั โท เน้อื ใน นกั ธรรม ช้นั โท เลม 2 ใหใชไ ด ๕. ฟูกต่ัง คือเบาะ หามมิใหใชท่ียัดดวยนุนและสําลี ทั้งเตียงและต่ังท่ีเปนของมีเบาะ หุมติด เชน เกาอี้เบาะ (เกาอี้นวม) ถาภายในยัดดวยของเปนกัปปยะใชได ปจจุบันน้ีใชฟองน้ํา และลวดสปรงิ เขาใจวา พออนโุ ลมใชได ไมเ ปน อาบัติ ทัง้ เตยี งและฟูก ถามีขนาดใหญ หา มมิใหใช แตจ ะใหญเ ทาไร มิไดกาํ หนดไว สันนษิ ฐานวา ใหญพอคนสองคนนอนได ซ่ึงดูจะเปนเตียงสําหรับ คูนอน อันไมเ หมาะแกภ กิ ษุ ๖. หมอนหนุนศีรษะ ทรงอนุญาตใหใชนุนยัดได ซ่ึงมีพระพุทธประสงคที่จะรักษา อวัยวะสวนสําคัญของรางกาย สวนท่ีนอนมิทรงอนุญาต เพราะเปนบอเกิดแหงกามราคะ และ ความม่ัวเมาแหงความสุขในการนอน หมอนนั้นใหมีประมาณพอศีรษะ คือเปนหมอนหนุนได เพียงคนเดียว ๗. มุง ไมไดระบุขอหามไวแตอยางใด ทรงอนุญาตเพราะในสมัยนั้นภิกษุท้ังหลาย ถูกยงุ รบกวน พระพทุ ธองคจงึ ทรงอนญุ าตใหใ ชมุง เพื่อปอ งกันยงุ ได ๘. เครื่องลาด หามมิใหใชเคร่ืองลาดที่จัดเปนของวิจิตรกาววาวท่ีระบุไวในพระบาลี ซึ่งหามใชนน้ั มี ๑๐ ชนดิ คือ (๑) ผา ขน เรียก โคณกะ มีขนยาวกวา ๔ น้วิ (๒) เคร่อื งลาดทําดว ยขนแกะ (๓) เครอื่ งลาดทท่ี อดว ยดายแกมไหม (๔) เคร่ืองลาดท่เี ปน ไหมลวน (๕) เครื่องลาดท่ที าํ ดว ยหนังสตั ว ชื่ออชนิ ะ อันมีขนออ นนมุ เชน หนงั แมวน้าํ (๖) เครื่องลาดอยางดีทําดวยหนงั ชะมด (๗) ท่ีนอน มีเพดานขางบน อาจเปนที่นอนท่ีมีมุงกางหรือจะเปนเตียงที่มีเพดาน ซง่ึ เมื่อทรงอนุญาตมุง กันยงุ แลว กอ็ นโุ ลมเปน ของท่ใี หใชไ ด (๘) เครอื่ งลาดหลังชาง (๙) เคร่อื งลาดหลังมา (๑๐) เครื่องลาดบนรถ เครื่องลาดท่ีเปนของวิจิตรแวววาวในสมัยพุทธกาลน้ัน ตกมาในสมัยปจจุบันกลายเปน ของสามัญมีอยูดาษดื่นไป เครื่องเสนาสนะอันเปนอกัปปยะที่เปนของคฤหัสถ ทรงอนุญาตใหนั่ง ทบั ได (ยกเวน บัลลงั ก) แตไมใหน อนทับ หามมใิ หภิกษุสองรูปนอนบนเตียงเดียวกัน บนเคร่ืองลาดอันเดียวกัน หรือหมผาหมผืน 304
3๓0๐5๑ วชิ า วนิ ัยบญั ญตั ิ เดียวกนั แตไ มห ามการนง่ั บนเตียงหรือบนตั่งดวยกัน ในพระบาลีอนุญาตใหน่ังไดเฉพาะภิกษุผูมีพรรษาไลเลี่ยกัน คือแกหรือออนกวากัน ไมเกิน ๓ พรรษา ที่เรียกวา สมานาสนิก หามมิใหน่ังรวมกับภิกษุที่มีพรรษาหางกันเกินกวา ๓ พรรษา ซ่ึงเรียกวา อสมานาสนิก เชน ภิกษุผูเปนพระอุปชฌายจะนั่งบนเตียงเดียวกันกับ สัทธวิ หิ าริก นับเปนการไมส มควร อน่ึง หามมิใหนอนบนท่ีนอนอันโรยดวยดอกไม เมื่อตองการจะนอน พึงเก็บดอกไม ออกเสยี กอ น และทรงอนญุ าตใหเก็บไวข า งใดขางหนึง่ ในท่ีอยูได เน้อื ใน นกั ธรรม ช้นั โท เลม 2 305
๓3๐0๒6 คมู ือการศกึ ษานกั ธรรมชน้ั โท เน้อื ใน นกั ธรรม ช้นั โท เลม 2 กัณฑที่ ๑๓ นสิ สัย มลู เหตทุ ี่ทรงอนญุ าตใหมอี ปุ ช ฌายอาจารย ในครั้งปฐมโพธิกาล คือระยะเวลาชวงแรกหลังจากตรัสรู ซึ่งเรียกวาเปนระยะ ประดิษฐานพระพุทธศาสนา ยังไมมีภิกษุผูทําผิดกออธิกรณความเดือนรอนข้ึนในสังคมสงฆ เพราะพระภิกษุสาวกจํานวน ๕๐๐ รูป เหลาน้ันลวนแตเปนพระอริยบุคคล อยางต่ําสุดก็เปน พระโสดาบัน ดวยเหตุนี้พระพุทธองคจึงไมทรงแสดงอาณาปาติโมกขคือประมวลบทบัญญัติวา ดวยขอหามบัญญัติสิกขาบท ตอมาเมื่อภิกษุมีจํานวนมากข้ึน การปกครองก็ยากข้ึน พระพุทธองค จึงทรงบญั ญัตสิ ิกขาบทวางเปนพุทธอาณา และทรงตงั้ ขนบธรรมเนียมเปน อภสิ มาจาร เม่ือภิกษุมีมากขึ้นโดยลําดับ ภิกษุผูบวชใหมไมสามารถจะรูทั่วถึงและประพฤติ ใหถูกตองตามระเบียบโดยลําพังตนเอง ใชความสังเกตทําตามกัน จําจะตองศึกษาจึงจะรูได พระพุทธองค จึงทรงอนุญาตใหม ีพระอุปชฌายเ ปนผอู บรมสงั่ สอน คาํ วา อุปชฌาย แปลวา ผูเพง ดูอยไู มห า งซ่ึงโทษนอยใหญของสัทธิวิหาริก เปนคําเรียก ภิกษุผูรับรองกุลบุตรผูขอการอุปสมบททามกลางสงฆ โดยภิกษุผูเปนพระอุปชฌายตามท่ีวินัย กาํ หนดน้นั จะเปนทัง้ ผนู าํ สทั ธวิ ิหาริกเขา หมูสงฆ และเปนผูปกครองคอยดูแลรบั ผิดชอบ ทําหนาที่ ฝกสอนอบรม ใหการศึกษาแกสัทธวิ ิหาริกตลอดไป คําวา สัทธิวิหาริก แปลวา ผูอยูดวย หมายถึง ภิกษุผูเปนศิษยของพระอุปชฌาย กลาวคือภิกษุไดรับอุปสมบทจากพระอุปชฌายรูปใด ก็เปนสัทธิวิหาริกของพระอุปชฌายรูปน้ัน และตองถือพระอุปช ฌายนัน้ ใหเ ปนผูพ่งึ พงิ ตลอดไป คําวา นิสสัย คือกริยาท่ีพึ่งพิง ในทางพระวินัยหมายถึงการอยูในปกครองของ พระอุปชฌาย พระอาจารย หรือการขอใหทานเปนท่ีพึ่งในการศึกษาไตรสิกขาเพื่อประพฤติ พรหมจรรยย่งิ ขนึ้ ตอไป และเปนกิจเบื้องตน ในพธิ อี ปุ สมบทโดยผูอุปสมบทไดเปลงวาจาขอนิสสัย กับพระอุปชฌายแลว ในกรณีท่ีไมไดอยูในปกครองของพระอุปชฌายดวยเหตุอยางใดอยางหน่ึง เชน พระอุปช ฌายไปอยทู ่อี ่นื ตองถือนิสสยั กับภกิ ษอุ ืน่ เปน นสิ สยาจารย 306
3๓0๐7๓ วชิ า วนิ ัยบญั ญตั ิ วิธถี อื พระอุปช ฌาย ภิกษุผูมีพรรษาหยอน ๕ คือบวชยังไมถึง ๕ พรรษา ตองถือภิกษุรูปใดรูปหน่ึงเปน พระอุปช ฌาย และตอ งอาศัยภิกษรุ ปู นน้ั อยรู บั ฟง โอวาทคําสอนของภกิ ษรุ ปู นนั้ วิธีถือพระอุปชฌายน้ัน ในพระบาลีทานวางแบบไวดังนี้ ใหภิกษุนวกะหมผาเฉวียงบา เขาไปหา กราบเทา แลวนง่ั กระโหยง (ปจจุบันนิยมนั่งคุกเขา) ประนมมือกลาววา “อุปชฺฌาโย เม ภนฺเต โหหิ” แปลวา “ขอทานจงเปนอุปชฌายะของขาพเจา” วา ๓ คร้ัง เม่ือภิกษุผูถูกขอเปน พระอุปชฌายรับวา “สาธุ ดีละ” “ลหุ เบาใจเถิด” “โอปายิกํ ชอบแกอุบาย” ปฏิรูป สมควรอยู” คําใดคําหน่งึ ก็เปนอนั ถือพระอปุ ชฌายแ ลว ในกรณีน้ีภิกษุผูรับใหพ่ึงพิง ไดชื่อวาเปนพระอุปชฌาย มีหนาท่ีฝกสอนหรือดูแล และ ภิกษุผูพึ่งพิง ไดช่ือวาเปนสัทธิวิหาริก กิริยาที่พึ่งพิง เรียกวา นิสสัย สวนผูที่อุปสมบทใหมทรง อนุญาตใหถ ือพระอุปปชฌายตัง้ แตแรกทเี ดยี ว เหตุท่ีนิสสัยระงับจากพระอุปชฌาย (ไมเปนอันถือนิสสัย หมดวาระการถือนิสสัย) มี ๕ ขอ คือ (๑) พระอุปชฌายหลีกไป (๒) ลาสิกขา (๓) มรณภาพ (๔) ไปเขารีตเดียรถีย คือ ไปเขา นับถอื ศาสนาอ่ืน (๕) สง่ั บังคบั ในเหตุ ๕ ขอเหลาน้ี ยกเวนขอสั่งบังคับ นํามาปรับใชไดในฝายสิทธิวิหาริก คือ สัทธวิ ิหารกิ หลีกไปเสยี ลาสิกขา มรณภาพ ไปเขา รตี เดยี รถีย นสิ สัยกร็ ะงบั เหมือนกนั ในขอส่ังบังคับนั้น มีประเด็นพิจารณา ๒ ประเด็น คือ (๑) พระอรรถกถาจารยแกวา ไดแก การประณาม คือขบั ไลเ สยี เมอื่ พระอปุ ช ฌายอ ดโทษ (ยกโทษ) แลว นิสสัยยอ มมอี ีก (๒) พระมติ ของสมเด็จพระมหาสมณเจา กรมพระยาวชิรญาณวโรรสวา ถาพระอุปชฌายเห็นสัทธิวิหาริก มีพรรษาพน ๕ แลว มีความรูพระธรรมวนิ ยั พอรักษาตวั ได กใ็ หอยูเปนนิสสัยมตุ ตกะ คือพน จาก ถอื นสิ สัย เหตุท่ีจะใหสัทธิวิหาริกซึ่งประพฤติมิชอบถูกประณาม (การขับไล) มี ๕ ขอ คือ (๑) ไมมีความรักใครในพระอุปชฌาย (๒) ไมมีความเล่ือมใสในพระอุปชฌาย (๓) ไมมีความเคารพ ในพระอปุ ช ฌาย (๔) ไมมีความยาํ เกรงในพระอุปช ฌาย (๕) ไมม คี วามหวงั ดีตอ พระอปุ ชฌาย เน้อื ใน นกั ธรรม ช้นั โท เลม 2 307
