Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore 1 ธรรมวิภาค (นักธรรมโท)_1-150 หน้า

1 ธรรมวิภาค (นักธรรมโท)_1-150 หน้า

Published by อาจูหนานภิกขุ, 2019-12-25 08:20:42

Description: 1 ธรรมวิภาค (นักธรรมโท)_1-150 หน้า

Search

Read the Text Version

 1๑0๐1๑ วชิ า ธรรมวิภาค วญิ ญาณฐิติ ๗ ภมู เิ ปน ทตี่ ้งั แหงวิญญาณ เรียกวา วิญญาณฐิติ แจกเปน ๗ ดังน้ี เน้อื ใน นกั ธรรม ช้นั โท เลม 2 วิญญาณฐิติ แปลวา ภูมิเปนที่ต้ังแหงวิญญาณ หมายถึง เหตุแหงปฏิสนธิวิญญาณ ซ่ึงเปนการจัดแยกประเภทสัตวตาง ๆ ตามกายภาพและสัญญาที่เหมือนและตางกัน คือชีวิต หลังจากตายไปแลว สัตวเหลาน้ัน ถายังมีกิเลสอยู ยังมีกรรมอยู กิเลสกับกรรมก็ทําหนาท่ีสราง ปฏิสนธิวิญญาณใหไปถือปฏิสนธิในกําเนิดนั้น ๆ ตางกันกับสัตตาวาส ซึ่งหมายถึง ภพเปนท่ีอยู แหงสัตว แรงกรรมที่บุคคลทําไวมีความแตกตางกัน กรรมจึงจําแนกใหคนสัตวไปเกิดในภพภูมิ เหลานัน้ ตา งกนั ออกไป 101

1๑0๐๒2 คูมอื การศกึ ษานกั ธรรมชน้ั โท วิสทุ ธิ ๗ ๑. สลี วิสุทธิ ความหมดจดแหง ศีล ๒. จิตตวิสุทธิ ความหมดจดแหงจิต ๓. ทิฏฐวิ สิ ุทธิ ความหมดจดแหงทิฏฐิ ๔. กังขาวิตรณวิสทุ ธิ ความหมดจดแหงญาณ เปนเครื่อง ขามพน ความสงสยั ๕. มคั คามัคคญาณทัสสนวสิ ทุ ธิ ความหมดจดแหงญาณเปน เครือ่ งเห็น วาทางหรอื มิใชท าง ๖. ปฏิปทาญาณทสั สนวสิ ทุ ธิ ความหมดจดแหง ญาณเปน เครือ่ งเห็น ทางปฏบิ ตั ิ ๗. ญาณทสั สนวิสุทธิ ความหมดจดแหงญาณทัสสนะ วิสุทธิ แปลวา ความหมดจด หมายถึง ทางแหงความหมดจดดวยปญญาที่อุดหนุน สงเสริมกันใหสูงขนึ้ ไปเปนข้ัน ๆ ไปตามลําดับ มี ๗ ประการ ดังน้ี ๑. สีลวิสทุ ธิ ความหมดจดแหง ศลี หมายถงึ การรักษาศีลตามภูมิช้ัน (ระดับศีล) ของตน ใหบริสุทธ์ิและใหเปนไปเพ่ือสมาธิ ในคัมภีรวิสุทธิมรรคระบุวา ไดแก ปาริสุทธิศีล ๔ คือศีลเปน เคร่ืองใหบ ริสุทธ์ิ หรอื ความประพฤตบิ ริสทุ ธิทพ่ี ระพุทธองคทรงกาํ หนดใหเปนศลี สําหรับพระภิกษุ ๒. จิตตวิสุทธิ ความหมดจดแหงจิต หมายถึง ความหมดจดที่เกิดจากฌานสมาบัติ เน้อื ใน นกั ธรรม ช้นั โท เลม 2 102

 1๑0๐3๓ วชิ า ธรรมวิภาค คือความมีจิตมั่นคงในการประพฤติธรรม หรือการฝกอบรมจิตจนบังเกิดสมาธิเพื่อเปนบาทฐาน แหงวปิ สสนาปญญา ไดแกสมาบัติ ๘ คือรปู ฌาน ๔ กบั อรูปฌาน ๔ ๓. ทิฏฐิวิสุทธิ ความหมดจดแหงทิฏฐิ หมายถึง ความหมดจดท่ีเกิดจากความรู ความเขาใจสามารถมองเห็นนามรูปหรือเบญจขันธตามสภาวะท่ีเปนจริง ไดแก ความรูเห็น นามรูปพรอ มทั้งเหตุปจจัยจดั เปนขั้นแรกของการเจริญวิปสสนา ๔. กังขาวิตรณวิสุทธิ ความหมดจดแหงญาณเปน เครอ่ื งขามพน ความสงสยั หมายถึง ความหมดจดบริสุทธ์ิของปญญาข้ันที่ทําใหกําจัดความสงสัยเสียได คือภาวะจิตท่ีกําหนดรูปจจัย แหงนามรูปไดแ ลว จึงสิ้นคือละความสงสัยสกั กายทฏิ ฐิ ความเหน็ วาเปนตวั ตนในนามรปู ๕. มคั คามัคคญาณทสั สนวิสุทธิ ความหมดจดแหงญาณเปนเคร่ืองเห็นวาทางหรือ มใิ ชทาง หมายถงึ ความหมดจดดว ยการเรม่ิ เจริญวิปส สนาตอไปดว ยการพิจารณากลาป (สิ่งที่อยู กันเปนหมวดหมูกลุมกอน หรือพิจารณาโดยภาพรวม) จนมองเห็นความเกิดข้ึนและความเส่ือม ไปแหงสังขารท้ังหลาย ซึ่งเรียกวา อุทยัพพยานุปสสนา จัดเปน ตรุณวิปสสนา คือวิปสสนาญาณ ออ น ๆ แลววปิ สสนปู กิเลสเกดิ ขึ้น กาํ หนดวา มใิ ชท าง สวนวปิ สสนาทเ่ี ร่มิ ดําเนินเขาสวู ถิ ีน่นั แหละ เปนทางถูกตองแลว เตรียมที่จะประคองจติ ไวใ นวิปส สนาญาณขั้นตอไป ๖. ปฏิปทาญาณทัสสนวิสุทธิ ความหมดจดแหงญาณเปนเคร่ืองเห็นทางปฏิบัติ หมายถึง ความหมดจดดวยการประกอบกุศลกิจบําเพ็ญความเพียรในวิปสสนาญาณท้ังหลาย โดยเร่ิมต้ังแตอุทยัพพยานุปสสนาญาณท่ีพนจากอุปกิเลสดําเนินเขาสูวิถีทางแลวน้ันเปนตนไป จนถึงสัจจานุโลมิกญาณ หรืออนุโลมญาณอันเปนที่สุดแหงวิปสสนา ตอแตน้ันก็จะเกิดโคตรภู ญาณเขามาค่ันระหวางวิสุทธิขอนี้กับขอสุดทายเปนหัวตอแหงความเปนปุถุชนกับความเปน อรยิ บคุ คล ๗. ญาณทัสสนวิสุทธิ ความหมดจดแหงญาณทัสสนะ หมายถึง ความหมดจดที่เกิด จากความรูเห็นดวยปญญาในอริยมรรค ๔ หรือมรรคญาณอันเกิดถัดจากโคตรภูญาณเปนตนไป เมื่อมรรคจิตเกิดแลว ผลจิตแตละอยางยอมเกิดข้ึน เปนอันบรรลุผลที่เปนจุดหมายสูงสุดแหง วสิ ทุ ธหิ รอื ไตรสิกขาอันเปน กระบวนการศกึ ษาปฏบิ ตั ธิ รรมในพระพุทธศาสนาท้งั ส้นิ วิสุทธิท้ัง ๗ ประการน้ี เปนหลักความหมดจด หรือความบริสุทธ์ิที่สูงขึ้นไปเปนข้ัน ๆ โดยเปนหลักธรรมท่ีชําระตนใหบริสุทธิ์หรือยังไตรสิกขาใหบริบูรณเปนขั้น ๆ ไปโดยลําดับ จน บรรลุจดหมายสูงสุดคือพระนิพพาน ทานเปรียบประดุจรถ ๗ ผลัดสงตอกันใหบุคคลถึงท่ีหมาย ปลายทางฉะนนั้ เน้อื ใน นกั ธรรม ช้นั โท เลม 2 103

1๑0๐๔4 คูม อื การศกึ ษานกั ธรรมชน้ั โท เน้อื ใน นกั ธรรม ช้นั โท เลม 2 อฏั ฐกะ หมวด ๘ อรยิ บคุ คล ๘ อริยบุคคล หมายถึง บคุ คลผูป ระเสริฐ หรือผูบรรลุธรรมพิเศษต้ังแตโสดาปตติมรรคขึ้นไป ซึ่งไดแก พระโสดาบัน พระสกทาคามี พระอนาคามี และพระอรหันต ถานับเปนคูตามความสัมพันธ แหงมรรคและผลท่ีไดบรรลุ ก็จะไดคูแหงพระอริยบุคคล ๔ คู ในท่ีนี้ เปนการนับเรียงองคหรือ ตวั บุคคลที่กาํ ลังปฏิบัติเพอื่ บรรลุมรรคผล เรยี กวาอริยบคุ คล ๘ ดงั น้ี ๑. พระผตู ้ังอยใู นโสดาปตตมิ รรค หมายถึง ทา นผูปฏิบตั ิเพอื่ ทาํ ใหแ จง โสดาปตติผล ดว ยการละสังโยชน ๓ ประการ คือสักกายทิฏฐิ วิจกิ ิจฉา และสีลัพพตปรามาส ๒. พระผูตั้งอยูในโสดาปตติผล หมายถึง ทานผูบรรลุโสดาปตติผลแลว เพราะไดทํากิจ คือการละสังโยชนท้ัง ๓ อยางน้ันไดเด็ดขาด ซึ่งเรียกวาสําเร็จเปนพระโสดาบัน และจัดเปนคูแหง พระอรยิ บุคคลที่ ๑ ๓. พระผูต้ังอยูในสกทาคามิมรรค หมายถึง ทานผูปฏิบัติเพื่อทําใหแจงสกทาคามิผล ดวยการละสงั โยชนทัง้ ๓ อยางนั้นกับทําราคะ โทสะ และโมหะ ใหเ บาบางลงอกี ดว ย ๔. พระผูตั้งอยูใ นสกทาคามิผล หมายถึง ทา นผูบรรลุสกทาคามิผลแลว เพราะไดทํากิจ 104

 1๑0๐5๕ วชิ า ธรรมวภิ าค คือการละสงั โยชน ๓ อยา งน้ันไดเด็ดขาด กับทําราคะ โทสะ และโมหะใหเบาบางลง ซึ่งเรียกวาสําเร็จ เปนพระสกทาคามี และจดั เปนคแู หงพระอรยิ บคุ คลที่ ๒ ๕. พระผูต้ังอยูในอนาคามิมรรค หมายถึง ทานผูปฏิบัติเพื่อทําใหแจงอนาคามิผล ดวยการละสังโยชนเบ้ืองตน ๕ อยาง คือ สักกายทิฏฐิ วิจิกิจฉา สีลัพพตปรามาส กามราคะ และ ปฏิฆะ อันเปน สังโยชนอยา งหยาย ๖. พระผตู งั้ อยใู นอนาคามผิ ล หมายถึง ทา นผบู รรลุอนาคามิผลแลว เพราะไดทํากิจคือ การละสังโยชนเบ้ืองตน ๕ อยางน้ันไดเด็ดขาด ซ่ึงเรียกวาสําเร็จเปนพระอนาคามี และจัดเปนคู แหงพระอริยบคุ คลท่ี ๓ ๗. พระผตู ัง้ อยใู นอรหัตตมรรค หมายถงึ ทา นผูป ฏิบัตเิ พอ่ื ทาํ ใหแจงอรหัตตผลดวย การละสังโยชนเบ้ืองตํ่า ๕ อยาง และสังโยชนเบ้ืองสูง ๕ อยาง คือ รูปราคะ อรูปราคะ มานะ อทุ ธจั จะ และอวชิ ชา ๘. พระผูต้ังอยูในอรหัตตผล หมายถึง ทานผูบรรลุอรหัตตผลแลว เพราะไดทํากิจ คือละสังโยชนทั้งเบ้ืองต่ําและเบื้องสูง รวม ๑๐ อยางไดอยางเบ็ดเสร็จเด็ดขาด ซึ่งเรียกวาสําเร็จ เปน พระอรหันต และจัดเปน คแู หง อรยิ บุคคลคทู ี่ ๔ อวิชชา ๘ เน้อื ใน นกั ธรรม ช้นั โท เลม 2 อวชิ ชา ๔ ขอ ขางตน พึงดูอธบิ ายใน อวชิ ชา ๔ แหง จตุกะ ๕. ไมรูจักอดีต (ปุพฺพนฺเต อฺญาณํ) หมายถึง ภาวะจิตที่ไมรูในสวนอดีต คือไมรูจัก พิจารณาหาตน เคา ถึงส่งิ ทีเ่ กิดขนึ้ ในขณะปจจบุ นั นัน้ วา มอี ะไรเปน เหตุ หรอื เม่อื พบเห็นผลในปจจุบัน ไมรจู ักสาวหาตน เคา วา อะไรเปน เหตใุ หเกิดมีข้นึ เชนนัน้ 105

1๑0๐6๖ คมู อื การศกึ ษานกั ธรรมชนั้ โท ๖. ไมรูจักอนาคต (อปรนฺเต อฺญาณํ) หมายถึง ภาวะจิตที่ไมรูในสวนอนาคต คือ ไม รูจ ักคาดการณล วงหนาวา จะเกิดผลอะไรขน้ึ ในอนาคตจากเหตใุ นปจ จบุ ัน ๗. ไมรูจักทั้งอดีตทั้งอนาคต (ปุพฺพนฺตาปรนฺเต อฺญาณํ) หมายถึง ภาวะจิตที่ไมรูทั้ง สวนอดีตและสว นอนาคต คอื ไมรจู กั เชอื่ มโยงเหตใุ นอดีตและผลในอนาคตใหเ น่ืองถึงกัน ๘. ไมรจู กั ปฏิจจสมุปบาท (อิทปฺปจฺจยตาปฏิจฺจมุปฺปนฺเนสุ ธมฺเมสุ อฺญาณํ) หมายถึง ภาวะจติ ที่ไมรูจักกําหนดสภาวะนั้น ๆ โดยความเปนเหตุเปนผลแหงกันและกันเนื่องกันไปดุจลูกโซ เกย่ี วกันเปนสายฉะนั้น วชิ ชา ๘ ๑. วปิ ส สนาญาณ ญาณอันนบั เขา ในวิปสสนา ๒. มโนมยทิ ธิ ฤทธ์ทิ างใจ ๓. อทิ ธวิ ิธิ แสดงฤทธไ์ิ ด ๔. ทพิ พโสต หูทพิ ย ๕. เจโตปรยิ ญาณ รจู ักกําหนดใจผอู นื่ ๖. ปพุ เพนิวาสานุสสติญาณ ระลกึ ชาติได ๗. ทิพพจักขุ ตาทพิ ย ๘. อาสวักขยญาณ รจู ักทําอาสวะใหส้นิ วิชชา แปลวา ความรแู จง หมายถึง ความรพู เิ ศษ ๘ ประการ คอื ๑. วิปสสนาญาณ ญาณอันนับเขาในวิปสสนา หมายถึง ปญญาท่ีพิจารณาเห็นสังขาร เน้อื ใน นกั ธรรม ช้นั โท เลม 2 106

 1๑0๐7๗ วชิ า ธรรมวภิ าค คือนามรูปโดยไตรลักษณ เรียกอีกอยางหนึ่งวา ญาณทัสสนะ วาโดยองคธรรม ไดแก วิสุทธิ ๕ ขอ ขา งทา ยแหงวิสทุ ธิ ๗ คอื ต้งั แตท ฏิ ฐวิ ิสุทธขิ อท่ี ๓ ไปจนถึงญาณทสั สนวสิ ุทธิขอ ที่ ๗ ๒. มโนมยิทธิ ฤทธ์ิทางใจ หมายถึง ฤทธ์ิท่ีสําเร็จดวยใจ คือความสามารถแหงจิต ที่นิรมิตกายอื่นออกจากกายนี้ไดเพียงแตนึกเทานั้น ดุจชักงูออกจากคราบฉะน้ัน เปรียบไดกับ การคิดทําอะไรตาง ๆ ไดส าํ เรจ็ โดยงาย สว นขอ ที่ ๓ - ขอท่ี ๘ มีอธิบายเหมือนใน อภิญญา ๖ แหงฉกั กะ หมวด ๖ สมาบัติ ๘ สมาบัติ แปลวา ภาวะท่ีพระอริยบุคคลทั้งหลายพึงเขาถึงได หมายถึงคุณธรรมวิเศษท่ี ควรเขาถึง หรือการบรรลุขั้นสูง คือการเขารูปฌาน ๔ อรูปฌาน ๔ รวมถึงการเขาสูภาวะท่ีดับ สญั ญาและเวทนาของพระอริยบุคคล หรือผูไ ดฌาน (พึงดรู ายละเอยี ดใน อรูป ๔ และฌาน ๔ แหง จตุกกะ) เน้อื ใน นกั ธรรม ช้นั โท เลม 2 107