๓3๐0๔8 คมู อื การศกึ ษานกั ธรรมชน้ั โท เน้อื ใน นกั ธรรม ช้นั โท เลม 2 วธิ ปี ระณามและถอนประณาม วิธีการที่พระอุปชฌายประณามสัทธิวิหาริกนั้น ทานวางหลักไวในพระบาลี ดังนี้ พึงกลาววา “ฉันประณามเธอ” “เธออยาเขามา ณ ท่ีนี้” “จงขนบาตรและจีวรออกไปเสีย” หรือวา “เธอไมตองอุปฏฐากฉันหรอก” หรือแสดงอาการอยางใดอยางหนึ่งใหรูก็ได สัทธิวิหาริกผูถูก ประณามแลว ตองทาํ ดีแกต ัว และขอใหพ ระอปุ ชฌายอดโทษ ถาทอดธุระเปน โทษแกสัทธิวหิ าริก เม่ือสัทธิวิหารริกกลับทําดีแลวขมาโทษ ถาพระอุปชฌายไมรับและไมระงับประณาม มีโทษแกพระอุปชฌายเหมือนกัน เวนแตพระอุปชฌายมีอุบายบางอยางเห็นวารับงายนัก สทั ธวิ หิ าริกจักไมเ ขด็ หลาบ โดยยังผูกใจอยูวาจะรบั ในเมื่อเวลาอนั ควร ไมมีโทษ การถอื ภิกษุอนื่ เปนอาจารย ภิกษุผูไมไดอยูในปกครองของพระอุปชฌายดวยเหตุ ๕ ประการดังกลาวแลวตองถือ ภกิ ษอุ นื่ เปนอาจารยแทนพระอุปช ฌาย คําขอในการถอื อาจารย : อาจรโิ ย เม ภนเฺ ต โหหิ, อายสฺมโต นสิ สฺ าย วจฉฺ ามิ (๓ หน) คาํ แปล “ขอทา นจงเปนอาจารยข องขาพเจา ขาพเจาจักอยูอ าศยั ทาน” ภิกษุผูใหพ่ึงพิง เรียกวา อาจารย แปลวา ผูฝกมารยาท ภิกษุผูพึ่งพิงอาศัย ช่ือวา อนั เตวาสิก แปลวา ผอู ยูในสาํ นกั อน่ึง คําวา อาจารย หมายถึง ภิกษุผูฝกหัดอบรมมารยาท หรือผูส่ังสอนวิชาความรู มี ๔ ประเภท คือ (๑) ปพพัชชาจารย อาจารยในการบรรพชา (๒) อุปสัมปทาจารย อาจารย ในการอปุ สมบท (๓) นสิ สยาจารย อาจารยในการใหนิสสัย (๔) อุทเทสาจารย หรือธัมมาจารย อาจารยในการสอนธรรม ในท่นี ีห้ มายถงึ นสิ สยาจารย สวนคําวา อันเตวาสิก หมายถึง ผูอยูในสํานัก ภิกษุผูขออยูรวมสํานัก หรือศิษย สวนภกิ ษผุ รู ับใหอยูในสํานักเรียกวาอาจารย อันเตวาสิกก็มี ๔ ประเภทเชนเดียวกับอาจารย คือ (๑) ปพพชันเตวาสิก อันเตวาสิกในการบรรพชา (๒) อุปสัมปทันเตวาสิก อันเตวาสิกใน การอปุ สมบท (๓) นิสสยันเตวาสกิ อนั เตวาสิกในการถือนิสสัย (๔) ธัมมันเตวาสิก อันเตวาสิกใน การเรยี นธรรม ในท่นี ี้หมายถงึ นสิ สยันเตวาสกิ อ า จ า ร ย กั บ อั น เ ต ว า สิ ก พึ ง มี ค ว า ม ส นิ ท ส น ม เ อื้ อ เ ฟ อ ต อ กั น แ ล ะ กั น เ ช น เ ดี ย ว กั บ พระอุปชฌายกับสัทธิวิหาริก ตองใหความเคารพนับถือกันอยางจริงจัง เหตุที่นิสสัยระงับจาก 308
3๓0๐9๕ วชิ า วนิ ัยบญั ญตั ิ อาจารย มี ๖ ขอ คอื ขอ ๑-๕ เหมอื นในพระอุปชฌาย สวนขอท่ี ๖ คืออันเตวาสิกเขารวมอยูกับ พระอุปชฌายะของตน หมายถึงวา อันเตวาสิกน้ันกลับเขาไปอยูในความปกครองของพระอุปชฌาย ของตนเองอกี นสิ สัยจากอาจารยก็เปนอันระงับไป ภิกษุท่ีไดรับยกเวนจากถือนิสสัย มี ๔ ประเภทคือ (๑) ภิกษุผูเดินทาง (๒) ภิกษุ ผูพยาบาลภิกษุไข ผูไดรับการขอรองจากภิกษุไขเพ่ือใหอยู (๓) ภิกษุผูเขาปาเพ่ือเจริญสมณธรรม ช่ัวคราว (๔) ภิกษุผูหาภิกษุผูใหนิสสัยไมได คือหาทานผูมีคุณสมบัติใหนิสสัยไมได และมี เหตุขัดของทจี่ ะไปอยใู นท่ีอื่นไมไ ด จึงอยูใ นทีน่ ้ันดวยผกู ใจวา เม่อื ใดมที านผูใ หน ิสสัยมาอยู จักถือ นสิ สัยในทา นผนู ั้น กใ็ ชไ ด ภิกษุผูมีพรรษาหยอนกวา ๕ ซ่ึงจัดเปนพระนวกะอยู แมจะเปนผูมีความรูทรงธรรม ทรงวินยั จะไมถ ือนิสสัยไมไ ด ทรงหา มไว เวนไวแตภ ิกษุทีไ่ ดร ับการยกเวนทัง้ ๔ ประเภทน้ัน นสิ สยั มตุ ตกะ ภิกษุผูมีพรรษาครบ ๕ แลว แตหยอน ๑๐ ทานเรียกวา มัชฌิมะ ถามีองคสมบัติครบ ทีท่ า นกาํ หนด ก็ทรงอนุญาตใหเ ปนนิสสยั มุตตกะ คอื พน จากการถอื นสิ สยั องคสมบตั ิของภกิ ษุมชั ฌมิ ะผเู ปนนิสสยั มุตตกะ มี ๔ ขอ ดงั น้ี ๑. เปนผูมีศรัทธา มีหิริ มโี อตตปั ปะ มวี ริ ิยะ มสี ติ ๒. เปนผถู ึงพรอ มดว ยศลี อาจาระ ความเห็นชอบ เคยไดย นิ ไดฟง มามาก มีปญญา ๓. รูจกั อาบตั มิ ใิ ชอ าบตั ิ อาบัติเบา อาบตั หิ นัก จาํ ปาตโิ มกขไ ดแ มนยํา ๔. ท้ังมีพรรษา ๕ หรอื เกินกวา (๖-๙ พรรษา) องคเ หลา น้แี มบกพรองบางอยางยังใชได แตท่ีขาดไมไดคือกําหนดพรรษาภิกษุมัชฌิมะ ผมู อี งคสมบตั เิ หลา น้ีทรงใหอ ยูตามลาํ พังได แตทรงหา มปกครองบรษิ ทั ภิกษุผูมีพรรษาครบ ๑๐ แลว ไดชื่อวา เถระ แปลวา ผูหลักผูใหญ หรือ ผูมั่นคง ทรงอนุญาตใหมีหนาท่ี คือ (๑) เปนพระอุปชฌายใหอุปสมบท (๒) เปนพระอาจารยใหนิสสัย (๓) มีสามเณรไวอุปฏฐากได (๔) ปกครองบริษัทได ที่เรียกวา ปริสุปฏฐาปกะ แปลวา ผูใหบริษัท อปุ ปฏฐากหรือผูใชบ รษิ ัท องคสมบัตขิ องภกิ ษผุ เู ปน พระเถระ มี ๖ ขอ โดย ๓ ขอแรก เหมอื นกับองคส มบตั ิ ของภิกษุมัชฌมิ ะ สวนอีก ๓ ขอทีเ่ หลือ ดงั นี้ ๔. อาจพยาบาลเอง หรือสั่งผูอ่ืนใหพยาบาลสัทธิวิหาริก หรืออันเตวาสิกผูอาพาธ เน้อื ใน นกั ธรรม ช้นั โท เลม 2 309
3๓๐1๖0 คมู อื การศกึ ษานกั ธรรมชน้ั โท เน้อื ใน นกั ธรรม ช้นั โท เลม 2 อาจระงับเอง หรือใหผูอื่นชวยระงับความไมยินดีในพรหมจรรยของสัทธิวิหาริก หรืออันเตวาสิก อาจบรรเทาเองหรือใหผูอื่นชวยบรรเทาความเบื่อหนายอันเกิดข้ึนแกสัทธิวิหาริก หรือันเตวาสิก โดยชอบ รูจกั อาบตั ิและวิธีออกจากอาบัติ ๕. อาจฝกสัทธิวิหาริก อันเตวาสิก ในสิกขาอันเปนสวนเบื้องตนแหงพรหมจรรย และ สิกขาอันเปนสวนอภิสมาจาร อาจแนะนําธรรมวินัยอันย่ิงขึ้นไป อาจเปลื้องทิฏฐิผิด อันเกิดแก สัทธวิ ิหารกิ อันเตวาสิกโดยชอบ ๖. มพี รรษาครบ ๑๐ หรอื เกินกวา ๑๐ ขึ้นไป องคเ หลานี้แมบกพรอ งบางอยา งกใ็ ชไ ด แตท่ขี าดไมไดค ือกําหนดพรรษา 310
3๓1๐๗1 วชิ า วนิ ยั บญั ญตั ิ กัณฑที่ ๑๔ วัตร ขนบธรรมเนียม หรือแบบอยางอันภิกษุควรประพฤติในกาลน้ันๆ ในที่นั้นๆ ใน กิจนั้นๆ แกบุคคลน้ันๆ เรียกวา วัตร ภิกษุผูสมบูรณดวยวัตร เอาใจใสประพฤติวัตรน้ัน ๆ ให บริบูรณไดชื่อวา “อาจารสมฺปนฺโน ผูถึงพรอมดวยมารยาท” หรือ “วตฺตสมฺปนฺโน ผูเพียบพรอม ดวยวตั ร” ในทน่ี ี้ ทานจดั ประเภทวัตรท่ีจะศึกษาเปน ๓ ประเภท คือ (๑) กิจวัตร วาดวยกิจที่ควรทํา (๒) จริยาวตั ร วาดวยกิจอนั ควรประพฤติ (๓) วธิ ีวัตร วาดว ยแบบอยาง ๑. กจิ วัตร กจิ วตั ร วาดว ยกิจท่ีควรทาํ แยกยอยเปน วตั ร ๑๒ ประเภท คอื ๑. อุปช ฌายวตั ร วตั รอนั สัทธิวิหาริกพึงปฏิบตั ิตอ พระอุปชฌาย มดี งั นี้ ๑.๑ เอาใจใสก ารอปุ ฏฐากทาน ในกิจทุกอยา ง ๑.๒ หวังความศกึ ษาในทาน ๑.๓ ขวนขวายปองกนั หรือระงับความเสื่อมเสีย อันจักมีหรือไดมีแลวแกทาน เชน เปลอื้ งความเบ่ือหนาย และความเห็นผดิ ของทาน เปน ตน ๑.๔ รักษาน้ําใจทาน ไมสรา งเหตุใหแคลงใจ จะทาํ อะไรปรึกษาทา นกอน ๑.๕ เคารพในทา น เชน เดนิ ตามทา นไมช ิดนัก ไมหา งนัก ไมพูดสอดขึ้น ขณะทาน กําลังพูด ทา นพดู ผดิ ไมค า นจังๆ พดู ออ มพอใหท านรู ๑.๖ ไมเท่ียวเตรต ามอําเภอใจ ไปไหนบอกลาทา นกอน ๑.๗ เม่ือทานอาพาธ ควรเอาใจใสพยาบาล ไมไปไหนเสีย พยาบาลจนกวาทาน หายอาพาธ หรือมรณะ ๒. สทั ธวิ หิ ารริกวัตร วตั รอันพระอุปช ฌายพงึ ปฏบิ ตั ติ อสัทธิวหิ าริก มีดงั น้ี ๒.๑ เอาธรุ ะในการศกึ ษาของสัทธวิ ิหาริก ๒.๒ สงเคราะหดวยบาตร จีวร และบริขารอ่ืน ๆ ถา ของตนไมมี ก็ขวนขวายหาให ๒.๓ ขวนขวายปอ งกันหรือระงับความเสื่อมเสยี อนั จักมีหรอื ไดมีแลว แกส ัทธิวหิ าริก ๒.๔ เม่อื สทั ธวิ หิ าริกอาพาธ ทาํ การพยาบาล (วตั รอนั อาจารยและอนั เตวาสิกพงึ ปฏบิ ตั ติ อกนั พงึ เทยี บเคยี งโดยนยั น้ี) เน้อื ใน นกั ธรรม ช้นั โท เลม 2 311
3๓๐1๘2 คมู ือการศกึ ษานกั ธรรมชน้ั โท เน้อื ใน นกั ธรรม ช้นั โท เลม 2 ๓. อาคันตกุ วตั ร วตั รอนั ภกิ ษุผเู ปน อาคนั ตุกะไปสูอาวาสอื่นพึงปฏิบัติตอภิกษุผูเปน เจา ถน่ิ มีดังนี้ ๓.๑ เคารพในทาน พอเขาวัด ถอดรองเทา ลดรม ลดจีวรเฉวียงบา เขาไปสูท่ีอยู ของภิกษเุ จาถ่ินกอ น ไหวเจา ของถิ่นผแู กกวา ตน ๓.๒ แสดงความเกรงใจเจาถิ่น กลา วคือ เห็นเจาของถ่ินกําลังทําธุระอยู เชน กวาด ลานพระเจดียห รอื ปรงุ ยาใหภ กิ ษุไข ทานละกิจนั้นมาทําการตอนรับก็บอกทานใหทําใหเสร็จกอน เปนตน โดยนยั น้ี เม่ือจะเขา ไป หากเห็นภิกษเุ จาถิ่นกําลังทําธุระอยางนั้น ควรรอใหเสร็จกอน จึง เขา ไป ถา ภิกษเุ จา ถ่ินตองพักธุระไวไ มค วรอยนู าน ๓.๓ แสดงกิริยาสุภาพ เชน ลางเทากอนเขาไปในที่อนั ไมค วรเหยยี บดวยเทาเปอ น ๓.๔ แสดงอาการอันสนทิ กบั เจา ของถ่นิ เชน ตองการนาํ้ ด่มื ก็ด่ืม โดยนัยนี้ เจาของถิ่น ทาํ ปฏสิ นั ถารอยา งใด กร็ บั โดยไมแสดงอาการรงั เกียจ ๓.๕ ถาจะอยูที่นั่น ควรประพฤติใหถูกธรรมเนียมของเจาของถิ่น เชน ถามถึง เสนาสนะสําหรับตน ถามถึงโคจรคามสําหรับบิณฑบาตวาไกลหรือใกล จะพึงเขาไปเชาหรือสาย ถามถงึ ทอี่ โคจรที่ไมค วรเขาไป ๓.๖ อยูเสนาสนะแลว อยา ดดู าย เอาใจใสชําระปด กวาดเก็บใหเ รยี บรอย ๔. อาวาสิกวตั ร วัตรอันภกิ ษุเจาของถน่ิ พงึ ปฏิบตั ิตอ ภิกษุอาคนั ตุกะ มีดงั น้ี ๔.๑ เปนผูหนักในปฏิสันถาร เชน กําลังทําธุระอยางใดอยางหน่ึงอยู ใหงดไวกอน เวนแตกาํ ลงั ปรุงยาใหแกภ กิ ษุไขหนกั รีบทําใหเ สร็จกอน ๔.๒ แสดงความนบั ถือแกอาคนั ตุกะ เชน ตั้งหรือปูอาสนะให ถามถึงความตองการ เกี่ยวกบั น้าํ ดืม่ น้าํ ใช ๔.๓ ทาํ ปฏสิ ันถารโดยธรรม คือสมแกภาวะอาคันตุกะ เชน อาคันตุกะมีพรรษาแก กวาตน ควรลุกไปตอนรับ ถาอาคันตุกะมีพรรษาออนกวาตนก็เปนแตนิมนตใหนั่ง บอกน้ําดื่ม นาํ้ ใชใ ห (ปจ จุบันนี้ สงั่ ใหสามเณรหรือผอู ่ืนใหก ็เปนการสมควร) ๔.๔ ถาอาคนั ตุกะมาเพอ่ื จะมาอยวู ดั ควรเอาใจใสเอ้ือเฟอ จดั ทอี่ ยูให รวมถึงบอกที่ ทางและกตกิ าสงฆใหท ราบ ๕. คมิกวตั ร วตั รของภิกษผุ ูจะไปอยทู อี่ ื่นพึงปฏบิ ัติ มีดงั นี้ ๕.๑ เก็บงาํ อาสนะ ถาเห็นหลังคาร่ัว อาจซอมได ควรทําใหเสร็จกอน ถารกหรือ เปรอะเปอน ควรชาํ ระใหส ะอาด เกบ็ เคร่อื งเสนาสนะ คอื เตียง ต่ัง ฟูก หมอน และเครื่องใชไวให ถูกที่ อยา ทงิ้ ใหเกลื่อนกลาด ใหพ น อันตราย ปด หนา ตา งประตู ลนั่ ดาลหรือกญุ แจใหเรียบรอ ย ๕.๒ บอกมอบคืนเสนาสนะแกภิกษุผูเปนเสนาสนคาหาปกะ (ผูดูแลเสนาสนะ) ถาไมมี 312
3๓1๐3๙ วชิ า วนิ ัยบญั ญตั ิ บอกมอบแกเพอ่ื นภกิ ษุทีอ่ ยดู วยกนั ถา อยรู ูปเดียว บอกมอบแกห วั หนาทายกหรอื นายบานก็ได ๕.๓ บอกลาทานผูที่ตนพึงพํานักอยู คือพระอุปชฌาย หรืออาจารย ในปจจุบัน ตองลาเจาอาวาสดวย ๖. ปณ ฑจารกิ วัตร วตั รทภี่ ิกษุผูจะเขาไปบิณฑบาตในละแวกบา นพงึ ปฏบิ ตั ิ มดี งั น้ี ๖.๑ นุงหมใหเรียบรอย คือนุงปดสะดือ ปกหัวเขา ผูกประคดเอว ซอนผา สังฆาฏกิ ับอตุ ตราสงคเขา ดวยกันเปนสองผืน หมคมุ ปด บา ทั้งสอง ๖.๒ ถอื บาตรภายในจีวร เอาออกเมอื่ จะรบั บิณฑบาต ๖.๓ สาํ รวมกริ ิยาใหเรียบรอ ยตามสมณสารปู ในเสขิยวัตร ๖.๔ กําหนดทางเขาออกแหงบานและอาการของชาวบานผูจะถวายภิกษาวาจะ ถวายหรือไมถ วาย ๖.๕ ถารูวาเขาจะใหรับบณิ ฑบาตดวยอาการสาํ รวมดังกลา วไวในเสขยิ วตั ร ๖.๖ รปู ท่กี ลับมากอ น เตรียมอาสนะที่นงั่ ฉัน น้าํ ด่ืม ภาชนะใสของฉัน ตลอดท้ัง น้ําลางเทา และเครื่องเช็ดเทาไวคอยทารูปที่มาทีหลัง ฝายรูปท่ีมาทีหลังเม่ือฉันแลวเก็บของ เหลาน้นั และกวาดหอฉัน (ธรรมเนียมน้สี ําหรับวดั ท่ภี กิ ษฉุ ันในหอแหงเดยี วกัน แตฉ ันไมพ รอ มกัน) ๗. ภัตตัคควตั ร วตั รท่ภี กิ ษผุ ูจ ะฉันอาหารพงึ ปฏบิ ตั ิ มีดังนี้ ๗.๑ นุงหม ใหเรียบรอ ยตามสมควรแกการฉนั ในวัดหรือในบา น ๗.๒ รูจักอาสนะอันสมควรแกตน ถา น่ังเขา แถวในท่ีอังคาส (ทีส่ าํ หรับฉัน) อยานั่ง เบยี ดพระเถระ ถา ท่นี ่ังมมี ากเวนไวหน่ึงหรือสองที่ แตสําหรับอาสนะท่ีเขาปูไวจํากัดจํานวนภิกษุ ไมควรทําเชนนั้น กอนนั่งควรขออนุญาต (กระทําโอกาส) พระเถระแลวจึงน่ัง และไมน่ังกีดกัน อาสนะภกิ ษผุ อู อนกวาดวยการน่งั เสยี ปลายแถว ซงึ่ ทําใหภิกษุผอู อ นกวาไมมีโอกาสจะนัง่ ๗.๓ หา มไมใ หน ัง่ ทับผา สงั ฆาฏใิ นบาน ๗.๔ ทายกถวายนํ้า ถวายโภชนะ ควรรับโดยเอื้อเฟอ ถาเขาไมไดจัดโภชนะ ถวายเฉพาะรูป แตจัดมาในภาชนะอันเดียวเพ่ือใหตักฉันเอง หรือเขาตักถวายหวังใหไดทั่วกัน ถาของนอยเห็นจะไมพ อกัน ควรผลดั กันรบั บา งไมร ับบา ง ๗.๕ ในโรงฉันเล็ก พอแลเห็นทั่วกัน ภิกษุทั้งหลายยังไมไดรับภาชนะทั่วกัน ภิกษุ ผูสังฆเถระอยาเพ่ิงลงมือฉัน เวนแตในท่ีอังคาสมีภิกษุมาก แลเห็นกันไมท่ัวถึง หรือพนวิสัย รอคอยได ๗.๖ ฉันดว ยอาการเรียบรอ ยตามทีก่ ลา วไวใ นเสขยิ วัตร ๗.๗ พึงฉันใหอิ่ม แตถาภิกษุท้ังหลายยังฉันไมเสร็จ พระสังฆเถระอยาเพิ่งรับนํ้า ลา งบาตร (ในปจ จบุ ันนี้ คอื ยังไมค วรบวนปาก หรือยังไมค วรลางมือเก็บภาชนะ ชอนสอมที่แสดง เน้อื ใน นกั ธรรม ช้นั โท เลม 2 313