1๑0๐๘8 คมู อื การศกึ ษานกั ธรรมชนั้ โท เน้อื ใน นกั ธรรม ช้นั โท เลม 2 นวกะ หมวด ๙ อนปุ พุ พวิหาร ๙ อนุปุพพวิหาร ๙ คือ ธรรมเปน เครอ่ื งอยูโ ดยลําดับ หมายถึง ธรรมเปนเคร่ืองอยูแหงจิต ท่พี ึงเขาถึงไดต ามลําดับแหงความประณตี ท่ีสูงขนึ้ ตอ เนือ่ งกันไป ๙ ขนั้ ดงั น้ี สัญญาเวทยิตนโิ รธ หมายถงึ สมาบัติท่ีดับสัญญาและเวทนา เปนภาวะจิตท่ีละเอียดมี ความประณีตลึกซึ้งกวาเนวสัญญานาสัญญายตนะข้ึนไปอีกช้ันหนึ่ง โดยผูเขาสมาบัติน้ีจะไมมี สัญญาและไมมเี วทนา อนุปุพพวหิ าร ทช่ี อื่ วา ธรรมเปน เครื่องอยูท่ีประณีตตอกันข้ึนไปโดยลําดับนั้น เนื่องจาก ในขณะที่เขา หรือในขณะท่ีออกตอ งเปนไปตามลําดับ ในชั้นแรก เมื่อเขาก็ตองเขาปฐมฌานกอน ออกจากปฐมฌานแลว เขาทตุ ยิ ฌาน ฯลฯ ออกจากเนวสัญญานาสัญญายตนฌานแลวเขาสัญญา เวทยิตนิโรธ เม่ือออกก็เหมือนกัน ตองออกจากสัญญาเวทยิตนิโรธ เปนลําดับมาจนถึงปฐมฌาน เปรยี บเหมือนขึ้นบันได ๙ ขน้ั เวลาข้ึน กต็ องขึน้ ไปตามลาํ ดบั ช้นั เวลาลง ก็ตอ งลงตามลาํ ดบั ช้ัน 108

 1๑0๐9๙ วชิ า ธรรมวภิ าค อติ ปิ  โส ภควา แมเพราะอยางนี้ ๆ พระผมู ีพระภาคเจา น้ัน ๑. อรหํ เปน พระอรหันต ๒. สมฺมาสมพฺ ุทฺโธ เปนผตู รสั รชู อบเอง ๓. วชิ ชฺ าจรณสมฺปนโฺ น เปน ผถู งึ พรอมดวยวชิ ชาและจรณะ ๔. สคุ โต เปนผูเสด็จไปดแี ลว ๕. โลกวทิ ู เปนผูรแู จงโลก ๖. อนุตตฺ โร ปรุ ิสทมมฺ สารถิ เปน สารถีแหงบรุ ุษพึงฝก ได ไมม บี รุ ุษอ่นื ยง่ิ ไปกวา ๗. สตถฺ า เทวมนุสฺสานํ เปน ศาสดาของเทวดาและมนษุ ยทั้งหลาย ๘. พุทโฺ ธ เปน ผตู ื่นแลวเปน ผูเบิกบานแลว ๙. ภควา เปน ผมู โี ชค พุทธคุณ แปลวา พระคุณของพระพุทธเจา ซ่ึงจัดเปนเนมิตตกนาม คือพระนามที่ เกิดขึ้นตามพระคุณสมบัติเฉพาะของพระองคเอง มิไดมีผูหน่ึงผูใดตั้งให ทานจําแนกไว ๙ บท หรอื ๙ ประการ ดงั น้ี ๑. อรหํ เปนพระอรหันต มีความหมาย ๕ ประการ คือ (๑) เปนผูเวนไกลจากกิเลสและ บาปธรรมโดยสิ้นเชงิ (๒) เปนผทู าํ ลายขาศกึ คอื กิเลสไดหมดส้ิน (๓) เปนผูหกั กงกาํ แหงการเวียน วายตายเกิดไดเด็ดขาด (๔) เปนผูควรรับทักษิณาอยางย่ิง คือ พระองคทรงเปนผูควรซ่ึงปจจัย ทั้งหลายและควรซ่ึงการบูชาพิเศษ เพราะทรงเปนพระทักขิไณยบุคคลช้ันยอด ซึ่งทวยเทพและ เน้อื ใน นกั ธรรม ช้นั โท เลม 2 109

1๑1๑๐0 คมู อื การศกึ ษานกั ธรรมชนั้ โท เน้อื ใน นกั ธรรม ช้นั โท เลม 2 มวลมนุษยตางบูชาพระองคดวยการบูชาอยางยิ่ง (๕) เปนผูมีพฤติกรรมโปรงใส คือไมมีท่ีลับ ในการทําบาป ๒. สมฺมาสมฺพุทฺโธ เปนผูตรัสรูชอบเอง (เปนผูตรัสรูเองโดยชอบ) หมายถึง ทรงเปน พระสัมมาสัมพุทธเจาผูตรัสรูโดยชอบดวยพระองคเอง กลาวโดยสรุป คือตรัสรูอริยสัจ ๔ โดยชอบดว ยพระองคเอง ๓. วิชฺชาจรณสมปนฺโน เปนผถู งึ พรอมดวยวชิ ชาและจรณะ หมายถึง พระองคทรงมีท้ัง วิชชา คือพระญาณหย่ังรู หรือพระปรชี าสามารถอยา งลกึ ซ้ึง และแจมแจง ท่ีจําแนกเปนวิชชา ๓ และ วิชชา ๘ และทรงมีท้ังจรณะ คือทรงประกอบดวยคุณธรรมอันเปนเครื่องประพฤติปฏิบัติใหลุถึง วิชชาหรอื นพิ พาน พระพทุ ธคณุ บทวา วชิ ฺชาจรณสมปฺ นฺโน นี้ตรงกับคํากลาวในปจจบุ ันที่วา มีความรู คูคุณธรรม หรือ มีคุณธรรมนําความรู โดยอนุโลม ซ่ึงเปนหลักปรัชญาการจัดการศึกษาของ สังคมมนุษยปจจุบัน อนึ่งแมคํากลาวที่วา “วิชาเปนอํานาจ มารยาทเปนเสนห” ก็สงเคราะห (จดั เขา ) ไดในพระพทุ ธคณุ บทน้ี ๔. สคุ โต เปน ผเู สด็จไปดีแลว คําวา สุคโต หรือพระสุคต มีความหมาย ๔ ประการคือ (๑) เสด็จไปอยางสงางามดวยอริยมรรค (๒) เสด็จไปสูอมตสถานที่ดีงาม กลาวคือ พระนิพพาน (๓) เสด็จรุดหนาไปดีโดยชอบ กลาวคือ ทรงดําเนินรุดหนาไปไมหวนกลับคืนมาสูกิเลสท่ีละได แลว ทรงดาํ เนินในทางอันถูกตอ งคอื มชั ฌมิ าปฏิปทา (๔) ทรงมีพระวาจาดี กลาวคือ ทรงเปลงพระ วาจาโดยชอบ ตรสั แตคําจริงแท ประกอบดว ยประโยชน ในกาลทคี่ วรตรัส และแกบ คุ คลที่ควรตรสั ๕. โลกวิทู เปนผูรูแจงโลก มีอธิบายเปน ๒ นัย คือ (๑) ทรงรูแจงโลกภายในคือ รางกายทีย่ าวเพียงวา ซ่ึงมีสัญญา มีใจครองนี้ โดยทรงรูถึงสภาวะ เหตุเกิดขึ้น ความดับ และวิธี ปฏิบัติใหลุถึงความดับอยางถองแท (๒) ทรงรูแจงโลกภายนอก ๓ คือ ๑) สังขารโลก โลกคือ สังขาร ๒) สัตวโลก โลกคือหมูสัตว ๓) โอกาสโลก โลกอันกําหนดดวยโอกาส คือโลกอันมีใน อวกาศ จกั รวาล โดยทรงรูแ จง ดวยพระพทุ ธญาณอันกวา งไกลหาทีส่ ดุ มไิ ด ๖. อนุตฺตโร ปุริสทมฺมสารถิ เปนสารถีแหงบุรุษพึงฝกได ไมมีบุรุษอื่นย่ิงไปกวา หมายถึง พระองคทรงเปนผูฝกคนไดดีเย่ียม ไมมีผูใดเทียมเทา กลาวคือ พระองคทรงทําหนาท่ี ดุจสารถีฝกฝนผูท่ีควรฝก หรือผูท่ีไมไดฝกก็ควรใหไดรับการฝกท้ังเทวดา มนุษย อมนุษย และ สตั วดิรจั ฉานโดยถว นหนา ดวยอบุ ายแหง การฝก ฝนตาง ๆ ๗. สตฺถา เทวมนสุ สฺ านํ เปน ศาสดาของเทวดาและมนษุ ยท ัง้ หลาย หมายถงึ วา พระองค ทรงมีคุณสมบตั ิสมควรเปนครู ทรงทําหนาท่ีเปนครูคือส่ังสอนบุคคลทั้งช้ันสูง และชั้นต่ําดวยพระ มหากรุณาหวังใหไดรับความรู และประโยชนท่ีพึงไดรับอยางแทจริงทั้งประโยชนในโลกน้ี ประโยชนใ นโลกหนา และประโยชนอ ยางสงู สดุ คอื พระนพิ พาน ๘. พุทฺโธ เปนผูต่ืนแลวเปนผูเบิกบานแลว หมายถึงพระองคทรงสําเร็จเปน 110

 1๑1๑1๑ วชิ า ธรรมวภิ าค พระพุทธเจาอยางสมบูรณเพราะทรงรูสรรพสิ่งที่ควรรูท้ังหมด และทรงสอนผูอ่ืนใหรูตาม อีกนัย หน่ึง พระองคทรงต่ืนเองจากความเช่ือถือและขอปฏิบัติท้ังหลายท่ีถือกันมาผิดๆ ดวย ทรงปลุก ผูอ ืน่ ใหพ นจากความหลงงมงายดวย ๙. ภควา เปนผูมีโชค หมายความวา พระองคทรงทําการใดๆ ก็ลุลวงปลอดภัย ทกุ ประการ หรอื หมายถงึ พระองคเ ปนผจู าํ แนกแจกธรรม เปน ผูกําจัดกิเลส และบาปธรรม เปนผูคบ คอื สองเสพสนั ติธรรมเปน ตน พระคุณของพระพุทธเจา เมื่อยอกลาวใหสั้นที่สุดสามารถยอได ๒ ประการ คือ พระปญ ญาคณุ กับ พระกรุณาคณุ (ตามพระมตขิ องสมเดจ็ พระมหาสมณเจา ฯ) พระปญญาคณุ หมายถึง พระปรชี าญาณทรี่ อบรทู ั่วไปในสภาวธรรมท่ีจริง และสภาวธรรม ที่ไมจริง คือส่ิงสมมติวาสัตว บุคคล เปนตน ทรงละสภาวธรรมที่ไมจริง ทรงนําสภาวธรรมที่จริงน้ัน มาเปนอารมณพิจารณาเห็นวาไมเที่ยง เปนทุกข เปนอนัตตาจนกิเลสกับท้ังวาสนาขาดจากสันดาน เปนสมุจเฉทปหาน พระกรุณาคุณ (หรือพระมหากรุณาคุณ) หมายถึง พระคุณที่เปนสวน พระกรุณาสงั่ สอนสรรพสัตวใหพน จากสรรพทุกข นอกจากน้ี พระเถราจารยของไทยยังนิยมกําหนดพระพุทธคุณโดยยอเปน ๒ ประการคือ (๑) อัตตหิตคุณ พระคุณท่ีเปนประโยชนเก้ือกูลสวนพระองค (๒) ปรหิตคุณ พระคุณท่ีเปน ประโยชนเ กอื้ กูลแกผ อู ื่น อัตตหิตคุณ หรือ อัตตหิตสมบัติ เทียบไดกับ พระปญญาคุณ สวนปรหิต สมบตั ิ กเ็ ทียบไดกับ พระกรณุ าคุณ มานะ ๙ เน้อื ใน นกั ธรรม ช้นั โท เลม 2 111

1๑1๑๒2 คมู อื การศกึ ษานกั ธรรมชน้ั โท เน้อื ใน นกั ธรรม ช้นั โท เลม 2 มานะ แปลวา ความถือตัว หมายถึง ความสําคัญตนเปนอยางน้ันอยางน้ีโดยกําหนด เอาฐานะ ชาติ ตระกูล ทรัพยสมบัติ และวิชาความรูเปนหลัก มี ๙ ลักษณะ ซึ่งมีความหมาย ชัดเจนแลว โดยสมเด็จพระมหาสมณเจา ฯ ทรงจัดมานะขอ ๑ ขอ ๔ และขอ ๗ เขาในลักษณะ ของความทะนงตน ทําใหเปนคนหยิ่งผยอง ทําใหใจกระดาง แสดงออกมาทางกายและวาจา ทรงจดั มานะขอ ที่ ๒ ขอ ๕ และขอ ๘ เขาในลักษณะตีตนเสมอเขา และทรงจัดมานะขอ ๓ ขอ ๖ และขอ ๙ เขาในลักษณะถอ มตน และทรงวิจารณม านะขอที่ ๓ วา ไมน า จัดเปนมานะ แตขึ้นช่ือวา ความสาํ คัญตน จะสําคญั โดยประการใดก็ตาม ก็จัดวาเปน มานะแท โลกกุตตรธรรม แปลวา ธรรมอันเหนือโลก หมายถึง ธรรมอันมิใชวิสัยของโลก หรือ สภาวะท่ีพนจากโลก ไดแก ธรรมของพระอริยบุคคลผูปฏิบัติเพ่ือความหลุดพน ในพระพุทธศาสนา จําแนกออกเปน ๙ ประการ คือ มรรค ๔ หมายถึง ทางหรือขอปฏิบัติเพื่อเขาถึงความเปนอริยบุคคล หรือญาณท่ีทําให ละสังโยชนไดขาด ๔ ประการ คือโสดาปตติมรรค สกทาคามิมรรค อนาคามิมรรค และ อรหัตตมรรค ผล ๔ หมายถึง วบิ าก หรือสภาวะที่เกิดสืบเนื่องจากการละกิเลสไดดวยมรรค ที่เปนผล เกิดเองในเมื่อกิเลสสิ้นไปดวยอํานาจมรรคนั้น ๆ มี ๔ ประการตามชื่อมรรค คือโสดาปตติผล สกทาคามผิ ล อนาคามผิ ล และอรหัตตผล นิพพาน ๑ ในที่น้ีหมายถึง อนุปาทิเสสนิพพาน นิพพานธาตุไมมีอุปาทิเหลือ ไดแก ภาวะท่ีดับกิเลสไมมีเบญจขันธเหลือ คือส้ินกิเลสและชีวิต ดุจประทีปสิ้นเชื้อฉะน้ัน หรือเรียกวา ขนั ธปรินพิ พาน หมายถงึ ภาวะทสี่ น้ิ ชวี ิตของพระอรหนั ต 112

 1๑1๑3๓ วชิ า ธรรมวิภาค วิปสสนาญาณ ๙ เน้อื ใน นกั ธรรม ช้นั โท เลม 2 คําวา วิปสสนาญาณ แปลวา ญาณในวิปสสนา หมายถึงญาณที่นับเขาในวิปสสนา หรือที่จัดเปนวิปสสนา คืออาการของจิตท่ีเกิดปญญารูเห็นแจงหรือเขาใจสภาวะของส่ิงท้ังหลาย ตามเปน จริง จดั เปนขน้ั ๆ สูงขึ้นไปตามลําดบั ๙ ช้ัน ดังนี้ ๑. อุทยัพพยานุปสสนาญาณ ปรีชาคํานึงเห็นท้ังความเกิดทั้งความดับ หรือ อุทยัพพยญาณญาณตามเห็นความเกิดและความดับ หมายถึงภาวะจิตที่พิจารณาความเกิดขึ้น และความดบั ไปแหง สงั ขารหรอื เบญจขนั ธ จนเห็นชัดวาสงั ขารทั้งหลายเกดิ ขน้ึ แลวกต็ อ งดบั ไป ๒. ภังคานุปสสนาญาณ ปรชี าคํานึงเห็นความดับ หรือ ภังคญาณ ญาณอันตามเห็น ความเสื่อมสลาย หมายถึงปญญาอันปลอยวางความเกิดขึ้นเสีย ไมพิจารณาเหตุคือความเกิดขึ้น มาพจิ ารณาแตผลคือความแตกดับไปของสังขารอยา งเดยี ว ๓. ภยตูปฏฐานญาณ ปรีชาคํานึงเห็นสังขารปรากฏเปนของนากลัว หรือญาณ อันมองเห็นสังขารปรากฏเปนของนากลัว หมายถึง ปญญาของโยคาวจรบุคคลน้ันหย่ังรู ความแตกดับแหงสงั ขารอยา งแจมชดั จนสังขารเหลานั้นปรากฏเปน ภัยใหญนากลวั ๔. อาทีนวานุปสสนาญาณ ปรีชาคํานึงเห็นโทษ หรือ อาทีนวญาณ ญาณอันคํานึง เห็นโทษ หมายถึง ปญญาที่สืบเนื่องมาจากญาณท่ี ๓ จึงเห็นโทษในสังขารเหลาน้ันยิ่งนัก ไมมี ความอภิรมยย นิ ดีในสังขารเหลา นั้นเลย ๕. นิพพิทานุปสสนาญาณ ปรีชาคํานึงถึงดวยความหนาย หรือนิพพิทาญาณ ญาณอันคํานึงเห็นความหนาย หมายถึง ปญญาท่ีสืบเนื่องมาจากญาณที่ ๔ ซึ่งมีกําลังกลาจนเกิด 113

1๑1๑๔4 คมู อื การศกึ ษานกั ธรรมชนั้ โท นิพพทิ า คอื ความเหนอ่ื ยหนายชงิ ชังในสงั ขารทัง้ สิน้ นน้ั ๖. มุญจิตุกัมยตาญาณ ปรีชาคํานึงดวยใครจะพนไปเสีย หรือญาณอันคํานึงดวยใคร จะพนไปเสีย หมายถึง ปญญาที่ทําใหสภาพจิตของโยคาวจรบุคคลไมพัวพันของอยูแมในสังขาร อันใดอนั หนง่ึ มคี วามคดิ อยากจะพนปลดเปลื้องออกจากสังขารเหลานน้ั ดวยความเหน่อื ยหนา ย ๗. ปฏิสังขานุปสสนาญาณ ปรีชาคํานึงพิจารณาหาทาง หรือปฏิสังขาญาณ ญาณ อันคํานึงพิจารณาหาทาง หมายถึง ปญญาท่ีสืบเนื่องมาจากญาณที่ ๖ ท่ีทําใหจิตคิดอยากจะพนออก จากสงั ขารเหลา น้ัน จึงยกสังขารเหลา น้นั ขน้ึ สูไตรลักษณเพอื่ มองหาอุบายทีจ่ ะปลดเปล้ืองออกไป ๘. สังขารุเปกขาญาณ ปรีชาคํานึงดวยความวางเฉยเสีย หรือญาณอันเปนไปโดย ความเปนกลางตอสังขาร คือเมื่อจิตพิจารณาสังขารตอไป ยอมเกิดความรูเห็นสภาวะของสังขารตาม ความเปนจริง จึงวางใจเปนกลางไดโดยไมยินดียินราย หลังจากนั้นก็มองเห็นนิพพานเปนสันติบท ญาณจึงแลนมงุ ไปยังนิพพาน เลกิ ละความเกย่ี วเกาะกบั สังขารเสียได ๙. สัจจานุโลมิกญาณ ปรีชาเปนไปโดยสมควรแกการกําหนดรูอริยสัจหรือ อนุโลมญาณ ญาณอันเปนไปโดยอนุโลมแกการหยั่งรูอริยสัจ หมายถึง เมื่อโยคาวจรบุคคลมีภาวะจิตที่เปนกลาง ตอสังขารท้ังหลายและญาณแลนมุงตรงไปสูนิพพานแลว ญาณอันคลอยตอการตรัสรูอริยสัจยอม เกิดขึ้นในลําดับถัดไป และจะเกิด โคตรภูญาณ ญาณครองโคตร คือปญญาท่ีอยูในลําดับจะถึง อริยมรรคหรืออยูในขั้นหัวตอจะขามพนภาวะปุถุชนข้ึนสูภาวะอริยบุคคลมาค่ัน แลวเกิดมรรคญาณ ใหส ําเร็จความเปน พระอรยิ บคุ คลตอไป ภควโต สาวกสงฺโฆ สงั ฆคณุ ๙ ๑. สุปฏปิ นฺโน ๒. อชุ ุปฏปิ นฺโน พระสงฆส าวกของพระผมู พี ระภาคเจา ๓. ญายปฏปิ นโฺ น เปน ผปู ฏบิ ตั ิดีแลว ๔. สามจี ิปฏปิ นฺโน เปน ผูปฏิบตั ิตรงแลว เปนผปู ฏบิ ตั เิ ปนธรรม ยทิทํ เปน ผปู ฏิบตั สิ มควร นีค้ ือใคร จตตฺ าริ ปุริสยคุ านิ คือคแู หงบรุ ุษ ๔ บุรษุ บุคคล ๘ อฏฐ ปรุ ิสปุคฺคลา นคี่ อื พระสงฆสาวกของพระผมู พี ระภาคเจา เปน ผูค วรของคาํ นบั เอส ภควโต สาวกสงโฺ ฆ เปน ผคู วรของตอ นรบั ๕. อาหเุ นยโฺ ย เปนผคู วรของทําบุญ ๖. ปาหเุ นยฺโย เปน ผคู วรทาํ อญั ชลี (ประณมมือไหว) ๗. ทกขฺ ิเณยฺโย ๘. อฺชลกิ รณีโย เน้อื ใน นกั ธรรม ช้นั โท เลม 2 114

 1๑1๑5๕ วชิ า ธรรมวิภาค ๙. อนุตตฺ รํ ปุฺญกฺเขตฺตํ โลกสฺส เปนนาบุญของโลก ไมม นี าบญุ อ่ืนย่งิ กวา สังฆคุณ แปลวา คุณของพระสงฆ ในท่ีนี้หมายเอาพระอริยสงฆ คือผูซ่ึงบรรลุ โลกุตตรธรรมตง้ั แตโสดาปตตผิ ลเปนตน ไป พระอรยิ สงฆม คี ุณความดีท่ที านจําแนกไว ๙ ประการ คอื ๑. สุปฏิปนฺโน เปนผูปฏิบัติดีแลว หมายถึง พระสงฆสาวกของพระผูมีพระภาคเจาน้ัน เปนผูปฏิบัติสมควรแกพระนิพพาน ปฏิบัติธรรมสมควรแกธรรม กลาวโดยสรุป ไดแกการเปน ผูปฏบิ ตั ิตามหลักมัชฌิมาปฏิปทา คอื ทางสายกลางท่ีไมต ึงนัก ไมย อ หยอนนกั ๒. อุชปุ ฏิปนโฺ น เปนผปู ฏบิ ัติตรงแลว หมายถึง พระสงฆสาวกของพระผูมีพระภาคเจา นั้นเปนผูปฏิบัติจริงๆ ไมปฏิบัติลวงโลก ไมมีมายาสาไถย คือ ประพฤติปฏิบัติตรงตามหลัก พระธรรมวนิ ัย ๓. ญายปฏปิ นฺโน เปน ผปู ฏิบตั ิธรรม หมายถึง พระสงฆสาวกของพระผูมีพระภาคเจานั้น เปนผูปฏิบัติมุงธรรมเปนใหญ ปฏิบัติถูกทาง ปฏิบัติโดยถือความถูกตองชอบธรรมเปนประมาณ อีกนัยหน่ึง เปนผูปฏิบัติในทางอันจะใหเกิดความรู ปฏิบัติเพื่อธรรมที่ควรรูหรือเปนผูปฏิบัติเพื่อ ออกไปจากวฏั ฏทุกข ๔. สามีจิปฏปิ นฺโน เปน ผูปฏบิ ัตสิ มควร หมายถึง พระสงฆสาวกของพระผูมีพระภาคเจา นั้นเปนผูปฏิบัตินานับถือ สมควรไดรับสามีจิกรรม (การตอนรับเคารพนับถือเปนตน) จากเหลาคน ทุกจําพวก ๕. อาหุเนยโฺ ย เปนผคู วรของคํานบั หมายถึง พระสงฆสาวกของพระผูมีพระภาคเจา นั้น เปนผูควรรับวัตถุที่เขานํามาบูชาที่เรียกวา อาหุนะ (เคร่ืองสักการบูชา) ซึ่งเปนของที่เขาต้ังใจ นาํ มาถวายทานผูมีศีลดว ยความเชอื่ ม่ันวา มอี านิสงสม าก ๖. ปาหุเนยฺโย เปนผูควรของตอนรับ หมายถงึ พระสงฆ์สาวกของพระผมู้ พี ระภาคเจา้ นนั เป็นผคู้ วรรบั ของตอ้ นรบั ทเี รยี กวา่ ปาหนุ ะ (ของตอ้ นรบั แขก) ทเี ขาจดั ไวอ้ ยา่ งดเี พือประโยชน์ แกพ่ วกญาตแิ ละมติ รผเู้ ป็นทรี กั ทชี อบใจซงึ จะมาจากทศิ ตา่ งๆ ๗. ทกฺขิเณยฺโย เปน ผูค วรของทําบุญ หมายถงึ พระสงฆส์ าวกของพระผมู้ พี ระภาคเจา้ นันเป็นผู้ควรรบั ของทําบุญทเี รยี กว่า ทกั ขณิ า (หรอื ทกั ษิณา หมายถงึ ไทยธรรม) มอี าหาร และ เครอื งนุ่งหม่ เป็นตน้ ทเี ขาจะพงึ บรจิ าคในพระศาสนาโดยฐานเป็นการบญุ กศุ ล ๘. อชฺ ลิกรณีโย เปนผคู วรทาํ อญั ชลี (ประณมมอื ไหว)้ หมายถงึ พระสงฆส์ าวกของ พระผู้มีพระภาคเจ้านัน เมือผู้ใดผู้หนึงนําเครืองสักการะไปถวายถึงสํานัก ก็สามารถทํา ความเลอื มใสใหเ้ กดิ ไดโ้ ดยทผี นู้ นั ไมต่ อ้ งมาเสยี ใจในภายหลงั วา่ ไมส่ มควรคาํ นบั กราบไหว้ ๙. อนุตฺตรํ ปุฺ กฺเขตฺตํ โลกสฺส เปนนาบุญของโลก ไมมีนาบุญอื่นย่ิงกวา หมายถงึ พระสงฆส์ าวกของพระผมู้ พี ระภาคเจา้ นนั เป็นผบู้ รสิ ทุ ธเิ พราะการปฏบิ ตั ดิ ี ทกั ษณิ าทาน ทบี รจิ าคแด่พระสงฆ์จงึ มผี ลานิสงฆม์ าก เปรยี บเหมอื นทนี าซงึ มดี นิ ดพี ชื ทหี ว่านหรอื ปลูกลงไป เน้อื ใน นกั ธรรม ช้นั โท เลม 2 115

1๑1๑๖6 คูมอื การศกึ ษานกั ธรรมชน้ั โท เน้อื ใน นกั ธรรม ช้นั โท เลม 2 ย่อมเผลด็ ผลไพบูลย์ ดงั นัน พระสงฆ์จงึ เป็นนาบุญคอื ทบี ําเพญ็ บุญอย่างดเี ยยี มของประชาชน ชาวโลก ไมม่ นี าบุญอนื ยงิ กวา่ ในสงั ฆคณุ ทงั ๙ บทนี ๔ บทแรก จดั เป็นอตั ตหติ คณุ ๕ บทหลงั จดั เป็นปรหติ คณุ สตั ตาวาส ๙ ภพเปน ทอี่ ยแู หงสัตว เรยี กวา สตั ตาวาส แจกเปน ๙ คอื ๑. สัตวเหลาหน่ึง มีกายตางกัน มีสัญญาตางกัน เชน พวกมนุษย พวกเทวดา บางหมู พวกวินปิ าติกะ (เปรต) บางหมู ๒. สัตวเหลาหน่ึง มีกายตางกัน มีสัญญาอยางเดียวกัน เชน พวกเทพผูอยูใน จาํ พวกพรหมผูเ กิดในภมู ิปฐมฌาน ๓. สตั วเหลาหนง่ึ มกี ายอยา งเดียวกัน มสี ัญญาตาง เชน พวกเทพอาภัสสระ ๔. สัตวเหลาหน่ึง มีกายอยางเดียวกัน มีสัญญาอยางเดียวกัน เชน พวกเทพ สภุ กณิ หะ ๕. สัตวเ หลา หน่งึ ไมม ีสัญญา ไมเ สวยเวทนา เชน พวกเทพผเู ปนอสัญญสี ัตว ๖. สตั วเหลาหนง่ึ ผูเ ขาถงึ ช้ันอากาสานญั จายตนะ ๗. สตั วเ หลาหน่ึง ผเู ขา ถงึ ชน้ั วิญญาณญั จายตนะ ๘. สตั วเ หลา หนึ่ง ผเู ขา ถึงชัน้ อากิญจัญญายตนะ ๙. สัตวเ หลาหน่ึง ผเู ขาถงึ ชน้ั เนวสญั ญานาสัญญายตนะ สตั ตาวาส แปลว่า ภพเป็นทอี ย่แู หง่ สตั ว์ หรอื ภูมสิ ถานทอี ยขู่ องสตั วท์ งั หลาย หมายถงึ การจําแนกประเภทของสตั ว์ทงั หลายตามภูมสิ ถานทอี ยู่ออกเป็น ๙ ประเภท โดยประเภทที ๑ - ๔ และประเภทที ๖ - ๘ ตรงกบั วิญญาณฐิติ ๗ ส่วนประเภทที ๕ และประเภทที ๙ มี ความหมายดงั นี ๕. สัตวเหลาหนึ่ง ไมมีสัญญา ไมเสวยเวทนา เช่น พวกเทพผูเปนอสัญญีสัตว หมายถงึ พวกเทพทเี กดิ อยใู่ นรปู พรหม (พรหมโลก) ชนั ที ๑๑ (รปู พรหมมี ๑๖ ชนั ) ซงึ เป็น ๑ ใน ชนั จตุตถฌานภมู ิ ๒ ชนั (เวหปั ผลา กบั อสญั ญสี ตั ว)์ จดั เป็นพวกพรหมผมู้ แี ต่รปู ขนั ธอ์ ย่างเดยี ว เรยี กว่า เอกโวการภพ ภพทปี ระกอบด้วยขนั ธ์เดยี ว คอื รูปขนั ธ์ ไม่มนี ามขนั ธ์ (๔ คือเวทนา สญั ญา สงั ขาร และวญิ ญาณ) จงึ ไม่มสี ญั ญา ไม่เสวยเวทนา หรอื ไม่มผี สั สะ มอี ตั ภาพเพยี งรูป เทา่ นนั หรอื เรยี กวา่ พรหมลกู ฟก ๙. สัตวเหลาหนึ่ง ผูเขาถึงชั้นเนวสัญญานาสัญญายตนะ หมายถึง พวกเทพใน อรปู พรหมชนั ที ๔ อนั เป็นชนั สงู สดุ ของไตรภพ (กามภพ รปู ภพ และอรปู ภพ) ซงึ เป็นพวกเทพที มสี ญั ญากม็ ใิ ช่ เพราะไมม่ สี ญั ญาทหี ยาบ ทวี า่ ไมม่ สี ญั ญากม็ ใิ ช่ เพราะยงั มสี ญั ญาทลี ะเอยี ดอยู่ 116

 11๑๑7๗ วชิ า ธรรมวภิ าค ทสกะ หมวด ๑๐ อนั ตคาหกิ ทิฏฐิ ๑๐ ความเห็นอันถือเอาที่สุด คือแลนเขาไปถึงท่ีสุด ในอยางหน่ึง ๆ เรียก อันตคาหิกทฏิ ฐิ แจกออกไปเปน ๑๐ คอื ๑. โลกเทีย่ ง ๒. โลกไมเทีย่ ง ๓. โลกมที ี่สุด ๔. โลกไมมที ่ีสุด ๕. ชีพก็อนั นน้ั สรีระกอ็ ันน้ัน ๖. ชพี เปน อื่น สรีระก็เปน อ่ืน ๗. สัตวเ บ้อื งหนาแตตายแลว ยอ มเปนอีก (เกิดอีก) ๘. สัตวเ บอื้ งหนาแตต ายแลว ยอ มไมเ ปน อีก ๙. สัตวเ บ้ืองหนา แตต ายแลว ยอมเปน อีกกม็ ี ยอมไมเ ปน อีกกม็ ี ๑๐. สัตวเ บ้ืองหนา แตตายแลว ยอ มเปน อกี หามิได ยอ มไมเปนอีกก็หามไิ ด อันตคาหิกทิฏฐิ แปลวา ความเห็นอันถือเอาที่สุด หมายถึง ความเห็นผิดเก่ียวกับโลก และชีวติ ทแ่ี ลน ไปสดุ โตง โดยไมสนใจเหตผุ ลหรอื ปจจัยอ่ืน ๆ ทเี่ กี่ยวของ มี ๑๐ อยาง คอื ๑. โลกเทย่ี ง หมายถึง การมคี วามเห็นเปนประเดน็ เดียววาโลกเท่ียง คือเห็นวาในโลก น้ี ไมมีอะไรสูญ แมคนและสัตวตายแลว รางกายเทาน้ันทรุดโทรมไป สวนมนัสท่ีเรียกวาอาตมัน บาง อัตตาบาง ชีโวบาง หาไดสญู ไม ยอ มถือปฏสิ นธิในกาํ เนิดอื่น จัดเปนสสั สตทฏิ ฐิ ๒. โลกไมเ ทีย่ ง หมายถงึ การมีความเห็นเปนประเด็นเดียววาโลกไมเท่ียง คือปฏิเสธ ภาวะในขอที่ ๑ โดยเห็นวาคนและสัตวจุติจากอัตภาพนั้นแลวก็เปนวาขาดสูญ ไมมีการถือ ปฏิสนธิในกาํ เนดิ อน่ื อกี จัดเปนอุจเฉททิฏฐิ ๓. โลกมีทส่ี ดุ หมายถึง การมีความเห็นเปนประเด็นเดียววาโลกมีที่สุด คือเห็นวาคน หรือสัตวที่สรางความดีไวในโลกน้ี ทายท่ีสุดก็จะไปบังเกิดในกายทิพยที่ยั่งยืน ไมแปรผันไป บังเกิดเปนอยา งอื่นอีก หรือเห็นวาคนหรือสัตวตายแลว ก็เปนอนั ส้นิ สดุ ลง ๔. โลกไมม ีที่สุด หมายถึง การมีความเหน็ เปนประเด็นเดียววาโลกไมมีที่สุด คือ เห็น แยงตรงกนั ขา มกบั ขอที่ ๓ วา คนหรอื สตั วย อ มมกี ารเวียนเกดิ เวยี นตายอยางไมม ีที่สุด ๕. ชพี กอ็ ันนนั้ สรรี ะกอ็ นั นนั้ หมายถงึ การมีความเห็นเปนประเด็นเดียววา ชีพหรือ วิญญาณ กบั สรีระ หรอื รา งกายเปนอยางเดยี วกนั โดยมีการเกดิ และดบั พรอ มๆ กนั เน้อื ใน นกั ธรรม ช้นั โท เลม 2 117