๓3๑1๐4 คมู อื การศกึ ษานกั ธรรมชนั้ โท เน้อื ใน นกั ธรรม ช้นั โท เลม 2 ถึงอาการฉนั เสร็จ) ๗.๘ พึงระวัง อยาบวนปากและลางมือใหนํ้ากระเด็นถูกภิกษุผูนั่งใกล หรือถูกจีวร ตนเอง ๗.๙ ฉนั ในทีอ่ งั คาสของทายก เสรจ็ แลวควรอนุโมทนา ๗.๑๐ เมื่อกลับอยาเบียดเสียดกันออกมา ถาโรงฉันแคบ ภิกษุผูอยูปลายแถวพึง ออกกอนโดยทวนลําดับขึ้นไป แลวยืนรออยูขางนอก จนกวาพระสังฆเถระจะออกมา ถาโรงฉันกวาง ออกตงั้ แตต นแถว แลวเดนิ กลับตามลําดบั ๗.๑๑ หามมใิ หเ อาน้าํ ลา งบาตรมเี มล็ดขา วและของเปนเดนเทท้ิงลงในบา น ๘. เสนาสนคาหาปกวัตร วัตรที่ภิกษุผูทําหนาที่แจกเสนาสนะ (จัดที่อยูอาศัย ดูแล เครอ่ื งเสนาสนะในวัด) พงึ ปฏบิ ตั โิ ดยควรรภู กิ ษทุ ่คี วรใหย าย หรอื ไมค วรใหยาย มีดงั น้ี ๘.๑ ไมค วรยายภิกษผุ แู กกวา เพ่อื จะใหภ ิกษุผูออนกวา เขา อยู ๘.๒ ไมควรยายภิกษุอาพาธ เวนแตอาพาธเปนโรคติดตอกัน เชน โรคเรื้อน หรือ เปนโรคอันจะทาํ ใหเ สนาสนะสกปรกเปรอะเปอ น ควรจดั เสนาสนะใหอยสู ว นหนง่ึ ตางหาก ๘.๓ ไมค วรยา ยภิกษผุ รู กั ษาคลงั สงฆ ๘.๔ ไมควรยา ยภิกษผุ ูเปนพหสู ูตซ่งึ ทาํ หนา ทสี่ อนธรรมแกภ กิ ษุทั้งหลาย ๘.๕ ไมค วรยา ยภิกษุผูทาํ การปฏิสงั ขรณเ สนาสนะอันชาํ รดุ ใหคืนสภาพเปนปกติ ในสังฆิกาวาส (วัด) แหงหนึ่ง ภิกษุท้ังปวงมีสิทธิในอันจะอยูเสนาสนะของสงฆ เวนไว แตประพฤติตนผิดพระธรรมวินัยถูกขับไลออกจากวัด ดังน้ัน เพื่อมิใหภิกษุแยงชิงกันในเร่ือง เสนาสนะ จึงทรงอนุญาตใหสงฆสมมติแตงต้ังภิกษุผูฉลาดสามารถรูปหน่ึงเปนเจาหนาท่ีจัดแจก ดูแลเสนาสนะ เรียกวา เสนาสนคาหาปกะ และการแจกเสนาสนะน้ันมี ๒ คราว คือ (๑) แจก สําหรบั ใหอยูในพรรษา (๒) แจกสําหรบั ใหอ ยูนอกพรรษา ในพรรษา ภิกษุมสี ิทธิอยูไดตลอดเวลา แหงการจําพรรษา ๓ เดือน นอกพรรษา ภิกษุผูเปนเสนาสนคาหาปกะสามารถจะใหยายจาก เสนาสนะแหง หน่งึ ไปอยูอ ีกแหงหน่ึงไดตามที่เหมาะสมในกาลนั้น ๆ ทานหามมิใหภิกษุด้ือดึงขัดขืน ไมย อมไป (เพราะเปน ภิกษุไมส มควรจะยึดตดิ ในที่อย)ู ๙. เสนาสนคาหกวัตร วตั รที่ภกิ ษผุ รู ับเสนาสนะ (อยอู าศยั เสนาสนะ) พึงปฏบิ ตั ิ มดี งั นี้ ๙.๑ อยา ทาํ เสนาสนะเปรอะเปอนโดยประการใด ๆ ๙.๒ ชาํ ระใหส ะอาด อยา ใหร กดวยหยากเยอ่ื หยากไย และฝนุ ละออง ๙.๓ ระวังไมใหช าํ รุดหรือทาํ แตก หกั เปน ริว้ รอยเสยี หาย ๙.๔ รกั ษาเคร่อื งเสนาสนะทุกชนิดใหสะอาดและจดั ตง้ั ใหเ ขา ระเบียบ ๙.๕ จดั ตั้งนํ้าด่มื นา้ํ ใชใ หมพี รอม 314
3๓1๑5๑ วชิ า วนิ ยั บญั ญตั ิ ๙.๖ ของใชใ นเสนาสนะหน่งึ อยา เอาไปใชในที่อื่นใหก ระจัดกระจาย ๑๐. วจั จกฏุ วิ ตั ร วัตรท่ีภกิ ษุพงึ ปฏิบัติในการใชวจั กุฎี (หอ งน้ํา – หอ งสว ม) มีดงั นี้ ๑๐.๑ การถายอุจจาระ ถายปสสาวะ และอาบน้ํา ใหทําตามลําดับผูไปถึง ไมถือ ตามลาํ ดบั พรรษา ไมเ หมอื นกิจอน่ื ที่พงึ ทาํ ตามลําดับพรรษา ๑๐.๒ ใหระวังกิริยา เชน ประตูปดอยู มิใหดวนผลักเขาไป ตองใหเสียงกอน ฝาย ผูอยขู างในกต็ องใหเ สียงรบั ไมควรเลกิ ผานุงเขาไปหรือออกมา ระวงั อยาถา ยหรอื ชําระใหเสยี งดัง ๑๐.๓ ใหรูจักรกั ษาบริขาร เปลอ้ื งจวี รไวขา งนอก อยาหมครองเขาไป ๑๐.๔ ใหรูจักรักษาตัว คืออยาเบงแรงจนถึงกับทวารชอกซํ้า เวนไวแตทองผูก เกนิ ปกติ อยาใชไมชาํ ระอนั จะทําอันตรายตนเอง ใหใชไ มท ่เี หลาเกลย้ี งเกลาแลว ชาํ ระดว ยน้ํา ๑๐.๕ อยา ทํากจิ อน่ื เวลาถา ย เชนเค้ยี วไมชําระฟนไปพลางถายไปพลาง ๑๐.๖ ใหระวงั เพ่อื ไมใ หทําสกปรก ๑๐.๗ ใหชวยรกั ษาความสะอาด ๑๑. คิลานุปฏฐากวัตร วัตรท่ีภิกษุผูจะพยาบาลภิกษุไข โดยถาภิกษุรูปใดรูปหนึ่ง อาพาธลง ภกิ ษผุ เู ปน เพ่อื นสหธรรมกิ ควรเอาใจใสชวยรกั ษาพยาบาล อยาทอดธรุ ะเสยี องคส มบตั ขิ องภิกษพุ ยาบาลไขท่เี ขา ใจพยาบาล ตรัสไว ๕ ประการ ดงั น้ี ๑. สามารถจดั ยาได รูจักประกอบเภสัช ๒. รจู กั ของแสลงและไมแสลง กนั ของแสลงออก นาํ ของไมแสลงเขา ไปให ๓. มเี มตตาจติ พยาบาลไข ไมหวังส่ิงตอบแทน ๔. ไมร ังเกยี จสิ่งขับถา ยของคนไข ๕. สามารถพดู ใหภ ิกษุไขส บายใจได ๑๒. คิลานวัตร วัตรที่ภิกษุอาพาธพึงปฏิบัติ โดยกําหนดเปนองคคุณของภิกษุไขที่ พยาบาลงายไว ๕ ประการ คือ ๑๒.๑ ทําความสบายใหแ กตน เชน ไมฉันของแสลง ๑๒.๒ รจู ักประมาณในสง่ิ ทส่ี บาย ๑๒.๓ ทานยางา ย หรอื ยอมฉันยา ๑๒.๔ บอกอาการไขต ามความเปน จริง ๑๒.๕ อดทนตอ ทกุ ขเวทนา (แมสามเณรก็ควรไดรับการพยาบาลเชนเดยี วกบั ภิกษุ) เน้อื ใน นกั ธรรม ช้นั โท เลม 2 315
3๓๑1๒6 คมู อื การศกึ ษานกั ธรรมชน้ั โท เน้อื ใน นกั ธรรม ช้นั โท เลม 2 ๒. จริยาวัตร จริยาวัตร คอื มารยาทท่ภี ิกษุควรประพฤติ ทานกําหนดไว ๑๐ ประการ ดงั นี้ ๑. หา มมใิ หเหยียบผาขาวทเ่ี ขาปูไวในทีน่ มิ นต ๒. ยงั มิไดพ ิจารณากอนอยา นั่งลงบนอาสนะ ๓. หามมิใหน่ังอาสนะยาวกับผูหญิงและคนพันทาง แตจะนั่งกับคนมีอาสนะ ไมเสมอกัน คอื ภกิ ษผุ ูมีพรรษาแกก วา หรอื ออนกวากันไมเกิน ๓ พรรษา และอนุปสมั บันชายหรอื สามเณรไดอยู ๔. ภิกษุรองลําดับฉันคางอยู อยาใหลุก คือภิกษุผูกําลังฉันคางอยูในโรงฉัน ภิกษุรูป หน่ึงเขาไป ภิกษุผูออนกวาภิกษุรูปน้ันจะตองถอยรนลงมา ใหอาสนะแกภิกษุรูปน้ันตามลําดับ พรรษา เชนนี้อยาใหภิกษุที่กําลังฉันอยูนั้นลุกจากท่ี พึงอนุญาตใหฉันตอไป สวนภิกษุผูเพ่ิงมา พึงน่งั ลงในทว่ี า งที่ใดที่หนึ่ง โดยประการท่ีจะไมร บกวนภกิ ษุผกู ําลงั ฉนั อยูใ หลุกจากที่ ๕. จะนอนพักกลางวนั ก็ควรปดประตู หรือนอนในท่กี ําบัง ๖. หามมิใหเทอุจจาระ ปสสาวะ หยากเยื่อ หรือของเปนเดนทิ้งลงไปนอกฝา นอกกําแพง หามมใิ หเทสิ่งของเชนนนั้ ลงบนรุกขชาตทิ สี่ ดเขียว ๗. หามมิใหข้ึนตนไม เวนแตมีกิจ เชน หลงทาง ตองการจะข้ึนดูเพื่อดูหนทาง หรือ ตองการจะหนอี นั ตรายจากสัตวร า ย เปน ตน ๘. หามมิใหไปเพ่ือดูการฟอนรํา ขับรอง ประโคมดนตรี และดูการเลนบางอยางที่ไม สมควรแกสมณะ (ปจ จุบันรวมถงึ สงิ่ บันเทงิ ตาง ๆ ท่ีเปนขาศกึ แกก ศุ ล) ๙. หามมิใหกลาวธรรมดวยเสียงขับอันยาว หมายถึง หามแสดงธรรมกลาวธรรม ดวยทํานองทีเ่ ลน เมด็ เลน พราวจนยืดยาว จนอักขระวบิ ัติ จะแสดงหรอื สวดพอเปนทําเนา ไมตลก โปกฮาเชนที่เรียกวา สวดทาํ นองสรภญั ญะ ไดอ ยู ๑๐. หามมิใหจ ับวัตถอุ นามาส คือส่งิ ท่ีไมค วรจับ วตั ถอุ นามาสนั้นมี ๖ ประเภท คือ (๑) หญิงท้ังเคร่ืองแตงกาย ท้ังรูปท่ีมีสัณฐานเชนน้ัน รวมถึงสัตวเดรัจฉานตัวเมียดวย สว นผา นุง หม ของหญงิ ท่ีไมใชแลว ซง่ึ ทาํ เปนผา รองน่งั หรอื เช็ดเทา พน จากความเปน วัตถอุ นามาส (๒) ทอง เงิน และรัตนะทั้ง ๘ ประการ คือ มุกดา มณี ไพฑูรย ประพาฬ ทับทิม บุษราคัม สงั ข และศิลา รวมเปน ๑๐ อยา ง เพชรกจ็ ัดเขาในวตั ถุอนามาส (๓) ศาสตราวุธตาง ๆ ชนิด มีหอก ดาบ เปนตน ที่เปนเครื่องทํารายชีวิต และรางกาย เวนเครื่องมือทํางาน เชน ขวาน เปน ตน จับใชส อยได (๔) เคร่ืองมือสาํ หรบั ดกั สัตวตาง ๆ เชน แรว ตาขา ย แห อวน เปน ตน (๕) เครอื่ งประโคมหรอื เครือ่ งดนตรีทกุ ชนิด 316
3๓1๑7๓ วชิ า วนิ ัยบญั ญตั ิ (๖) ขาวเปลือก และ ผลไมอันเกิดอยูกับที่ เพราะขาวเปลือกเปนธัญพืชท่ียังเพาะปลูก ได สวนผลไมทต่ี ดิ อยูกบั ข้ัวท่ีตน ไม หากภิกษุเดด็ มาปอกฉนั เอง ดเู ปนการไมส มควร ๓. วิธีวัตร วธิ ีวตั ร หมายถงึ แบบแผนที่จะพึงปฏิบตั ิใหเ ปนระเบียบเรียบรอยของภิกษุ ในกรณียกิจ ตาง ๆ ดงั ตอ ไปนี้ ๑. วิธีครองผาของภิกษุ การนุงผาอันตรวาสก ควรพับชายเขามาทั้งซายขวา เหน็บ ชายบนเหนือสะดือ ไมทําเปนชายพก ริมผาดานลางปกเขาเลยลงมาราวคร่ึงแขง อยาใหมากจน กาวเดินไมสะดวก เมื่อเขาที่ประชุม หรือออกนอกวัด นอกท่ีอยู ควรรัดประคดเอว การหมผา อุตตราสงคในวัด หรือในท่ีอยู ปดบาซาย เปดบาขวา นอกวัดหมคลุม ปดบาทั้งสอง กลัดรังดุม เม่ือเดนิ ทาง ถา ลงเรือใหปลดลูกดมุ สวนผาสังฆาฏนิ ยิ มพาดบา ซา ยวางทบั อตุ ตราสงค ๒. วิธีใชบ าตรในเวลาเที่ยวรับภิกษา ใชถือหรืออุมไวภายในจีวร ขณะจะรับเอามือซาย ยกชายจีวร ยืน่ บาตรดว ยมอื ขวา ๓. วิธีพับจีวรเก็บ ไมใหพับหักกลาง ใหพับทําเปนขนดวงกลมเหลื่อมเขาบางออกบาง ราว ๔ น้ิว เอาประคดเอววางไวในขนดอันตรวาสก เพื่อกันจีวรชํ้าตรงกลาง ในสมัยกอนเก็บจีวร บนราว มีวิธีเก็บจีวร คือถือจีวรดวยมือขางหนึ่ง ลูบราวดวยมือขางหนึ่ง เอาจีวรสอดใตราว คอย ๆ พาดใหชายจวี รอยขู างตวั ขนดอยูขา งนอก ๔. วิธีเก็บบาตร ควรเก็บไวใตเตียงหรือใตตั่ง ถือบาตรดวยมือขางหนึ่ง ลูบใตเตียง ดวยมือขางหน่งึ แลวจึงเก็บ ๕. วิธีเช็ดรองเทา ใชผ าแหงเชด็ กอ นแลว จงึ ใชผ า เปยกเช็ด ๖. วิธีพัดใหพระเถระ ใหพัดทหี่ ลงั หนหน่งึ ท่ตี ัวหนหนง่ึ ทศ่ี รี ษะหนหนง่ึ ๗. วิธีเปด – ปด หนาตางตามฤดูกาล ในฤดูหนาวใหเปดในเวลากลางวัน เพ่ือให ความรอนและแสงแดดผานเขา ปดในเวลากลางคืน เพ่ือกักความรอนไมใหออกและไมใหความเย็น เขามา ในฤดูรอน ใหปดกลางวันเพื่อมิใหความรอนเขามา เปดกลางคืนเพ่ือถายความรอน ออกและใหค วามเยน็ เขามา ๘. วธิ ีเดิน ใหเ ดินเรยี งตามลาํ ดับแกออ น เวน ระยะหางกันพอคนเดนิ ผา นได ๙. วธิ ีทําวนิ ยั กรรม ใหห มผา เฉวยี งบา นง่ั กระโหยง (หรอื คกุ เขา) ประนมมือ เน้อื ใน นกั ธรรม ช้นั โท เลม 2 317
3๓๑1๔8 คมู อื การศกึ ษานกั ธรรมชนั้ โท เน้อื ใน นกั ธรรม ช้นั โท เลม 2 กณั ฑที่ ๑๕ คารวะ พระรัตนตรัย เปนสรณะสูงสุดของพุทธศาสนิกชน ดังน้ัน ทานจึงหามมิใหเลนปรารภ พระรัตนตรัย คือนําพระรัตนตรัยมาเลนเปนบทละคร หรือนํามาพูดเลนในทํานองตลกคะนอง ใหเ ปน ท่ีสรวลเสเฮฮา อันเปนกิริยาไมเ คารพ การแสดงความออนนอมตอกัน เปนความดีงามของหมูคณะ พระพุทธองคจึงทรงอนุญาต ใหภิกษุแสดงความเคารพแกกันไว ๔ วิธี คือ (๑) การกราบไหว (๒) การลุกรับ (๓) การทํา อัญชลี คือ การประนมมือไหว (๔) การทําสามีจิกรรม คือ การทําความเคารพอยางอ่ืนอันเปน ความดงี าม การทาํ ความเคารพ (ความออ นนอม) ท้งั หมดนใี้ หทาํ ตามลําดับพรรษา บุคคลผูท่ีภิกษุไมควรไหว มี ๓ ประเภท คือ (๑) อนุปสัมบัน (๒) ภิกษุผูเปนนานา สงั วาส (ตา งนิกาย) พดู ไมเปน ธรรม (๓) ภิกษผุ อู อนพรรษากวา ตน โอกาส (เวลา) ทอี่ นุญาตใหงดไหวกนั มี ๘ โอกาส คือ ๑. ในเวลาประพฤติวฏุ ฐานวธิ ี คือการอยูก รรมเพ่อื ออกจากอาบัตสิ งั ฆาทิเสส ๒. ในเวลาถกู สงฆลงอุกเขปนียกรรม คอื ท่ถี ูกหา มสมโภคและสังวาส (หามกินรวมอยูร ว ม) ๓. ในเวลาเปลือยกาย ๔. ในเวลาเขา บานหรอื เดินอยตู ามทาง 318
3๓1๑9๕ วชิ า วนิ ัยบญั ญตั ิ ๕. ในเวลาอยูท ี่มืดแลไมเห็นกนั ๖. ในเวลาทา นไมรู เชน นอนหลับ ๗. ในเวลาขบฉันอาหาร ๘. ในเวลาถายอจุ จาระปสสาวะ การไหวใน ๓ ขอขางตน ทานปรับอาบัติทุกกฏ การไหวใน ๕ ขอหลัง ทานวาเปนเพียง ไมด ไี มง าม การลกุ รบั มงี ดในบางโอกาส ดงั น้ี การลุกขึ้นยืนรับ เปนกิจท่ีผูนอยจะพึงกระทําตอผูใหญ แตพึงงดในเวลาหรือโอกาส ตอไปนี้ ๑. เวลานัง่ อยใู นสาํ นกั ผใู หญ ไมล ุกรับผูม ีพรรษานอยกวาทาน ๒. เวลานง่ั เขาแถวในบาน ๓. เวลาเขา ประชุมสงฆภายในวัด การประนมมือ และการทําสามีจิกรรม ทําไดแมแกภิกษุผูออนพรรษากวา เชน เวลา ขอขมาโทษ หรือวนิ ยั กรรม มีการปลงอาบตั ิเปน ตน นงั่ หรอื ยืนทํากไ็ ด ใชเ ฉพาะทําแกภกิ ษผุ ใู หญ การทําความเคารพที่จัดไวอีกสวนหน่ึง เมื่อคร้ังพระพุทธองคยังทรงพระชนมอยู ภิกษุทั้งหลายตางพูดเรียกกันวา “อาวุโส” ซ่ึงแปลวา “ผูมีอายุ” หรือ “คุณ” เสมอกันไปหมด เวนแตผูใหญกับผูนอย เชน พระอุปชฌายกับสัทธิวิหาริก เชนนี้ผูนอยพูดเรียกผูใหญวา “ภนฺเต” ซึ่งแปลวา “ทานผูเจริญ หรือ ทาน” ผูใหญเรียกผูนอยวา “อาวุโส” ดังน้ัน กอนท่ีจะเสด็จดับขันธ- ปรินิพพาน พระพุทธองคจึงตรัสสั่งแกภิกษุทั้งหลายใหเรียกกันตามพรรษาแกออน โดยใหใชคํา วา “ภนเฺ ต” เปน คําเรยี กภกิ ษุผูแกพ รรษา และใหใ ชคําวา “อาวุโส” เปน คําเรยี กภิกษผุ ูออ นพรรษา เน้อื ใน นกั ธรรม ช้นั โท เลม 2 319
3๓๑2๖0 คมู อื การศกึ ษานกั ธรรมชนั้ โท เน้อื ใน นกั ธรรม ช้นั โท เลม 2 กณั ฑที่ ๑๖ จาํ พรรษา เม่ือครั้งปฐมโพธิกาล ยังมิไดทรงอนุญาตการจําพรรษา ภิกษุเท่ียวจาริกไปตลอดท้ังป แมฤดูฝนก็มิไดหยุดไดเหยียบย่ําขาวกลาและธัญชาติตาง ๆ ของชาวนาชาวไรเสียหาย และ สัตวเล็กสัตวนอยก็พลอยมีอันตรายแกชีวิตไปดวย ในกาลน้ัน ชาวบานชาวเมืองไดติเตียน โพนทะนากลา วรา ยภิกษสุ งฆวา ในฤดฝู นเชน นี้ พวกเดยี รถยี ยังหยดุ ไมจ าริกไปไหน ทีส่ ุดแมสตั ว เดรัจฉานบางพวก ยังหยุดอยูประจําท่ีไมไปไหน แตพวกสมณศายกบุตรกลับเท่ียวจาริกไปตลอดป โดยไมหยุด เท่ยี วเหยยี บขา วกลา หญาระบัด และสตั วนอ ยใหญ ใหถ ึงความพินาศ ความทราบถึง พระพุทธองค จึงทรงปรารภเร่ืองน้ีเปนเหตุ แลวทรงอนุญาตใหภิกษุอยูจําพรรษาตลอดไตรมาส คือ ๓ เดอื นในฤดฝู น โดยการอยูประจาํ ที่ไมไ ปคางแรม ณ ทใี่ ด ๆ การที่ภิกษุหยุดพักอยูในที่แหงเดียวโดยไมไปแรมคืนที่ไหนตลอด ๓ เดือนในฤดูฝน เรียกวา จาํ พรรษา ดิถีทก่ี ําหนดใหเ ขาพรรษา มี ๒ ชว ง คือ ๑. ปรุ ิมกิ า วสั สูปนายิกา วันเขาพรรษาตน เริ่มเม่ือพระจันทรเพ็ญเสวยอาสาฬหฤกษ ลวงไปแลว ๑ วนั คอื ตรงกับวันแรม ๑ คา่ํ เดือน ๘ ๒. ปจฉิมกิ า วสั สปู นายิกา วันเขาพรรษาหลงั เริม่ เมื่อพระจันทรเพ็ญเสวยอาสาฬหฤกษ ไปแลว ๑ เดอื น คอื ตรงวนั แรม ๑ คํ่า เดือน ๙ ภิกษุเมื่อจําพรรษา ตองมีเสนาสนะที่มุงบังเปด – ปดได ไมใชเปนที่โลงแจง และ หา มมใิ หจ ําพรรษาในสถานที่เหลาน้ี คอื (๑) ในกระทอมผี (๒) ในรม เปนกลดพระธุดงค หรือ กุฏิฟา เชน เตนท (๓) ในตุม (๔) ในโพรงตนไม (๕) บนคาคบหรืองามตนไม โดยปรับอาบัติ ทกุ กฏแกภ ิกษุผฝู า ฝน พธิ เี ขา พรรษา ในพระบาลีกลาวเพียงใหทําอาลัยคือผูกใจวาจักอยูในท่ีนั้นตลอด ๓ เดือน ก็ถือวา เปนอันเขาพรรษา ธรรมเนยี มในบดั น้ี ใหก ลา วคําอธิษฐานพรอมกนั ดังตอไปนี้ 320