1๑1๑๘8 คูมอื การศกึ ษานกั ธรรมชนั้ โท ๖. ชพี เปนอืน่ สรรี ะกเ็ ปนอนื่ หมายถึง การมีความเห็นเปนประเด็นเดียววา ชีพหรือ วิญญาณกับสรีระ หรือรางกายเปนส่ิงที่แยกกัน โดยไมมีการเกิดและดับพรอมๆ กัน เวลาตาย ชีพนกี้ ็จะออกจากสรีระไปถือปฏสิ นธใิ หม สวนสรีระก็เสอ่ื มสลายไป ๗. สัตวเบ้ืองหนาแตตายแลว ยอมเปนอีก (เกิดอีก) หมายถึง การมีความเห็นเปน ประเด็นเดียววา สตั วท กุ ประเภท ภายหลังจากตายแลว ยอมกลับมาเกิดอีกแนนอน ๘. สัตวเบ้ืองหนาแตตายแลว ยอมไมเปนอีก หมายถึง การมีความเห็นประเด็น เดียววา คนหรอื สตั วหลังจากตายแลวยอ มไมเกิดอีก คลา ยกับความเหน็ วาขาดสูญ (อุจเฉทฏิ ฐ)ิ ๙. สัตวเบ้ืองหนาแตตายแลว ยอมเปนอีกก็มี ยอมไมเปนอีกก็มี หมายถึง การมี ความเห็นเปนประเด็นเดียววาสัตวหลังจากตายแลวยอมเกิดอีก ก็มิใช ไมเกิดอีก ก็มิใช คือ มคี วามเหน็ ทไี่ มอาจชี้ชดั ลงไปใหแนนอน จงึ กลา ววาสตั วโลกบางพวกอาจจะเกดิ อกี กไ็ ด บางพวก อาจจะไมเกดิ อีกก็ได ๑๐. สัตวเบ้ืองหนาแตตายแลว ยอมเปนอีกหามิได ยอมไมเปนอีกก็หามิได หมายถึง การมีความเห็นเปนประเด็นเดียววาสัตวหลังจากตายยอมเกิดอีก ก็มิใช ไมเกิดอีก กม็ ิใช เปน ความเห็นท่ีปฏิเสธทั้งหมด ปฏิเสธท้ังภาวะที่เที่ยง ทั้งภาวะที่ขาดสูญ เปนความเห็นที่ เลื่อนลอยของลทั ธลิ น่ื ไหลเหมอื นปลาไหล (อมราวิกเขปวาท) อันตคาหิกทิฏฐิทั้ง ๑๐ อยางนี้ วาตามหลักพระพุทธศาสนา แมไมจัดเปนความชั่วราย นักไมถึงกับหามสวรรคเปนแตหามอริยมรรค คือทําใหผูมีทิฏฐิประเภทนี้หมดโอกาสท่ีจะบรรลุ มรรค ผล นิพพาน ทสพลญาณ ๑๐ พระญาณเปน พระกําลงั ของพระตถาคตเจา ๑๐ เรยี ก ทสพลญาณ มวี ภิ าคดังน้ี ๑. ฐานาฐานญาณ ปรีชากําหนดรูฐานะและอฐานะ ๒. วปิ ากญาณ ปรีชากําหนดรูผลแหง กรรม ๓. สพั พตั ถคามินีปฏิปทาญาณ ปรชี ากาํ หนดรูทางไปสูภ มู ทิ ั้งปวง ๔. นานาธาตุญาณ ปรชี ากาํ หนดรูธาตตุ า งๆ ๕. นานาธิมตุ ตกญาณ ปรีชากําหนดรูอธิมุตติคืออัธยาศัยของสัตว ทัง้ หลายอนั เปนตางๆ กนั ๖. อนิ ทริยปโรปริยัตตญาณ ปรีชากําหนดรูความหยอนและย่ิงแหงอินทรีย ของสัตวท้งั หลาย ๗. ฌานาทิสังกิเลสาทญิ าณ ปรชี ากาํ หนดรูอ าการมคี วามเศรา หมองเปนตน เน้อื ใน นกั ธรรม ช้นั โท เลม 2 118

 1๑1๑9๙ วชิ า ธรรมวิภาค แหง ธรรม มฌี านเปน ตน ๘. ปพุ เพนิวาสานุสสติญาณ ปรชี ากาํ หนดระลกึ ชาติหนหลังได ๙. จตุ ูปปาตญาณ ปรีชากําหนดรูจุติและอุบัติของสัตวทั้งหลาย ผเู ปน ตา งๆ กันโดยกรรม ๑๐. อาสวักขยญาณ ปรีชารจู ักทําอาสวะใหสิ้น ทสพลญาณ (หรือทศพลญาณ) แปลวา พระญาณอันเปนพระกําลังของพระตถาคต ๑๐ ประการ หมายถึง พระญาณท่ีทําใหพระองคสามารถบันลือสีหนาทประกาศพระศาสนาได องอาจมั่นคง มีอธบิ ายดังน้ี ๑. ฐานาฐานญาณ ปรีชากําหนดรูฐานะและอฐานะ หมายถึง พระญาณที่หยั่งรูฐานะ คือเหตุท่คี วรเปนได (เชน สงิ่ ใดมีความเกิดข้ึน ส่ิงน้ันมีความดับเปนธรรมดา เปนตน) และอฐานะ คือมิใชเหตุที่ควรเปนได (เชน สิ่งใดมีความเกิดขึ้น ส่ิงนั้นจักไมดับเลย เปนตน) เปนพระญาณท่ี ทาํ ใหพระองคสามารถรคู วามสมั พันธร ะหวา งเหตกุ ับผล ๒. วิปากญาณ ปรีชากําหนดรูผลแหงกรรม (หรือกัมมวิปากญาณ) หมายถึง พระญาณท่ีหยั่งรูผลกรรมของสตั วท ง้ั หลายผทู าํ กรรมท้ังท่ีเปนกุศลหรือเปนอกศุ ล ๓. สัพพัตถคามนิ ีปฏิปทาญาณ ปรีชากําหนดรูทางไปสูภูมิทั้งปวง หมายถึง พระญาณ ที่หย่ังรูกรรมหรือขอปฏิบัติที่จะนําไปสูคติท้ังปวง คือสุคติ ทุคติ หรือพนจากคติ หรือปรีชาหยั่งรู ขอปฏิบัติที่จะนําไปสูประโยชนทั้งปวง คือประโยชนในปจจุบัน ประโยชนในภายหนา และ ประโยชนสงู สดุ คอื พระนพิ พาน ๔. นานาธาตุญาณ ปรีชากําหนดธาตุตาง ๆ หมายถึง พระญาณที่หย่ังรูสภาวะของโลก อันประกอบดวยธาตุตาง ๆ เปนอเนก โดยทรงรูจักแยกสมมติออกเปนขันธ อายตนะ และธาตุ ตาง ๆ รูจักแยกสวนประกอบของชีวิต สภาวะของสวนประกอบเหลาน้ัน พรอมท้ังลักษณะ และ หนาทข่ี องมนั แตละอยา ง ๕. นานาธิมุตตกญาณ ปรีชากําหนดรูอธิมุตติ คืออัธยาศัยของสัตวท้ังหลายอันเปน ตาง ๆ กัน หมายถึง พระญาณหยั่งรูอธิมุตติคืออัธยาศัย ความโนมเอียง แนวความคิด แนว ความสนใจ เปนตน ของสตั วท ้ังหลายทเ่ี ปน ไปตางกนั ๖. อินทริยปโรปริยัตตญาณ ปรีชากําหนดรูความหยอนและย่ิงแหงอินทรียของสัตว ท้งั หลาย หมายถึง พระญาณหยั่งรูความความย่ิงและหยอนแหงอินทรียของสัตวทั้งหลาย โดยทรงรู วาสตั วน ัน้ ๆ มศี รัทธา วริ ิยะ สติ สมาธิ ปญ ญาแคไ หน มีความพรอ มท่จี ะตรสั รบู รรลุธรรมหรอื ไม ๗. ฌานาทิสังกิเลสาทิญาณ ปรีชากําหนดรูอาการมีความเศราหมองเปนตนแหงธรรม เน้อื ใน นกั ธรรม ช้นั โท เลม 2 119

1๑๒2๐0 คูม อื การศกึ ษานกั ธรรมชนั้ โท เน้อื ใน นกั ธรรม ช้นั โท เลม 2 มีฌานเปนตน หมายถึง พระญาณหยั่งรูความเศราหมอง ความผองแผว การออกจากฌาน วโิ มกข สมาธิ และสมาบัตทิ ั้งหลายวาเกดิ มขี ึ้นไดเพราะเหตนุ น้ั ๆ ๘. ปุพเพนิวาสานุสสติญาณ ปรีชากําหนดระลึกชาติหนหลังได หมายถึง พระญาณ หยง่ั รูอ ันทําใหระลกึ ภพที่เคยอยูในหนหลงั ได ๙. จุตูปปาตญาณ ปรีชากําหนดรูจุติและอุบัติของสัตวทั้งหลายผูเปนตาง ๆ กัน โดยกรรม หมายถึงพระญาณหยง่ั รูจตุ ิและอุบตั ขิ องสัตวทั้งหลายที่เปน ไปตามกรรม ๑๐. อาสวกั ขยญาณ ปรีชารูจักทาํ อาสวะใหส ิ้น หมายถึง พระญาณท่ีหยั่งรูความสิ้นไป แหง อาสวะทัง้ หลาย บารมี แปลวา สิ่งท่ีทําอยางยิ่ง หมายถึง ปฏิปทาอันยวดยิ่ง หรือการบําเพ็ญคุณธรรม ที่ประพฤติปฏิบัติอยางยิ่งยวด คือความดีที่บําเพ็ญอยางพิเศษ เพ่ือบรรลุซ่ึงจุดหมายอันสูงสุด เชน ความเปนพระพุทธเจา เปนตน ดังนั้น การบําเพ็ญคุณความดีที่จะถึงขั้นเปนบารมีไดน้ัน ผบู ําเพญ็ ตองทาํ อยา งยิ่งยวดดวยเจตนาที่มุงมั่น ทานจัดไว ๑๐ ประการ เรียกวา ทศบารมี หรือ บารมี ๑๐ ทศั ดังน้ี ๑. ทาน หมายถึง การให การเสียสละบริจาคตั้งแตทรัพยพัสดุส่ิงของภายนอกเปนทาน เพ่อื เกอ้ื กูลผอู น่ื การสละอวยั วะแหง รางกายตนเปน ทานเพื่อเปลื้องทุกขของผูอ่ืน 120

 1๑2๒1๑ วชิ า ธรรมวิภาค ๒. ศีล หมายถึง การรักษากายวาจาใหอยูในหลักความประพฤติท่ีเปนแบบแผนแหง ภาวะของตน ความประพฤติดงี าม ความถกู ตองตามระเบียบวินัย ไมย อมลวงละเมิดศลี ที่ตนรักษา ๓. เนกขัมมะ หมายถึง ความปลีกตัวปลีกใจจากกาม คือมีความต้ังใจแนวแนในการทํา ตนใหปลอดพนจากอารมณท่ีกอใหเกิดความกําหนัดยินดีในกามคุณ ซ่ึงวิธีท่ีจะทําตนใหปลอดพน จากอารมณดงั กลา วไดด ที ่ีสุด กค็ อื การออกบวชบําเพญ็ สมณธรรม ๔. ปญญา หมายถึง ปญญาความรอบรู ความหยั่งรูเหตุผล ความเขาใจสภาวะของส่ิง ท้งั หลายตามความเปน จรงิ และรจู ักแกไขปฏิบัตกิ ารตาง ๆ กลาวอยางสูงสุด คือการพิจารณาเห็นโทษ ในนามรูปแลว หาทางปฏิบัติท่จี ะสามารถทําตนใหหลุดพน จากวัฏฏทุกขได ๕. วิริยะ หมายถึง ความเพียรอยางย่ิงยวด คือมีความแกลวกลา ไมเกรงกลัวอุปสรรค มีความบากบ่นั อตุ สาหะกา วหนาเร่ือยไป เพยี รพยายามในกุศลธรรมอยูเรื่อยไปอยา งสมํา่ เสมอ ๖. ขันติ หมายถึง ความอดทนอยางยิ่งยวด คือมีความทนทานของจิตใจ สามารถใช สติปญญาควบคุมตนใหอยูในอํานาจเหตุผล และแนวทางความประพฤติที่ต้ังไวเพื่อจุดหมายอันชอบ ไมลอุ าํ นาจแหงกเิ ลสทฟ่ี ุงหรือจรเขา มาชักนาํ ใจใหอยากประพฤติทุจรติ แมเพราะเหตุแหงชีวติ ๗. สจั จะ หมายถึง ความมสี ัตย ยดึ ถอื สจั จะอยางย่ิงยวด คอื พดู จรงิ ทําจรงิ และ จริงใจ ๘. อธิษฐาน หมายถึง ความตั้งใจมั่นอยางย่ิงยวด คือมีความมุงมั่นตอการบําเพ็ญบารมี อ่ืน ๆ อยางแนวแนและเด็ดเด่ียว โดยวางจุดหมายแหงการกระทําของตนไวแนนอน และดําเนิน ตามนน้ั อยางแนว แน ๙. เมตตา หมายถึง ความปรารถนาดี มีไมตรี คิดเกื้อกูลใหผูอ่ืนและเพื่อนรวมโลกทั้งปวง มีความสขุ ความเจรญิ อยา งย่ิงยวดเสมอหนากนั โดยปราศจากอคติ ๑๐. อุเบกขา หมายถึง ความวางใจเปนกลางอยางย่ิงยวด คือความวางใจสงบราบเรียบ สม่าํ เสมอเท่ียงธรรมและดํารงอยูในธรรม ไมเอยี งเอนเหมือหว่ันไหวไปดว ยความยนิ ดี ยนิ ราย ในการบําเพ็ญบารมี ๑๐ ประการนใี้ หบ รบิ ูรณ ตอ งบาํ เพญ็ ใหค รบ ๓ ข้ัน คอื ๑. ขั้นบารมี หมายถึง การบําเพ็ญคุณความดีระดับตน หรือระดับสามัญท่ัวไป เชน เม่อื บาํ เพญ็ ทาน ก็ใหจ าํ กัดอยแู ตท รัพยส นิ เงนิ ทอง เชนน้ีเรียกวา ทานบารมี ๒. ขั้นอุปบารมี หมายถึง การบําเพ็ญคุณความดีระดับกลาง หรือระดับรองจวนจะ สงู สุด เชน เม่อื บําเพ็ญทาน กส็ ามารถสละอวัยวะของตนใหได เชนนี้เรียกวา ทานอปุ บารมี ๓. ขั้นปรมัตถบารมี หมายถึง การบําเพ็ญคุณความดีระดับสูงสุด เชน เมื่อบําเพ็ญ ทาน กส็ ามารถสละชวี ิตของตนใหไ ด เชน นี้เรียกวา ทานปรมตั ถบารมี เมือ่ บําเพญ็ บารมี ๑๐ ครบบริบรู ณทั้ง ๓ ขั้นดังกลาวมานี้ ก็จะไดบารมี ๓๐ ประการ ซ่ึง เรียกวา สมตงิ สปารมี แปลวา บารมี ๓๐ ทัศ เน้อื ใน นกั ธรรม ช้นั โท เลม 2 121