3๓2๑1๗ วชิ า วนิ ยั บญั ญตั ิ คําอธิษฐาน “อมิ สฺมึ อาวาเส อมิ ํ เตมาสํ วสสฺ ํ อเุ ปมิ. เราเขาจําพรรษาในอาวาสนตี้ ลอด ๓ เดือน คําอธษิ ฐานเฉพาะรูปที่กุฏิซาํ้ อกี วา ดังน้ี “อิมสฺมึ วหิ าเร อิมํ เตมาสํ วสฺสํ อุเปมิ. แปลวา เราเขา จาํ พรรษาในวิหาร (ท่อี ยู) นต้ี ลอด ๓ เดอื น การเขา จาํ พรรษาขณะเดนิ ทางไปกบั พวกโคตา งเปน ตน เมื่อถึงวันเขาพรรษา จะไมเขาพรรษา เท่ียวเรรอนไป ไมสมควร ภิกษุคร้ังกอนถือเปน เรื่องกวดขันมาก เชน ภิกษุชาวเมืองปาฐา พากันเดินทางมาเพื่อจะเขาเฝาพระพุทธองคที่ พระวิหารเชตวัน เมืองสาวัตถี แตมาไมทัน หนทางยังเหลือเพียง ๖ – ๗ โยชนถึงวันเขาพรรษา เสียกอน จึงจําเปนตองเขาพรรษาท่ีเมืองสาเกตุ ดวยความรัญจวนใจตลอด ๓ เดือน เพราะ ตองการจะเขา เฝา พระบรมศาสดา แตถาภิกษุเดินทางไปกับพวกโคตาง หมูเกวียน หรือโดยสารไปในเรือ เพ่ือจะไปยัง สถานที่ใดที่หน่ึง กําลังเดินทางอยู วันเขาพรรษามาถึงเขา พึงเขาพรรษาในหมูเกวียน เปนตน ซ่ึงทานแนะใหอธิษฐานใจวา “อิธ วสฺสํ อุเปมิ. เราเขาจําพรรษาในที่นี้” เม่ือโคตางหมูเกวียน หรือเรือโดยสารเดินทางตอไป ทานใหไปกับเขา เม่ือตําบลท่ีภิกษุน้ันประสงคจะไป พวกโคตาง เปนตน หยุดการเดินทางตอไป เพราะสิ้นสุดสายการเดินทาง ตางคนตางแยกยายกันไป ไมต้ัง เปนหมดู ุจเดิม ทานแนะใหอยูจาํ พรรษากับพวกภิกษใุ นตําบลน้ัน การอธิษฐานพรรษาในระหวาง เดินทางดงั กลา วมาน้ี ทา นวาพรรษาไมข าดและไดเพ่ือจะปวารณาดวย หา มตงั้ กติกาอนั ไมเ ปนธรรมระหวางเขา พรรษา กติกาอันไมเปน ธรรม ในพระบาลีแสดงไวว า สมัยนั้น พระสงฆในพระนครสาวัตถี ไดต้ัง กตกิ าเชน น้ีไววา “ในระหวา งพรรษาหา มใหบรรพชา” หลานชายของนางวิสาขามหาอุบาสิกา ไดเขา ไปหาภิกษทุ ้งั หลายแลวขอบรรพชา ภิกษทุ ั้งหลายบอกอยา งนว้ี า “คุณ พระสงฆไดต้ังกติกากันไว เชนน้ีวา ในระหวางพรรษาหามใหบรรพชา คุณจงรอไปตลอดเวลาท่ีภิกษุทั้งหลายจําพรรษาอยู จําพรรษาเสร็จแลวจึงจะใหบวช” ครั้นภิกษุเหลานั้นจําพรรษาแลวไดบอกหลานชายของ นางวิสาขามิคารมารดาวา “คุณ บัดนี้ เธอจงมาบวชเถิด” เขาจึงเรียนอยางน้ีวา “ทานขอรับ ถา กระผมไดบวชไปแลว กระผมก็จะยินดียิ่งนัก แตเดี๋ยวนี้กระผมไมบวชละ” นางวิสาขามหา เน้อื ใน นกั ธรรม ช้นั โท เลม 2 321
3๓๑2๘2 คมู อื การศกึ ษานกั ธรรมชน้ั โท เน้อื ใน นกั ธรรม ช้นั โท เลม 2 อุบาสิกาจึงไดติเตียนวา “ไฉนพระคุณเจาทั้งหลาย จึงไดตั้งกติกากันไวเชนนี้วา ในระหวาง พรรษาหามใหบรรพชาเลา กาลเชนไรเลา จึงไมควรประพฤติธรรม” ภิกษุทั้งหลายไดยินนาง วิสาขาติเตียนเชนนั้น จึงไดกราบทูลใหทรงทราบ พระพุทธองคจึงทรงบัญญัติวา “ดูกอนภิกษุ ทง้ั หลาย ภิกษไุ มพึงตั้งกติกาไวเชนนี้วา ในระหวางพรรษาหามใหบรรพชา, รูปใดตั้ง ตอง อาบตั ิทกุ กฏ” โดยนัยน้ี พระโบราณาจารยจึงไดกําหนดกติกาอันไมเปนธรรมท่ีภิกษุไมควรตั้งในระหวาง เขาพรรษาไวตาง ๆ เชน หามไมใหบอกไมใหเรียนพระธรรมวินัย หามไมใหสาธยายธรรม หาม ไมใ หมเี ทศนาธรรม หา มไมใ หบ รรพชาอปุ สมบท หา มไมใหใ หนิสสัย หามไมใ หพูดจากัน เปน ตน สัตตาหกรณยี ะ สัตตาหกรณียะ หมายถึง กิจจําเปนท่ีทรงอนุญาตพิเศษใหภิกษุหรือภิกษุณีออกจาก สถานท่จี ําพรรษาไปคางคืนที่อ่นื ไดภายใน ๗ วัน โดยสรุปมี ๔ ประการ คือ (๑) ไปเพ่ือพยาบาล สหธรรมิกหรือมารดาบิดาผูเจ็บไข (๒) ไปเพ่ือระงับยับยั้งสหธรรมิกผูจะสึก (๓) ไปเพื่อกิจสงฆ เชน ไปหาทัพพสัมภาระมาซอมวิหารที่ชํารุดในเวลานั้น (๔) ไปเพ่ือบํารุงศรัทธาของทายก ซ่งึ สงมานิมนตเพอ่ื การบําเพ็ญกศุ ลของเขา ในเวลาจําพรรษาอยู มีอันตรายเกิดขึ้น จะอยูตอไปไมได ไปเสียจากท่ีนั้น พรรษาขาด แตทา นไมปรับอาบัติ อนั ตรายเหลา นน้ั คอื (๑) ถกู สัตวราย โจร ปศาจเบียดเบียน (๒) เสนาสนะ ถูกไฟไหมหรือน้ําทวม (๓) ภัยเชนนั้นเกิดข้ึนแกโคจรคาม ลําบากดวยบิณฑบาต ชาวบาน อพยพไป จะตามเขาไปก็ควร (๔) ขัดสนดวยอาหารโดยปกติ ไมไดอาหารหรือเภสัชอันสบาย หรือไมไดอุปฏฐากทีส่ มควร (๕) มหี ญงิ มาเกลย้ี กลอ ม หรอื มญี าติมารบกวน หรอื มาลอดวยทรัพย เกรงจะเปน อันตรายตอ พรหมจรรยจะไปเสยี กไ็ ด (๖) สงฆในอาวาสอื่นจะแตกกนั หรอื แตกกันแลว ไปเพื่อสมานสามคั คี กส็ มควร ภิกษุรับนิมนตหรือนัดหมายกันเองเพ่ืออยูจําพรรษาในท่ีใด ไมอยูในที่นั้น ทําใหขาด พรรษาตอ งปฏิสสวทุกกฏ แปลวา ทุกกฏเพราะรับคํา อน่ึง เหตุที่ทานหามไมใหภิกษุจําพรรษา ตลอด ๔ เดอื นฤดฝู นนน้ั เพราะตองการเดอื นทายฤดูฝนไวเปนจีวรกาล คราวแสวงหาจีวร คราว ทาํ จวี ร เพ่อื ผลัดผาไตรจีวรเดิม 322
3๓2๑3๙ วชิ า วนิ ยั บญั ญตั ิ อานสิ งสข องการเขา พรรษา เม่ือภิกษุจําพรรษาจนไดปวารณาแลว ยอมไดอานิสงสแหงการจําพรรษานับแตวัน ออกพรรษาไป ๑ เดือน อานสิ งสของการจาํ พรรษาน้ันมี ๕ ประการคือ ๑. เท่ียวไปไมต องบอกลาตามสกิ ขาบทท่ี ๖ แหงอเจลกวรรค ปาจติ ตยิ กณั ฑ ๒. เท่ยี วจารกิ ไปโดยไมตอ งถอื ไตรจวี รไปครบสาํ รบั ๓. ฉนั คณโภชนแ ละปรัมปรโภชนไ ด ๔. เก็บอตเิ รกจีวรไวไดตามปรารถนา ๕. จีวรอันเกิดในท่ีนั้นเปนของไดแกพวกเธอ ท้ังไดโอกาสท่ีจะกรานกฐินและได อานิสงส ๕ ขอ นน้ั ตอ ไปอกี ๔ เดือนตลอดฤดูหนาว อธบิ ายอานสิ งสของการเขาพรรษา ๕ ประการ ดังนี้ ๑. เที่ยวไปไมตองบอกลาตามสิกขาบทที่ ๖ แหงอเจลกวรรค ปาจิตติยกัณฑ ธรรมเนียมปฏิบัติของพระภิกษุน้ันจะออกจากวัดไปในท่ีใดๆ ตองบอกลาภิกษุท่ีมีอยู ในวัดกอน จึงจะไปได หากขืนเท่ียวไปโดยไมบอกลา ตองไดรับโทษอยางเบาตามพระวินัยบัญญัติ ซ่ึง เรยี กวาตอ งอาบตั ิปาจิตตีย ๒. เที่ยวจาริกไปโดยไมตองถือเอาไตรจีวรไปครบสํารับ โดยที่ธรรมเนียมปฏิบัติ ของพระภิกษุนั้นจะอยูปราศจากไตรจีวรคือไมครองผา ๓ ผืน แมเพียงคืนหน่ึงไมได หากขืนอยู ตอ งอาบัตินิสสัคคิยปาจีตตีย และผาไตรจีวรนั้นเปนนิสสัคคียะ คือเปนส่ิงที่ตองสละแกสงฆ คณะ หรือบุคคล แลวจึงนํามาอธิษฐานเปนไตรจีวรครองใหม หากไมสละ ขืนนํามานุงหม ตองอาบัติทุก กฏอีก หรือกลาวงายๆ คือหามอยูปราศจากไตรจีวรแมเพียงคืนหน่ึง เวนแตมีเง่ือนไขพิเศษ ซึ่ง พระพุทธองคทรงกําหนดเปนขอยกเวนใน ๔ กรณี คือ (๑) ภิกษุผูจําพรรษาครบไตรมาสแลว สามารถอยูปราศจากไตรจีวรได ๑ เดือน (๒) ภิกษุผูไดกรานกฐินแลว สามารถอยูปราศจาก ไตรจีวรไดตอไปอีก ๔ เดือน (๓) ภิกษุผูอาพาธหนัก ไดรับการยกเวนจากสงฆใหปราศจาก ไตรจีวรไดจนกวาอาการอาพาธน้ันจะหาย (๔) ในเขตท่ีสงฆมีมติใหเปนเขตยกเวนการอยู ปราศจากไตรจีวรไดจนกวา อาการอาพาธนน้ั จะหาย ดังนี้ ภิกษุผูจําพรรษาและไดรับกฐินแลว เมื่อจะเที่ยวจาริกไปในที่ใดท่ีหน่ึง ยอม เน้อื ใน นกั ธรรม ช้นั โท เลม 2 323