1๑2๒๒2 คมู อื การศกึ ษานกั ธรรมชนั้ โท ตัวอยางการบําเพ็ญบารมี ๑๐ ประการ โดยพิเศษคือถึงข้ันอุปบารมีและปรมัตถบารมี ของพระโพธิสัตวกอนที่จะตรัสรูเปนพระอรหันตสัมมาสัมพุทธเจา ไดรับการประมวลไวใน พระบาลีสุตตันตปฎก ขุททกนิกาย ชาดก(พระไตรปฎกเลมท่ี ๒๘) ซึ่งจัดเรียงตามที่ถือวาได บําเพ็ญในทศชาติ คือพระชาติที่ทรงบําเพ็ญพระบารมี ๑๐ ชาติสุดทายกอนที่จะตรัสรูเปน พระพุทธเจา ซ่ึงเรียกวา มหาชาติ ดังน้ี ๑. พระเตมีย เนกขมั มะ (๓) ๒. พระมหาชนก วริ ยิ ะ (๕) ๓. พระสุวรรณสาม เมตตา (๙) ๔. พระเนมริ าช อธิษฐาน (๘) ๕. พระมโหสถ ปญญา (๔) ๖. พระภรู ิทัตต ศีล (๒) ๗. พระจนั ทกุมาร ขนั ติ (๖) ๘. พระมหานารทะ อเุ บกขา (๑๐) ๙. พระวิธรุ ะ สัจจะ (๗) ๑๐. พระเวสสันดร ทาน (๑) ๑. มิจฉาทฏิ ฐิ เห็นผดิ ๒. มจิ ฉาสังกปั ปะ ดาํ รผิ ิด ๓. มิจฉาวาจา วาจาผิด ๔. มิจฉากัมมันตะ การงานผดิ ๕. มิจฉาอาชีวะ เล้ยี งชีพผิด ๖. มจิ ฉาวายามะ พยายามผิด ๗. มจิ ฉาสติ ระลึกผดิ ๘. มจิ ฉาสมาธิ ตัง้ จติ ม่ันผิด ๙. มิจฉาญาณะ รผู ดิ ๑๐. มจิ ฉาวมิ ุตติ พนผิด เน้อื ใน นกั ธรรม ช้นั โท เลม 2 122

 1๑2๒3๓ วชิ า ธรรมวภิ าค มิจฉัตตะ แปลวา ภาวะท่ีผิด หมายถึง ความเปนส่ิงที่ผิดตรงกันขามกับพระสัทธรรม คาํ สอนอนั ประเสรฐิ ของพระพุทธเจา มี ๑๐ อยาง ดงั น้ี ๑. มิจฉาทิฏฐิ เห็นผิด หมายถึง ความเห็นผิดจากคลองธรรมตามหลักกุศลกรรมบถ และความเห็นทไี่ มนาํ ไปสูค วามพน ทกุ ข เชน เห็นวาทําดไี มไดด ี ทาํ ชัว่ ไมไ ดช ั่ว เปน ตน ๒. มจิ ฉาสังกัปปะ ดาํ รผิ ิด หมายถึง ความดํารทิ ี่แสไปในทางท่ีผิด คือความดําริท่ีเปน อกศุ ลวิตก โดยเกิดความคิดในทางวัตถุกาม ความพยาบาทปองรายผูอื่น และเกิดความคดิ ในทาง เบยี ดเบยี นผอู ่ืน ๓. มิจฉาวาจา วาจาผิด หมายถึง การประพฤติวจีทุจริต ๔ เปนอาจิณ คือพูดเท็จ พูด สอเสียด พูดคําหยาบ และพูดเพอเจอ ๔. มิจฉากัมมันตะ การงานผิด หรือกระทําผิด หมายถึง การประพฤติกายทุจริต ๓ เปน อาจิณ คือฆา สัตว ลกั ทรพั ย และประพฤตผิ ิดในกาม ๕. มิจฉาอาชีวะ เล้ียงชีพผิด หมายถึง การประกอบอาชีพในทางที่ผิด เชน การหลอกลวง การปลอมแปลงสินคา ตา งๆ ตลอดจนขายสินคาท่ีไมควรขาย เชน ขายอาวุธ ขาย ส่งิ เสพติดใหโ ทษ เปนตน ๖. มิจฉาวายามะ พยายามผิด หมายถึง ความพยายามกระทําในลักษณะที่เพิ่มพูน บาปท่ียงั ไมเ กิดใหเ กดิ ข้ึน หรอื เพียรพยายามใหบ าปที่เกิดขึ้นแลวเจริญมากข้ึน ไมเพียรพยายาม ระวังบาปทยี่ ังไมเกดิ ใหเ กิดขนึ้ หรือไมเพยี รละบาปท่เี กดิ ขึน้ แลว ใหเ ส่อื มไป ๗. มิจฉาสติ ระลึกผิด หมายถึง ความระลึกถึงการอันจะย่ัวใหเกิดราคะ โทสะ โมหะ หรือระลึกถึงเร่ืองราวท่ีลวงแลว เชน ระลึกถึงการไดทรัพย การไดยศ เปนตน ในทางอกุศล อัน จดั เปนสตเิ ทยี ม เปนเหตุชักนาํ ใจใหเ กดิ กเิ ลสตา ง ๆ ตามมาอยางมริ ูจบ ๘. มจิ ฉาสมาธิ ตั้งจิตม่ันผิด หมายถงึ ความตั้งจิตเพงเล็ง เจริญสมาธิภาวนาสะกดใจ ในทางหาลาภ ในทางใหรา ยผอู ่นื จดจอ ปกใจแนว แนใ นกามราคะ พยาบาท วิหิงสาเปนตน ๙. มิจฉาญาณะ รูผิด หมายถึง ความหลงผิดท่ีแสดงออกในการคิดอุบายทําความช่ัว และในการพจิ ารณาทบทวนวา ความชั่วนัน้ ๆ ตนกระทําไดอ ยา งดแี ลว เปนตน ๑๐. มิจฉาวิมุตติ พนผิด หมายถึง ภาวะจิตที่ยังไมถึงวิมุตติ สําคัญวาถึงวิมุตติ หรือ สําคัญผิดในสงิ่ ทีม่ ิใชวมิ ุตติวา เปนวิมุตติ เน้อื ใน นกั ธรรม ช้นั โท เลม 2 123

1๑2๒๔4 คมู อื การศกึ ษานกั ธรรมชนั้ โท ๑. สัมมาทฏิ ฐิ เหน็ ชอบ ๒. สมั มาสงั กัปปะ ดาํ รชิ อบ ๓. สัมมาวาจา เจรจาชอบ ๔. สมั มากัมมันตะ การงานชอบ ๕. สมั มาอาชีวะ เล้ียงชีพชอบ ๖. สมั มาวายามะ พยายามชอบ ๗. สัมมาสติ ระลึกชอบ ๘. สมั มาสมาธิ ต้ังจิตม่ันชอบ ๙. สมั มาญาณะ รชู อบ ๑๐. สมั มาวิมุตติ พนชอบ สัมมัตตะ แปลวา ภาวะท่ถี กู หมายถึง ความเห็นท่ีถูกตองตรงตามหลักพุทธธรรม หรือ เรียกวา อเสขธรรม คือธรรมของพระอเสขะ (พระอรหันต) มี ๑๐ ประการ ซึ่งมีความหมาย ตรงกันขาม (เปนปฏิปกขนัย) กับมิจฉัตตะ ๑๐ ดังกลาว และ ๘ ประการแรกก็ตรงกับอริยมรรค มีองค ๘ (ซึ่งไดศกึ ษามาแลว ในวิชาธรรม นกั ธรรมชั้นตร)ี สัมมาญาณะ รูชอบ ไดแก ผลญาณและปจจเวกขณญาณ สัมมาวิมุตติ พนชอบ ไดแ ก อรหัตตผลวิมตุ ติ โดยทงั้ สองนี้เปน ผลท่ตี อเน่ืองมาจากความสมบูรณของไตรสิกขา คือ ศีล สมาธิ ปญญา เมื่อสัมมาญาณะคือความรูชอบเกิดขึ้น ก็ทําใหจิตของผูรูหลุดพนจากอํานาจกิเลส เปนสัมมาวมิ ตุ ิ คือความหลุดพน ในทางทช่ี อบ ทํานองเดียวกับอรยิ มรรคและอริยผลน่ันเอง เน้อื ใน นกั ธรรม ช้นั โท เลม 2 124

 1๑2๒5๕ วชิ า ธรรมวภิ าค ๑. สักกายทิฏฐิ ความเห็นเปนเหตุถอื ตัวถอื ตน ๒. วิจกิ ิจฉา ความลังเลเปนเหตไุ มแ นใ จ ๓. สีลพั พตปรามาส ความเช่อื ถือศักดส์ิ ทิ ธ์ิดวยอาํ นาจศลี พรต ๔. กามราคะ ความกาํ หนัดดวยอํานาจกเิ ลสกาม ๕. ปฏฆิ ะ ความกระทบกระท่งั แหง จติ ๖. รปู ราคะ ความติดใจอยใู นรปู ธรรม ๗. อรูปราคะ ความติดใจอยใู นอรปู ธรรม ๘. มานะ ความสําคัญตัววาเปนนัน่ เปน น่ี ๙. อุทธจั จะ ความคดิ พลา น ๑๐. อวชิ ชา ความเขลาอนั เปนเหตุไมรจู รงิ สังโยชน แปลวา สภาวะทป่ี ระกอบไว หมายถงึ กิเลสอันผูกใจสัตวอยู กิเลสท่ีมัดสัตวไว กับวัฏฏทกุ ข หรอื ผูกกรรมไวก ับผล มี ๑๐ อยา ง จดั แบง เปน ๒ ประเภท ดังน้ี ก. โอรัมภาคิยสังโยชน สังโยชนเบื้องต่ํา หมายถึงกิเลสอันผูกใจสัตวอยูในภพเบ้ือง ตาํ่ คอื เปน ชั้นหยาบ เปน ไปในภพอันต่ํา (กามภพ) มี ๕ อยาง คอื ๑. สักกายทิฏฐิ ความเห็นเปนเหตุถือตัวถือตน หมายถึง ความเห็นวาเปนตัว ของตน เชน เห็นตนเปน รปู เปนเวทนา เปน วิญญาณ เปนตน ๒. วจิ ิกิจฉา ความลังเลเปน เหตุไมแ นใ จ หมายถงึ ความสงสัยไมแ นใ จในปฏปิ ทา เครอ่ื งดาํ เนนิ ชวี ิตของตน เน้อื ใน นกั ธรรม ช้นั โท เลม 2 125

1๑2๒๖6 คมู อื การศกึ ษานกั ธรรมชนั้ โท เน้อื ใน นกั ธรรม ช้นั โท เลม 2 ๓. สีลัพพตปรามาส ความเช่ือถือศักดิ์สิทธิ์ดวยอํานาจศีลพรต หมายถึง ความถอื มั่นศลี พรต โดยสักวาทําตามๆ กนั ไปอยางงมงาย เหน็ วา จะบริสุทธ์ิหลุดพนไดเพียงดวย ศลี และวตั รเทาน้ัน หรอื ความเชอื่ ถอื ศักดิ์สทิ ธ์ดิ ว ยเขาใจวามีไดด ว ยศลี หรอื พรตอยา งน้นั อยางนี้ ๔. กามราคะ ความกําหนัดดวยอํานาจกิเลสกาม หมายถึง ความติดใจในกามคุณ เรยี กเพียงสน้ั ๆ วา ราคะ ๕. ปฏิฆะ ความกระทบกระทั่งแหงจิต หมายถึง ความหงุดหงิดขัดเคืองดวย อํานาจโทสะ ข. อุทธัมภาคิยสังโยชน สังโยชนเบื้องสูง หมายถึง กิเลสอันผูกใจสัตวอยูในภพ เบ้อื งสูง คือเปน ช้ันละเอียดเปน ไปในภพเบ้อื งสงู (รปู ภพและอรูปภพ) มี ๕ อยา ง คอื ๖. รูปราคะ ความติดใจอยูในรูปธรรม หมายถึง ความติดใจในอารมณแหงรูป ฌานในรูปธรรมอันประณีต หรือความปรารถนาอยากอยูในรูปภพนาน ๆ เชน ชอบใจในบุคคล บางคนหรอื ในพัสดบุ างส่ิง ๗. อรูปราคะ ความติดใจอยูในอรูปธรรม หมายถึง ความติดใจในอารมณแหง อรูปฌาน ในอรปู ธรรม หรือความปรารถนาอยากอยูในอรูปภพนานๆ ๘. มานะ ความสําคัญตัววา เปนนน่ั เปนน่ี ซ่งึ เปน เหตใุ หถ ือตนอยา งแรงกลา ๙. อทุ ธจั จะ ความคดิ พลาน หรอื ความฟุงซา น ๑๐. อวิชชา ความเขลาอันเปน เหตไุ มรจู รงิ หรอื ความหลงไมรูสภาพจริง 126

 12๑๒7๗ วชิ า ธรรมวภิ าค ๑. อนิจจสญั ญา กาํ หนดหมายความไมเ ท่ียงแหงสังขาร ๒. อนตั ตสัญญา กําหนดหมายความเปนอนัตตาแหงธรรม ๓. อสุภสญั ญา กําหนดหมายความไมงามแหงกาย ๔. อาทนี วสัญญา กาํ หนดหมายโทษแหงกาย คือมีอาพาธตา งๆ ๕. ปหานสัญญา กาํ หนดหมายเพ่ือละอกศุ ลวิตกและบาปธรรม ๖. วิราคสัญญา กําหนดหมายวริ าคะวาเปนธรรมละเอียดประณีต ๗. นิโรธสัญญา กาํ หนดหมายนิโรธวาเปนธรรมละเอียดประณตี ๘. สพั พโลเก อนภิรตสญั ญา กําหนดหมายความไมนาเพลิดเพลินในโลก ท้งั ปวง ๙. สพั พสังขาเรสุ อนฏิ ฐสัญญา กําหนดหมายความไมนาปรารถนาในสังขาร ท้งั ปวง ๑๐. อานาปานสติ สติกําหนดลมหายใจเขา ออก สัญญา แปลวา ความกําหนดหมาย หรือ ความจําไดหมายรู ในท่ีนี้หมายถึงแนวความคิด ความเขาใจสาํ หรับใชก าํ หนดพิจารณาในการเจรญิ กัมมฏั ฐาน ๑. อนิจจสัญญา กําหนดหมายความไมเท่ียงแหงสังขาร หมายถึง การกําหนด พิจารณาเห็นความไมเที่ยงแหงสังขารทั้งหลาย โดยเปนของแปรปรวน ไมดํารงอยู เกิดขึ้นแลว กม็ ีอนั ดับไปในที่สดุ หรือพจิ ารณาเหน็ ความไมเที่ยงแหงเบญจขันธห รอื นามรูป ๒. อนัตตสัญญา กําหนดหมายความเห็นอนัตตาแหงธรรม หมายถึง การกําหนด พจิ ารณาเหน็ สภาวธรรมทงั้ หลาย ท้ังที่เปน กุศล อกศุ ล และอพั ยากฤต วาวางเปลา หาตัวตนไมไ ด ๓. อสุภสัญญา กําหนดหมายความไมงามแหงกาย หมายถึง การกําหนดพิจารณา เหน็ รางกายวาไมงาม ไมนาดู โดยแยกออกไปเปน ๓๒ สวน มีผม ขน เล็บ ฟน เปนตน ซ่ึงลวน เต็มไปดว ยของไมส ะอาด มกี ลิน่ เหม็น ๔. อาทีนวสญั ญา กําหนดหมายโทษแหงกาย คือมีอาพาธตาง ๆ หมายถึง การกําหนด พิจารณาเห็นโทษทกุ ขของกายอันมคี วามเจ็บไขต า งๆ วา เปนรังแหง โรคท้งั หลาย ๕. ปหานสัญญา กําหนดหมายเพื่อละอกุศลวิตกและบาปธรรม หมายถึง การกําหนด พิจารณาหาทางละอกุศลวิตก คือกามวิตก ความตรึกถึงกาม พยาบาทวิตก ความตรึกถึง การผูกพยาบาท วหิ งิ สาวติ ก ความตรึกถึงการเบียดเบียนผูอื่น รวมถึงบาปธรรมทั้งปวง ๖. วิราคสัญญา กําหนดหมายวิราคะว่าเป็ นธรรมละเอียดป ระณีต หมายถึง การกําหนดพจิ ารณาวิราคธรรม (ความคลายกําหนัดจากกาม ได้แก่ อรยิ มรรค) ว่าเป็นธรรม อนั ละเอยี ด เป็นธรรมประณตี และเป็นธรรมทลี ว่ งพน้ วสิ ยั ของปุถชุ น เน้อื ใน นกั ธรรม ช้นั โท เลม 2 127