3๓๒2๐4 คมู อื การศกึ ษานกั ธรรมชนั้ โท เน้อื ใน นกั ธรรม ช้นั โท เลม 2 ไดรับอานิสงส คือไมตองเอาไตรจีวรไปครบ ๓ ผืน ตลอดระยะเวลา ๕ เดือน (โดยสวนใหญจะ เวนไวแตผ า สังฆาฏิ เพราะผา สบงและผา จีวรนั้นเปนเครื่องนงุ หมจาํ เปน) ๓. ฉนั คณโภชนไดแ ละปรมั ปรโภชนได คําวา ฉันคณโภชน หมายถึง การฉันโภชนะ เปนคณะหรือเปนหมู หรือฉันเขาวง ฉันเปนวง คือการที่ภิกษุต้ังแต ๔ รูปขึ้นไป รับนิมนตดวย โภชนะ ๕ อยาง คือขาวสุก ขนมสด ขนมแหง ปลา หรือเนื้ออยางใดอยางหนึ่ง โดยทายกหรือ เจาภาพผูนิมนตออกช่ือระบุโภชนะ เชนนี้เปนอาบัติปาจิตตียทุกคํากลืน เพราะตามธรรมเนียม ของภกิ ษนุ ิยมนงั่ เรียงแถวฉัน ไมน ัง่ ลอมวงฉัน ตอมา พระพุทธองคทรงเพ่ิมพระอนุบัญญัติท่ีทรงผอนผันเปนขอยกเวนใหภิกษุ ฉันคณโภชนได ใน ๗ กรณี คือ (๑) คราวอาพาธ คือเวลาเจ็บไข ไมอาจจะไปบิณฑบาตได (๒) หนาจีวรกาล หรือคราวฤดูถวายจีวร กําหนดระยะเวลา ๕ เดือน คือถายังไมไดกรานกฐิน ๑ เดือน หลังจากออกพรรษา ถาไดกรานกฐินเพิ่มออกไปอีก ๔ เดือน ตลอดฤดูหนาว (๓) คราวทําจีวร คอื เวลาทีภ่ กิ ษตุ ดั เยบ็ จวี รใชเ อง (สมัยกอ น) ในคราวเชน นีภ้ ิกษุที่ไมชํานาญจะมี ความกังวลมาก จึงทรงอนุญาตใหฉันคณโภชนได (๔) คราวท่ีไปทางไกล ซ่ึงกําหนดระยะทาง ต้ังแตครึ่งโยชนข้ึนไป (๕) คราวท่ีไปทางเรือ ซ่ึงกําหนดระยะไกลคร่ึงโยชน โดยเทียบกับคราว เดนิ ทางไกลเพ่อื ใหเกดิ ความสะดวก (๖) คราวประชมุ ใหญ คือคราวท่ีอยูกันมาก จนบิณฑบาตไม พอฉนั (๗) คราวภัตของสมณะ คือเวลาทพี่ วกสมณะดว ยกนั นิมนตฉ นั ภิกษุท่ไี ดร บั กฐนิ แลว นอกจากจะไดร ับยกเวน ไมตองอาบัติเพราะรับประเคนฉันเปนหมู ดังกลาวมาน้ีแลว ยังไมตองอาบัติเพราะฉันปรัมปรโภชน กลาวคือ ภิกษุรับนิมนตฉันอาหารไว แหงหนึ่งแลวไมไป แตไปฉันอาหารในท่ีที่เขานิมนตทีหลังในเวลาเดียวกัน กิริยาเชนนี้เรียกตาม ศพั ทพระวินัยวา ฉันปรมั ปรโภชน หรอื ฉันโภชนะท่ีเขานมิ นตทีหลัง ตองวิกัปโภชนะท่ีรับไวกอนนั้น คือยกสวนท่ีรับนิมนตไวกอนน้ันใหแกภิกษุอ่ืนเสีย จึงฉันโภชนะทีหลังไดหรือฉันตามลําดับที่รับ นมิ นต แตถาไดร ับกฐนิ แลว ก็เปนอันไดรบั ยกเวน ไมต อ งอาบตั ปิ าจติ ตยี เ พราะฉันปรมั ปรโภชน ๔. เก็บอติเรกจีวรไวไดตามปรารถนา ไตรจีวรน้ันมีพระพุทธานุญาตใหภิกษุ ใชประจําไดอยางละผืนและตองอธิษฐานคือต้ังใจกําหนดเอาไววาจะใชเปนของประจําตัวหรือใช เปน ผาครอง ผาสวนเกนิ ทีเ่ ขาถวายภกิ ษุนอกจากผาที่อธิษฐานเปนไตรจีวร เรียกวา อติเรกจีวร (หรืออดิเรกจีวร) ซึ่งหามภิกษุเก็บไวเกิน ๑๐ วัน หากเก็บไวเกิน ตองอาบัตินิสสัคคิยปาจิตตีย เมื่อภิกษุตองอาบัติแลว จําตองสละจีวรท่ีเปนนิสสัคคียน้ัน จึงแสดงอาบัติตก ดังนั้น ภิกษุจะเก็บ อติเรกจีวรไวไดโดยไมตองอาบัติ ก็ตอเม่ืออยูในเทศกาลถวายผากฐิน คือต้ังแตกลางเดือน ๑๑ ถึงกลางเดือน ๑๒ หรือนับต้ังแตวันปวารณาออกพรรษาไปแลว ๑ เดือน ซ่ึงเปนเทศกาลท่ี ประชาชนพุทธบริษัทนําผามาถวายภิกษุท่ีอยูจําพรรษาแลว ซึ่งมีผลทําใหภิกษุนั้นสามารถ 324
3๓2๒5๑ วชิ า วนิ ยั บญั ญตั ิ เปลี่ยนไตรจีวรได และไดรับสิทธิพิเศษตามพระพุทธานุญาตใหเก็บผาสําหรับจะทําจีวรไวได ตามตอ งการ ถาไดกรานกฐินหรือรับกฐินน้ันแลวสิทธิพิเศษน้ัน ขยายออกไปอีกตลอดฤดูหนาว คอื สามารถเกบ็ อติเรกจวี รไดเ พ่ิมขึ้นอีก ๔ เดือน รวมเปน ๕ เดอื น เรียกวา ไดร บั อานสิ งสแ หงกฐนิ ๕. จีวรอันเกิดในที่นั้นเปนของไดแกพวกเธอ หมายถึง มีสิทธิอันชอบธรรมในการ ไดป จจัยลาภมจี ีวรเปนตนทเ่ี กดิ ข้นึ ในทีน่ น้ั คือเกิดข้ึนในวดั ท่ีอยโู ดยทายกทายิกานาํ มาถวาย นอกจากนี้ ยงั ไดสทิ ธพิ เิ ศษท่จี ะขยายเขตทาํ จีวรใหย ืดระยะเวลาออกไป โดยปกติ เขตทําจีวรทรงอนุญาตไวเพียงทายฤดูฝน คือถึงกลางเดือน ๑๒ (ขึ้น ๑๕ คํ่า เดือน ๑๒) ซ่ึงเรียกวา เขตกฐินตามปกติ แตถาไดรับกรานกฐินแลวเขตทําจีวรน้ันขยายออกไปตลอด ฤดูหนาว คือถึงกลางเดือน ๔ (ข้ึน ๑๕ ค่ํา เดือน ๔) เปนเวลา ๔ เดือน เรียกวา เขตอานิสงสกฐิน. เน้อื ใน นกั ธรรม ช้นั โท เลม 2 325
3๓๒2๒6 คมู ือการศกึ ษานกั ธรรมชน้ั โท เน้อื ใน นกั ธรรม ช้นั โท เลม 2 กณั ฑท่ี ๑๗ อโุ บสถ ปวารณา อุโบสถ คําวา อุโบสถ แปลวา การเขาอยู เปนช่ือของการบําเพ็ญพรตอยางหนึ่ง เปนธรรมเนียม มากอนพทุ ธกาล และพระพทุ ธองคท รงอนญุ าตธรรมเนยี มน้ันใหภกิ ษทุ าํ อโุ บสถ วันทําอุโบสถ มี ๓ วัน คือ (๑) วันจาตุททสี คือวันแรม ๑๔ ค่ํา (๒) วันปณณรสี คือวันขึ้น – แรม ๑๕ คํ่า (๓) วันสามัคคี คือวันที่สงฆแตกกันแลวปรองดองกันไดทําอุโบสถ รว มกนั เปนอโุ บสถพิเศษ เรยี กวา สงั ฆสามัคคอี ุโบสถ การก คอื ภกิ ษุผทู าํ อุโบสถ มี ๓ การก คอื (๑) สงฆ ภิกษุตั้งแต ๔ รูปข้ึนไป (๒) คณะ คือ ภิกษุต้งั แต ๒ - ๓ รูป (๓) บคุ คล ภกิ ษุรปู เดยี ว อาการที่ทําอุโบสถ มี ๓ คือ (๑) ๔ รูปขึ้นไป ใหสวดปาติโมกข (๒) ๒-๓ รูป ใหบอกความบริสทุ ธิ์แกก ันและกัน (๓) ๑ รปู ใหอ ธษิ ฐานใจ บุพพกรณ คือ กิจที่พึงทํากอนสงฆลงประชุม มี ๔ อยาง คือ (๑) กวาดโรงอุโบสถ (๒) ถามดื คํา่ ใหตามไฟ หรอื จดุ ไฟใหแ สงสวาง (๓) ตง้ั นํา้ ฉนั นาํ้ ใช (๔) ต้งั หรือปูอาสนะไว บุพพกิจ คือ กิจท่ีพึงทํากอนสวดปาติโมกข มี ๕ อยางคือ (๑) นําปาริสุทธิของภิกษุ เจ็บไขมา (๒) นําฉันทะของภิกษุน้ันมาดวย (๓) บอกฤดู (๔) นับภิกษุ (๕) ใหโอวาทภิกษุณี (หรอื สามเณรในปจ จุบนั ) คํามอบปาริสุทธิใหแกผูรับ ภิกษุผูอาพาธมีอยูในสีมา คือในเขตรวมสังวาส ไมอาจไป สูท ี่ประชุมสงฆ ณ โรงอโุ บสถได ภิกษอุ ่ืนรปู หน่ึงพึงรับมอบปาริสุทธิของภิกษุผูอาพาธน้ันมาแจง แกสงฆ นี้เรียกวานําปาริสุทธิมา วิธีมอบ ภิกษุผูอาพาธพึงกลาวกะภิกษุผูรับมอบวา “ปาริสุทฺธึ ทมมฺ ,ิ ปารสิ ทุ ฺธึ เม หร, ปารสิ ทุ ฺธึ เม อาโรเจหิ” แปลวา “ผมมอบความบริสุทธิ์ ขอคุณจงนําความ บรสิ ุทธข์ิ องผมไป ขอคุณจงบอกความบริสทุ ธ์ขิ องผม” ถา ผูมอบออ นกวาผูรับ ใชคําวา หรถ แทน หร คาํ วา อาโรเจถ แทน อาโรเจหิ สวนคําแปล ใชคาํ วา ทา น แทนคาํ วา คณุ คํามอบฉันทะใหแกผูรับ ภิกษุผูอยูในเขตสีมา มีสิทธิในอันจะไดเขาประชุมดวย แต สงฆจะเวนภิกษุนั้นทํากิจ กิจนั้นไมเปนธรรม ใชไมได เวนแตจะไดรับความยินยอมจากภิกษุนั้น 326
32๓๒7๓ วชิ า วนิ ยั บญั ญตั ิ การใหความยินยอมน้ีเรียกวา มอบฉันทะ หรือใหฉันทะ ภิกษุทุกรูปผูไดรับนัดหมาย ควรมี แกใจในการเขาประชุมทํากิจสงฆ ถาไมอาจรวมไดโดยประการใดประการหน่ึง เชน อาพาธ ก็พึง มอบฉนั ทะ ในการมอบฉันทะน้ัน ภกิ ษผุ ูรบั มอบพงึ กลาวดงั น้ี “ฉนฺทํ ทมฺมิ, ฉนทฺ ํ เม หร, ฉนฺทํ เม อาโรเจหิ” แปลวา “ผมมอบฉันทะ ขอคุณจงนําฉันทะของผมไป ขอคุณจงบอกฉันทะของผม” (การเปลีย่ นคําตามผูออน – แก พงึ ทราบโดยนยั ทกี่ ลา วไวแลว ในปารสิ ทุ ธิทุกบท) การบอกฤดู ในครั้งพุทธกาล มี ๓ ฤดู คือ (๑) เหมันตฤดู ฤดูหนาว (๒) คิมหันตฤดู ฤดรู อ น (๓) วสนั ตฤดู ฤดูฝน การนับภิกษุ มี ๒ วิธี คือ (๑) เรียกช่ือ สําหรับภิกษุที่อยูวัดเดียวกัน (๒) ใสคะแนน สําหรับภกิ ษอุ ยตู า งวัดกนั การใหโ อวาทภิกษุณี ปจจบุ ันไมมภี ิกษุณีแลว จงึ เปน อันไมต อ งทาํ ภิกษุผูจะทําอุโบสถ ตองชําระตนใหบริสุทธิ์จากอาบัติท่ีเปนเทสนาคามินี คือแกไข ไดดวยการแสดง (ยกเวนอาบัติสงั ฆาทเิ สส) รูตัววามอี าบัติ เขา ฟงปาตโิ มกข ถกู ปรับอาบัตทิ ุกกฏ ขณะเม่อื ฟง นกึ ขน้ึ มาไดต อ งบอกแกภ กิ ษผุ นู ั่งใกลวา ตนตอ งอาบัติชอ่ื นนั้ ลุกจากที่แลวแสดงเสีย ภิกษุทั้งหลายลวงละเมิดพระบัญญัติวัตถุอยางเดียวกัน ตองอาบัติอยางเดียวกัน อาบัติ ของภิกษเุ หลานั้น เรียกวา สภาคาบัติ ทานหามไมใหแสดงตอกัน และหามไมใหรับแสดงตอกัน ขืนทํา ทานปรับอาบัติทุกกฏท้ังผูแสดงทั้งผูรับ แตอาบัตินี้ทานยอมใหเปนอันแสดงแลว อาบัติ ช่ือเดียวกัน แคตางวัตถุ เชน ปาจิตตียเพราะนอนรวมกับอนุปสัมบันเกินกําหนด กับปาจิตตีย เพราะสอนธรรมแกอ นปุ สัมบันวาพรอมกัน ไมจัดเปนสภาคาบัติ ตางรูปตางแสดง ตางรูปตางรับ แสดงกนั ได ถาภกิ ษุทั้งหลายตอ งสภาคาบัติ ใหส วดประกาศในที่ประชุมแลวฟง ปาติโมกขได อาบตั ิท่เี ปนวุฏฐานคามนิ ี จะพนไดด ว ยการอยูก รรม คืออาบัติสังฆาทิเสส ทานใหบอกไว แกภ ิกษรุ ูปหนึ่งวาตนตอ งอาบตั ิสงั ฆาทิเสส มีวัตถุอยางนนั้ ๆ แลวฟง ปาติโมกขไ ด สังฆอโุ บสถ การทาํ สังฆอุโบสถ คือการสวดปาตโิ มกขนนั้ ตองประกอบดวยองค ๔ คอื ๑. วนั นัน้ เปนวัน ๑๔ คํา่ หรือ ๑๕ ค่ํา หรอื วันสามัคคี วนั ใดวันหนึง่ ๒. จาํ นวนภิกษุผเู ขาประชุมมี ๔ รูปเปน อยางนอ ย และเปน ปกตตั ตะ คือเปน ภิกษุปกติ ไมตองอาบัติปาราชิก หรือถูกสงฆลงอุกเขปนยี กรรม (ตอ งมีภกิ ษุ ๔ รูปเปนปกตัตตะ จึงจะถือวา ใชไ ด) และนั่งไมละหตั ถบาสของกันและกนั ๓. ภิกษุทั้งหลายไมตองสภาคาบัติ คือไมตองอาบัติเรื่องเดียวกันและอาบัติอยาง เน้อื ใน นกั ธรรม ช้นั โท เลม 2 327
3๓๒2๔8 คมู ือการศกึ ษานกั ธรรมชนั้ โท เน้อื ใน นกั ธรรม ช้นั โท เลม 2 เดียวกัน ถา มอี ยา งนนั้ ทา นใหส วดประกาศวา “สณุ าตุ เม ภนฺเต สงฺโฆ, อยํ สพโฺ พ สงฺโฆ สภาคํ อาปตตฺ ึ อาปนฺโน, ยทา อ ญฺ ํ ภิกฺขุ สทุ ธฺ ํ อนาปตตฺ ิกํ ปสสฺ ิสสฺ ติ, ตทา ตสสฺ สนฺติเก ตํ อาปตฺ ตึ ปฏิกริสสฺ ติ” แปลวา “ทานเจาขา ขอสงฆจงฟงขาพเจา สงฆท้ังปวงน้ีตองสภาคาบัติ จักเห็น ภิกษุอื่นผูบริสุทธิ์ ไมตองสภาคาบัติเมื่อใด จักทําคืนอาบัติน้ันในสํานักเธอเมื่อนั้น” แลวจึงทํา อุโบสถได ๔. บุคคลควรเวนไมมีในหัตถบาส คือไมไดอยูในที่ประชุม บุคคลควรเวนนั้น ไดแก (๑) อนุปสัมบัน คือคนไมใชภิกษุ แมภิกษุณีซ่ึงเปนอุปสัมบัน แตไมสามารถจะรวมทําสังฆกรรม กับภกิ ษุได จึงนบั วาเปน อนุปสัมบนั สําหรบั ภกิ ษุ (๒) เปนภิกษุอยกู อนแตข าดจากความเปนภิกษุ แลวโดยตองอาบัติปาราชิก เขารีตเดียรถีย หรือลาสิกขา (๓) เปนภิกษุแตถูกสงฆลงอุกเขปนีย- กรรม ซึง่ ถา ไมเปน ที่ ๔ ในสงฆ ก็ไมเปนไร ในคราวประชุมทําสังฆอุโบสถนี้ ไมมีพระพุทธานุญาตโดยตรงท่ีจะใหภิกษุท้ังหลาย สนทนากันถึงพระวินัยในสงฆดวย แตมีธรรมเนียมวา ถาจะสนทนาตองไดรับสมมติกอน หรือ ประกาศสมมติตนเองก็ได ภิกษุอน่ื ประกาศสมมติก็ได เพยี งตัง้ ญตั ติกรรมกพ็ อ ปาริสทุ ธอิ ุโบสถ ในวัดแหงหนึ่ง มีภิกษุไมถึง ๔ รูป ทานไมใหสวดปาติโมกข ถามีภิกษุ ๓ รูป ใหทํา ปาริสุทธอิ ุโบสถ คือประชมุ กันในโรงอโุ บสถ รูปหนงึ่ สวดประกาศดวยญตั ติ ดังนี้ “สาณาตุ เม ภนฺเต อายสฺมนฺตา,อชฺชุโปสโถ ปณฺณรโส,ยทายสฺมนฺตานํ ปตตฺ กลฺลํ มยํ อ ฺญม ฺญํ ปาริสุทฺธิอุโปสถํ กเรยฺยาม” แปลวา “ทานเจาขา ขอทานท้ังหลาย จงฟง ขาพเจา อุโบสถวันนี้ท่ี ๑๕ ถาความพร่ังพรอมของทานถึงที่แลว เราทั้งหลายพึงทําปาริสุทธิ อุโบสถกันเถิด” ถารปู ท่ีตง้ั ญัตติแกก วาใชคําวา “อาวโุ ส” แทน “ภนเฺ ต” วนั ที่ ๑๔ ค่ํา ใหวา “จาตุทฺทโส” ภิกษผุ เู ถระพึงหมผาเฉวยี งบา พึงนัง่ กระโหยง ประนมมือ บอกปารสิ ุทธิ วาดังน้ี “ปาริสทุ โฺ ธ อหํ อาวโุ ส,ปาริสทุ โฺ ธติ มํ ธาเรถ.” (วา ๓ หน) แปลวา “ฉันบริสุทธิ์แลวขอ เธอทั้งหลายจงจําฉนั วา เปนผบู ริสุทธ์แิ ลว ” ภกิ ษนุ อกน้ี พงึ ทําอยา งน้นั ตามลําดับพรรษา คอื บอกปาริสุทธิ วา ดงั นี้ “ปาริสทุ ฺโธ อหํ ภนฺเต, ปาริสทุ โฺ ธติ มํ ธาเรถ.” แปลวา “ผมบริสุทธ์ิแลวขอรับขอทาน ทั้งหลายจงจําผมวา เปนผูบรสิ ุทธ์ิแลว” 328
3๓2๒9๕ วชิ า วนิ ัยบญั ญตั ิ ภกิ ษุสองรปู ไมต อ งต้ังญัตติ บอกปารสิ ุทธิแกกนั และกันเลยทเี ดยี ว ภกิ ษุรปู เดียวทา นใหอ ธษิ ฐาน วา อชชฺ เม อโุ ปสโถ. “วันนอ้ี ุโบสถของเรา” การสวดปาติโมกขนี้ เปน หนา ทีข่ องพระเถระผใู หญ จะนิมนตภ ิกษุรปู อืน่ ใหส วดแทนกไ็ ด ภิกษุผูสวดน้ันตองเปนผูท่ีฉลาด จําปาติโมกขไดแมนยํา เขาใจวาพากยและอักษรถูกจังหว ะ ชัดเจน ไมใชเปนผูมีเสียงแหบเครือ ภิกษุผูสวดตองสวดดังพอใหไดยินทั่วกัน ถาแกลงทําเสียง อุบอบิ เสยี ทานปรบั ทกุ กฏ ในคําสวดมีที่เปลี่ยนวัน เดือน คือ ถาเปนวัน ๑๕ คํ่า สวดวา “อชฺชุโปสโถ ปณฺณรโส อุโบสถวันน้ีที่ ๑๕” ถาเปนวันท่ี ๑๔ คํ่า สวดวา “อชชฺ ุโปสโถ จาทุตฺทโส อุโบสถวนั นีที ๑๔” ถา้ เป็นวนั สามคั คี สวดวา่ “อชุ ชฺ ุโปสโถ สามคคฺ ี อุโบสถวนั นี้ เปน วนั สามคั คี” ในการสวดปาติโมกข ทานจัดหมวดหัวขอในการสวดไว เรียก อุทเทส โดยยอ มี ๕ คือ (๑) นทิ านุทเทส (๒) ปาราชกิ กทุ เทส (๓) สังฆาทิเสสทุ เทส (๔) อนิยตุทเทส (๕) วิตถารทุ เทส อุทเทสหลัง คอื วติ ถารทุ เทส เปนทีร่ วมแหงอุทเทสทั้ง ๕ คือ นิสสัคคิยุทเทส ปาจิตติยุทเทส ปาฏิเทสนิยุทเทส เสขิยุทเทส สมถุทเทส ดังน้ัน เม่ือวาโดยพิสดารจึงเปน อุทเทส ในการสวด ปาติโมกข จึงมี ๙ อุทเทส อุทเทสน้ีทานจัดไวเพ่ือจะไดรูจักตัดตอนสวดปาติโมกข เมื่อถึงคราว จาํ เปน คราวจําเปนอันเปนเหตุสวดปาติโมกขยอ มี ๒ ประการ คือ (๑) ไมมีภิกษุจําไดจนจบ สวดเทา ท่ีจาํ ได (๒) เกิดเหตฉุ กุ เฉินที่เรียกวา อนั ตราย เหตุฉุกเฉินท่เี รียกวาอันตราย นั้น มี ๑๐ คอื ๑. พระราชาเสดจ็ มา ๒. โจรมาปลน ๓. ไฟไหม ๔. น้าํ หลากมา ๕. คนมามาก ๖. ผเี ขา ภกิ ษุ ๗. สตั วร ายมเี สือเปนตนเขามาในอาราม ๘. งรู ายเขามาในท่ปี ระชุม ๙. ภิกษุอาพาธโรคปจจุบันในที่ประชุม ๑๐. มอี ันตรายตอ พรหมจรรย เชน มใี ครมาจบั ภกิ ษุรูปใดรูปหน่งึ กาํ ลงั สวดปาติโมกข มภี กิ ษุรปู อื่นมาถึงเขา ถามามากกวา ภกิ ษผุ ูชุมนมุ ตอ งสวดต้ังตนใหม ถา เทา กนั หรอื นอยกวา ใหส วดตอ จากที่สวดแลว ใหผ ูมาฟง ใหมฟ งสวนท่ีเหลือตอไป ถารูอยูกอน วา จักมีภิกษมุ า แตน กึ เสียวา ไมเปนไรแลว สวด ทานปรบั ถุลลัจจัย ถาทําดวยความสะเพรา นึกวา เมือ่ สวดถงึ ไหน ก็ฟงตอนนัน้ ปรบั อาบตั ทิ ุกกฏ ถาสวดจบแลวมีภิกษุอื่นมา ทานใหบอกปาริสุทธิ ในสํานกั ภกิ ษุผสู วดปาติโมกขแ ลว เน้อื ใน นกั ธรรม ช้นั โท เลม 2 329
เน้อื ใน นกั ธรรม ช้นั โท เลม 2 330 330
Search