1๑2๒๘8 คูมอื การศกึ ษานกั ธรรมชน้ั โท เน้อื ใน นกั ธรรม ช้นั โท เลม 2 ๗. นิโรธสญั ญา กาํ หนดหมายนโิ รธว่าเป็นธรรมละเอยี ดประณตี หมายถงึ การกาํ หนด พจิ ารณานิโรธ คอื ความดบั ตณั หา วา่ เป็นธรรมอนั ละเอยี ดยงิ เป็นธรรมล่วงพน้ วสิ ยั ของปุถุชน ๘. สัพพโลเก อนภิรตสัญญา กําหนดหมายความไม่น่าเพลิดเพลินในโลกทงั ปวง หมายถงึ การกาํ หนดพจิ ารณาความไมน่ ่ายนิ ดี ความไมน่ ่าเพลดิ เพลนิ ในโลกทงั ปวง คอื รจู้ กั ยงั ใจ ไมป่ ล่อยใจใหเ้ ป็นไปตามอาํ นาจแหง่ ตณั หา ๙. สัพพสังขาเรสุ อนิฎฐสัญญา กาํ หนดหมายความไมน่ ่าปรารถนาในสงั ขารทงั ปวง หมายถงึ การกาํ หนดพจิ ารณาความไมน่ ่าปรารถนาในสงั ขารทงั ปวงว่าเป็นของไม่เทยี งเกดิ ขนึ แลว้ กด็ บั ไป เป็นทกุ ขเ์ พราะทนไดย้ าก เป็นอนตั ตาเพราะว่างจากตวั ตน ๑๐. อานาปานสติ สตกิ าํ หนดลมหายใจเขา้ ออก หมายถงึ ความมสี ตกิ าํ หนดลมหายใจ เขา้ - ออกทกุ ๆ ขณะจติ คอื เมอื หายใจเขา้ ยาว กร็ ชู้ ดั ว่าหายใจเขา้ ยาว เมอื หายใจ ออกยาว ก็ รชู้ ดั วา่ หายใจออกยาว เมอื หายใจเขา้ สนั กร็ ชู้ ดั วา่ หายใจเขา้ สนั เป็นตน้ สัทธรรม ๑๐ แปลวา่ ธรรมอนั ดี หมายถงึ ธรรมในความม่งุ หมายอนั แทจ้ รงิ เป็นธรรม ของสตั บุรษุ คอื พระพทุ ธเจา้ ซงึ จดั เป็นหลกั ธรรมหรอื แก่นของพระพุทธศาสนา มี ๑๐ ประการ โดย ๙ ประการแรก พงึ ดูความหมายในโลกุตตรธรรม ๙ ส่วนปรยิ ตั ธิ รรม หมายถงึ ธรรมคอื คาํ สงั สอนของพระพทุ ธเจา้ อนั จะตอ้ งเล่าเรยี น ไดแ้ ก่ พระพทุ ธพจน์ทจี ารกึ ไวใ้ นพระไตรปิฎก 128

129 129 เน้อื ใน นกั ธรรม ช้นั โท เลม 2

1๑3๓๐0 คมู อื การศกึ ษานกั ธรรมชน้ั โท เน้อื ใน นกั ธรรม ช้นั โท เลม 2 ดวยจตุตถฌานสมาธิ ไดแก เจตนาในอรูปฌานจิต ๔ ดวง ๓. วิญญาณ ธรรมชาติที่รูแจงอารมณ ในที่นี้หมายถึง ความท่ีจิตรับรูอารมณ ๖ ทาง อายตนะภายใน ๖ ซ่ึงเรียกวาวิญญาณ ๖ หมวด คือ จักขุวิญญาณ โสตวิญญาณ ฆานวิญญาณ ชิวหาวญิ ญาณ กายวญิ ญาณ และมโนวิญญาณ ๔. นามรปู แยกเปน ๒ คาํ คอื นาม และรูป คําวา นาม คือ สภาวะที่มีอยูจริงซ่ึงรูจักกัน ไดดวยช่ือ เพราะเปนสภาวะท่ีนอมนําสรางช่ือตนขึ้นเอง เปนส่ิงไมมีรูปราง แตนอมมาเปนอารมณ ของจิตได ไดแ ก อรูปขันธ ๔ คือ เวทนาขนั ธ สัญญาขนั ธ สงั ขารขนั ธ วิญญาณขันธ และนิพพาน ๑ คําวา รูป คือ สภาวะที่จะตองสลายผันแปรไปเพราะปจจัยตาง ๆ อันขัดแยง หรือ ส่ิงท่ีเปนรูปรางพรอมทั้งลักษณะและอาการที่เก่ียวของ ไดแก รูปขันธ ๒๘ ซึ่งจําแนกเปน มหาภูตรปู ๔ และอุปาทายรปู ๒๔ ๕. สฬายตนะ อายตนะ ๖ คําวา อายตนะ หมายถึง อวัยวะเครื่องตอรับรูอารมณของจิต และนําไปสูสังสารทกุ ขอยางตอเน่ือง จําแนกเปนสองฝาย เรียกวา อายตนะภายใน ๖ คือตา หู จมูก ลิน้ กาย ใจ และอายตนะภายนอก ๖ คือ รูป เสียง กลนิ่ รส โผฏฐพั พะ และธรรมารมณ ๖. ผัสสะ ความกระทบหรือสัมผัสถูกตอง หมายถึง ความกระทบกันระหวางอายตนะ ภายใน อายตนะภายนอกและวญิ ญาณ (ตัวจติ รับรู) ซึง่ ทาํ ใหเ กิดเวทนา (ความรสู กึ ) ๗. เวทนา ความเสวยอารมณ หมายถึง ความทจ่ี ติ เกิดความรสู ึกตออารมณในลักษณะ ท่ีท้ังยินดี ท้ังยินราย หรือเปนกลาง ๆ เมื่อตาเห็นรูป (จักขุสัมผัส) หูไดยินเสียง (โสตสัมผัส) จมูกไดกล่ิน (ฆานสัมผัส) ล้ินรับรส (ชิวหาสัมผัส) กายถูกตองเย็นรอนออนแข็ง (กายสัมผัส) ใจคดิ นกึ (มโนสมั ผสั ) ๘. ตัณหา ความทะยานอยาก หมายถึง ความปรารถนา ความแสหาอารมณ ในที่น้ี ไดแ ก ตัณหาในอารมณ ๖ ไดแ ก ตัณหาในรูป เสยี ง กลิ่น รส โผฏฐัพพะ และธรรมารมณ ๙. อุปาทาน ความถือมั่น หมายถึง ภาวะจิตท่ีเขาไปยึดม่ันถือมั่นผูกพันเอาตัวตน เปนที่ต้ัง ดวยอํานาจกิเลส มี ๔ อยาง คือ กามุปาทาน ความถือมั่นกาม ทิฏุปาทาน ความถือม่ัน ทิฏฐิ สลี ัพพตุปาทาน ความถอื มน่ั ศีลพรต และ อัตตาวาทปุ าทาน ความถือมน่ั วาทะวา ตวั ตน ๑๐. ภพ ภาวะชีวิต หมายถึง กรรมท่ีนําเหลาสัตวใหเขาถึงโลกอันเปนสถานที่อยู ซ่ึงมี ๓ ประเภท คือกามภพ ภพทเ่ี ปนกามาวจร รูปภพ ภพทีเ่ ปนรปู าวจร และอรปู ภพ ๑๑. ชาติ ความเกิด หมายถึง ความปรากฏข้นึ แหงขันธท ้ังหลาย ๑๒. ชรา ความแก คือความเส่ือมอายุ ความหงอมแหงอินทรีย มรณะ ความตาย ความสลายแหงขันธ ความขาดแหงอินทรีย โสกะ ความโศก ปริเทวะ ความครํ่าครวญ ทุกขะ ความไมสบายกาย โทมนัส ความไมสบายใจ อุปายาส ความคับแคนใจ (ท้ังหมดน้ีนับเปนองคธรรม อนั เดยี วกัน ชรา + มรณะ นิยมใชคกู นั เปน ชรามรณะ) 130

 1๑3๓1๑ วชิ า ธรรมวภิ าค องคธรรมท้ัง ๑๒ ประการน้ี เปนปจจัยตอเนื่องกันไป หมุนเวียนเปนวงจร ไมมีตน ไมม ปี ลาย ฉะน้ันจึงเรยี กวา ภวจกั ร คอื วงลอหรอื วงจรแหง ภพ มีขอควรทราบเกีย่ วกับภวจักร ก. อัทธา ๓ คือ กาล ๓ ไดแก ๑) อดีต = อวิชชา สังขาร ๒) ปจจุบัน = วิญญาณ นามรูป สฬายตนะ ผัสสะ เวทนา ตัณหา อปุ าทาน ภพ ๓) อนาคต = ชาติ ชรา มรณะ ฯลฯ ข. สงั เขป หรอื สงั คหะ ๔ คอื ชว ง หมวด หรือกลมุ ๔ ไดแก ๑) อดีตเหตุ = อวิชชา สงั ขาร ๒) ปจจุบันผล = วญิ ญาณ นามรูป สฬายตนะ ผสั สะ เวทนา ๓) ปจจุบนั เหตุ = ตัณหา อุปาทาน ภพ ๔) อนาคตผล = ชาติ ชรา มรณะ (+ โสกะ ฯลฯ) ค. สนธิ ๓ คอื ขั้วตอระหวางสงั เขปหรอื ชวงทั้ง ๔ ไดแก ๑) ขวั้ ตอ ระหวา งอดตี เหตุกับปจจบุ ันผล ๒) ข้ัวตอระหวางปจ จุบนั ผลกบั ปจจุบันเหตุ ๓) ขั้วตอระหวางปจ จบุ ันเหตกุ ับอนาคตผล ง. วัฏฏะ ๓ ไดแก กเิ ลส กรรม วิบาก จ. อาการ ๒๐ คือ องคประกอบแตละอยาง อันเปนดุจกําของลอ จําแนกตาม สว นเหตุ และสวนผล ไดแ ก ๑) อดีตเหตุ ๕ = อวิชชา สังขาร ตัณหา อปุ าทาน ภพ ๒) ปจ จุบันผล ๕ = วิญญาณ นามรูป สฬายตนะ ผสั สะ เวทนา ๓) ปจจุบันเหตุ ๕ = อวิชชา สงั ขาร ตณั หา อปุ าทาน ภพ ๔) อนาคตผล ๕ = วญิ ญาณ นามรปู สฬายตนะ ผัสสะ เวทนา อาการ ๒๐ นี้ ก็คือ หัวขอ ทีก่ ระจายใหเตม็ ในทกุ ชวงของสงั เขป ๔ นน่ั เอง ฉ. มูล ๒ คือ กิเลสท่ีเปนตัวมูลเหตุ ซ่ึงกําหนดเปนจุดเร่ิมตนในวงจรแตละชวง ไดแ ก ๑) อวิชชา เปนจดุ เรมิ่ ตนในชว งอดีต สงผลถึงชรามรณะในชวงปจ จบุ ัน ๒) ตัณหา เปน จุดเรมิ่ ตน ในชวงปจจุบนั สงผลถึงชรามรณะในชว งอนาคต เน้อื ใน นกั ธรรม ช้นั โท เลม 2 131

1๑3๓๒2 คมู อื การศกึ ษานกั ธรรมชนั้ โท ทวาทสกะ หมวด ๑๒ กรรม ๑๒ หมวดท่ี ๑ ใหผ ลตามกาล ๑. ทฏิ ฐธรรมเวทนียกรรม กรรมใหผ ลในภพน้ี ๒. อปุ ปช ชเวทนยี กรรม กรรมใหผลตอเม่ือเกดิ แลว ในภพหนา ๓. อปราปริยเวทนยี กรรม กรรมใหผลในภพสืบๆ ไป ๔. อโหสิกรรม กรรมใหผ ลสําเร็จแลว หมวดท่ี ๒ ใหผลตามกจิ ๕. ชนกกรรม กรรมแตงใหเ กดิ ๖. อปุ ตถมั ภกกรรม กรรมสนับสนนุ ๗. อุปปฬ กกรรม กรรมบีบคนั้ ๘. อุปฆาตกกรรม กรรมตดั รอน หมวดที่ ๓ ใหผ ลตามลําดับ ๙. ครกุ กรรม กรรมหนกั ๑๐. พหลุ กรรม กรรมชิน ๑๑. อาสนั นกรรม กรรมเม่ือจวนเจียน ๑๒. กตัตตากรรม กรรมสักวา ทํา เน้อื ใน นกั ธรรม ช้นั โท เลม 2 132

 1๑3๓3๓ วชิ า ธรรมวภิ าค กรรม แปลวา การกระทํา หมายถึง การกระทําท่ีประกอบดวยเจตนา ดีก็ตาม ช่ัวก็ตาม ในท่ีน้ี ทานจําแนกประเภทของกรรมท้ังฝายกุศลและอกุศลตามลักษณะการใหผล ออกเปน ๓ หมวด หมวดละ ๔ รวม ๑๒ ประเภท จงึ เรียกวา กรรม ๑๒ ประเภท ดังน้ี หมวดท่ี ๑ วา โดยปากกาล คอื จําแนกตามเวลาท่ีใหผล มี ๔ ประเภท ดงั นี้ ๑. ทิฏฐธรรมเวทนียกรรม กรรมใหผลในภพนี้ หมายถึง กรรมใหผลในปจจุบันคือ ในภพนี้ จัดเปนกรรมแรงใหผลทันตาเห็น ผูทํายอมเสวยผลกรรมท่ีตนทําในอัตภาพน้ี เชน คนรายถกู ตดั สนิ ประหารชีวิต แตถาผทู าํ ตายเสียกอ น กรรมนั้นไมทนั ใหผล ยอ มเปน อโหสกิ รรมไป ๒. อปุ ปชชเวทนียกรรม กรรมใหผลตอเม่ือเกิดแลวในภพหนา หมายถึง กรรมใหผล ในภพที่จะไปเกิด คือในภพหนา หมายความวา ใหผลตอเมื่อผูทําเกิดในภพตอไป เรียกวาเสวย ผลกรรมในชาตหิ นา เมอ่ื พน จากนัน้ ไปแลวยอมเปน อโหสิกรรม ๓. อปราปริยเวทนียกรรม กรรมใหผลในภพสืบๆ ไป หมายถึงกรรมใหผลในภพ ตอๆไป กรรมน้ีจดั เปน กรรมเบาทสี่ ดุ จักใหผ ลตอ เมื่อพนภพหนาไปแลว ไดชองเมื่อใด ใหผลเม่ือ นั้น จนกวาจะเลกิ ใหผ ล เปรียบเหมอื นสนุ ัขไลเ นือ้ ตามเนอ้ื ทนั ในท่ใี ด กย็ อ มเขา กดั เอาในทนี่ ้ัน ๔. อโหสกิ รรม กรรมใหผ ลสําเร็จแลว หมายถึง กรรมเลิกใหผล ไมมีผลอีก เปนกรรม ทีล่ ว งกาลแลว เลกิ ใหผ ล เปรยี บเหมอื นพืชส้ินยางแลว เพราะปลูกไมขนึ้ อนงึ่ อโหสกิ รรม ท่ใี ชใ นคําวา “รดนํ้าศพอโหสิกรรมแกผูตาย” มีความหมายวา ผูพูด ใหอ ภัยไมจ องเวรตอ ผูต าย มิใชใหผตู ายนน้ั หมดกรรมของตนหรอื ไมตองรับผลกรรมท่ที าํ หมวดท่ี ๒ วาโดยกจิ คอื จาํ แนกการใหผ ลตามหนา ที่ มี ๔ ประเภท ดงั น้ี ๕. ชนกกรรม กรรมแตงใหเ กิด หมายถึง กรรมที่เปนตัวนําไปเกิด กรรมนี้สามารถยัง ผูท าํ ท่เี คลือ่ นจากภพหนึ่งแลวใหถือปฏิสนธิในอีกภพหนึ่ง ซึ่งแลวแตกรรมดีกรรมชั่วใหไปเกิดใน สคุ ติ หรือทุคติ กรรมนใ้ี นท่อี ืน่ เรยี กวา กมมฺ โยนิ กรรมเปนกําเนิด คือทําหนาท่ีเพียงแตงปฏิสนธิ ใหเกิดมา ตอจากน้นั ไปก็เปน อันหมดหนา ที่ ๖. อุปตถัมภกกรรม กรรมสนับสนุน หมายถึง กรรมนี้ไมสามารถแตงปฏิสนธิไดเอง ตอ เม่ือชนกกรรมแตงปฏิสนธิแลวจึงเขาสนับสนุนสงเสริม เปรียบเหมือนแมนมผูเลี้ยงทารกที่คน อ่ืนใหเกิดแลว กรรมน้ีมีลักษณะทั้งสงเสริมและซ้ําเติมใหตํ่าลง โดยในท่ีอ่ืน เรียกวา กมฺมพนฺธุ กรรมเปน พวกพอง ๗. อุปปฬกกรรม กรรมบีบค้ัน กรรมน้ีขัดแยงหรือตรงกันขามกับชนกกรรม คอยเขา บีบคั้นผลแหงชนกกรรมไมใหเผล็ดผลเต็มท่ี กลาวคือ ถาชนกกรรมเปนกุศล แตงปฏิสนธิมาดี กรรมน้ีก็เขาขัดขวางใหทรุดลง ถาชนกกรรมเปนอกุศลแตงปฏิสนธิขางเลว กรรมนี้ก็เขากีดกัน เน้อื ใน นกั ธรรม ช้นั โท เลม 2 133

1๑3๓๔4 คูม อื การศกึ ษานกั ธรรมชน้ั โท เน้อื ใน นกั ธรรม ช้นั โท เลม 2 บัน่ ทอนวบิ ากใหทเุ ลาลง ๘. อุปฆาตกกรรม กรรมตัดรอน กรรมนี้มีสว นเหมอื นกันกับอุปปฬกกรรม แตรุนแรงกวา ยอมตัดรอนผลแหงชนกกรรมและอุปตถัมภกกรรมใหขาดเสียทีเดียว แลวใหผลแทนท่ี จึงเปน ตรงกันขา มกับชนกกรรม คนทปี่ ระสบอุบัติเหตุตายกอนอายุขัย หรือ กอนวัยอันควร เชนน้ีช่ือวา อปุ ฆาตกกรรมใหผล หมวดท่ี ๓ วาโดยปากทานปริยาย หรอื จาํ แนกตามลาํ ดับความแรงในการใหผ ล มี ๔ ประเภท คือ ๙. ครุกกรรม กรรมหนัก หมายถึง กรรมหนักที่สุดในลําดับแหงการใหผล ในฝาย อกศุ ล ไดแ ก อนันตรยิ กรรม ๕ สวนในฝายกุศล ไดแก สมาบัติ ๘ โดยถาครุกรรมน้ีมีอยูแลวยอม ใหผลกอนกรรมอืน่ ๆ ๑๐. พหุลกรรม กรรมชิน หรือเรียกวา อาจิณณกรรม หมายถึง กรรมที่ทํามาก หรือ ทําจนคุนชิน กรรมน้ีเปนอาเสวนปจจัย คือการสองเสพคุน (ทําจนชิน) เปนเหตุ ใหผลรองจาก ครุกรรม เมอ่ื ครกุ รรมไมม ี กรรมนีย้ อมใหผ ลกอ นกรรมอืน่ ๆ ๑๑. อาสันนกรรม กรรมเมอื่ จวนเจยี น หมายถึง กรรมท่ที าํ เมื่อใกลตายหรือเม่ือจวนจะ ตาย กรรมนี้แมจะออนกําลัง แตเพราะจับใจอยูใหมๆ ถาไมมีครุกรรมและพหุลกรรม ก็จะใหผล กอ นกรรมอน่ื ๑๒. กตัตตากรรม กรรมสักวาทํา หรือ กตัตตาวาปนกรรม หมายถึง กรรมท่ีทําไป ดวยเจตนาอันออน หรือมิใชมีเจตนาจะทําอยางน้ันโดยตรง เชน คนเดินเหยียบมดตายโดยไม ตั้งใจโดยผทู ําไมร ูวาเปน บญุ หรือเปนบาป ตอเมอื่ กรรมอืน่ ไมมี กรรมน้ีจงึ ถึงวาระใหผล เม่ือศึกษาเรื่องกรรม ๑๒ น้ีโดยละเอียด ยอมสามารถช้ีชัดไดวา คนบางคนทํากรรมช่ัว แตยังคงไดรับความสุขความเจริญอยู น่ันเปนเพราะกรรมดีท่ีเคยทํากําลังใหผลอยู หรือเพราะ กรรมชัว่ ทที่ ํานัน้ ยังไมไดช องใหผล (อปราปริยเวทนียกรรม) หรือเพราะกรรมดยี งั มีกาํ ลังมากกวา 134

 1๑3๓5๕ วชิ า ธรรมวภิ าค เตรสกะ หมวด ๑๓ ธุดงค ๑๓ หมวดที่ ๑ ปฏสิ ังยุตดว ยจวี ร (เกย่ี วกบั เครื่องนุงหม) ๑. ปง สุกลู กิ งั คะ ถอื ทรงผาบังสุกลุ เปน วตั ร ๒. เตจีวริกงั คะ ถือทรงเพียงไตรจีวรเปนวัตร หมวดท่ี ๒ ปฏิสงั ยุตดว ยบิณฑบาต (เกี่ยวกบั การฉันอาหาร) ๓. ปณ ฑปาตกิ งั คะ ถือเท่ยี วบิณฑบาตเปน วัตร ๔. สปทานจาริกังคะ ถือเที่ยวบณิ ฑบาตไปตามแถวเปนวัตร ๕. เอกาสนกิ งั คะ ถือนัง่ ฉัน ณ อาสนะเดยี วเปน วัตร ๖. ปต ตปณฑกิ ังคะ ถอื ฉนั เฉพาะในบาตรเปนวัตร ๗. ขลปุ จ ฉาภตั ตกิ ังคะ ถือหา มภัตอนั นาํ มาถวายเมือ่ ภายหลังเปน วัตร เน้อื ใน นกั ธรรม ช้นั โท เลม 2 135

1๑3๓6๖ คมู อื การศกึ ษานกั ธรรมชน้ั โท หมวด ๓ ปฏิสังยตุ ดวยเสนาสนะ (เกย่ี วกับท่อี ยอู าศัย) ๘. อารัญญิกงั คะ ถอื อยูปาเปนวัตร ๙. รุกขมลู กิ ังคะ ถอื อยูโคนไมเปนวัตร ๑๐. อัพโภกาสกิ ังคะ ถืออยใู นทแ่ี จงเปน วัตร ๑๑. โสสานกิ ังคะ ถืออยใู นปาชา เปนวัตร ๑๒. ยถาสันถติกงั คะ ถอื การอยูใ นเสนาสนะอนั ทา นจดั ใหอยางไร หมวดที่ ๔ ปฏิสงั ยตุ ดวยวริ ิยะ (เก่ยี วกับความเพยี ร) ๑๓. เนสัชชิกังคะ ถอื การนงั่ เปนวัตร ธุดงค แปลวา องคคุณกําจัดกิเลส หมายถึง องคคุณเครื่องสลัดหรือกําจัดกิเลส หรือ คุณสมบัติของผูประพฤติกําจัดกิเลส จัดเปนขอปฏิบัติประเภทวัตร เพ่ือเปนอุบายขัดเกลากิเลส ชวยสงเสริมความมักนอ ยและสนั โดษ มี ๑๓ ขอ ๔ หมวด ดงั น้ี หมวดที่ ๑ ปฏสิ ังยุตดว ยจีวร (เกีย่ วกับเครอ่ื งนุง หม) ๑. ปงสุกูลิกังคะ ถือทรงผาบังสุกุลเปนวัตร หมายถึง ขอวัตรของภิกษุผูไมรับคฤหบดี จวี ร คอื ผา ทีช่ าวบา นญาตโิ ยมจดั มาถวาย เท่ียวแสวงหาเฉพาะผาบังสุกุลคือผาเปอนฝุนที่เขาทอดทิ้ง ไมมเี จา ของตามปาดงหรอื ปา ชา เปนตน เอามาทาํ จีวรใช ๒. เตจีวริกังคะ ถือทรงเพียงไตรจีวรเปนวัตร หมายถึง ขอวัตรขอภิกษุผูไมใชจีวรผืนที่ ๔ นงุ หม เฉพาะไตรจวี รที่เปน ผานุง ผา หม และสงั ฆาฏิ เทานน้ั หมวดที่ ๒ ปฏิสงั ยุตดว ยบิณฑบาต (เกี่ยวกบั การฉันอาหาร) ๓. ปณ ฑปาตกิ ังคะ ถอื เทย่ี วบณิ ฑบาตเปน วัตร หมายถึง ขอวัตรของภิกษุผูไมรับอาหาร หรอื ปจจยั อ่นื ทเี่ ขานํามาถวาย ฉันเฉพาะอาหารท่ีเทยี่ วบิณฑบาตไดมา ๔. สปทานจาริกังคะ ถอื เที่ยวบิณฑบาตไปตามแถวเปน วัตร หมายถึง ขอวัตรของภิกษุผู ประพฤติวัตรเหมือนภิกษุผูถือปณฑปาติกังคะ แตเครงครัดกวา คือรับบิณฑบาตตามแถวเดียว ขางขวามือหรอื ซายมือ ไมรบั ขา มแถวหรอื ไมรบั ขา มรายในแถวเดียวกนั ๕. เอกาสนิกังคะ ถือนั่งฉัน ณ อาสนะเดียวเปนวัตร หมายถึง ขอวัตรของภิกษุผูถือน่ัง ฉนั ทแ่ี หง เดียว ลกุ จากทีแ่ ลว ไมฉ นั อาหารอีกในวนั น้ัน เน้อื ใน นกั ธรรม ช้นั โท เลม 2 136

 1๑3๓7๗ วชิ า ธรรมวิภาค ๖. ปตตปณฑิกังคะ ถือฉันเฉพาะในบาตรเปนวัตร หมายถึง ขอวัตรของภิกษุผูไมใช บาตรหรือภาชนะรองของฉันต้ังแต ๒ ใบขนึ้ ไป ฉนั เฉพาะของในบาตรเทา นน้ั ๗. ขลุปจฉาภัตติกังคะ ถือหามภัตอันนํามาถวายเมื่อภายหลังเปนวัตร หมายถึง ขอวัตรของภิกษุผูเมื่อลงมือฉันแลว แมมีผูนําอาหาร มาถวายก็ไมรับ คือเมื่อไดปลงใจกําหนดอาหาร ที่เปนสวนของตน ซ่ึงเรียกวาหามภัต ดวยการลงมือฉันเปนตนแลว ไมรับอาหารที่เขานํามาถวายอีก แมจะเปนของประณตี หมวด ๓ ปฏสิ ังยุตดวยเสนาสนะ (เกย่ี วกบั ท่อี ยูอาศัย) ๘. อารัญญิกังคะ ถืออยูปาเปนวัตร หมายถึง ขอวัตรของภิกษุผูไมอยูแรมคืนในบาน อยแู รมคนื เฉพาะในปาทหี่ า งบา นคนอยางนอย ๕๐๐ ชว่ั ธนู คือ ๒๕ เสน ๙. รุกขมูลิกังคะ ถืออยูโคนไมเปนวัตร หมายถึง ขอวัตรของภิกษุผูไมทํากุฏิอยู อยเู ฉพาะโคนไม ๑๐. อัพโภกาสิกังคะ ถืออยูในที่แจงเปนวัตร หมายถึง ขอวัตรของภิกษุผูไมทํากุฏิอยูและ ไมอ ยทู โ่ี คนไม อยูเฉพาะในท่ีโลง แจง (เทยี่ วหลบแดดอยูตามเงาแหงภเู ขาและชายไมเปนตน) ๑๑. โสสานิกังคะ ถืออยูปาชาเปนวัตร หมายถึง ขอวัตรของภิกษุผูอยูแรมคืนเฉพาะ ในปาชา ๑๒. ยถาสันถติกังคะ ถือการอยูในเสนาสนะอันทานจัดใหอยางไร หมายถึง ขอวัตรของ ภิกษุผูไมทําความอาลัยในเสนาสนะที่อยูอันเปนที่สะดวกสบายหรือถูกใจ ไดเสนาสนะท่ีภิกษุผู ทําหนาทีจ่ ดั แจกเสนาสนะจดั แจกใหอยางไร จะถูกใจหรือไมถูกใจก็ตาม ก็ยินดอี ยอู ยา นั้น หมวดท่ี ๔ ปฏสิ ังยตุ ดว ยวิริยะ (เก่ยี วกับความเพียร) ๑๓. เนสัชชิกังคะ ถือการน่ังเปนวัตร หมายถึง ขอวัตรของภิกษุผูไมยอมเอนหลังลงนอน แตผลดั เปล่ยี นอิรยิ าบถในชวี ติ ประจําวนั อยูเพยี ง ๓ อริ ิยาบถ คอื นัง่ ยนื หรือเดินเทา นั้น ขอ สรุปเก่ียวกับธุดงค ๑๓ ๑. ธุดงค วาโดยยอ มี ๘ ขอเทาน้ัน คือ (๑) สีสังคะ องคหลัก ๓ ขอ คือเมื่อถือ สปทานจาริกังคะ ก็เทากับไดถือปณฑปาติกังคะดวย เม่ือถือเอกาสนิกังคะ ก็เทากับไดถือ ปตตปณฑปาติกังคะ และขลุปจฉาภัตติกังคะดวย เม่ือถืออัพโภกาสิกังคะ มีผลทําใหรุกขมูลิกังคะ และยถาสันถติกังคะหมดความจําเปนไป (๒) อสัมภินนังคะ องคเดี่ยวไมคาบเกี่ยวขออ่ืน ๕ ขอ คือ เน้อื ใน นกั ธรรม ช้นั โท เลม 2 137

1๑3๓๘8 คมู อื การศกึ ษานกั ธรรมชน้ั โท เน้อื ใน นกั ธรรม ช้นั โท เลม 2 อารัญญกิ งั คะ ปงสุกุลิกังคะ เตจวี รกิ งั คะ เนสัชชลิกังคะ และโสสานกิ งั คะ ๒. ธุดงค วาโดยนิสสัยคือท่ีอาศัย มี ๒ อยาง คือปจจยนิสิต อาศัยปจจัย ๑๒ ขอ และ วริ ิยนสิ ติ อาศัยความเพียร ๑ ขอ (เนสัชชิกังคะ) ๓. ธุดงค วา โดยบคุ คลผถู อื มดี ังนี้ (๑) ภกิ ษุ ถือไดครบท้งั ๑๓ ขอ (๒) ภกิ ษุณีถือได ๘ ขอ (คือขอ ๑ – ๒ – ๓ – ๔ -๕ – ๖, ๑๒ – ๑๓) (๓) สามเณรถือได ๑๒ ขอ (เวนขอ ๒ คือ เตจีวริกังคะ) (๔) สิกขมานาและสามเณรี ถือได ๗ ขอ (เหมือนภิกษุณี โดยลดขอ ๒ ที่ภิกษุณี ถือไดออก ๑ ขอ) (๕) อุบาสกอบุ าสกิ า ถอื ได ๒ ขอ (คอื ขอ ๕ และขอ ๖) ๔. ธุดงค วาโดยระดับการถือ แตละขอถือได ๓ ระดับ คือ (๑) ระดับอุกฤษฏ หรือ อยา งเครงครดั (๒) มัธยม หรืออยา งกลาง (๓) อยางออ น หรืออยา งเพลา ๕. ธุดงค ๑๓ ขอ ๙ รุกขมูลิกังคะ และขอ ๑๐ อัพโภกาสิกังคะ ถือไดเฉพาะนอกพรรษา เพราะพระวินยั กาํ หนดใหภิกษุตองถือเสนาสนะในพรรษา ๖. ธุดงค ไมใชบทบัญญัติทางพระวินัย ข้ึนอยูกับความสมัครใจของภิกษุ โดยมีหลัก ทั่วไปในการถือวา ถาถือแลวชวยใหกัมมัฏฐานเจริญ หรือชวยใหกุศลธรรมเจริญ อกุศลธรรมเสื่อม ควรถอื แตถ าถือแลวทาํ ใหกัมมฏั ฐานเสอื่ ม หรอื ทาํ ใหก ุศลธรรมเส่อื ม อกุศลธรรมเจริญ ไมค วรถือ 138

 1๑3๓9๙ วชิ า ธรรมวภิ าค ปณณรสกะ หมวด ๑๕ จรณะ ๑๕ ๑. สีลสมั ปทา หมวดท่ี ๑ ถึงพรอ มดว ยศีล ๒. อินทรยิ สงั วร สํารวมอินทรยี  ๓. โภชเนมัตตัญุตา รูค วามพอดใี นการกนิ อาหาร ๔. ชาคริยานุโยค ประกอบความเพียรของผูต่ืนอยู หมวดท่ี ๒ (สัทธรรม ๗) ๕. สัทธา ความเชือ่ ๖. หริ ิ ความละอายแกใ จ ๗. โอตตปั ปะ ความเกรงกลวั ผิด ๘. พาหุสจั จะ ความเปนผูไดฟ ง มามาก ๙. วิรยิ ะ ความเพียร ๑๐. สติ ความระลึกได ๑๑. ปญ ญา ความรอบรู เน้อื ใน นกั ธรรม ช้นั โท เลม 2 139

1๑4๔0๐ คมู อื การศกึ ษานกั ธรรมชนั้ โท ๑๒. ปฐมฌาน หมวดท่ี ๓ (รปู ฌาน ๔) ฌานทีห่ น่ึง ๑๓. ทตุ ยิ ฌาน ฌานทส่ี อง ๑๔. ตตยิ ฌาน ฌานท่ีสาม ๑๕. จตตุ ถฌาน ฌานทีส่ ่ี จรณะ แปลวา ความประพฤติ ในที่นี้หมายถึง ปฏิปทา หรือขอปฏิบัติอันเปนเคร่ือง ดําเนนิ ใหบ รรลุถึงวิชชาหรือพระนพิ พาน จาํ แนกเปน ๑๕ ประการ โดยจัดเปน ๓ หมวด ดังนี้ ๑. สีลสมั ปทา ถึงพรอ มดวยศลี หมายถึง ความสํารวมในศีลคือพระปาติโมกข เวนขอ ท่พี ระพุทธเจา ทรงหาม ทาํ ตามขอ ท่ที รงอนญุ าต มีมารยาทเรียบรอย ประพฤติเครงครัดสมาทาน ศึกษาอยใู นสิกขาบททง้ั หลาย ๒. อินทริยสังวร สํารวมอินทรีย หมายถึง การระวังอินทรียท้ัง ๖ คือตา หู จมูก ล้ิน กาย และใจ ไมใ หค วามยนิ ดียนิ รา ยครอบงําไดใ นเมื่อตาเห็นรปู เปน ตน ๓. โภชเนมัตตัญุตา รูความพอดีในการกินอาหาร หมายถึง ความเปนผูรูจัก ประมาณในการบริโภค คือบริโภคอาหารแตพอสมควร ไมใหมากจนเกินไป หรือไมใหนอย จนเกินไป พิจารณาแลวจงึ บรโิ ภคอาหารโดยคาํ นึงถงึ ประโยชนอนั เกดิ จากอาหารนนั้ ๔. ชาคริยานุโยค ประกอบความเพียรของผูต่ืนอยู หมายถึง ความหม่ันประกอบ ความเพียรโดยไมเ ห็นแกหลบั นอนจนเกนิ ไป หมน่ั ทําจติ ใหปราศจากนวิ รณ ๕ อยปู ระจํา ๕. สัทธา ความเช่ือ หมายถึง ความเช่ือในพระปญญาตรัสรูของพระพุทธเจา ความเชือ่ กรรมและผลของกรรม ความเชือ่ ที่ประกอบดวยปญ ญาพจิ ารณาตามเหตผุ ล ๖. หิริ ความละอายแกใจ หมายถึง ความละอายตอการประพฤติทุจริต ๗. โอตตัปปะ ความเกรงกลัวผิด หมายถึง ความสะดุงกลัวตอบาปทุจริต กลัวผล แหงบาปทุจริตเหมือนคนขลาดไมกลา เขา ใกลอ สรพิษ ๘. พาหุสจั จะ ความเปนผไู ดฟ ง มามาก หมายถึง ความเปน ผไู ดฟง ธรรมท่งี าม หรือไพเราะ ในเบื้องตน ทามกลาง และที่สุด ซ่ึงประกอบดวยอรรถและพยัญชนะประกาศพรหมจรรยบริสุทธ์ิ บรบิ ูรณส ิน้ เชิง ๙. วิรยิ ะ ความเพียร หมายถึง การปรารภความเพยี ร คอื เรงระดมเพียรละอกุศลธรรม และยังกุศลธรรมใหเกิด ใชก ําลงั บากบั่น ไมทอดธรุ ะในกุศลธรรม ๑๐. สติ ความระลึกได หมายถึง ความระลึกไดโดยชอบกอนทํา กอนพูด กอนคิด มีสติ รักษาตัว ระลกึ ถงึ กิจทท่ี ําและคําพูดทีพ่ ูดแลวแมนานได ๑๑. ปญญา ความรอบรู หมายถึง ความรูชัดตามเปนจริง คืออริยปญญาที่รูความเกิด- ดบั แหงนามรปู ซ่ึงสามารถชําแรกกเิ ลสทําใหส ้ินทุกขไ ด ๑๒-๑๕, วา ดว ยฌาน ๔ พึงดอู ธบิ ายใน ฌาน ๔ แหง จตกุ กะ เน้อื ใน นกั ธรรม ช้นั โท เลม 2 140

 1๑4๔1๑ วชิ า ธรรมวภิ าค ¢ÍŒ Êͺ¸ÃÃÁʹÒÁËÅǧ ËÅÑ¡Êμ٠ù¡Ñ ¸ÃÃÁª¹éÑ â· ÇÔªÒ¸ÃÃÁ : ¸ÃÃÁÇÀÔ Ò¤ »ÃÔà©··èÕ ò »‚ ¾.È. òõõö - òõõø เน้อื ใน นกั ธรรม ช้นั โท เลม 2 141

1๑4๔๔2 คมู อื การศกึ ษานกั ธรรมชน้ั โท เน้อื ใน นกั ธรรม ช้นั โท เลม 2 »Þ˜ ËÒáÅÐà©ÅÂÇÔªÒ¸ÃÃÁ ¹¡Ñ ¸ÃÃÁª¹éÑ â· Êͺã¹Ê¹ÒÁËÅǧ ÇѹàÊÒÏ ·èÕ òø ¾ÄȨ¡Ô Ò¹ ¾.È. òõõø ๑. สมถกรรมฐาน และวปิ สั สนากรรมฐาน ม่งุ ผลแหง่ การปฏบิ ตั อิ ยา่ งไร ? เฉลย สมถกรรมฐานมงุ่ ผลคือความสงบใจ สว่ นวปิ สั สนากรรมฐานมงุ่ ผลคือความเรอื ง ปญั ญา ฯ ๒. ปาพจน์ ๒ คอื ธรรมและวนิ ยั นันทราบแลว้ อยากทราบว่าความปฏบิ ตั อิ ยา่ งไรจดั เป็นธรรม ความปฏบิ ตั อิ ยา่ งไรจดั เป็นวนิ ัย ? เฉลย ความปฏิบตั ิเป็นทางนาํ ความประพฤติและอธั ยาศยั ใหป้ ระณีตขนึ จดั เป็นธรรม ความปฏิบตั ิเนืองดว้ ยระเบียบอนั ทรงตงั ไวด้ ว้ ยพุทธอาณา เป็นสิกขาบทหรือ อภสิ มาจาร เป็นทางนาํ ความประพฤติใหส้ มาํ เสมอกนั หรอื เป็นเครอื งบรหิ ารคณะ จดั เป็นวนิ ยั ฯ ๓. โลกตั ถจรยิ า ทพี ระพทุ ธองคท์ รงประพฤตเิ ป็นประโยชน์แกโ่ ลกนนั มอี ธบิ ายอยา่ งไร ? เฉลย มอี ธบิ ายวา่ ทรงประพฤตเิ ป็นประโยชนแ์ ก่มหาชนทนี บั ว่าสตั วโลกทวั ไป เช่น ทรงแผ่ พระญาณตรวจดูสตั วโลกทุกเชา้ คาํ ผูใ้ ดปรากฏในข่ายพระญาณ เสดจ็ ไปโปรดผูน้ นั สรุปคอื ทรงสงเคราะหค์ นทงั หลายโดยฐานเป็นเพอื นมนุษยด์ ว้ ยกนั ฯ ๔. วเิ วก ๓ คอื อะไรบา้ ง ? จงอธบิ ายแตล่ ะอย่างพอเขา้ ใจ เฉลย คือกายวเิ วก สงดั กาย ไดแ้ ก่อยู่ในทสี งดั จิตตวิเวก สงดั จิต ไดแ้ ก่ทาํ จิตใหส้ งบ ดว้ ยสมถภาวนา อปุ ธวิ เิ วก สงดั กเิ ลส ไดแ้ ก่ทาํ ใจใหบ้ รสิ ุทธจิ ากกเิ ลสดว้ ยวปิ สั สนา ภาวนา ฯ 142

 1๑4๔3๕ วชิ า ธรรมวิภาค ๕. ในสงั ขาร ๓ อะไรชือวา่ กายสงั ขารและวจสี งั ขาร ? เพราะเหตไุ รจงึ ไดช้ ืออยา่ งนัน ? เฉลย ลมอสั สาสะปสั สาสะ ไดช้ อื ว่ากายสงั ขาร เพราะปรนปรอื กายใหเ้ ป็นอยู่ วติ ก กบั วจิ าร ไดช้ อื วา่ วจสี งั ขาร เพราะตรแิ ลว้ ตรองแลว้ จงึ พดู ไมเ่ ช่นนนั วาจานนั จกั ไม่เป็น ภาษา ฯ ๖. อปสั เสนธรรมขอ้ ว่า “พจิ ารณาแลว้ บรรเทาของอย่างหนึง” ของอย่างหนึงนัน คอื อะไร ? เฉลย คอื อกศุ ลวติ กอนั สมั ปยุตดว้ ยกาม พยาบาท วหิ งิ สา ฯ ๗. อปุ าทาน คอื อะไร ? การถอื เราถอื เขาดว้ ยอาํ นาจมานะ จนเป็นเหตถุ อื พวก จดั เป็น อปุ าทานอะไร ในอปุ าทาน ๔ ? เฉลย คอื การถอื มนั ขา้ งเลว ไดแ้ ก่ถอื รนั ฯ จดั เป็นอตั ตวาทปุ าทาน ฯ ๘. ธรรมมจั ฉรยิ ะ ความตระหนีธรรม มอี ธิบายอยา่ งไร ? เฉลย มอี ธบิ ายวา่ ความหวงธรรม หวงศิลปวทิ ยา ไมป่ รารถนาจะแสดงจะบอกแก่คนอนื เกรงวา่ เขาจะรูเ้ทยี มตน ฯ ๙. ชิวหาวญิ ญาณ และกายวญิ ญาณ เกดิ ขนึ ไดเ้ พราะอาศยั อะไรบา้ ง ? เฉลย ชวิ หาวญิ ญาณเกดิ ขนึ เพราะอาศยั ลนิ กบั รส (กระทบกนั ) และกายวญิ ญาณเกดิ ขนึ เพราะอาศยั กายกบั โผฏฐพั พะ (กระทบกนั ) ฯ ๑๐. อปุ ฆาตกกรรม คอื กรรมตดั รอน ทาํ หนา้ ทอี ะไร ? เฉลย ทาํ หนา้ ทีตดั รอนผลแห่งชนกกรรมและอุปตั ถมั ภกกรรมใหข้ าดแลว้ เขา้ ใหผ้ ล แทนที (ชนกกรรมและอปุ ตั ถมั ภกกรรมนนั ) ฯ ขบดว้ ยทฏิ ฐิ (ทฏิ ฐยิ า สุปฏวิ ทิ ธา) ฯ เน้อื ใน นกั ธรรม ช้นั โท เลม 2 143

1๑4๔๔4 คมู อื การศกึ ษานกั ธรรมชน้ั โท เน้อื ใน นกั ธรรม ช้นั โท เลม 2 »Þ˜ ËÒáÅÐà©ÅÂÇÔªÒ¸ÃÃÁ ¹Ñ¡¸ÃÃÁªÑé¹â· Êͺã¹Ê¹ÒÁËÅǧ Ç¹Ñ ÍÒ·Ôμ ·Õè ù ¾ÄȨ¡Ô Ò¹ ¾.È. òõõ÷ 144

1๑4๔5๕  วิชา ธรรมวิภาค เน้อื ใน นกั ธรรม ช้นั โท เลม 2145

1๑4๔๔6 คูมอื การศกึ ษานกั ธรรมชน้ั โท เน้อื ใน นกั ธรรม ช้นั โท เลม 2 146

 14๑๔7๕ วชิ า ธรรมวภิ าค ๑๔๒ คูมอื การศกึ ษานกั ธรรมชนั้ โท ปญหาและเฉลยวิชาธรรม นกั ธรรมช้นั โท สอบในสนามหลวง วันพุธ ท่ี ๒๐ พฤศจิกายน พ.ศ.๒๕๕๖ ๑. ทฏิ ฐิ ทห่ี มายถึงความเห็นผิด ๒ อยา ง มีอะไรบาง ? ๑. มี ๑. สสั สตทฏิ ฐิ ความเหน็ วา่ เทยี ง ๒. อจุ เฉททฏิ ฐิ ความเหน็ ว่าขาดสญู ฯ ๒. กศุ ลวติ ก มีอะไรบาง ? สงเคราะหเ ขา ในมรรคมีองค ๘ ขอไหนได ? ๒. มี ๑. เนกขมั มวติ ก ความตรใิ นทางพรากจากกาม ๒. อพยาบาทวติ ก ความตรใิ นทางไมพ่ ยาบาท ๓. อวหิ งิ สาวติ ก ความตรใิ นทางไมเ่ บยี ดเบยี น ฯ สงเคราะหเ์ ขา้ ในขอ้ สมั มาสงั กปั ปะ ฯ ๓. การฆา สตั ว อยางไรเกิดทางกายทวาร อยางไรเกดิ ทางวจีทวาร ? ๓. ฆา่ ดว้ ยตนเองเกดิ ทางกายทวาร ใชใ้ หผ้ อู้ นื ฆา่ เกดิ ทางวจที วาร ฯ ๔. ญาณ ๓ ท่เี ปน ไปในทกุ ขสมุทยสจั มอี ธิบายอยางไร ? ๔. มอี ธบิ ายวา่ ๑. ปรชี าหยงั รวู้ ่า นีทกุ ขสมทุ ยั เป็นเหตุใหท้ กุ ขเ์ กดิ จรงิ จดั เป็นสจั ญาณ ๒. ปรชี าหยงั รวู้ า่ นีทกุ ขสมทุ ยั ควรละ จดั เป็นกจิ ญาณ ๓. ปรชี าหยงั รวู้ ่า นีทกุ ขสมทุ ยั ละไดแ้ ลว้ จดั เป็นกตญาณ ฯ เน้อื ใน นกั ธรรม ช้นั โท เลม 2 147

1๑4๔๖8  คูม อื การศกึ ษานกั ธรรมชน้ั โท ๑๔๓ วชิ า ธรรมวิภาค ๕. ในพระพุทธศาสนาพูดเร่ืองมารไวมาก อยากทราบวา คําวา มาร หมายถึงอะไร ? กเิ ลสไดช ือ่ วามาร เพราะเหตไุ ร ? ๕. หมายถงึ สงิ ทลี า้ งผลาญทาํ ลายความดี ชกั นําใหท้ าํ บาปกรรม ปิดกนั ไม่ใหท้ าํ ความดี จนถงึ ปิดกนั ไมใ่ หเ้ ขา้ ใจสรรพสงิ ตามความเป็นจรงิ ฯ เพราะผทู้ ตี กอยใู่ นอาํ นาจของกเิ ลสแลว้ ยอ่ มจะถกู ผกู มดั ไวบ้ า้ ง ถกู ทาํ ใหเ้ สยี คนบาง ฯ ๖. คําวา พระธรรม ในธรรมคุณบทวา “พระธรรมอันพระผูมีพระภาคเจาตรัสดีแลว” หมายถงึ อะไร ๖. หมายถงึ ปรยิ ตั ธิ รรม กบั ปฏเิ วธธรรม (หรอื โดยพสิ ดารไดแ้ ก่ สทั ธรรม ๑๐ คอื โลกุตรธรรม ๙ กบั ปรยิ ตั ธิ รรม ๑) ฯ ๗. ทกั ขณิ าวิสุทธิ มีอะไรบา ง ? อยา งไหนใหอานิสงสม ากที่สุด ? ๗. ทกั ขณิ าบางอยา่ ง บรสิ ทุ ธฝิ า่ ยทายก ไมบ่ รสิ ทุ ธฝิ า่ ยปฏคิ าหก ทกั ขณิ าบางอยา่ ง บรสิ ทุ ธฝิ า่ ยปฏคิ าหก ไมบ่ รสิ ทุ ธฝิ า่ ยทายก ทกั ขณิ าบางอยา่ ง ไมบ่ รสิ ทุ ธทิ งั ฝา่ ยทายก ทงั ฝา่ ยปฏคิ าหก ทกั ขณิ าบางอยา่ ง บรสิ ทุ ธทิ งั ฝา่ ยทายก ทงั ฝา่ ยปฏคิ าหก ฯ อยา่ งที ๔ คอื ทกั ขณิ าทบี รสิ ทุ ธทิ งั ฝา่ ยทายก ทงั ฝา่ ยปฏคิ าหก ฯ ๘. อนสุ ยั หมายถงึ กิเลสประเภทไหน ? ไดชื่อเชน นน้ั เพราะเหตไุ ร ? ๘. หมายถงึ กเิ ลสอยา่ งละเอยี ดทนี อนเนืองอยใู่ นสนั ดาน ฯ เพราะกเิ ลสชนดิ นี บางทไี มป่ รากฏ แตเ่ มอื มอี ารมณ์มายวั ยอ่ มเกดิ ขนึ ในทนั ใด ฯ ๙. พทุ ธคณุ ๒ กม็ ี พุทธคุณ ๓ กม็ ี พุทธคณุ ๙ กม็ ี จงแจกแจงแตละอยา งวา มีอะไรบาง ? ๙. พทุ ธคณุ ๒ คอื อตั ตสมบตั ิ และ ปรหติ ปฏบิ ตั ิ พทุ ธคณุ ๓ คอื พระปญั ญาคณุ พระวสิ ทุ ธคิ ณุ และพระกรณุ าคณุ พทุ ธคณุ ๙ คอื อรห,ํ สมฺมาสมฺพทุ ฺโธ, วชิ ฺชาจรณสมฺปนฺโน, สคุ โต, โลกวทิ ,ู อนุตฺตโร ปุรสิ ทมฺมสารถ,ิ สตฺถา เทวมนุสฺสานํ, พทุ ฺโธ, ภควา ฯ เน้อื ใน นกั ธรรม ช้นั โท เลม 2 148

 คูมอื การศกึ ษานกั ธรรมชนั้ โท 1๑4๔9๕ ๑๔๔ วชิ า ธรรมวิภาค ๑๐. ธุดงค คืออะไร ? มีกีห่ มวด ? หมวดไหนวาดว ยเรือ่ งอะไร ? ๑๐. คอื วตั ตจรยิ าพเิ ศษอยา่ งหนึง เป็นอบุ ายขดั เกลากเิ ลส และเป็นไปเพอื ความมกั น้อยสนั โดษ ฯ มี ๔ หมวด ฯ ดงั นี หมวดที ๑ วา่ ดว้ ยเรอื งจวี ร หมวดที ๒ วา่ ดว้ ยเรอื งบณิ ฑบาต หมวดที ๓ วา่ ดว้ ยเรอื งเสนาสนะ หมวดที ๔ ว่าดว้ ยเรอื งความเพยี ร ฯ เน้อื ใน นกั ธรรม ช้นั โท เลม 2 149

1๑5๔๖0 คูมอื การศกึ ษานกั ธรรมชน้ั โท เน้อื ใน นกั ธรรม ช้นั โท เลม 2 150


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook