Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore 1 ธรรมวิภาค (นักธรรมโท)_1-150 หน้า

1 ธรรมวิภาค (นักธรรมโท)_1-150 หน้า

Published by อาจูหนานภิกขุ, 2019-12-25 08:20:42

Description: 1 ธรรมวิภาค (นักธรรมโท)_1-150 หน้า

Search

Read the Text Version

 5๕1๑ วชิ า ธรรมวภิ าค ๑. เมตตา ความรัก หมายถึง ความรักท่ีเวนจากราคะ เปนความปรารถนาดีอยากให ผูอนื่ สตั วอ ื่นมีความสขุ ดว ยจติ อนั ไมตรี และคิดทาํ ประโยชนแกม นุษยและสตั วทัว่ หนา ๒. กรุณา ความสงสาร หมายถึง ความคิดชวยใหพนจากทุกขเมื่อเห็นผูอื่นตกทุกข เดอื ดรอน โดยใฝใจในอันจะปลดเปล้อื งบําบดั ความทกุ ขยากเดือดรอ นของปวงสตั ว ๓. มุทิตา ความพลอยยินดี หมายถึง ความพลอยมีใจแชมช่ืนเบิกบาน เม่ือผูอื่นอยูดี มีสขุ และเจรญิ งอกงามประสบความสําเรจ็ ย่งิ ขึ้นไป ตรงกันขา มกบั ความมีจิตริษยา ๔. อุเบกขา ความวางเฉย หมายถึง ความวางตนเปนกลางในเม่ือจะแผเมตตากรุณา ไปก็ไมบังควร เชน กรณีที่เห็นคนรายถูกตํารวจจับ หรือในเมื่อจะพลอยยินดีดวยสมบัติของอีก ฝา ยหนงึ่ ก็จะเปนเหตุกระทบกระเทือนความวบิ ตั ขิ องอกี ฝา ยหนึ่ง ภกิ ษหุ รือบคุ คลเมอ่ื จะเจริญคือแผคุณธรรมทั้ง ๔ ประการนี้ใหเปนอัปปมัญญา พึงเจริญ คือแผออกไปในมนุษย หรือสัตวท้ังหลายอยางมีจิตใจสมํ่าเสมอท่ัวกัน ไมมีประมาณ ไมจํากัด ขอบเขต ๑. สุกขฺ วปิ สฺสโก ผเู จริญวิปสสนาลวน ๒. เตวชิ โฺ ช ผไู ดวชิ ชาสาม ๓. ฉฬภิ โฺ ญ ผไู ดอภิญญาหก ๔. ปฏิสมฺภิทปปฺ ตโฺ ต ผถู งึ ปฏสิ ัมภิทา พระอรหันต หมายถึง ผูสําเร็จอรหัตตผลเปนพระอริยบุคคลช้ันสูงสุด ใน พระพุทธศาสนาคาํ วา อรหันต มคี วามหมาย ๕ ประการ คือ (๑) ผูไ กลจากกเิ ลสโดยสิ้นเชงิ (๒) ผูกาํ จดั ขาศกึ คอื กเิ ลสไดหมดสน้ิ (๓) ผูหกั กงกาํ แหง การเวยี นวา ยตายเกดิ ไดเด็ดขาด (๔) ผคู วรรับทักษิณาอยางยงิ่ (๕) ผูม พี ฤตกิ รรมอยา งโปรงใส คือไมม ที ี่ลับในการทําบาป เน้อื ใน นกั ธรรม ช้นั โท เลม 2 51

5๕2๒ คมู อื การศกึ ษานกั ธรรมชนั้ โท พระอรหันต เมื่อวาโดยประเภทคือตามอาการท่ีไดบรรลุอรหัตตผล ทานจําแนกเปน ประเภทตางๆ กัน ในที่นี้ สมเด็จพระมหาสมณเจา กรมพระยาวชิรญาณวโรรส ทรงจัดประเภท ของพระอรหันตต ามคุณวิเศษที่ไดบรรลไุ ด ๔ ประเภท คอื ๑. สกุ ขฺ วิปสสฺ โก ผเู จริญวิปส สนาลว น หมายถึง พระอริยบุคคลผูมิไดเจริญสมถะเพ่ือ บรรลุฌานสมาบัติมากอน แตบรรลุอรหัตตผลสําเร็จเปนพระอรหันตดวยการเจริญแตวิปสสนา ลวนๆ จึงไมทรงคุณวิเศษแตอยางใด พระอรหันตประเภทนี้เรียกทับศัพทในภาษาไทยวา สุกข- วิปสสกะ หรือเรียกอีกอยางหน่ึงวา วิปสสนายานิก หรือ สุทธวิปสสนายานิก ผูมีวิปสสนาลวนๆ เปน ญาน จัดเปน ปญญาวิมตุ ตบุคคล คือ ผหู ลุดพนดวยปญญา ๒. เตวิชฺโช ผูไดวิชชาสาม (เตวิชชะ) หมายถึง พระอริยบุคคลผูเจริญสมถะเปนบาท ฐานแลวเจริญวิปสสนาจนบรรลุอรหัตตผลสําเร็จเปนพระอรหันตพรอมดวยบรรลุคุณวิเศษคือ วชิ ชา ๓ อันไดแ ก ปุพเพนิวาสานสุ สตญิ าณ จุตปู ปาตญาณ และอาสวกั ขยญาณ ๓. ฉฬภิโฺ ญ ผไู ดอภิญญาหก (ฉฬภญิ ญะ) หมายถึง พระอรยิ บคุ คลผเู จริญสมถะเปน บาทฐานแลวเจริญวิปสสนาจนบรรลุอรหัตตผลสําเร็จเปนพระอรหันต พรอมดวยบรรลุคุณวิเศษ คอื อภญิ ญา ๖ อนั ไดแ ก อิทธิวิธี แสดงฤทธ์ิได ทิพพโสต มีหูทิพย เจโตปริยญาณ รูจักกําหนดใจ ผอู ืน่ ได และวชิ ชา ๓ ดงั กลา ว ๔. ปฏิสมฺภิทปฺปตฺโต ผูถึงปฏิสัมภิทา (ปฏิสัมภิทัปปตตะ) หมายถึง พระอริยบุคคล ผเู จริญสมถะเปนบาทฐานแลว เจริญวิปสสนาจนบรรลอุ รหตั ตผลสําเร็จเปนพระอรหันตพรอมดวย คณุ วิเศษคอื ปฏิสมั ภทิ า ๔ พระอรหันตทั้ง ๔ ประเภทน้ี เรียกอีกอยางหนึ่งวา สมถยานิก ผูมีสมถะเปนยาน คือ ทานผูเจริญสมถะจนไดฌานสมาบัติแลวจึงเจริญวิปสสนาตอจนไดสําเร็จเปนพระอรหันต และ จัดเปน อุภโตภาควิมุตตบุคคล คือผูหลุดพนท้ังสองสวน หมายถึง ไดท้ังเจโตวิมุตติข้ันอรูป สมาบัติกอ นแลว จึงไดป ญญาวมิ ตุ ติ ๑. พระโสดาบัน ผแู รกถงึ กระแสพระนพิ พาน ๒. พระสกทาคามี ผูกลับมาเกดิ อกี ชาติเดยี ว ๓. พระอนาคามี ผไู มก ลับมาเกดิ อีก ๔. พระอรหันต ผูไกลจากกเิ ลสโดยสน้ิ เชงิ เน้อื ใน นกั ธรรม ช้นั โท เลม 2 52

53 53 เน้อื ใน นกั ธรรม ช้นั โท เลม 2

5๕4๔ คูม อื การศกึ ษานกั ธรรมชนั้ โท ๑. จีวรสันโดษ ความสนั โดษดว ยจีวร ๒. ปณ ฑปาตสันโดษ ความสนั โดษดว ยบณิ ฑบาต ๓. เสนาสนสันโดษ ความสันโดษดวยเสนาสนะ ๔. ภาวนาปหานารามตา ความยนิ ดีในการเจรญิ กศุ ลและละอกศุ ล อริยวงศ แปลวา วงศของพระอริยะ หมายถึง ปฏิปทาที่พระอริยบุคคลผูเปนสมณะ ทงั้ หลายปฏิบตั ิสืบกนั มาแตโ บราณไมขาดสาย หรือเรียกวา อรยิ ประเพณี จัดเปนหลักปฏิบัติของ พระภิกษุโดยเฉพาะ โดยมีแนวปฏิบัตดิ งั นี้ (๑) สันโดษดวยปจจัยใน ๓ ขอขางตน คือมีความยินดีพอใจดวยจีวร บิณฑบาต เสนาสนะหรอื ทอ่ี ยูอ าศยั ตามทไ่ี ด (ยถาลาภสันโดษ) ตามกําลัง (ยถาพลสันโดษ) และตามสมควร (ยถาสารปุ ปสันโดษ) (๒) มปี กตกิ ลาวสรรเสรญิ คณุ ของความสันโดษใน ๓ ขอ นนั้ (๓) ไมประกอบอเนสนา คือการแสวงหาที่ผิดเพราะปจจัยทงั้ ๓ อยา งนัน้ เปนเหตุ (เพียร แสวงหาแตโดยชอบธรรม ไมเ กยี จคราน) (๔) เม่อื ไมไ ด ก็ไมเรา รอ น (๕) เมื่อไดก็ใชโดยไมติด ไมหมกมุน ไมสยบ รูเทาทัน เห็นโทษ มีปญญาใชส่ิงของน้ัน ตามประโยชนตามความหมายของมัน คือมีและใชดวยสติสัมปชัญญะ ดํารงตนเปนอิสระ ไมตก เปน ทาสของส่ิงน้นั (๖) ไมถือเอาอาการท่ีไดป ระพฤตธิ รรม ๔ ขอ นน้ั เปนเหตยุ กตนขม ผอู น่ื กลาวโดยสรุป คือเปนผูขยันไมเกียจคราน มีสติสัมปชัญญะในอริยวงศขอนั้นๆ เฉพาะ อรยิ วงศขอ ๔ ทรงสอนไมใหสันโดษ สวนอริยวงศ ๓ ขอแรก ทรงสอนใหทําความเพียรแสวงหา ในขอบเขตทชี่ อบดวยพระธรรมวินยั และมีความสันโดษตามนยั ที่แสดงขางตน เน้อื ใน นกั ธรรม ช้นั โท เลม 2 54

 5๕5๕ วชิ า ธรรมวภิ าค ๑. อากาสานัญจายตนะ ความกําหนดอากาศไรท่สี ดุ ๒. วญิ ญาณัญจายตนะ ความกาํ หนดวญิ ญาณไรท ่สี ุด ๓. อากญิ จญั ญายตนะ ความกาํ หนดภาวะไมม ีอะไรเลย ๔. เนวสญั ญานาสญั ญายตนะ ความเขาถึงภาวะมีสัญญาก็ไมใช ไมมีสัญญาก็ ไมใ ช อรูป แปลวา ภาวะที่ไมใชรูป เปนชื่อของฌาน เรียกวา อรูปฌาน หมายถึง ฌานที่ กําหนดภาวะหรือสิ่งท่ีเปนนามธรรมเปนอารมณ หรือกัมมัฏฐานท่ีมีอรูปธรรม ๔ คือ อากาศ วิญญาณ ภาวะที่ไมมีอะไรๆ และภาวะท่ีกลาวไมไดวามีสัญญา หรือไมมีสัญญา เปนอารมณ มีความหมาย ดงั นี้ ๑. อากาสานัญจายตนะ ความกําหนดชองวางไรท่ีสุด หมายถึง ฌานท่ีเลิกเพงกสิณ ซง่ึ เรียกวา ลวงรปู สญั ญา (ภาวะจติ ที่กาํ หนดหมายรูปธรรมเปนอารมณ) แลวมากําหนดอากาศคือ ท่ีวาง หรือชองวางเปนอารมณโดยพิจารณาใหเห็นวาอากาศหาท่ีสุดมิไดหรือไรที่สุด ดวย มนสิการ (บรกิ รรมทําในใจ) วา “อนนโฺ ต อากาโส อากาศไมม ีทส่ี ดุ ” ๒. วิญญาณัญจายตนะ ความกําหนดวิญญาณไรท สี่ ดุ หมายถึง ฌานที่เลิกเพงอากาศ หรือท่ีวางน้ันแลวมากําหนดเพงดูวิญญาณจิตท่ีแผไปสูที่วางเปนอารมณโดยพิจารณาใหเห็นวา วญิ ญาณหาที่สุดมไิ ดหรอื ไรทส่ี ุด ดวยมนสกิ ารวา “อนนฺตํ วิญฺ าณํ วิญญาณไมมีที่สุด” ๓. อากิญจัญญายตนะ ความกําหนดภาวะไมมีอะไรเลย หมายถึง ฌานที่เลิกกําหนด เพงดูวิญญาณจิตที่แผไปสูท่ีวางนั้นแลวมากําหนดภาวะท่ีมีอยูแหงวิญญาณเปนอารมณโดย พิจารณาใหเ หน็ วา สักหนอยหนง่ึ นิดหน่งึ กไ็ มมี ดว ยมนสกิ ารวา “นตฺถิ กิฺจิ ไมม ีอะไรๆ” ๔. เนวสัญญานาสัญญายตนะ ความเขาถึงภาวะมีสัญญาก็ไมใชไมมีสัญญาก็ไมใช หมายถึง ฌานที่เลิกกําหนดภาวะท่ีไมมีแหงวิญญาณนั้นแลวเขาถึงภาวะท่ีมีสัญญา (ภาวะที่จิต กําหนดไดหมายรู คอื รูสึกตัว) ก็ไมใ ช ไมม สี ญั ญาก็ไมใช ทลี่ ะเอียดประณตี กวาอรปู ฌานที่ ๓ นั้น อรูป ๔ นีจ้ ัดเปน โลกิยะ เปน ช่อื ของภพหนึ่ง คือ อรูปภพ หมายถึง วาผูบําเพ็ญสมาธิจิต เน้อื ใน นกั ธรรม ช้นั โท เลม 2 55

5๕6๖ คูม อื การศกึ ษานกั ธรรมชน้ั โท เน้อื ใน นกั ธรรม ช้นั โท เลม 2 จนไดรูปฌาน ๔ อันเปนโลกิยะ เมื่อจุติจากอัตภาพน้ัน (ตายจากมนุษยโลก) แลวยอมไปเกิดใน อรปู ภพ หรืออรูปพรหม คือภพของพรหมที่ไมม รี ูปปรากฏ ๔ ชนั้ อวิชชา แปลวา ความไมรูแจง ความไมรูจริง หมายถึง ความไมรูในสิ่งอันเปนรากฐาน ของกเิ ลสทง้ั ปวง ในท่ีน้ี ทา นจําแนกไว ๔ ประการ คือ ๑. ไมรูในทุกข (ทุกฺเข อฺญาณํ) ไดแก ความไมรูวาอะไรเปนตัวทุกข คือไมรูวา ขนั ธ ๕ อันไดแก รปู เวทนา สญั ญา สงั ขาร วิญญาณ เปนทกุ ขเ พราะชาติ ชรา และมรณะ ๒. ไมร ูใ นทุกขสมุทัย (ทุกฺขสมุทเย อฺญาณํ) ไดแก ความไมรูในเหตุใหทุกขเกิด คือ ไมรูวาสาเหตุของทุกขนัน้ เกิดจากตณั หา ๓ อยาง อนั ไดแก กามตณั หา ภวตัณหา วภิ วตณั หา ท้ัง ไมรูว าตัณหา ๓ อยางนเ้ี ปน เหตุใหเ กดิ ทกุ ขไ ดอ ยางไร ๓. ไมร ใู นทกุ ขน ิโรธ (ทกุ ขฺ นโิ รเธ อฺญาณํ) ไดแ ก ความไมรูในความดับทุกข คือ ไมรู ภาวะของความดับทุกขว าเพราะตณั หาดับ ทุกขจึงดับ ๔. ไมรูในทุกขนิโรธคามินีปฏิปทา (ทุกฺขนิโรธคามินีปฏิปทาย อฺญาณํ) ไดแก ความไมรูในขอปฏิบัติใหถึงความดับทุกข คือไมรูทางท่ีใหถึงภาวะแหงความดับทุกขไดวาตอง ดําเนนิ ตามหลกั อริยมรรคมีองค ๘ 56

 5๕7๗ วชิ า ธรรมวิภาค ๑. กวฬงิ การาหาร อาหารคือคําขาว ๒. ผสั สาหาร อาหารคือผัสสะ ๓. มโนสัญเจตนาหาร อาหารคือมโนสัญเจตนา ๔. วิญญาณาหาร อาหารคือวิญญาณ อาหาร แปลวา สภาพที่นํามา ในท่ีนี้หมายถึง สภาพที่นํามาซึ่งผลโดยความเปนปจจัย ค้ําจุนรปู ธรรมและนามธรรม หรือเครื่องคํ้าจุนชีวิต ส่ิงใดๆ ก็ตามที่มีลักษณะเปนเหตุนํามาซึ่งผล ในทางธรรมเรียกวาอาหาร หรือกลาวใหชัดในที่น้ี อาหารก็คือเหตุปจจัย เพราะวาสภาวธรรม ทง้ั ปวงจะขาดเหตุปจจัยมไิ ด จําแนกเปน ๔ อยา ง คอื ๑. กวฬิงการาหาร อาหารคือคําขาว หมายถึง อาหารสามัญที่กลืนกินดูดซึมเขาไป หลอเล้ียงรางกายซึ่งคนท่ัวไปบริโภคกันอยูทุกวัน มีขาวสุกเปนตน อาหารชนิดนี้นําผลมาใหคือ บรรเทาความหิวเกาและปองกันความหิวใหม เมื่อกําหนดรูกวฬิงการาหารไดแลว ก็เปนอัน กําหนดรรู าคะทเี่ กดิ จากเบญจกามคุณไดด วย ๒. ผัสสาหาร อาหารคือผัสสะ หมายถึง การบรรจบกันแหงอาสตนะภายในกับ อายตนะภายนอก และวญิ ญาณซึ่งเปน ปจ จยั ใหเกิดเวทนา ถาผัสสาหารนั้นเปนอิฏฐารมณ ก็เปน เหตุใหเกิดสุขเวทนา ถาเปนอนิฏฐารมณ ก็เปนเหตุใหเกิดทุกขเวทนา เปนตน เมื่อกําหนดรู ผัสสาหารไดแลว ก็เปนอันกําหนดรูเ วทนา ๓ ไดดว ย ๓. มโนสญั เจตนาหาร อาหารคือมโนสัญเจตนา หมายถึง เจตนาคอื ความจงใจอันเปน ปจจัยแหงการทํา พูด คิด ซ่ึงเรียกวา กรรม เปนตัวชักนํามาซ่ึงภพ คือใหเกิดปฏิสนธิในภพ ทัง้ หลาย เมือ่ กาํ หนดรมู โนสญั เจตนาหารไดแ ลว กเ็ ปนอันกําหนดรูตณั หา ๓ ไดด ว ย ๔. วิญญาณาหาร อาหารคือวิญญาณ หมายถึง วิญญาณอันเปนปจจัยใหเกิดนามรูป หรอื ปฏสิ นธิวญิ ญาณ เม่ือกาํ หนดวิญญาณาหารไดแ ลวก็เปนอันกําหนดรนู ามรูปไดดวย เน้อื ใน นกั ธรรม ช้นั โท เลม 2 57

5๕8๘ คมู อื การศกึ ษานกั ธรรมชนั้ โท ๑. กามุปาทาน ถือมน่ั กาม ๒. ทฏิ ุปาทาน ถอื มัน่ ทิฏฐิ ๓. สีลัพพตุปาทาน ถอื มัน่ ศลี พรต ๔. อัตตวาทุปาทาน ถอื มั่นวาทะวา ตน อุปาทาน แปลวา ความถือม่ัน ความยึดม่ัน หมายถึง ความถือม่ันยึดม่ันในทางท่ีผิด ดวยอาํ นาจกิเลส หรือความยึดติดอันเน่ืองมาแตต ัณหาผกู พันเอาตัวตนเปนที่ต้งั มี ๔ อยา ง คือ ๑. กามุปาทาน ถือม่ันกาม หมายถึง ความยึดม่ันในกามคุณ ๕ คือรูป เสียง กลิ่น รส โผฏฐพั พะ ทนี่ า ปรารถนา พาใจใหกาํ หนัด หรือความยดึ มน่ั วตั ถกุ ามดว ยอาํ นาจกามตัณหาท่ีเปน เหตุใหถอื ตัวถือตน หมกมุนอยูวาน่ันของเรา จนเปนเหตุใหเกิดอิสสาคือความริษยา หรือหึงหวง และเปน เหตใุ หกระทาํ การตางๆ ในทางท่ผี ดิ ๒. ทิฏุปาทาน ถือมั่นทิฏฐิ หมายถึง ความยึดมั่นถือมั่นในทิฏฐิหรือทฤษฎี คือ ความคิดเห็น ลัทธิ ทัศนคติ หลักความเชื่อหรือหลักคําสอนตางๆ อยางเหนียวแนน เปนอาการ ของจิตท่ีมีความเห็นผิดดวยอํานาจความเปนคนหัวด้ือ ถือดี โดยไมยอมเชื่อถือความคิดเห็นที่ ถูกตอง ๓. สีลัพพตุปาทาน ถือม่ันศีลพรต หมายถึง ความยึดมั่นในศีลและพรต คือหลัก ความประพฤติ ขอปฏิบัติ แบบแผน ระเบียบวิธี ขนบธรรมเนียมประเพณี ลัทธิพิธีตางๆ ที่ถือวา จะตอ งเปน อยางนนั้ ๆ โดยสกั วา กระทาํ สืบๆ กนั มา หรือปฏิบตั ิตามๆ กนั ไปอยา งงมงาย หรือโดย นยิ มวาขลงั ศักดส์ิ ทิ ธิ์ มิไดเปนไปดว ยความรคู วามเขา ใจตามหลักความสัมพนั ธแ หงเหตุและผล ๔. อัตตวาทุปาทาน ถือมั่นวาทะวาตน หมายถึง ความยึดมั่นในวาทะวาตัวตน ความยึดติดในหลักการของคน คือความถือหรือสําคัญหมายอยูภายในวามีตัวตนที่จะได จะเปน จะสูญสลาย ถูกบีบค้ันทําลาย หรือเปนเจาของ เปนนายบังคับบัญชาส่ิงตางๆ ได ไมมองเห็น สภาวะของสง่ิ ทัง้ ปวงอันรวมทั้งตวั ตนวาเปนแตเพยี งสงิ่ ที่ประชุมประกอบกันเขา ไปตามเหตุปจจัย ทั้งหลายทีส่ มั พันธก ันลว นๆ เทา นน้ั เน้อื ใน นกั ธรรม ช้นั โท เลม 2 58

 5๕9๙ วชิ า ธรรมวิภาค ๑. กาโมฆะ โอฆะคือกาม ๒. ภโวฆะ โอฆะคอื ภพ ๓. ทฏิ โฐฆะ โอฆะคือทิฏฐิ ๔. อวิชโชฆะ โอฆะคืออวิชชา โอฆะ แปลวา หวงนํ้า ในที่น้ีเปนช่ือของกิเลส หมายถึง กิเลสดุจหวงน้ําท่ีหลากทวมใจ เหลา สตั วใ หจมอยูในวฏั ฏทุกข หรอื หวงวงั วนแหง กิเลส มี ๔ อยาง คือ ๑. กาโมฆะ หวงน้ําคือกาม หมายถึง ความพอใจยินดีในกามคุณ ๕ คือรูป เสียง กลิ่น รส โผฏฐัพพะ ท่นี า ปรารถนา พาใจใหกําหนดั ๒. ภโวฆะ หวงนํ้าคือภพ หมายถึง ความพอใจยินดีในรูปภพหรืออรูปภพ และ ความตดิ ใจในฌานทไ่ี ดบ รรลุ ๓. ทิฏโฐฆะ หวงน้ําคือทิฏฐิ หมายถึง ทิฏฐิ ๖๒ ประการ คือลัทธิที่แสดงความเห็น ปรารภขันธสวนอดตี ๑๘ และลัทธทิ แี่ สดงความเห็นปรารภขนั ธสว นอนาคตและปจจุบนั ๔๔ ๔. อวชิ โชฆะ หวงนาํ้ คอื อวชิ ชา หมายถึง ความไมร ใู นอรยิ สจั ๔ ดังกลา วแลว ในอวชิ ชา ๔ สภาพท้ัง ๔ อยาง คือ กาม ภพ ทิฏฐิ และ อวิชชา นอกจากจะเรียกวา โอฆะ ๔ แลว ยงั เรยี กวา โยคะ ๔ บาง หรอื เรียกวา อาสวะ ๔ บาง ซึง่ มีความหมายในการเรยี กแตละอยาง ดังน้ี ที่เรียกวา โอฆะ เพราะเปนดุจกระแสน้ําหลากทวมใจสัตว หรือกิเลสดุจนํ้าทวมพาผูตกไป ใหพินาศ ทาํ สตั วท ัง้ หลายใหห ลงติดอยู ประดุจหวงมหาสมุทรท่ีลึกหย่ังไมไดที่ไหลพัดเอาเหลาสัตว และสรรพสิง่ ตางๆ ใหห มุนเวียนรอบไปและหลงตดิ อยูฉ ะน้นั ทเ่ี รยี กวา โยคะ เพราะเปนกิเลสทที่ าํ หนาทป่ี ระกอบสัตวไ วในวฏั ฏทุกข คือทาํ ใหหลงติด อยใู นภพ ๓ จนไมส ามารถทีจ่ ะหลุดพน ไปจากวัฏฏทกุ ขไ ด ทีเ่ รียกวา อาสวะ เพราะเปน กิเลสเครอื่ งหมักหมมอยูในสันดานของสัตวทงั้ หลาย เน้อื ใน นกั ธรรม ช้นั โท เลม 2 59

6๖0๐ คูมอื การศกึ ษานกั ธรรมชน้ั โท ๑. ปรญิ ญา กําหนดรูทกุ ขสจั ๒. ปหานะ ละสมทุ ัยสัจ ๓. สจั ฉกิ รณะ ทําใหแจงนโิ รธสัจ ๔. ภาวนา ทาํ มัคคสัจใหเกดิ กิจในอรยิ สัจ ๔ หมายถงึ หนา ที่อนั จะพึงทําหรือปฏบิ ัตติ ออริยสจั ๔ หรอื ขอทจี่ ะตอ งปฏิบตั ิ ใหถกู ตองและเสรจ็ สิ้นในอรยิ สัจ ๔ จึงจะชื่อวาอริยสัจ หรือ เปนผูตรสั รแู ลว มี ๔ อยาง คือ ๑. ปริญญา กําหนดรูทุกขสัจ เรียกวา ปริญญากิจ เปนกิจในทุกขตามหลักที่วา ทุกข ควรกําหนดรู คือ การกําหนดรูวาส่ิงน้ี ส่ิงนั้นเปนทุกข ถึงส่ิงนั้นๆ ก็เปนทุกขเชนเดียวกัน อุปมา เหมือนกบั การจดุ ประทีปโคมไฟขึ้นฉะนั้น ๒. ปหานะ ละสมุทัยสัจ เรียกวา ปหานกิจ เปนกิจในทุกขสมุทัย เหตุเกิดทุกข ตามหลัก ท่ีวา ทุกขสมุทัยควรละ คือการละตัณหาที่เปนเหตุกอใหเกิดทุกข อุปมาเหมือนไสของประทีป โคมไฟท่ีถกู เผาไหมหมดสิ้นไปทลี ะนอยๆ ฉะนั้น ๓. สัจฉิกรณะ ทําใหแจงนิโรธสัจ เรียกวา สัจฉิกิริยากิจ เปนกิจในทุกขนิโรธ ความดับทุกขหรือภาวะนิพพาน ตามหลักท่ีวา ทุกขนิโรธ ควรทําใหแจง คือ การบรรลุถึงภาวะที่ดับ ทกุ ขไ ด อปุ มาเหมือนแสงสวางทไี่ ดหรือเกิดจากการจุดประทีปโคมไฟฉะน้นั ๔. ภาวนา ทํามัคคสัจใหเกิด เรียกวา ภาวนากิจ เปนกิจในมรรคหรือทุกขนิโรธคามินี ปฏิปทา ขอปฏิบัติใหถึงความดับทุกข ตามหลักที่วา ทุกขนิโรธคามินีปฏิปทาควรเจริญคือควร ฝกอบรมลงมอื ปฏิบัติ กระทําตามวิธีการท่ีจะนําไปสูจุดหมาย คือ อริยมรรคมีองค ๘ อันเปนทางที่จะ ทําใหผูปฏิบัติลุถึงภาวะนิพพานซ่ึงเปนภาวะที่ทําใหทุกขท้ังปวงหมดเชื้อสิ้นไป โดยไมมีอะไรเหลือ อุปมาเหมือนเชื้อหรือน้าํ มันสําหรับประทีปโคมไฟท่ถี ูกจดุ ถูกเผาไหมใ หเ หือดแหงไปฉะนนั้ ๑. ปฐมฌาน ฌานที่ ๑ ๒. ทุติยฌาน ฌานที่ ๒ ๓. ตติยฌาน ฌานท่ี ๓ ๔. จตตุ ถฌาน ฌานที่ ๔ เน้อื ใน นกั ธรรม ช้นั โท เลม 2 60

 6๖1๑ วชิ า ธรรมวิภาค ฌาน แปลวา การเพง หมายถึง ภาวะจิตท่ีเพงอารมณจนแนวแนและสามารถขมกิเลสคือ นิวรณ ๕ ไดตราบเทาท่ีฌานนั้นยังไมเสื่อมหรือยังไมออกจากฌาน กลาวคือฌานท่ีมีรูปธรรม เปนอารมณ โดยการนําสิ่งที่เปนรูปธรรมมาเพงเปนวัตถุจูงจิตใหเปนสมาธิขั้นอัปปนา จัดลําดับ เปน ๔ ขนั้ ตามความสงบประณตี แหงภาวะจติ คอื ๑. ปฐมฌาน ฌานที่ ๑ หมายถึง ภาวะจิตที่แนบแนนเปนอัปปนาสมาธิข้ันตน โดยมีองค ธรรมเปนเคร่ืองประกอบในขณะจิตเปนสมาธิ ซึ่งทําใหจิตมีพลานุภาพสามารถระงับกิเลสกามและ อกุศลธรรมได มีองคฌาน ๕ คอื ๑) วิตก ความตรึกอารมณ คือภาวะของจิตท่ีกําลังเกาะเก่ียวอารมณ หรือจิตแรกคิด อารมณ ๒) วจิ าร ความไตรตรองอารมณ หรอื ภาวะของจิตท่กี าํ ลังคดิ พิจารณาอารมณ ๓) ปต ิ ความอิ่มใจหรอื ซาบซา นในอารมณ ๔) สุข ความสุขใจในอารมณ และ ๕) เอกัคคตา ความมีจติ แนว แนมั่นอยูในอารมณเดียว (หรือเรียกวา สมาธิจติ ) การที่จะบรรลุปฐมฌานน้ีไดก็ตอเม่ือพระโยคาวจร หรือผูบําเพ็ญเพียรฝกฝนปฏิบัติจนจิต สงบเขาสูภาวะมีสมาธิอยางแนวแนเปนอัปปนาวิถีท่ีตัดความรูสึกทางประสาทสัมผัสทั้ง ๕ คือตา หู จมูก ล้ิน กายได และเมื่อจิตบรรลุถึงปฐมฌาน ก็จะเปนจิตท่ีมีประสิทธิภาพเพราะมีองคธรรม หรือ องคฌ าน ๕ ดังกลา ว ที่สามารถระงับดับกิเลสที่เปนปฏิปกษท่ีเรียกวา นิวรณ คือ กิเลสท่ีกันจิตไมให บรรลุคณุ ความดี ๒. ทุติยฌาน ฌานที่ ๒ หมายถึง ภาวะจิตท่ีแนบแนนเปนสมาธิขั้นที่ ๒ ตอจาก ปฐมฌาน โดยจะเกิดข้ึนไดตอเม่ือพระโยคาวจรมี วสี คือความชํานาญในการนึก การเขา การรักษา การออก และการพิจารณาองคฌานแหงปฐมฌานน้ันดีแลว จึงเจริญสมาธิขั้นตอไป ก็จะไดบรรลุทุติยฌาน เม่ือบรรลุทุติยฌานน้ีท้ังวิตกและวิจารก็จะถูกละท้ิงไป จึงเหลืออยูแต องคฌ าน ๓ คอื ปติ สุข และ เอกคั คตา ๓. ตติยฌาน ฌานที่ ๓ หมายถึง ภาวะจิตที่แนบแนนเปนสมาธิข้ันที่ ๓ ตอจาก ทุติยฌาน โดยจะเกิดขึ้นไดตอเมื่อพระโยคาวจรมีวสีในทุติยฌานเหมือนกันท่ีมีวสีในปฐมฌาน แลวจงึ เจรญิ สมาธขิ ัน้ ตอ ไป ก็จะไดบรรลุตตยิ ฌาน เม่ือบรรลตุ ตยิ ฌานนี้ ปตกิ จ็ ะจางหายคลาดดับ ไป โดยภาวะจิตมีสติสัมปชัญญะมากมาแทนที่ ดังนั้น ตติยฌานจึงมีองคฌาน ๒ คือ สุข และ เอกัคคตา ๔. จตุตถฌาน ฌานที่ ๔ หมายถึง ภาวะจิตที่แนบแนนเปนสมาธิขั้นที่ ๔ ตอจาก ตติยฌาน โดยจะเกดิ ขึ้นไดต อเม่ือพระโยคาวจรมวี สีในตตยิ ฌาน แลวจึงเจรญิ สมาธิข้ันตอไป ก็จะ ไดบ รรลุจตตุ ถฌานอันเปน รปู ฌานขั้นสูงสุด เมื่อบรรลุจตตุ ถฌาน ภาวะจติ จะละเอียดประณีตมาก เน้อื ใน นกั ธรรม ช้นั โท เลม 2 61

6๖2๒ คูม อื การศกึ ษานกั ธรรมชนั้ โท เน้อื ใน นกั ธรรม ช้นั โท เลม 2 เพราะเปนข้ันท่ีระงับดับเวทนาคือสุขโสมนัส ทุกขโทมนัส หรือ เรียกวาภาวะจิตที่ปราศจากสุข หรือทุกข มีแตอุเบกขา คือความวางจิตเปนกลางในอารมณ และสติอันบริสุทธ์ิอยู ดังนั้น จตุตถฌาน จงึ มีองค ๒ คอื อเุ บกขา และ เอกัคคตา คําวา ทกั ขณิ า (หรือใชวา ทักษิณา) หมายถึง ของทําบุญ ดังนั้น คําวา ทักขิณาวิสุทธิ จึงหมายถงึ ความบรสิ ทุ ธแิ์ หง ทกั ขิณาคือของทาํ บุญ ทา นจาํ แนกไว ๔ ลักษณะ คือ ๑. ทักขิณาบางอยาง บริสุทธ์ิฝายทายก มิใชฝายปฏิคาหก หมายถึง อาการที่ ทายก คอื ผูใหท าน เปน ผถู ือศีล มีกัลยาธรรม เสาะแสวงหาของทําบุญท่ีเรียกวาทักขิณานั้นโดย ทางท่ชี อบทีค่ วร สวนปฏิคาหกคือผูร บั ทานเปนผทู ุศลี ๒. ทักขิณาบางอยาง บริสุทธิ์ฝายปฏิคาหก มิใชฝายทายก หมายถึง อาการท่ี ทายกนน้ั ไดส่ิงของมาเพื่อทักขิณาโดยทางมิจฉาชีพ ทั้งเปนผูทุศีล ท้ังเปนผูมีบาปธรรม แลวจึง บรจิ าคทักขณิ า สวนปฏิคาหกเปนผูมศี ีล มกี ลั ยาณธรรม ๓. ทกั ขิณาบางอยา ง ไมบริสุทธิ์ท้ังฝายทายก ท้ังฝายปฏิคาหก หมายถึง อาการท่ี ท้ังทายกท้ังปฏิคาหกเปนผูทุศีลเชนกัน เปนผูมีบาปธรรมเหมือนกัน ทักขิณาท่ีทายกบริจาคแก ปฏิคาหกน้นั จัดวา ไมบริสุทธ์ิทง้ั สองฝา ย ๔. ทักขิณาบางอยาง บริสุทธ์ิทั้งฝายทายก ทั้งฝายปฏิคาหก หมายถึง อาการท่ี ท้ังทายก ทง้ั ปฏคิ าหกเปน ผมู ีศีลเชนกนั เปน ผูมีกัลยาณธรรมเหมือนกัน ทักขิณาท่ีทายกบริจาค แกป ฏิคาหกน้ันจดั วา บริสุทธิ์ท้งั สองฝาย 62

 6๖3๓ วชิ า ธรรมวิภาค เน้อื ใน นกั ธรรม ช้นั โท เลม 2 ธรรมสมาทาน แปลวา การถือปฏิบัติธรรม หมายถึง ขอที่บุคคลยึดเอาเปนหลัก ความประพฤตปิ ฏิบัติ หลกั การที่ทาํ หรอื การทาํ กรรม มี ๔ ลกั ษณะ คอื ๑. ธรรมสมาทานบางอยาง ใหทุกขในปจจุบัน และมีทุกขเปนวิบากตอไป หมายถงึ การทํากรรมอยางใดอยา งหน่งึ ทีเ่ ปนอกุศล คือ เปนความช่ัว เปนทุจริต โดยท่ีมิไดตั้งใจ คือมิไดมีใจสมัครท่ีจะทําเลย กระทําไปโดยความจํายอม หรือความจําเปนบางอยาง ไดแก ขอปฏบิ ัตขิ องพวกอเจลก คอื พวกนักบวชชีเปลอื ยนอกพระพทุ ธศาสนาที่ประพฤตวิ ัตรทรมานตน ๒. ธรรมสมาทานบางอยาง ใหทุกขในปจจุบัน แตมีสุขเปนวิบากตอไป หมายถึง การทํากรรมอยางใดอยางหน่ึงที่เปนกุศล คือ เปนสุจริต เปนสัมมาชีพ โดยที่ไดต้ังใจไว คือ โดยความสมคั รใจท่จี ะทําใหได ไดร บั ทกุ ขคอื ความยากลําบากในขณะท่ีทํา ครั้นในลําดับตอมาจึง ไดรับผลแหงการกระทําเปนท่ีพึงพอใจ ไดแก การประพฤติพรหมจรรยของผูมีกิเลสแรงกลา ซ่ึงฝนใจพยายามประพฤติพรหมจรรยใหบริสุทธิ์บริบูรณหรือประพฤติกุศลกรรมบถดวย ความยากลําบาก ๓. ธรรมสมาทานบางอยาง ใหสุขในปจจุบัน แตมีทุกขเปนวิบากตอไป หมายถึง การทาํ กรรมทเ่ี ปน อกศุ ลดงั ที่กลา วแลวในขอ ๑ นั่นแหละ แตโดยที่ต้ังใจไว คือโดยความสมัครใจ ที่จะทําใหได ไดรับความสุข คือความสะดวกสบายและพอใจในเบื้องตน คร้ันแลววิบากของ อกุศลกรรมบถนั้นแหละอํานวยผลใหไดรับความทุกขโทมนัสเสียใจตอไป ไดแก การหลงมัวเมา หมกมุนอยใู นกามท้ังหลาย หรอื การประพฤตอิ กศุ ลกรรมบถดว ยความสนกุ สนานพอใจ ๔. ธรรมสมาทานบางอยาง ใหสุขใจปจจุบัน และมีสุขเปนวิบากตอไป หมายถึง การทํากรรมท่ีเปนกุศลอยางใดอยางหนึ่งโดยความสมัครใจที่จะทําใหได ไดรับความสุขคือ ความสะดวกสบายและพอใจในเบื้องตน ครั้นแลววิบากของกุศลกรรมน้ันนั่นแหละอํานวยผลให 63

6๖4๔ คูมอื การศกึ ษานกั ธรรมชนั้ โท เน้อื ใน นกั ธรรม ช้นั โท เลม 2 ไดรับความสุขเปนผลในเบ้ืองปลาย ไดแก การประพฤติพรหมจรรยในพระพุทธศาสนาของผูท่ี กิเลสมีกําลังนอย ซึ่งประพฤติพรหมจรรยดวยความพอใจแลวไดเสวยเนกขัมมสุข หรือ การประพฤตกิ ุศลกรรมบถดว ยความพอใจของบคุ คลทวั่ ไปแลว ไดเ สวยสขุ โสมนัสเปน ตน บริษัท แปลวา หมู หรือพวก หมายถึง ชุมนุม กลุมบุคคล ในท่ีนี้หมายเอาเฉพาะหมูแหง พุทธศาสนิกชน หรือชุมชนชาวพุทธ ท่ีประพฤติปฏิบัติตามหลักคําสอนในพระพุทธศาสนา ท่ีเรียกวา พุทธบริษัท ๔ คอื ๑. ภิกษุ หรือ ภิกษุบริษัท หมายถึง กลุมกุลบุตรท่ีสละชีวิตครองเรือนเขามาบวชเปน ภิกษุประพฤตพิ รหมจรรยมุงทําที่สุดแหงทุกขในพระพุทธศาสนา โดยปฏิบัติตามหลักไตรสิกขา คือ อธศิ ีล อธิจิต อธิปญ ญา กลาวในปจจุบัน ไดแก พระสงฆ ที่ประพฤติปฏิบัติตามหลักพระธรรมวินัย ถอื ศลี ๒๒๗ สิกขาบท (สามเณรผถู อื ศลี ๑๐ ก็อนุโลมเขาในภิกษบุ ริษทั ดว ย) ๒. ภิกษุณี หรือ ภิกษุณีบริษัท หมายถึง กลุมสตรีเพศ หรือกุลธิดาในสมัยพุทธกาล ท่ีมีศรัทธาเขามาบวชประพฤติพรหมจรรยในพระพุทธศาสนา ภิกษุณีมีสิกขาบทและ ขนบธรรมเนียมซ่ึงเรียกวาสาชีพทํานองเดียวกับภิกษุ แตถือสิกขาบทบางอยางตางจากภิกษุ รวมสิกขาบทที่ตองถือปฏิบัติอยางเครงครัดจํานวน ๓๑๑ สิกขาบท ในพิธีอุปสมบทภิกษุณีตอง ทําจากสงฆสองฝาย คืออุปสมบทจากภิกษุณีสงฆฝายหนึ่งกอนแลวจึงมารับการอุปสมบทจาก ภิกษุสงฆอีกฝายหนึ่ง ตอมาภิกษุณีสงฆไดสูญส้ินการสืบตอ จนในปจจุบันไมมีภิกษุณีสงฆ ในพระพทุ ธศาสนาฝายเถรวาทแลว ๓. อุบาสก หรือ อุบาสกบริษัท คําวา อุบาสก แปลวา ชายผูเขาถึงพระรัตนตรัย หมายถึง กลุมบุรุษเพศท่ีไดปฏิญาณตนขอเปนผูเขาถึงพระรัตนตรัย ยอมรับนับถือพระพุทธ พระธรรม และพระสงฆเปนสรณะท่ีพ่ึงที่ระลึกของตนตลอดชีวิต โดยสมาทานศึกษาปฏิบัติอยูใน ศลี ๕ หรอื ศลี ๘ อยา งเครงครัด ๔. อบุ าสิกา หรือ อุบาสกิ าบริษัท คําวา อุบาสิกา แปลวา หญิงผูเขาถึงพระรัตนตรัย 64

 6๖5๕ วชิ า ธรรมวภิ าค มีความหมายและคุณสมบัติเชนเดียวกับอุบาสก ตางแตเปนสตรีเพศเทาน้ัน (ในปจจุบัน มีสตรีท่ี นงุ ขาว หม ขาว ท่เี รียกวา แมช ี ก็อนุโลมเขา ในอุบาสิกาผถู อื ศลี ๘ โดยเครงครัด) พุทธบริษัท ๔ น้ี นับเปนบุคลากรทางพระพุทธศาสนาท่ีจะชวยกันดํารงรักษาสืบทอด หลักธรรมคําสอนของพระพทุ ธเจาใหคงอยูไดถึง ๕ พันป โดยมีหนาท่ีศึกษา ปฏิบัติ เผยแผ และ ปกปองพระสัทธรรม ยอลงเปนสองฝายคือ พุทธบริษัทฝายบรรพชิต ไดแก ภิกษุและภิกษุณี กบั พุทธบริษทั ฝา ยคฤหัสถ ไดแก อุบาสกและอบุ าสกิ า คําวา บริษัท ในที่น้ี หมายเอาหมู คณะ กลุมคน ที่ประชุม หรือชุมนุมชนทั่วๆ ไป ท่ีมี สถานะเดยี วกัน ซึ่งในสมยั พุทธกาล จาํ แนกไว ๔ ประเภท คือ ๑. กษัตริย หรือ ขัตติยบริษัท หมายถึง กลุมบุคคลชั้นสูง ซึ่งมีหนาท่ีปกครอง บา นเมอื ง ตางโดยเปนพระราชาพระมหากษัตริยบาง เปนพระบรมวงศานวุ งศบา ง ๒. พราหมณ หรือ พราหมณบริษัท หมายถึง กลุมบุคคลเจาลัทธิ ซึ่งพากันรวบรวม จารีตประเพณีเกาๆ เอาไวศึกษาเลาเรียนถายทอดในทางพธิ ีกรรมตางๆ ๓. คฤหบดี หรือ คหปติบริษัท หมายถึง กลุมคนท่ีอยูครองเรือนทั่วไป โดยความเปน ผูใหญในบานเมือง เปนผูม่ังค่ัง เปนเศรษฐี มีทรัพยสมบัติมาก ดําเนินชีวิตดวยอาชีพสวนตัวบาง ดวยการรวมหุน ตั้งเปน บรษิ ัทบาง หรอื เรียกวา กลุมพอ คาประชาชน ๔. สมณะ หรือ สมณบริษัท หมายถึง กลุมบุคคลผูสละบานเรือนออกบวชถือเพศเปน บรรพชิตไมติดท่ีอยูอาศัย ไมหมกมุนพัวพันอยูในวัตถุกาม มีหนาที่ศึกษาเลาเรียนในทาง พระศาสนา ประพฤติปฏิบัตธิ รรมมุง แสวงหาความสงบกายสบายใจอันแทจ ริง เน้อื ใน นกั ธรรม ช้นั โท เลม 2 65

6๖6๖ คมู อื การศกึ ษานกั ธรรมชน้ั โท ๑. อคุ ฆติตัญู ผูอ าจรูธ รรมพอทา นยกหวั ขอ ขนึ้ แสดง ๒. วปิ จติ ัญู ผอู าจรูธรรมตอเมอื่ ทา นอธิบายความแหง หวั ขอ น้นั ๓. เนยยะ ผพู อแนะนาํ ได ๔. ปทปรมะ ผูม บี ทเปน อยางยง่ิ บุคคล ๔ ในที่นี้ จัดตามความสามารถทางสติปญญาในการรับฟงพระธรรมเทศนา ซ่งึ จําแนกไวโ ดยอุปนิสยั และปฏภิ าณปญญาตามลาํ ดับกนั ไปเปน ๔ ประเภท คือ ๑. อุคฆติตัญู ผูอาจรูธรรมพอทานยกหัวขอขึ้นแสดง หมายถึง บุคคลผูมี ปฏิภาณปญญาไหวพริบดี พอทานผูแสดงธรรมยกเพียงหัวขอขึ้นแสดงเทาน้ัน ก็เขาใจสามารถ ตีความหมายของหัวขอ อรรถธรรมไดอยา งแจมแจง โดยฉับพลันทีเดียว เปรียบเหมือนบัวพนน้ําท่ีพอ ตองแสงอาทิตยก พ็ ลันเบงบานวันน้ี ๒. วิปจิตัญู ผูอาจรูธรรมตอเม่ือทานอธิบายความแหงหัวขอน้ัน หมายถึง บุคคลผูมปี ฏภิ าณปญ ญาปานกลาง หรือลดต่ําลงมาจากระดับอคุ ฆตติ ญั บู คุ คล ซงึ่ จะรูแจงเขา ใจ ธรรมไดก็ตอเม่ือทานผูแสดงอธิบายขยายความใหพิสดารออกไป เปรียบเหมือนบัวเสมอนํ้าที่รอ เบงบานในวนั พรุงนี้ ๓. เนยยะ ผูพอแนะนําได หมายถึง บุคคลผูท่ีพอจะช้ีแจงแนะนําใหเขาใจไดดวย วิธีการฝกฝนอบรมยิ่งขึ้นตอไป เชน พวกกัลยาณปุถุชนที่มีกัลยาณธรรม มีปญญาบารมีที่ได อบรมส่ังสอนไวโดยทั่วไป ซึ่งเปนผูไมด้ือรั้น ถือดี รับฟงโอวาทโดยเคารพ ทบทวนใชสติปญญา พนิ จิ พิจารณาในหัวขอธรรมท่ียังไมเขาใจแจมแจงจนเขาใจแจมแจง เปรียบเหมือนบัวจมน้ําท่ีจะ เบง บานในวนั มะรืนน้ี ๔. ปทปรมะ ผูมีบทเปนอยางยิ่ง หมายถึง บุคคลผูอับปญญา สอนใหรูไดแตเพียงตัวบท คอื พยัญชนะ หรอื ถอยคําเทานั้น ไมอาจเขาใจอรรถคือความหมาย ซ่ึงเปนไดแตผูสักวาฟงเฉยๆ เปรียบเหมอื นบวั มโี รคทไี่ มส ามารถเบงบานได ยอมเปน ภกั ษาแหง ปลาและเตา เน้อื ใน นกั ธรรม ช้นั โท เลม 2 66

 6๖7๗ วชิ า ธรรมวภิ าค ๑. ทกุ ขฺ า ปฏปิ ทา ทนธฺ าภิฺญา ปฏบิ ตั ลิ ําบาก ท้งั รไู ดช า ๒. ทุกฺขา ปฏิปทา ขปิ ปฺ าภิฺ า ปฏบิ ตั ลิ ําบาก แตร ไู ดเร็ว ๓. สขุ า ปฏปิ ทา ทนฺธาภิฺ า ปฏบิ ตั ิสะดวก แตรูไดช า ๔. สขุ า ปฏิปทา ขปิ ปฺ าภิ ฺ า ปฏิบตั สิ ะดวก ทั้งรูไดเรว็ ปฏิปทา แปลวา ทางเครื่องดําเนินถึงเฉพาะ หมายถึง ขอปฏิบัติ หรือแนวปฏิบัติ ในท่ีน้ี หมายถึง หลักปฏิบัติของภิกษุผูไดบรรลุธรรมพิเศษ คือโลกุตตรธรรมในพระพุทธศาสนา จาํ แนกเปน ๔ ลักษณะ คือ ๑. ทุกฺขา ปฏิปทา ทนฺธาภิฺญา ปฏิบัติลําบาก ท้ังรูไดชา หมายถึง แนวทางปฏิบัติ ของผูปฏบิ ตั ทิ มี่ ีราคะ โทสะ โมหะแรงกลา ตองเสวยทกุ ขโทมนสั อยเู นอื งๆ หรอื เจริญกัมมัฏฐานที่ มีอารมณไมนาช่ืนใจ เชน เจริญอสุภกัมมัฏฐานเปนตน อีกทั้งยังมีอินทรียธรรม ๕ ประการ คือ สัทธา วริ ิยะ สติ สมาธิ และปญ ญายงั ไมแกก ลา (นอย) จึงบรรลุ โลกุตตรธรรมลาชา ๒. ทุกฺขา ปฏิปทา ขิปฺปาภิ ฺญา ปฏิบัติลําบาก แตรูไดเร็ว หมายถึง แนวทางปฏิบัติ ของผปู ฏิบตั ิที่มีราคะ โทสะ โมหะแรงกลา ตองเสวยทุกขโทมนัสอยเู นื่องๆ หรือเจริญกัมมัฏฐานที่ มีอารมณไมนาช่ืนใจ เชน เจริญอสุภกัมมัฏฐานเปนตน แตมีอินทรียธรรมทั้ง ๕ ประการนั้นแก กลา จงึ บรรลโุ ลกตุ ตรธรรมไดเร็ว ๓. สุขา ปฏิปทา ทนธฺ าภิ ฺญา ปฏบิ ตั ิสะดวก แตรไู ดช า หมายถึง แนวทางปฏบิ ัตขิ อง ผปู ฏบิ ัติทมี่ รี าคะ โทสะ โมหะไมแ รงกลา ไมตอ งเสวยทกุ ขโทมนสั อยูเนืองนิตย หรอื เจรญิ สมาธไิ ด ฌาน ๔ อนั เปนสุขประณตี แตม อี นิ ทรียธรรมท้ัง ๕ ประการนั้นออนจึงบรรลุโลกุตตรธรรมลา ชา ๔. สุขา ปฏิปทา ขิปฺปาภิฺญา ปฏิบัติสะดวก ท้ังรูไดเร็ว หมายถึง แนวทางปฏิบัติ ของผูปฏิบัติท่ีมีราคะ โทสะ โมหะไมแรงกลา ไมตองเสวยทุกขโทมนัสอยูเนืองนิตย หรือ เจริญสมาธิไดฌาน ๔ อันเปนสุขประณีต อีกท้ังมีอินทรียธรรมทั้ง ๕ ประการน้ันแกกลา จึง บรรลโุ ลกุตตรธรรมเร็วไว เน้อื ใน นกั ธรรม ช้นั โท เลม 2 67

6๖8๘ คูมอื การศกึ ษานกั ธรรมชนั้ โท ๑. อตั ถปฏิสมั ภทิ า ปญ ญาอนั แตกฉานในอรรถ ๒. ธมั มปฏิสัมภทิ า ปญญาอนั แตกฉานในธรรม ๓. นริ ตุ ตปิ ฏสิ มั ภิทา ปญ ญาอันแตกฉานในนริ ตุ ติ ๔. ปฏภิ าณปฏสิ ัมภทิ า ปญญาอันแตกฉานในปฏภิ าณ ปฏิสัมภิทา แปลวา ความแตกฉาน หมายถึง ปญญาหรือความรูที่แตกฉานใน ๔ ประการ คืออรรถ ธรรม นริ ุตติ (นริ กุ ติ หรือภาษา) และปฏิภาณปญญา มอี ธบิ ายดงั นี้ ๑. อัตถปฏสิ มั ภิทา ปญ ญาอันแตกฉานในอรรถ หมายถึง ความรูที่สามารถกําหนด ลักษณะเฉพาะ และความหมายของผลประเภทตางๆ ไดแก ความรูชัดแจงในความหมายเห็น ขอธรรม หรือความยอ ก็สามารถอธิบายขยายออกไปไดโดยพิสดาร หรือเห็นเหตุก็สามารถ เชือ่ มโยงไปหาผลได ๒. ธัมมปฏิสัมภิทา ปญญาอันแตกฉานในธรรม หมายถึง ความรูท่ีสามารถกําหนด ลักษณะเฉพาะ และความหมายของเหตุประเภทตางๆ ไดแก ความรูแจงชัดในหลัก เห็นอรรถาธิบาย พสิ ดารก็สามารถจบั ใจความมาตั้งเปนอุทเทสหรอื หัวขอได หรอื เห็นผลก็สามารถสาวถงึ เหตไุ ด ๓. นิรุตติปฏิสัมภิทา ปญญาอันแตกฉานในนิรุตติ (หรือนิรุกติ) หมายถึง ความรูท่ี สามารถกําหนดลักษณะเฉพาะ และความหมายของโวหารแหงภาษาประเภทตางๆ ท่ีกลาวถึง อรรถและธรรมไดอยางแตกฉาน ไดแก ความรูแจงชัดในภาษาธรรม รูศัพทบัญญัติและภาษา ตางๆ สามารถใชค าํ พูดช้ีแจงอรรถและธรรมใหผูอื่นเขาใจและเหน็ ตามได ๔. ปฏิภาณปฏิสัมภิทา ปญญาอันแตกฉานในปฏิภาณ หมายถึง ความรูที่สามารถ กําหนดลักษณะเฉพาะและความหมายของปฏิภาณประเภทตางๆ คือรูแจงชัดในปฏิสัมภิทาท้ัง ๓ ขางตน หรือรูแจงชัดในความคิดทันการ มีไหวพริบซึมซับในความรูท่ีมีอยู โดยสามารถเอามา บรู ณาการเชือ่ มโยงเขาสรางความคิดเหตุผลขึ้นใหม และสามารถนําความรูที่มีอยูมาปรับใชประโยชน อยา งเหมาะสม ทง้ั เขา กบั กรณีเขากับเหตุการณ และทําใหผฟู งเขา ใจอยางถูกตองตามความเปน จริง เน้อื ใน นกั ธรรม ช้นั โท เลม 2 68

 6๖9๙ วชิ า ธรรมวิภาค ๑. กามาวจรภูมิ ชน้ั ทองเทย่ี วอยูใ นกาม ๒. รูปาวจรภูมิ ชัน้ ทอ งเท่ียวอยูในรปู ๓. อรูปาวจรภูมิ ชนั้ ทองเทีย่ งอยใู นอรูป ๔. โลกตุ ตรภมู ิ ชั้นพนจากโลก ภูมิ แปลวา ชั้น หรือพ้ืนเพ ในท่ีนี้หมายถึง ช้ันแหงจิต ระดับแหงจิต หรือระดับชีวิตอัน ประณตี ข้นึ ไปโดยลําดับ มี ๔ ชัน้ คือ ๑. กามาวจรภูมิ ชั้นทองเที่ยวอยูในกาม หมายถึง ระดับจิตใจที่ยังปรารภกาม เปน อารมณ คอื ยงั เก่ียวขอ งกบั กามคณุ เชน ระดบั จิตใจของมนุษยท่ัวไปที่ยังเสพกาม หรือระดับ จิตใจของสตั วในกามภพทง้ั ๑๑ ชัน้ (คอื อบาย ๔ มนุษย ๑ และเทวโลก ๖) ๒. รูปาวจรภูมิ ชั้นทองเท่ียวอยูในรูป หมายถึง ระดับจิตใจท่ีปรารภรูปธรรมเปน อารมณ ระดับจิตใจของทานผูไดฌานหรือผูอยูในรูปภพ (รูปพรหม) ๑๖ ช้ัน ซึ่งสามารถกาวลวง กเิ ลสกามและวัตถุกามเสยี ได แตย งั ปรารภคอื ตดิ ใจในรูปธรรมเปนอารมณอยู ๓. อรูปาวจรภูมิ ชั้นทองเท่ียวอยูในอรูป หมายถึง ระดับจิตใจท่ีปรารภอรูปธรรม เปนอารมณ ระดบั จิตใจของทานผไู ดอ รปู ฌานหรือผูอ ยใู นอรูปภพ (อรูปพรหม) ๔ ชั้น ซ่ึงสามารถ กา วลวงรปู ธรรมเสียได แตย งั ปรารภคือตดิ ใจในอรปู ธรรมเปนอารมณอยู ๔. โลกุตตรภูมิ ชั้นพนจากโลก หมายถึง ระดับจิตใจท่ีทําใหขามพนจากความเปน ปุถุชนกาวสูความเปนพระอริยบุคคล ไมมีการตกตํ่าอีกตอไป เปนช้ันแหงจิตและเจตสิกท่ีมี พระนพิ พานเปน อารมณ และสามารถละอกุศลธรรมไดอยางเดด็ ขาดเปนสมุจเฉทปหาน เน้อื ใน นกั ธรรม ช้นั โท เลม 2 69

7๗๐0 คูม อื การศกึ ษานกั ธรรมชนั้ โท เน้อื ใน นกั ธรรม ช้นั โท เลม 2 มรรค แปลวา ทาง ในทน่ี ี้หมายถึง ทางเขาถึงความเปนพระอริยบุคคล ไดแก ญาณ คือ ความรทู ี่เปนเหตุใหผูป ฏิบัตสิ ามารถละสังโยชน (กิเลสที่ผูกมัดใจสัตวใหติดอยูในภพ) ไดเด็ดขาด จําแนกเปน ๔ อยาง ตามลาํ ดับขัน้ ของการบรรลุทถี่ ือการละสงั โยชนไดเปนเกณฑ คือ ๑. โสดาปตติมรรค หมายถึง มรรคอันใหถึงกระแสที่นําไปสูพระนิพพานทีแรก หรือ มรรคอันใหถึงความเปนพระโสดาบัน เปนเหตุใหละสังโยชนได ๓ คือสักกายทิฏฐิ วิจิกิจฉา และ สลี พั พตปรามาส ๒. สกทาคามิมรรค หมายถึง มรรคอันใหถึงความเปนพระสกทาคามี เปนเหตุละ สังโยชนไ ด ๓ เหมอื นในโสดาปต ติมรรค แตส ามารถทาํ ราคะ โทสะ โมหะใหเบาบางลงมากกวา ๓. อนาคามิมรรค หมายถงึ มรรคอนั ใหถ งึ ความเปนพระอนาคามี เปนเหตุละสังโยชน เบ้อื งตํา่ ไดทั้ง ๕ คอื สกั กายทิฏฐิ วจิ กิ จิ ฉา สลี ัพพตปรามาส กามราคะ และปฏฆิ ะ ๔. อรหัตตมรรค หมายถึง มรรคอันใหถึงความเปนพระอรหันต เปนเหตุละสังโยชน ท้ังเบื้องต่ํา และเบื้องสงู ไดเด็ดขาดครบทั้ง ๑๐ อยาง คือ สักกายทิฏฐิ วิจิกิจฉา สีลัพพตปรามาส กามราคะ ปฏฆิ ะ รูปราคะ อรูปราคะ มานะ อุทธจั จะ และอวชิ ชา คําวา ผล โดยทั่วไป หมายถึง ส่ิงท่ีพึงไดรับ หรือ สิ่งท่ีเกิดแตเหตุ ในที่นี้เปนชื่อของ โลกุตตรธรรม ที่ใชคูกับมรรค หมายถึง ธรรมารมณอันเกิดสืบเนื่องจากการละกิเลสไดดวยมรรค หรือธรรมารมณอันพระอริยบุคคลพึงเสวยหรือไดรับ ท่ีเปนผลเกิดเองในเมื่อกิเลสสิ้นไปดวย 70

 7๗1๑ วชิ า ธรรมวภิ าค อํานาจมรรคนัน้ ๆ มชี ือ่ ตามมรรค เรยี กวา อรยิ ผล ๔ คือ ๑. โสดาปตตผิ ล หมายถงึ ผลแหงการเขาถึงกระแสทีน่ ําไปสูพระนิพพาน ผลคือความ เปนพระโสดาบนั หรอื ผลอันพระโสดาบนั พึงเสวยหรอื ไดร ับ ๒. สกทาคามิผล หมายถึง ผลคือความเปนพระสกทาคามี หรือผลอันพระสกทาคามี พึงเสวยหรือไดร ับ ๓. อนาคามิผล หมายถึง ผลคือความเปนพระอนาคามี หรือผลอันพระสกทาคามี พงึ เสวย หรอื ไดรับ ๔. อรหัตตผล หมายถึง ผลคือความเปนพระอรหันต หรือผลอันพระอรหันตพึงเสวย หรือไดรับ สมเด็จพระมหาสมณเจาฯ ทรงแสดงขออุปมาเปรียบเทียบมรรคกับผลใหเขาใจชัดไว ดังน้ี สังโยชนท่ีมรรคกําจัดเสียไดนั้นเปรียบเหมือนโรคในรางกาย มรรคเปรียบเหมือน ยารกั ษาโรคใหหาย ผลเปรยี บเหมอื นความสุขอนั เกิดแตค วามหมดโรค ๑. ชลาพุชะ เกดิ ในครรภ ๒. อณั ฑชะ เกดิ ในไข ๓. สงั เสทชะ เกดิ ในเถาไคล ๔. โอปปาติกะ เกิดผดุ ขึ้น โยนิ แปลวา กําเนิด หมายถึง ลักษณะการถือกําเนิดของสัตวท้ังหลาย จําแนกเปน ๔ ชนดิ คอื ๑. ชลาพุชะ เกิดในครรภ หมายถงึ การถือกําเนดิ ของสัตวจําพวกท่ีคลอดออกเปนตัว แลวดดู นม เชน มนษุ ยทั่วไป และสัตวดิรัจฉานบางเหลา เชน โค กระบือ สุนัข แมว เปนตน ๒. อัณฑชะ เกดิ ในไข หมายถึง การถือกาํ เนดิ ของสตั วด ิรัจฉานทเ่ี กดิ ในไขก อ นแลวจึง ฟก เปน ตัวในกาลตอ มา เชน ไก เปด นก จ้ิงจก จระเข ตุก แก มด กบ เตา ฯลฯ เน้อื ใน นกั ธรรม ช้นั โท เลม 2 71

7๗2๒ คมู อื การศกึ ษานกั ธรรมชน้ั โท เน้อื ใน นกั ธรรม ช้นั โท เลม 2 ๓. สังเสทชะ เกิดในเถาไคล หมายถึง การถือกําเนิดของสัตวดิรัจฉานบางจําพวกท่ี เกิดในของโสโครก โสมม สกปรก เชน หมหู นอน ยงุ และแมลงตางๆ เปน ตน ๔. โอปปาติกะ เกิดผุดข้ึน หมายถึง การถือกําเนิดของเหลาเทวดา สัตวนรก และ เปรตบางพวก ท่ีเกิดผุดเต็มตัวในทันใด โตใหญเปนผูรูเดียงสา ไมตองเปนทารกมากอน เม่ือถึง คราวจตุ ิ หรือตายก็หายวบั ไปเฉยๆ ไมท อดทง้ิ ซากหรอื เช้ือไวใหป รากฏ คําวา วรรณะ ในที่น้ีแปลวา ชนช้ัน หมายถึง ชนชั้นในสังคมอินเดียที่กําหนดดวยชาติ กาํ เนดิ ตามหลักศาสนาพราหมณที่ มี ๔ วรรณะ คือ ๑. วรรณะกษัตริย ไดแก พวกเจา นักรบ นักปกครอง กําหดใหมีหนาท่ีในการบริหาร ปกครองบา นเมือง ๒. วรรณะพราหมณ ไดแก พวกนักบวช ครูอาจารย นักคิด นักการศึกษา กําหนดให มหี นาทใ่ี นการประกอบพธิ กี รรมและส่งั สอนศิลปวทิ ยา ๓. วรรณะแพศย ไดแก พวกพลเรือน หรือพวกพอคา นักธุรกิจ ประชาชนทั่วไป กาํ หนดใหมหี นา ที่ในการคา ขาย หรือทําการเกษตรเพ่ือหารายไดเ ขารัฐ ๔. วรรณะศูทร ไดแก พวกคนงาน กรรมกร ลูกจาง กําหนดใหมีหนาที่ในการรับใช หรอื เปน ขาทาสของวรรณะทัง้ ๓ โดยไมใ หสิทธใิ นการศึกษาเลาเรยี นเพื่อพฒั นาตน ในบรรดาวรรณะท้ัง ๔ จําพวกนี้ วรรณะกษัตริยและพราหมณจัดวาเปนชนชาติท่ีสูง วรรณะแพทยจัดเปนชนช้ันกลาง วรรณะศูทรจัดเปนชนช้ันตํ่า เพราะตามหลักศาสนาพราหมณ เช่ือกันวา กษัตริยเกิดจากพระพาหาคือแขนของพระพรหม พราหมณเกิดจากพระโอษฐคือปาก ของพระพรหม แพศยเ กิดจากพระชงฆคอื ขาของพระพรหม และศูทรเกดิ จากพระบาทคือเทาของ พระพรหม 72

 7๗3๓ วชิ า ธรรมวภิ าค ๑. สีลวบิ ัติ วบิ ัติแหงศีล ๒. อาจารวบิ ัติ วิบัติแหงอาจาระ ๓. ทิฏฐวิ ิบตั ิ วิบัติแหง ทฏิ ฐิ ๔. อาชวี วิบตั ิ วิบตั ิแหง อาชีวะ วบิ ตั ิ แปลวา ความถึงไปปราศ หมายถึง ความผิดพลาด เสื่อมเสียหาย หรือความบกพรอง ทีเ่ กดิ ข้ึนเพราะความประพฤติเปน เหตุ จําแนกเปน ๔ ประการ คือ ๑. สีลวิบัติ วิบัติแหงศีล หมายถึง กิริยาอาการท่ีเสียศีล หรือความขาดแหงศีล คือ การไมรูจักสํารวมระวังความประพฤติทางกายและวาจา จนเปนเหตุใหลวงละเมิดศีลที่ตนตอง รกั ษา หรือเรียกวาเปน คนทุศีล สําหรับพระภิกษุ ไดแก การตองอาบัติปาราชิก ซึ่งขาดจากการ เปนพระภิกษุ หรือตองอาบัติสังฆาทิเลสโดยอนุโลม สําหรับคฤหัสถ ไดแก การมีพฤติกรรมลวง ละเมดิ ศลี ๕ อยเู ปนนติ ย ๒. อาจารวิบัติ วิบัติแหงอาจาระ หมายถึง กิริยาอาการที่เสียความประพฤติ หรือ มีจรรยามารยาทไมดี คือมีความประพฤติเสื่อมเสีย ไมรักษากิริยามารยาท ไมมีคุณสมบัติผูดี ไมท ําตนใหอ ยูในกรอบแบบอยา งความประพฤติอันดีงาม สําหรับพระภิกษุ ไดแก การตองอาบัติ ลหุกาบัติ นับตั้งแตถุลลัจจัยไปจนถึงอาบัติทุพภาสิต สําหรับคฤหัสถ ไดแก การไมเคารพ กฎหมายทําลายกตกิ ามารยาทอันดงี ามของสังคม ๓. ทิฏฐิวิบัติ วิบัติแหงทิฏฐิ หมายถึง อาการของจิตท่ีมีความคิดเห็นคลาดเคลื่อน ผดิ ธรรมผิดวินัยแลว ประพฤติตนไปตามความคิดเห็นผดิ ของตน ทเ่ี รยี กวา เปน มิจฉาทิฏฐกิ บคุ คล ๔. อาชีววิบัติ วิบัติแหงอาชีวะ หมายถึง การประกอบมิจฉาชีพ หรือหาเล้ียงชีพ ในทางทจุ ริตผดิ ทางธรรมและกฎหมายบา นเมือง เน้อื ใน นกั ธรรม ช้นั โท เลม 2 73

7๗๔4 คูมอื การศกึ ษานกั ธรรมชน้ั โท เน้อื ใน นกั ธรรม ช้นั โท เลม 2 เวสารชั ชญาณ ๔ ๑. ทา นปฏญิ ญาวาเปนสมั มาสัมพุทธะ ธรรมเหลา น้ีทา นยงั ไมร ูแ ลว ๒. ทานปฏิญญาวาเปนขีณาสพ อาสวะเหลา นีข้ องทานยงั ไมส้นิ แลว ๓. ทานกลาวธรรมเหลาใดวาทําอันตราย ธรรมเหลาน้ันไมอาจทําอันตราย แกผ ูส องเสพไดจ ริง ๔. ทา นแสดงธรรมเพ่ือประโยชนอยางใด ประโยชนอยางน้ันไมเปนทางสิ้นทุกข โดยชอบแหงผคู นผูท ําตาม เวสารัชชญาณ แปลวา ญาณคือความรูที่เปนเครื่องนําบุคคลใหกลาหาญ ในท่ีนี้ หมายถึง พระญาณอันเปนเหตุใหทรงแกลวกลาอาจหาญ ไมครั่นครานตอผูใดในไตรโลก เปน พระคณุ สมบตั ขิ องพระสมั มาสัมพทุ ธเจา กลา วคือพระตถาคตเจาไมทรงเล็งเห็นวา ใครๆ จักทวง พระองคไ ดโดยชอบธรรมในฐานะทงั้ ๔ ประการ คอื ๑. ทา นปฏญิ ญาวา เปน สมั มาสมั พทุ ธะ ธรรมเหลาน้ีทานยังไมรูแลว กําหนดเรียก งา ยๆ วา สมั มาสัมพทุ ธปฏิญญา ๒. ทา นปฏิญญาวา เปน ขีณาสพอาสวะเหลาน้ีของทานยังไมสิ้นแลว กําหนดเรียก งา ยๆ วา ขณี าสวปฏญิ ญา ๓. ทานกลาวธรรมเหลาใดวาทําอันตราย ธรรมเหลาน้ันไมอาจทําอันตรายแก ผสู อ งเสพไดจรงิ กาํ หนดเรียกงา ยๆ อันตรายิกธรรมวาทะ ๔. ทา นแสดงธรรมเพ่ือประโยชนอยางใด ประโยชนอยางน้ันไมเปนทางสิ้นทุกข โดยชอบแหงผูค นผทู าํ ตาม กําหนดเรียกงา ยๆ วา นิยยานิกธรรมเทศนา 74

 7๗5๕ วชิ า ธรรมวิภาค ปญจกะ หมวด ๕ ๑. ทานกถา กลา วถงึ ทาน ๒. สีลกถา กลา วถึงศีล ๓. สคั คกถา กลา วถงึ สวรรค ๔. กามาทีนวกถา กลา วถึงโทษแหง กาม ๕. เนกขมั มานสิ งั สกถา กลาวถงึ อานสิ งสแ หง ความออกจากกาม อนุปุพพีกถา แปลวา กถาที่พรรณนาความโดยลําดับ หมายถึง พระธรรมเทศนา ที่พระพุทธองคทรงแสดงไปโดยลําดับเพื่อฟอกจิตใหหมดจดเปนช้ันๆ จากงายไปหายาก เพื่อเตรยี มจติ ของผฟู งใหพรอมท่จี ะรับฟงพระธรรมเทศนาชน้ั สงู คืออรยิ สัจตอไป มี ๕ ประการ คือ ๑. ทานกถา กลาวถึงทาน คือในเบ้ืองตน ทรงแสดงประโยชนของการใหเพ่ือละ ความเห็นแกตวั และความตระหนีม่ ใี จเผื่อแผเก้อื กลู ผูอื่นดวยกําลังทรัพยของตน โดยทรงกลาวถึง คุณของทาน เชน ทานเปนเหตแุ หงความสขุ เปนแหลงเกดิ โภคสมบัตทิ ง้ั หลาย เปนตน ๒. สีลกถา กลาวถึงศีล ทรงแสดงประโยชนของศีลโดยทรงกลาวถึงคุณของศีล เปนตนวา บุคคลจะมีความสุข ถาพรอมดวยโภคทรัพยท้ังหลาย และจะบรรลุพระนิพพานไดก็ เพราะมศี ีล เน้อื ใน นกั ธรรม ช้นั โท เลม 2 75

7๗6๖ คมู อื การศกึ ษานกั ธรรมชน้ั โท เน้อื ใน นกั ธรรม ช้นั โท เลม 2 ๓. สคั คกถา กลา วถงึ สวรรค ทรงแสดงสมบตั ิคือความดีความงามอันบุคคลผูใหทาน และรักษาศีลจะพึงไดพึงถึงในมนุษยโลก ตลอดขึ้นไปจนถึงสวรรค โดยทรงกลาวถึงความสุขใน สวรรคว านาปรารถนา นา ใคร นา พอใจ เปนตน ซ่ึงการที่บุคคลจะเขาถึงไดน้ันตองใหทาน รักษา ศลี เพอื่ ใหเหน็ อานสิ งสแหง ทานและศลี ไดเ ดนชัดขึ้น ๔. กามาทีนวกถา กลาวถึงโทษแหงกาม พรรณนาโทษของกาม คือ ทรงแสดงถึง อาทีนพ คือโทษของกามวาแมจะใหสุขโดยประการตางๆ ถึงกระน้ัน ก็ยังเจือดวยทุกขตางๆ จึงไมควรจะเพลิดเพลินไปโดยสวนเดียว แตควรที่จะเบื่อหนาย โดยทรงกลาวถึงโทษ และ สว นเสียของกามวา กามสขุ ไมย ง่ั ยืน มชี ว งยินดีนอ ย มที กุ ข มีความคบั แคนมาก เปนตน ๕. เนกขัมมานิสังสกถา กลาวถึงอานิสงสแหงความออกจากกาม ทรงแสดงถึง ผลดีของการไมหมกมุนเพลิดเพลินติดอยูในกาม และใหมีฉันทะท่ีจะแสวงหาความงามและ ความสขุ อนั สงบท่ปี ระณีตยิ่งข้ึนไปกวานั้น โดยทรงกลาวถึงความมีจิตอิสระปลอดโปรงในการไม ตดิ ใจเพลดิ เพลนิ อยูในกามดว ยการออกบวชเพ่ือใหมีฉันทะที่จะแสวงหาความดีงามและความสุข อันสงบทป่ี ระณีตยิง่ ขึ้นไปกวานนั้ รูป เสยี ง กลิน่ รส โผฏฐพั พะ อนั นาปรารถนา นาใคร นาพอใจ คําวา กามคุณ ทานแยกความหมายเปน ๒ คํา คือคําวา กาม หมายถึง ส่ิงกอ ความใครอยาก และคําวา คุณ หมายถึง เครื่องผูกพัน หรือพันธนาการท่ีรัดแนน ดังน้ัน กามคุณ จึงหมายถึง สงิ่ ทผี่ ูกพันสัตวไวใ นกามคอื วัตถุกาม ๕ อยา ง ดงั น้ี 76

 7๗7๗ วชิ า ธรรมวภิ าค ๑. รูปอันนาปรารถนา นาใคร นาพอใจ หมายถึง ส่ิงท่ีเปนวิสัยอันตาจะพึงแลเห็นได หรือแสงสีท่ีตามองเห็น จะเปนรูปคน รูปสัตว หรือรูปพัสดุตางๆ เม่ือตาไดพบเห็นเขาแลวมี อาํ นาจจงู ใจใหเ กดิ ความรสู กึ รักใคร ยินดี พอใจ อยากเปนเจาของ อยากได อยากมี ๒. เสียงอันนาปรารถนา นาใคร นาพอใจ หมายถึง สิ่งท่ีเปนวิสัยอันหูจะพึงไดยิน ไดฟ ง เมือ่ หูไดย นิ ไดฟ งแลว มอี ํานาจจงู ใจใหเพลดิ เพลินหมกมุนอยูในเสียงน้ันๆ โดยไมอยากให เลอื นหายไป ๓. กลิ่นอันนาปรารถนา นาใคร นาพอใจ หมายถึง ส่ิงที่เปนวิสัยอันจมูกจะพึง สูดดมได เม่ือจมูกไดสูดดมกลิ่นแลว มีอํานาจจูงใจใหเพลิดเพลินหมกมุนอยูในกลิ่นน้ันๆ โดย ไมอยากใหจ างคลายไป ๔. รสอันนาปรารถนา นาใคร นาพอใจ หมายถึง สิ่งที่เปนวิสัยอันจะพึงลิ้มรสได เม่อื ลิน้ ไดล้ิมเขาแลว มีอาํ นาจจูงใจใหติดขอ งหมกมนุ อยูในรสน้นั ๆ โดยไมอยากใหจดื จางไป ๕. โผฏฐัพพะอันนาปรารถนา นาใคร นาพอใจ หมายถึง ส่ิงท่ีเปนวิสัยอันกายจะพึง ถูกตอ งสมั ผัสได หรอื สัมผัสทางกาย เมื่อกายไดถูกตองสัมผัสเขาแลว มีอํานาจจูงใจใหเกิดความรูสึก เพลดิ เพลิน ยนิ ดี พอใจ ตดิ ใจ หมกมุนอยูใ นกายสมั ผสั เหลานัน้ โดยไมอ ยากใหพ ลัดพรากจากไป ๑. มงั สจกั ขุ จักษุคอื ดวงตา ๒. ทพิ พจกั ขุ จักษทุ พิ ย ๓. ปญ ญาจกั ขุ จกั ษคุ อื ปญญา ๔. พทุ ธจกั ขุ จักษแุ หงพระพทุ ธเจา ๕. สมันตจักขุ จกั ษรุ อบคอบ เน้อื ใน นกั ธรรม ช้นั โท เลม 2 77

7๗๘8 คูม อื การศกึ ษานกั ธรรมชนั้ โท เน้อื ใน นกั ธรรม ช้นั โท เลม 2 จักขุ แปลวา นัยนตา หรือใชวา จักษุ ในท่ีน้ีหมายถึง พระจักษุอันเปนสมบัติของ พระพุทธเจา ๕ อยา ง คือ ๑. มังสจักขุ จักษุคือดวงตา หรือตาเน้ือ หมายถึง ดวงตาธรรมดาของมวลมนุษย โดยทั่วไปน่ันเอง แตสําหรับพระพุทธองค พระมังสจักขุประกอบดวยเสนประสาทอันดีย่ิง ทําให ทรงทอดพระเนตรเหน็ ไดแจม ใส เห็นไดไกล ๒. ทิพพจักขุ จักษุทิพย หรือตาทิพย หมายถึง พระญาณที่สามารถรูเห็นหมูสัตว ผูเปน ไปตางๆ กนั ดว ยอํานาจกรรม คือทรงเล็งเห็นสรรพสตั วท่ีเปนไปดว ยอํานาจกรรมจําแนกให เปน สขุ บาง ทุกขบ าง เลวบาง ประณีตบาง ๓. ปญ ญาจักขุ จักษคุ อื ปญญา หรอื ตาปญญา หมายถึง พระญาณที่สามารถกําหนด รูแจงแทงตลอดอริยสัจ ๔ ได หรือทรงประกอบดวยพระปญญาคุณอันย่ิงใหญท่ีเปนเหตุให สามารถตรสั รอู ริยสจั จธรรมเปนตน ๔. พุทธจักขุ จักษุแหงพระพุทธเจา หรือตาพระพุทธเจา หมายถึงพระจักษุอันเปน คุณสมบัติเฉพาะของพระพุทธองค ซึ่งไดแก อาสยานุสยณาณ และ อินทรียปโรปริยัตตญาณ ที่เปน เหตใุ หท รงทราบอัธยาศยั และอปุ นสิ ยั ของเวไนยสตั วแลว ทรงส่ังสอนแนะนําใหบ รรลธุ รรม ๕. สมันตจักขุ จักษุรอบคอบ หรือตาเห็นโดยรอบ หมายถึง พระจักษุที่สามารถ รอบรูเห็นแจงธรรมท้ังปวง หรือสรรพส่ิงไดอยางกวางขวางลุมลึกเปนอเนกอนันต ไดแก พระสพั พัญตุ ญาณ คือพระญาณที่พระองคทรงไดหลังจากตรัสรูแลวซึ่งเปนเหตุใหพระองคทรง เปน พระสพั พัญซู ึ่งรูเอง เหน็ เอง 78

 7๗9๙ วชิ า ธรรมวิภาค ๑. สีลขนั ธ หมวดศลี ๒. สมาธขิ นั ธ หมวดสมาธิ ๓. ปญญาขันธ หมวดปญ ญา ๔. วิมุตตขิ ันธ หมวดวิมตุ ติ ๕. วมิ ุตตญิ าณทัสสนขันธ หมวดวมิ ุตติญาณทัสสนะ ธรรมขันธ แปลวา หมวดธรรม หรือ กองธรรม คือธรรมอันจะพึงสงเคราะหเขาหมวดกันได จัดเขา เปน ขนั ธหนึ่งๆ ไดแกการจดั หมวดหมหู ลักธรรมคําทรงสอนของพระพุทธเจา ทง้ั หมดในเชิงสาระ การศึกษาปฏิบัติ ตั้งแตตนไปจนถึงจุดหมายสูงสุดในพระพุทธศาสนา ซึ่งเรียกวา สารธรรม ๕ หมายถงึ ธรรมอนั เปน แกน หรอื เปน สาระสําคญั ในพระพุทธศาสนา ๕ หมวด คอื ๑. สีลขันธ หมวดศีล คอื ประมวลหลักธรรมท่ีมีลกั ษณะวา ดว ยหลกั ควบคมุ ความประพฤติ ทางกายและวาจาของคนเราใหเปนปกติดีงามเขาเปนหมวดหมูเดียวกัน เชน จัดเบญจศีล อโุ บสถศลี ปาริสุทธิศีล ๔ สมั มาวาจา สมั มากมั มนั ตะ สมั มาอาชีวะ เปน ตน เขา เปน หมวดศลี ๒. สมาธขิ ันธ หมวดสมาธิ คอื ประมวลหลักธรรมที่มีลักษณะวาดวยหลักความประพฤติ ทางจิตใหสงบสุข หรือใหต้ังม่ันในกุศลธรรมอื่นๆ ยิ่งข้ึน เชน จัดหลักธรรมคือ อิทธิบาท ๔ สมาธิ ๒ สมั มาวายามะ สัมมาสติ สมั มาสมาธิ เปนตน เขาเปน หมวดสมาธิ ๓. ปญญาขันธ หมวดปญญา คือประมวลหลักธรรมท่ีมีลักษณะวาดวยหลักการพัฒนา ปญญา หรือเปนองคประกอบใหเกิดปญญา เชน จัดหลักธรรมคือโยนิโสมนสิการ สุตมยปญญา จนิ ตามยปญญา ภาวนามยปญ ญา สมั มาทิฏฐิ สัมมาสังกัปปะ เปน ตน เขา ในหมวดปญญา ๔. วิมุตติขันธ หมวดวิมุตติ คือประมวลหลักธรรมที่มีลักษณะวาดวยหลักการทําจิตให หลุดพนจากอาสวะกิเลส เชน จัดหมวดธรรมคือปญญาวิมุตติ เจโตวิมุตติ วิโมกข เปนตน เขาเปน หมวดวมิ ุตติ ๕. วิมุตติญาณทัสสนขันธ หมวดวิมุตติญาณทัสสนะ คือประมวลหลักธรรมที่มี ลักษณะวาดวยความรูความเห็นในวิมุตติ เชน จัดหลักธรรมคือผลญาณ ปจจเวกขณญาณ เปนตน เขาเปน หมวดหมูวิมตุ ติญาณทสั สนะ เน้อื ใน นกั ธรรม ช้นั โท เลม 2 79

8๘0๐ คมู อื การศกึ ษานกั ธรรมชนั้ โท ๑. ขุททกาปต ิ ปติอยางนอย ๒. ขณกิ าปติ ปต ชิ ัว่ ขณะ ๓. โอกกนั ติกาปต ิ ปต ิเปน พักๆ ๔. อุพเพงคาปติ ปต อิ ยา งโลดโผน ๕. ผรณาปต ิ ปติซาบซา น ปติ แปลวา ความอ่ิมใจ หมายถึง ภาวะท่ีจิตมีความซาบซาน และฟูข้ึนเมื่อประสบกับ อฏิ ฐารมณห รือบรรลผุ ลสําเร็จตามทมี่ ุง หมาย จําแนกตามลักษณะไว ๕ ประการ คอื ๑. ขุททกาปติ ปติอยางนอย หมายถึง ปติที่เกิดขึ้นเพียงสามารถทําใหขนลุกชัน หรือเพียงสามารถทําใหน ํา้ ตาไหล เรยี กงา ยๆ วา พอทําใหขนชูชนั นา้ํ ตาไหล ๒. ขณกิ าปต ิ ปต ชิ ่ัวขณะ หมายถึง ปติท่ีเมื่อเกิดขึ้น ทําใหเกิดความรูสึกแปลกๆ เปน ขณะๆ ดจุ ฟาแลบ ๓. โอกกันตกิ าปติ ปต เิ ปนพกั ๆ หรือปต ิเปน ระลอก หมายถึง ปติเมื่อเกิด ทําใหรูสึก ซูลงมาๆ ในกาย ซ่งึ แรงกวา เสียวแปลบๆ ดุจคลนื่ ซัดตอ งฝง หรือคล่นื กระทบฝง ฉะนน้ั ๔. อุพเพงคาปติ ปตอิ ยางโลดโผน หรือปติโลดลอย หมายถงึ ปติที่เม่ือเกิดขึ้น ทําให รสู ึกใจฟอู ยางแรง แสดงอาการหรือทําการบางอยางโดยมิไดต้ังใจ เชน เปลงคําอุทาน หรือทําให รูสกึ ตวั เบาลอยขน้ึ ไปในอากาศได ๕. ผรณาปติ ปติซาบซาน หมายถึง ปติท่ีเมื่อเกิดขึ้น ทําใหรูสึกเย็นซานแผเอิบอาบ ไปท่วั สรรพางค เปน ปตทิ ี่ประกอบดวยสมาธขิ น้ั ฌาน เน้อื ใน นกั ธรรม ช้นั โท เลม 2 80

 8๘1๑ วชิ า ธรรมวิภาค ๑. อาวาสมจั ฉรยิ ะ ตระหนีท่ ่อี ยู ๒. กุลมัจฉริยะ ตระหน่ีสกลุ ๓. ลาภมจั ฉริยะ ตระหน่ีลาภ ๔. วณั ณมจั ฉรยิ ะ ตระหนี่วรรณะ ๕. ธมั มมัจฉรยิ ะ ตระหนีธ่ รรม มจั ฉริยะ แปลวา ความตระหนี่ หมายถึง ความหวงแหน หรอื ความคิดกีดกัน้ ไมใหผูอ่นื ไดดี ดวยอาการที่หวงแหนเหนยี วแนน โดยมคี วามโลภเปนสมุฏฐาน จําแนกไว ๕ ประเภท คอื ๑. อาวาสมัจฉรยิ ะ ตระหนที่ ่อี ยู หมายถึง ความหวงแหนถ่ินที่อยูอาศัยของตน ไมพอใจ ใหคนตางดาว ตางชาติ ตางศาสนา ตางหมู ตางคณะเขามาปะปนแทรกแซง โดยกีดกันผูอื่นหรือ ผูมใิ ชพ วกของตนใหเ ขาอยูอาศยั ในถน่ิ ฐานของตน เปน ตน ๒. กุลมัจฉริยะ ตระหนี่สกุล หมายถึง ความหวงแหนสกุลของตนเอง ไมยอมใหสกุล ภายนอกอ่ืนๆ มาเกีย่ วดองผูกพนั ดวย ๓. ลาภมัจฉริยะ ตระหน่ีลาภ หมายถึง ความหวงแหนทรัพยสมบัติพัสดุส่ิงของตางๆ ซึง่ เปน ของตนอยา งเหนยี วแนน ไมตองการแบงปน ใหบคุ คลอน่ื หรอื การหวงผลประโยชน เชน กีดกัน ไมใหล าภหรอื รายไดเกิดขน้ึ แกผ อู ื่น เปน ตน เปนลักษณะของคนไมรูจ กั แบงปนหวงไวบรโิ ภคคนเดียว ๔. วัณณมัจฉริยะ ตระหน่ีวรรณะ แยกอธิบายเปน ๒ นัย คือหวงสรีรวรรณะ หมายถึง ความหวงผิวพรรณรางกายของตน ไมปรารถนาใหผูอื่นสวยงามกวา และหวงคุณวรรณะ หมายถึง ความหวงคําสรรเสรญิ คุณไมอยากใหใครมีคุณความดีมาแขงตน ๕. ธัมมมัจฉริยะ ตระหนี่ธรรม หมายถึง ความหวงแหนธรรม หวงวิชาความรู และคุณ เน้อื ใน นกั ธรรม ช้นั โท เลม 2 81

8๘2๒ คมู อื การศกึ ษานกั ธรรมชนั้ โท พิเศษท่ีตนไมบรรลุ ไมมีความปรารถนาจะแสดง บอก กลาว หรือสั่งสอนใหแกบุคคลอื่นๆ ดวย เกรงวา เขาจะรูทัดเทียมตนหรือเกินตน เพราะตอ งการรูเฉพาะตนแตผูเดยี ว ๑. ขนั ธมาร มารคอื ปญ จขนั ธ ๒. กเิ ลสมาร มารคือกเิ ลส ๓. อภสิ ังขารมาร มารคอื อภสิ ังขาร ๔. มัจจมุ าร มีคอื มรณะ ๕. เทวปตุ ตมาร มารคือเทวบุตร มาร แปลวา สภาพที่ทําใหตาย หมายถึง สิ่งท่ีฆาบุคคลใหตายจากคุณความดี หรือส่ิงที่ ลางผลาญคุณความดี หรือตัวการทก่ี ําจัดหรือขัดขวางบุคคลมิใหบ รรลผุ ลสาํ เรจ็ อันดีงาม ๕ อยาง คือ ๑. ขันธมาร มารคือปญจขันธ หมายถึง ขันธ ๕ คือรูป เวทนา สัญญา สังขาร และ วิญญาณ ไดชื่อวาเปนมาร เพราะเปนสภาพอันปจจัยปรุงแตง มีความขัดแยงกันเองอยูภายใน ไมม นั่ คงนาน เปนภาระการบริหาร ทง้ั แปรปรวน เสื่อมโทรมไปเพราะความชราเจ็บปวย เปนตน ลวนตัดรอนบ่ันทอนโอกาส มิใหบุคคลทํากิจหนาที่หรือบําเพ็ญคุณความดีไดเต็มปรารถนา อีกนัยหน่ึง ขันธ ๕ ไดชื่อวาเปนมาร เพราะบางทีทําความลําบากให เชน เกิดโรคราย หรือมีความ พกิ ารทางรางกายจนเปน เหตใุ หเบือ่ หนาย คิดหรอื ลงมือฆา ตัวตายเสียเองก็มี เปนตน ๒. กิเลสมาร มารคือกิเลส หมายถึง กิเลสไดช่ือวามาร เพราะเปนตัวกําจัด และ ขัดขวางความดี ทําบคุ คลใหป ระสบความพินาศท้ังในปจ จบุ นั และอนาคต เม่ือตกอยูในอาํ นาจของ มันแลว มันยอมผูกมัดรัดพันไวใหอยูในอํานาจ เปนเหตุใหทําส่ิงที่ไมควรทํา พูดสิ่งที่ไมควรพูด เน้อื ใน นกั ธรรม ช้นั โท เลม 2 82

 8๘3๓ วชิ า ธรรมวิภาค คิดส่งิ ท่ีไมควรคดิ ในท่สี ุดกท็ าํ ใหเสียผูเสียคนไป ๓. อภิสังขารมาร มารคืออภิสังขาร หมายถึงวา อภิสังขารไดช่ือวามาร เพราะเปน ตัวปรุงแตงกรรม นําใหเกิดชาติ ชรา เปนตน ขัดขวางมิใหหลุดพนไปจากสังสารทุกข เชน อภิสังขารคือกรรมฝายอกุศล ไดช่ือวามาร เพราะ ชักนําใหบุคคลทําบาป มีผลทําใหชีวิตตกต่ํา ถลาํ ลงไปเกิดในอบายภูมิ จงึ ยากท่ีจะพน จากความทุกขเพราะการเวียนวายตายเกิดในสังสารวฏั ๔. มัจจุมาร มารคือมรณะ หมายถึงวา มัจจุคือมรณะ หรือความตาย ไดชื่อวามาร เพราะเปน ตัวการตดั โอกาสของบุคคลทจ่ี ะกาวหนา ตอไปในคุณความดีทัง้ หลาย ๕. เทวปุตตมาร มารคือเทวบุตร หมายถึง ผูคอยขัดขวางเหนี่ยวร้ังเหลาสัตว ผูปฏิบัติไวมิใหลวงพนจากแดนอํานาจครอบงําของตน โดยชักใหหวงพะวงอยูในกามสุข ไมให อาจหาญเสียสละ ออกไปบําเพ็ญคุณความดีที่ยิ่งใหญข้ึนไป ซ่ึงเปนเทพย่ิงใหญระดับสูงแหง สวรรคชนั้ กามาวจรตนหนง่ึ ๑. จักขุวญิ ญาณ วิญญาณทางตา ๒. โสตวญิ ญาณ วิญญาณทางหู ๓. ฆาณวญิ ญาณ วิญญาณทางจมกู ๔. ชิวหาวญิ ญาณ วิญญาณทางล้ิน ๕. กายวิญญาณ วิญญาณทางกาย วิญญาณ แปลวา ความรูแจง ในที่น้ีหมายถึง อาการของจิตท่ีรับรูอารมณทางทวาร ท้งั ๕ มจี กั ขทุ วารเปนตน ดงั น้ี เน้อื ใน นกั ธรรม ช้นั โท เลม 2 83

8๘4๔ คูม อื การศกึ ษานกั ธรรมชนั้ โท ๑. จักขุวิญญาณ วิญญาณทางตา ความรูอารมณทางตา หมายถึง ภาวะจิตที่อาศัย ตากบั รูป เกดิ ความรทู างตา คือการเหน็ รปู หรอื แสงสตี างๆ ขน้ึ ๒. โสตวิญญาณ วิญญาณทางหู ความรูอารมณทางหู หมายถึง ภาวะจิตที่อาศัยหู กบั เสียง เกิดความรทู างหู คอื การไดย ินเสียงขน้ึ ๓. ฆาณวิญญาณ วิญญาณทางจมูก ความรูอารมณทางจมูก หมายถึง ภาวะจิตท่ี อาศัยจมูกกับกลนิ่ เกิดความรทู างจมกู คอื การดมกลน่ิ ขนึ้ ๔. ชิวหาวิญญาณ วิญญาณทางล้ิน ความรูอารมณทางลิ้น หมายถึง ภาวะจิตท่ี อาศัยลนิ้ กบั รส เกิดความรทู างล้นิ คอื การลิ้มรสขน้ึ ๕. กายวิญญาณ วิญญาณทางกาย ความรูอารมณทางกาย หมายถึง ภาวะจิตท่ี อาศยั กายกบั โผฏฐัพพะ เกิดความรทู างกาย คือการรูสกึ สัมผัสเยน็ รอ น ออ น แขง็ เปน ตน ๑. ตทงั ควิมตุ ติ พน ช่วั คราว ๒. วิกขัมภนวมิ ตุ ติ พนดว ยการสะกดไว ๓. สมุจเฉทวิมตุ ติ พน ดวยเด็ดขาด ๔. ปฏปิ ส สัทธิวมิ ตุ ติ พน ดว ยสงบ ๕. นิสสรณวิมุตติ พนดว ยออกไป วิมุตติ แปลวา ความหลุดพน หมายถงึ ภาวะจิตที่หลุดพนจากกิเลสาสวะโดยจัดลําดับ จากโลกยิ ะไปจนถงึ โลกุตตระเปนชั้นๆ ข้นึ ไป ๕ ชนั้ คือ เน้อื ใน นกั ธรรม ช้นั โท เลม 2 84

 8๘5๕ วชิ า ธรรมวภิ าค ๑. ตทังควิมุตติ พนชั่วคราว หรือความหลุดพนดวยองคน้ันๆ หมายถึง ภาวะที่จิต พนจากกิเลสดวยอาศัยธรรมตรงกันขามท่ีเปนคูปรับกัน เชน เกิดเมตตา หายโกรธ เปนตน เปนความหลดุ พนช่วั คราวโดยระงับอกุศลเจตสิกไดเ ปน คราวๆ จดั เปน โลกิยวมิ ตุ ติ ๒. วิกขัมภนวิมุตติ พนดวยการสะกดไว หรือความหลุดพนดวยขมไว หมายถึง ความหลุดพนจากกิเลสกาม และอกุศลธรรมทั้งหลายไดดวยกําลังหรือองคฌาน ซึ่งอาจจะกดไว ไดนานกวา ตทงั ควมิ ุตติ แตเมอื่ ฌานน้นั เสื่อมแลวกเิ ลสอาจเกิดขนึ้ อกี จัดเปนโลกิยวิมุตติ ๓. สมุจเฉทวิมุตติ พนดวยเด็ดขาด หรือความหลุดพนดวยตัดขาด หมายถึง ความหลุดพนจากกิเลสดวยอริยมรรค หรือการตัดกิเลสไดอยางเบ็ดเสร็จเด็ดขาดดวยอริยมรรค โดยท่ีกิเลสเหลานั้นไมมที างทจ่ี ะกลบั มากําเรบิ ในจติ สันดานไดอกี ตอ ไป จัดเปน โลกตุ ตรวิมตุ ติ ๔. ปฏิปสสัทธิวิมุตติ พนดวยสงบ หรือความหลุดพนดวยสงบราบ หมายถึง ความหลดุ พนจากกเิ ลสดวยอริยผล เปน ความหลดุ พนทีย่ ่งั ยนื ไมตองขวนขวายเพ่ือละอีก เพราะ กเิ ลสนั้นสงบไปแลว จดั เปนโลกุตตรวิมตุ ติ ๕. นิสสรณวิมุตติ พนดวยออกไป หรือความหลุดพนดวยออกไปเสีย หมายถึง ภาวะที่จิตหลุดพนจากกิเลสเสร็จส้ินแลวดํารงอยูในภาวะที่หลุดพนจากกิเลสนั้นยั่งยืนตลอดไป จดั เปน โลกตุ ตรวิมุตติ ไดแก อมตธาตคุ อื พระนพิ พาน เน้อื ใน นกั ธรรม ช้นั โท เลม 2 เวทนา แปลวา ความเสวยอารมณ หมายถึง ภาวะจิตที่เกิดความรูสึกเม่ือรับอารมณ ตา งๆ จําแนกโดยรวมท้ังกายและจติ ไว เปน ๕ ประการ ๑. สุข หรือ สุขเวทนา ความรูสึกสุข ในท่ีน้ีมาคูกับโสมนัส จึงหมายเอาเฉพาะ ความรูสกึ สุขกายหรอื ความรสู กึ สบายกายอยา งเดยี ว ๒. ทุกข หรือ ทุกขเวทนา ความรูสึกทุกข ในท่ีน้ีมาคูกับโทมนัส จึงหมายเอาเฉพาะ 85

8๘๖6 คมู อื การศกึ ษานกั ธรรมชนั้ โท ความรูสึกทุกขก าย หรอื ความรูสกึ ไมสบายกายอยา งเดียว ๓. โสมนัส หรอื โสมนัสสเวทนา ความรสู ึกสขุ ใจ หมายถงึ ความรูสึกสบายใจ ๔. โทมนสั หรอื โทมนสั สเวทนา ความรสู กึ ทกุ ขใ จ หมายถึง ความรูสกึ เสียใจ ๕. อุเบกขา หรือ อุเบกขาเวทนา ความรูสึกเฉยๆ หมายถึง ความท่ีจิตมีความรูสึก เปน กลางระหวา งสุขกับทุกข ไมดีใจไมเ สียใจ เปนไดเ ฉพาะทางใจ เพราะอุเบกขาทางกายไมม ี ๑. สีลสังวร สํารวมในศลี ๒. สติสงั วร สาํ รวมดวยสติ ๓. ญาณสงั วร สาํ รวมดว ยญาณ ๔. ขันติสังวร สํารวมดว ยขันติ ๕. วิรยิ สงั วร สาํ รวมดวยความเพียร สังวร แปลวา ความสํารวม หมายถึง อาการของจิตที่มีความระวังปดกั้นอกุศลมิให เกิดขนึ้ ในสนั ดานอยูเปนนติ ย ดวยหลกั การสาํ รวม ๕ ประการ คอื ๑. สีลสังวร สํารวมในศีล สําหรับคฤหัสถ ไดแก การระมัดระวังดวยการรักษากาย วาจาของตนใหเ รยี บรอยเปนปกติ ไมเบยี ดเบียนตน และผอู น่ื ใหเดือดรอ นตามหลักศีล ๕ เปนตน สําหรบั บรรพชิต ไดแ ก การเปนผูสํารวมในพระปาติโมกข ถึงพรอมดวยอาจาระและโคจร มีปกติ เห็นเปนภัยในโทษเพยี งเล็กนอ ย สมาทานศกึ ษาอยูใ นสกิ ขาบททง้ั หลาย ๒. สติสังวร สํารวมดวยสติ หมายถึง ความรูจักใชสติระมัดระวังอินทรีย ๖ คือตา หู จมูก ล้ิน กาย และใจ ไมใหเกิดความยินดียินราย หรือถูกกิเลสครอบงําเมื่อตาเห็นรูป หูไดยินเสียง จมูกไดดมกลิ่น ล้ินไดล มิ้ รส กายสัมผสั รอน หนาว และใจคิดเรื่องราวตางๆ เปนตน เน้อื ใน นกั ธรรม ช้นั โท เลม 2 86

 8๘7๗ วชิ า ธรรมวิภาค ๓. ญาณสังวร สํารวมดวยญาณ หมายถึง การใชญาณหรือปญญาพิจารณาใหรู สภาวะจรงิ ของสรรพสงิ่ เพ่อื ตดั กระแสกเิ ลสตัณหาเปน ตน มใิ หเขาครอบงําจติ ๔. ขันติสังวร สํารวมดวยขันติ หมายถึง ความอดทนตอหนาว รอน หิว กระหาย ถอยคํารุนแรง และทุกขเวทนาตางๆ ได โดยไมแสดงความวิการผิดปกติแหงจิตใจ รูจักรักษา ปกตภิ าพของตนไวไ ด ในเมอื่ ถกู กระทบดวยส่ิงท่ไี มพึงปรารถนา ๕. วิริยสังวร สํารวมดวยความเพียร หมายถึง ความเพียรพยายามขับไล บรรเทา กําจัดอกุศลวิตกท่ีเกิดขึ้นแลวใหหมดไปเปนตน ตลอดจนละมิจฉาชีพ เพียรแสวงหาปจจัย ๔ เลี้ยงชวี ิตดว ยสมั มาชีพ ท่เี รียกวา อาชวี ปารสิ ทุ ธิ ความบรสิ ุทธิ์ดวยอาชีพที่ปราศจากโทษ เน้อื ใน นกั ธรรม ช้นั โท เลม 2 สุทธาวาส แปลวา ที่อยูของทานผูบริสุทธ์ิ หมายถึง สถานท่ีอยูหรือท่ีเกิดอยูของทาน ผูบริสุทธ์ิ คือพระอนาคามี ซ่ึงเปนผูไมกลับมาเกิดในมนุษยโลกนี้อีก แตจะปรินิพพานในพรหมโลก ชนั้ สทุ ธาวาสนี้ ทา นจดั เปนพรหมโลกช้นั พิเศษ ๕ ช้ัน ดงั นี้ ๑. อวหิ า เหลาทานผไู มเสอื่ มจากสมบตั ิของตน หมายถึง พวกพรหมอนาคามีผูไมละ ไปเรว็ คือจะไมป รนิ ิพพานไปโดยเร็ว แตจ ะคงอยูนานแสนนานดวยอํานาจอินทรียธรรม คือศรัทธาที่ มีมากกวา อินทรยี ธรรมอืน่ ๆ ๒. อตัปปา เหลา ทานผูไมทําความเดือดรอนแกใคร หมายถึง พวกพรหมอนาคามีท่ี ไมเดือดรอนกับใคร มีแตความสงบเยือกเย็นใจคงอยูนานแสนนานดวยอํานาจอินทรียธรรม คือ วิรยิ ะทีม่ ีมากกวาอินทรียธรรมอน่ื ๆ ๓. สทุ ัสสา เหลาทานผูงดงามนาทัศนา หมายถึง พวกพรหมอนาคามีที่มีสรีระรูปทรง ผอ งใสสวยงามเกดิ ความสุขสบายใจแกผพู บเหน็ และมคี วามสามารถมองเหน็ สงิ่ ตางๆ ไดอ ยา งแจมชัด 87

8๘8๘ คมู อื การศกึ ษานกั ธรรมชน้ั โท เน้อื ใน นกั ธรรม ช้นั โท เลม 2 อนาคามบี คุ คลท่ีจะเกิดในสทุ ัสสาภูมนิ ไ้ี ด ทา นวา ตอ งมีอนิ ทรยี ธรรมคอื สตมิ ากกวาอินทรยี ธรรมอ่นื ๆ ๔. สุทัสสี เหลาทานผูเห็นชัดเจนดี หมายถึง พวกพรหมอนาคามีที่มีความไพบูลย ยง่ิ กวาสทุ สั สาพรหม โดยนอกจากจะสามารถมองเห็นส่ิงตางๆ ไดอยางแจมชัดแลว ยังสามารถเห็น ไดอยางสะดวก เพราะมีปสาทจักษุ ทิพพจักษุ และปญญาจักษุท่ีบริสุทธ์ิมีกําลังแรงกลากวา แตมี ธรรมจักษุเสมอกัน อนาคามีบุคคลท่ีจะเกิดในสุทัสสีภูมิน้ีได ทานวาตองมีอินทรียธรรม คือสมาธิ มากกวา อินทรยี ธรรมอืน่ ๆ ๕. อกนฏิ ฐา เหลา ทา นผไู มมคี วามดอ ย หรือเล็กนอยกวาใคร หรือพรหมผูย่ิงใหญ หมายถึง พวกพรหมอนาคามีที่มีความไพบูลยสูงสุด มีความอุดมสมบูรยดวยทิพยสมบัติที่จะหา ภูมิใดเสมอเหมือนมิได เรียกอีกอยางวา ภวัคคพรหม คือพรหมผูเปนยอดแหงภพของพรหม ท้ังหลาย อนาคามีบุคคลที่จะเกิดในอกนิฏฐาภูมินี้ได ทานวาตองมีอินทรียธรรม คือปญญามากกวา อินทรยี ธรรมอืน่ ๆ ๑. อนั ตราปรนิ ิพพายี ทานผจู ะปรินิพพานในระหวา งอายยุ ังไมท ันถึงกึง่ ๒. อุปหจั จปรินพิ พายี ทานผูจะปรินิพพานตอเมื่ออายุพนกึ่งแลวจวนถึง ท่ีสดุ ๓. สสงั ขารปรินพิ พายี ทานผูจ ะปรนิ พิ พานดวยตอ งใชความเพยี รเรี่ยวแรง ๔. อสงั ขารปรินิพพายี ทานผูจะปรินพิ พานดวยไมตองใชความเพียรมากนัก ๕. อุทธงั โสโตอกนฏิ ฐคามี ทา นผมู ีกระแสในเบ้อื งบนไปสูอกนิฏฐภพ 88

 8๘9๙ วชิ า ธรรมวิภาค อนาคามี แปลวา ผูไมเวียนกลับมาอีก หมายถึง ทานผูสําเร็จเปนพระอนาคามี เม่อื ส้ินชวี ิตแลว กจ็ ะไปเกิดในพรหมโลกช้ันสุทธาวาส ๕ ชั้นดงั กลา วแลว ในท่นี ี้แบงตามความตาง แหงอนิ ทรียธรรมท่ีย่ิง หรอื หยอนกวา กันได ๕ ประเภท คอื ๑. อันตราปรินิพพายี ทานผูจะปรินิพพานในระหวางอายุยังไมทันถึงก่ึง หมายถึง พระอนาคามีผูเกิดในสุทธาวาสชั้นใดชั้นหน่ึงแลว เมื่ออายุยังไมทันถึงก่ึงหนึ่งของกาล กําหนดอายใุ นชั้นนั้นกป็ รนิ พิ พานเสยี กลางคนั ๒. อุปหัจจปรินิพพายี ทานผูจะปรินิพพานตอเม่ืออายุพนก่ึงแลวจวนถึงที่สุด หมายถึง พระอนาคามีผูเกิดในสุทธาวาสภูมิชั้นใดช้ันหนึ่ง มีอายุพนก่ึงคือครึ่งของกาลกําหนด อายใุ นชน้ั นน้ั จวนจะถึงกาลสิ้นอายจุ งึ ปรนิ พิ พาน ๓. สสังขารปรินิพพายี ทานผูจะปรินิพพานดวยตองใชความเพียรเรี่ยวแรง หมายถึง พระอนาคามีผูเ กิดในสุทธาวาสภูมชิ ั้นใดชัน้ หนึง่ จะบรรลุอรหัตตผลไดก็ตอเมื่อใชความ เพียรพยายามอยา งหนกั ๔. อสังขารปรินิพพายี ทานผูจะปรินิพพานดวยไมตองใชความเพียรมากนัก หมายถึง พระอนาคามีผูเกิดในสุทธาวาสภูมิชั้นใดชั้นหน่ึง สามารถบรรลุอรหัตตผลไดโดยงาย คือไมตองใชค วามเพยี รพยายามมากนัก ๕. อุทธังโสโตอกนิฏฐคามี ทานผูมีกระแสในเบื้องบนไปสูอกนิฏฐภพ หมายถึง พระอนาคามผี ูเกดิ ในสทุ ธาวาสภูมิช้ันใดช้ันหนึ่งแลวก็ดํารงอยูจนส้ินกาลกําหนดอายุ และจะเกิด เรื่อยตอ ข้นึ ไป จนถึงอกนิฏฐภพอนั เปนช้นั สูงสดุ ของสทุ ธาวาสภมู ิแลวจึงปรนิ ิพพาน เน้อื ใน นกั ธรรม ช้นั โท เลม 2 89

9๙0๐ คมู อื การศกึ ษานกั ธรรมชน้ั โท ฉกั กะ หมวด ๖ ๑. อิทธวิ ิธิ แสดงฤทธ์ไิ ด ๒. ทิพพโสต หทู ิพย ๓. เจโตปริยญาณ รจู ักกําหนดใจผูอื่น ๔. ปุพเพนิวาสานสุ สติ ระลึกชาตไิ ด ๕. ทิพพจักขุ ตาทพิ ย ๖. อาสวกั ขยญาณ รจู กั ทําอาสวะใหส ิ้น อภิญญา แปลวา ความรูยิ่ง หมายถึง ความรูย่ิงยวด หรือความรูชั้นสูง จัดเปน คณุ สมบัตขิ องพระอรหนั ตขีณาสพ จาํ แนกไว ๖ ประการ คือ ๑. อิทธวิ ิธิ แสดงฤทธ์ิได (อิทธวิ ธิ า) หมายถึง ความรูท่ีทําใหแสดงฤทธิ์ตางๆ ไดซึ่ง ลวงวสิ ัยของสามัญมนุษย เชน จะปรากฏตัวหรือหายตัว ทะลุฝา ทะลุกําแพงไปได ไมติดขัดเหมือน ไปในทว่ี างก็ได เปนตน ๒. ทิพพโสต หูทิพย หมายถึง ญาณท่ีทําใหมีหูทิพย ซ่ึงมีความสามารถไดยินเสียง เสียงทิพยแ ละเสยี งมนุษยท ัง้ ทีอ่ ยูไกลและใกลไ ดดวยทพิ พโสตธาตอุ ันบรสิ ทุ ธิ์ ๓. เจโตปริยญาณ รูจักกําหนดใจผูอื่น หมายถึง ญาณที่สามารถกําหนดใจผูอื่นได คือยอมกําหนดรูใจของสัตวบุคคลอ่ืนไดดวยใจ เชน จิตมีราคะก็รูวาจิตมีราคะ หรือจิตปราศจาก ราคะกร็ วู า จิตปราศจากราคะ เปนตน เน้อื ใน นกั ธรรม ช้นั โท เลม 2 90

 9๙1๑ วชิ า ธรรมวภิ าค ๔. ปุพเพนิวาสานุสสติ ระลึกชาติได หมายถึง ญาณที่ทําใหระลึกชาติได คือมี ความสามารถระลกึ ชาติไดต ั้งแตหนึ่งชาติขึ้นไป โดยสามารถรูร ายละเอยี ดในแตละชาติได ๕. ทิพพจักขุ ตาทิพย หมายถึง ญาณที่ทําใหมีตาทิพย คือสามารถเห็นหมูสัตว ผูกําลงั จุติ กําลังอุบัติ ไดด ีหรอื ตกยาก ดว ยทิพยจักษุ อนั บริสุทธิ์ลว งจักษุวิสัยของมนษุ ย ๖. อาสวักขยญาณ รูจักทําอาสวะใหส้ิน หมายถึง ญาณท่ีทําใหอาสวะสิ้นไป คือ มีความสามารถทําใหแจงซ่ึงเจโตวิมุตติ ปญญาวิมุตติ อันหาอาสวะมิไดเพราะอาสวะท้ังหลาย สิ้นไปดวยปญญาอันย่ิง โดยรูชัดตามความเปนจริงวา น้ีทุกข น้ีทุกขสมุทัย น้ีทุกขนิโรธ นี้ทุกขนิโรธคามนิ ปี ฏิปทา ๑. มาตุฆาต ฆามารดา ๒. ปตุฆาต ฆาบดิ า ๓. อรหนั ตฆาต ฆา พระอรหนั ต ๔. โลหติ ปุ บาท ทาํ รา ยพระพุทธเจา จนถงึ ยงั พระโลหติ ใหห อข้นึ ๕. สังฆเภท ยังสงฆใ หแ ตกจากกัน ๖. อัญญสัตถทุ เทส ถือศาสดาอ่นื อภฐิ าน แปลวา ฐานะทีห่ นกั หรอื ความผดิ พลาดสถานหนกั เรยี กเตม็ วา อภิฐานกรรม หมายถงึ กรรมทเี่ ดนยงิ่ กวากรรมอืน่ ๆ คอื เปน บาปท่หี นกั ท่สี ดุ หามสวรรค หามนิพพาน มีฐาน ๖ ๑ - ๒ มาตุฆาต ฆามารดา - ปตุฆาต ฆาบิดา หมายถึง ตนเองรูอยูแกใจวาผูน้ันเปน มารดา - บดิ า ผูใ หกาํ เนดิ แตกลับมีเจตนาฆาใหตายดวยตนเอง หรือสั่งใหคนอื่นฆาก็ตาม เม่ือทาน ตายลงเพราะการกระทําอันน้ัน บุตรผูฆามารดา - บิดานั้นจัดวาตั้งอยูในอภิฐานที่ ๑ และที่ ๒ คนท่ี เน้อื ใน นกั ธรรม ช้นั โท เลม 2 91

9๙2๒ คมู อื การศกึ ษานกั ธรรมชน้ั โท เน้อื ใน นกั ธรรม ช้นั โท เลม 2 ฆามารดา - บิดาของตนเองไดแลว จักไมฆาคนอ่ืนในเม่ือตนเองขัดใจข้ึนมา เปนอันไมมี และช่ือวา ลา งผลาญสกุลของตนอกี ดวย ๓. อรหนั ตฆาต ฆาพระอรหันต โดยเหตุที่พระอรหันตน้ันเปนพระอริยบุคคลช้ันสูงสุด ในพระพุทธศาสนา เปนผูมีความประพฤติทางกาย วาจา และใจบริสุทธ์ิ ไมมีจิตคิดรายทําลาย ผูใ ดผหู น่ึง และเปน ทีน่ บั ถอื ของมหาชน ดังน้นั เม่อื ใครกต็ ามลงมอื ฆาพระอรหันตใ หสิน้ ชีวิตชอื่ วา ตัง้ อยใู นอภฐิ านท่ี ๓ และจกั ไมฆาคนอื่นผูยังไมสงบปราศจากกิเลสถึงขั้นเปนพระอรหันตเปนอัน ไมม ี ทงั้ ยังช่ือวาลางผลาญผูเปนทีน่ บั ถือของมหาชนอกี ดวย ๔. โลหิตุปบาท ทํารายพระพุทธเจาจนถึงยังพระโลหิตใหหอขึ้น หมายถึง ผูทําราย พระบรมศาสดา จนถึงพระโลหิตใหหอข้ึน ช่ือวาอยูในอภิฐานที่ ๔ เพราะคนผูทํารายพระศาสดา ของตนเองไดแลว เปนอันหมดหลักในทางพระศาสนาดุจเดียวกับคนคิดกบฏทํารายพระเจา แผน ดนิ ของตน ๕. สังฆเภท ยังสงฆใหแตกกัน หมายถึง การท่ีภิกษุยุแหยใหสงฆหมูเดียวกันแตกแยกกัน ภกิ ษุผทู าํ ลายสงฆใหแ ตกเปน พรรคเปน พวก ชอื่ วาต้ังอยูในอภิฐานท่ี ๕ ซึ่งแมแตหมูคณะของตน ยงั ทําลายไดแลวจกั ไมคดิ ทาํ ลายหมูคณะอน่ื เปนอันไมม ี ๖. อัญญสัตถุทเทส ถือศาสดาอ่ืน คือถือถูกอยูแลว กลับไพลท้ิงไปถือผิด เชน ภิกษุ ผูไปเขารีตเดียรถียท้ังยังเปนภิกษุอยู (เรียกวา ติตฺถิยปกฺกนฺโต) เชนนี้ชื่อวาต้ังอยูในอภิฐานที่ ๖ ซึ่งตองหามมิใหอุปสมบทเปนพระภิกษุในพระพุทธศาสนาอีก เพราะไดทําการดูหม่ินเหยียดหยาม หลักคําสอนอันบริสทุ ธ์บิ รบิ รู ณ อภิฐาน ๕ ขอแรก เรียกวา อนันตริยกรรม คือกรรมใหผลในลําดับไป จัดเปน ครุกรรม คือกรรมหนักฝายบาปอกุศล อภิฐาน ๖ น้ีเรียกอีกอยางวา อภัพพฐาน คือฐานะท่ีบุคคลผูถึง พรอมดวยทฏิ ฐิตง้ั แตพระโสดาบันขนึ้ ไป ไมอาจจะกระทาํ คือเปนไปไมไดท่ีจะกระทาํ 92

 9๙3๓ วชิ า ธรรมวภิ าค ๑. ราคจริต มรี าคะเปน ปกติ ๒. โทสจรติ มีโทสะเปนปกติ ๓. โมหจริต มโี มหะเปนปกติ ๔. วิตักกจริต มวี ิตกเปน ปกติ ๕. สทั ธาจริต มีศรทั ธาเปนปกติ ๖. พทุ ธิจริต มีความรูเปน ปกติ จริต หรือ จริยา แปลวา ความประพฤติ ในท่ีน้ีหมายถึง ความประพฤติปกติ หรือ ความประพฤติซึ่งหนักไปทางใดทางหน่ึงอันเปนปกติประจําอยูในสันดาน หรือเรียกวา พื้นเพ ของจิต คือ ลักษณะความประพฤติที่หนักไปทางใดทางหน่ึงตามสภาพจิตท่ีเปนปกติของบุคคลนั้นๆ กาํ หนดไว ๖ ประเภท คอื ๑. ราคจริต มีราคะเปนปกติ หรือมีราคะเปนเจาเรือน หมายถึง คนท่ีมีลักษณะนิสัย หนกั ไปทางราคะ รักสวยรกั งาม ละมนุ ละไม ชอบความเอาอกเอาใจ หรือความออ นโยน ๒. โทสจริต มีโทสะเปนปกติ หรือมีโทสะเปนเจาเรือน หมายถึง คนท่ีมีลักษณะนิสัย หนักไปทางโทสะประพฤติหนักไปทางใจรอน หงุดหงิดรุนแรง ฉุนเฉียวโกรธงาย ชอบ ความรนุ แรง และชอบการตอ สเู อาชนะคะคานผอู ่ืนดว ยกาํ ลัง ๓. โมหจริต มีโมหะเปนปกติ หรือมีโมหะเปนเจาเรือน หมายถึง คนที่มีลักษณะนิสัย หนกั ไปทางโมหะ ประพฤติหนักไปทางเขลา เล่ือนลอยไปตามกระแสสังคม ขาดเหตผุ ล ชอบเร่อื ง ไรสาระ ๔. วติ ักกจริต มีวิตกเปน ปกติ หรือมีความวิตกเปนเจาเรือน หมายถึง คนที่มีลักษณะ นิสัยความประพฤติหนักไปทางชอบครุนคิดวกวน นึกคิดฟุงซาน ยํ้าคิดยํ้าทํา ขาดความม่ันใจ ในตนเอง ชอบวติ กกังวลเรื่องไมเปน เรอ่ื ง คิดตรกึ ตรองไปเรือ่ ยๆ ไมคอยแนน อนอะไรนัก ๕. สัทธาจริต มีศรัทธาเปนปกติ หรือมีศรัทธาเปนเจาเรือน หมายถึง คนที่มีลักษณะ นิสัยมากดวยศรัทธา ประพฤติหนักไปทางถือมงคลตื่นขาว เช่ืองายโดยปราศจากเหตุผลและ วิจารณญาณ ไวใจทมุ เทใจใหผอู นื่ ไดง า ย ชอบเร่ืองไสยศาสตรห รืออาํ นาจลกึ ลบั ๖. พุทธิจริต (หรือ ญาณจริต) มีความรูเปนปกติ หรือมีพุทธิปญญาเปนเจาเรือน หมายถึง คนท่ีมีลักษณะนิสัยความประพฤติหนักไปทางใชความคิดพิจารณาไปตามความจริง มีปญ ญาเฉยี บแหลม วองไว ไดย ินไดฟงอะไรมกั จําไดเ รว็ คนราคจริต ควรแกด วยการใหเ จรญิ อสภุ กัมมฏั ฐาน ๑๐ และกายคตาสติ คนโทสจรติ ควรแกดว ยการใหเจริญกัมมฏั ฐานประเภทวณั ณกสณิ ๔ (เพงกสิณส)ี คนโมหจริต ควรแกดว ยการใหเจริญอานาปาณสตกิ มั มัฏฐาน (หรอื เพง กสิณก็ได) คนสัทธาจริต ควรแกดวยการใหเจริญกัมมัฏฐานประเภทอนุสสติ ๖ ประการ คือ พุทธานุสสติ ธมั มานสุ สติ สังฆานสุ สติ สลี านุสสติ จาคานุสสติ และเทวตานุสสติ เน้อื ใน นกั ธรรม ช้นั โท เลม 2 93

9๙๔4 คมู อื การศกึ ษานกั ธรรมชน้ั โท คนพุทธจริต ควรแกดวยการใหเจริญกัมมัฏฐาน ๔ ประการ คือ มรณัสสติ อุปสมานุสสติ อาหาเรปฏกิ ูลสญั ญา และจตญุ าตุววตั ถาน ๑. สฺวากฺขาโต ภควตา ธมฺโม พระธรรมอนั พระผูมพี ระภาคเจาตรัสดีแลว ๒. สนฺทิฏฐ ิโก อันผูไดบ รรลจุ ะพึงเห็นเอง ๓. อกาลิโก ไมป ระกอบดว ยกาล ๔. เอหปิ สสฺ โิ ก ควรเรยี กใหม าดู ๕. โอปนยโิ ก ควรนอมเขามา ๖. ปจฺจตตฺ ํ เวทติ พฺโพ วิฺูหิ อันวญิ ชู นพงึ รเู ฉพาะตน ธรรมคุณ แปลวา คุณของพระธรรม หมายถึง คําสอนในทางพระพุทธศาสนาที่บุคคล ประพฤติปฏิบตั ิดีแลว จะไดผ ลคือความดี ทานจําแนกไว ๖ ประการ คอื ๑. สฺวากฺขาโต ภควตา ธมฺโม พระธรรมอันพระผูมีพระภาคเจาตรัสดีแลว หมายถึง พระพุทธพจนท ่ีพระพุทธองคต รัสส่ังสอนซง่ึ รับการประมวลไวใ นพระไตรปฎกเปน พระดํารสั ที่ตรัส ไมวปิ ริต คือตรัสไวเปน ความจริงแท เพราะแสดงขอ ปฏบิ ัตโิ ดยลําดบั กนั ท่เี รยี กวางามหรือไพเราะ ในเบือ้ งตน ทามกลาง และท่ีสดุ พรอ มทงั้ อรรถพรอ มท้งั พยัญชนะ ประกาศพรหมจรรย (หลักการ ครองชวี ติ อนั ประเสริฐ) บริสทุ ธิ์บริบูรณ ส้นิ เชิง ๒. สนฺทฏิ ฐโิ ก อันผไู ดบ รรลุจะพงึ เห็นเอง หมายความวา ผูใดปฏิบัติ ผูใดบรรลุ ผูนั้น ยอมเห็นประจักษดวยตนเอง ผูใดไมปฏิบัติ ไมบรรลุ แมผูอ่ืนจะบอก ก็เห็นแจงชัดตามคําบอก ไมไ ด ๓. อกาลิโก ไมประกอบดว ยกาล หมายความวา ไมขึ้นกบั กาลเวลา พรอมเม่ือใดบรรลุ ไดทันที บรรลุเม่ือใดเห็นผลไดทันที อีกนัยหน่ึงเปนจริงอยูอยางไรก็เปนอยางน้ัน ไมจํากัดดวย เน้อื ใน นกั ธรรม ช้นั โท เลม 2 94

 9๙5๕ วชิ า ธรรมวภิ าค กาลเวลา จึงสรุปวา พระธรรมคาํ สอนในทางพระพทุ ธศาสนาทันสมัยตลอดกาล ๔. เอหิปสฺสิโก ควรเรยี กใหมาดู หมายความวา ควรเชิญชวนใหมาชมและพิสูจน หรือ ทาทายตอการตรวจสอบ เพราะเปนของจริงและดีจริง อนึ่ง พระธรรมมีคุณเปนอัศจรรยดุจของ ประหลาดทค่ี วรปา วรอ งกนั มาดมู าชม ๕. โอปนยิโก ควรนอมเขามา หมายความวา ควรนอมเขามาไวในใจ หรือนอมใจ เขา ไปใหถึงดวยการปฏบิ ตั ใิ หเ กดิ มขี น้ึ ในใจ หรือใหใจบรรลถุ งึ อยา งนนั้ ๖. ปจจฺ ตฺตํ เวทติ พโฺ พ วิ ฺ ูหิ อนั วิญูชนพึงรูเฉพาะตน หมายความวา ผูใดไดบรรลุ ผูน ้ันยอมรูแจงเฉพาะตน กลาวคือ เปนวิสัยของวิญูชน หรือบัณฑิตจะพึงรูได เปนของจําเพาะ ตนตอ งทําคือปฏิบัติเอง จึงเสวยคือรับผลไดเฉพาะตัว ทําใหกันไมได และรูไดประจักษในใจของ ตนนเี้ ทา น้นั หมวดที่ ๑ จักขุ โสตะ ฆานะ ชิวหา กาย มโน ซึ่งเปนท่ีเชื่อมตอใหเกิดความรับรู หมวดที่ ๒ หรอื เปน แดนตอความรบั รูฝายภายในของคนเรา รูป เสยี ง กล่ิน รส โผฏฐพั พะ ธรรม เปน แดนตอความรับรูฝายภายนอก ของคนเรา โดยเปนสิ่งท่ถี กู รับรูท่สี มั พันธกับอายตนะภายใน ๖ เน้อื ใน นกั ธรรม ช้นั โท เลม 2 95

9๙6๖ คมู อื การศกึ ษานกั ธรรมชน้ั โท เน้อื ใน นกั ธรรม ช้นั โท เลม 2 หมวดที่ ๓ จักขุวิญญาณ โสตวิญญาณ ฆานวิญญาณ ชิวหาวิญญาณ กาย วิญญาณ มโนวิญญาณ ซงึ่ เปนสภาวะรูแ จง อารมณของคนเรา หมวดท่ี ๔ จักขสุ ัมผัส โสตสัมผัส ฆานสัมผัส ชิวหาสัมผัส กายสัมผัส มโนสัมผัส ซึ่งเปนภาวะกระทบ ประจวบกันแหงอายตนะภายใน อายตนะภายนอก และวญิ ญาณของคนเรา หมวดท่ี ๕ จักขุสัมผัสสชาเวทนา โสตสัมผัสสชาเวทนา ฆานสัมผัสสชาเวทนา ชิวหาสัมผัสสชาเวทนา กายสัมผัสสชาเวทนา มโนสัมผัสสชาเวทนา ซ่ึงเปนการเสวยอารมณ (รูสึกเปนสุขยินดี เปนตนตอสิ่งท่ีมากระทบ) ท่ี เกดิ จากการสมั ผสั ทางตา หู จมกู ลิ้น กาย และใจของคนเรา หมวดท่ี ๖ รูปสัญญา สัททสัญญา คันธสัญญา รสสัญญา โผฏฐัพพสัญญา ธัมม- สัญญา ซึ่งเปนความกําหนดได หรือความจําไดหมายรูในรูป เปนตนวา ดํา แดง เขยี ว ขาว หมวดท่ี ๗ รูปสัญเจตนา สัททสัญเจตนา คันธสัญเจตนา รสสัญเจตนา โผฏฐัพพ- สัญเจตนา ธัมมสัญเจตนา ซ่ึงเปนความจงใจ ความต้ังใจ ความจํานง หรือความแสวงหาอารมณมีรปู เปนตนของคนเรา หมวดท่ี ๘ รูปตัณหา สัททตัณหา คันธตัณหา รสตัณหา โผฏฐัพพตัณหา ธัมม- ตัณหา ซ่งึ เปน ความทะยานอยาก ดิ้นรนแสห าอารมณของคนเรา หมวดท่ี ๙ รูปวิตก สัททวิตก คันธวิตก รสวิตก โผฏฐัพพวิตก ธัมมวิตก ซึ่งเปน ความตริตรึกเก่ียวกับรูป เสียง กลิ่น รส โผฏฐัพพะ และธรรมารมณท่ีเกิด ในลําดบั แหงตณั หาของคนเรา หมวดที่ ๑๐ รูปวิจาร สัททวิจาร คันธวิจาร รสวิจาร โผฏฐัพพวิจาร ธัมมวิจาร ซึ่ง เปนความตรองเกี่ยวกับรูป เสียง กล่ิน รส โผฏฐัพพะ และธรรมารมณท่ี เกดิ ในลาํ ดับแหงวิตกของคนเรา ปยรูป แปลวา รูปอันเปนท่ีรัก สาตรูป แปลวา รูปอันเปนที่ช่ืนใจ หมายถึง ส่ิงที่มี สภาวะนา รักนา ชืน่ ใจ โดยกลาวเนนในฝายอิฏฐารมณ เปนท่ีเกิดและเปนที่ดับของตัณหา ตัณหา เม่ือจะเกิดข้ึน ก็เกิดขึ้นในปยรูป - สาตรูปเหลาน้ี และเมื่อจะดับ ก็ดับในปยรูป - สาตรูปเหลานี้ เหมือนกนั มี ๑๐ หมวด หมวดละ ๖ อยาง โดยลาํ ดับตอ เนอ่ื งกนั 96

 9๙7๗ วชิ า ธรรมวภิ าค เน้อื ใน นกั ธรรม ช้นั โท เลม 2 สวรรค แปลวา ภพที่มีอารมณอันเลิศ หมายถึง ภพภูมิอันมีแตความสุข เปนโลกท่ี ลํ้าเลิศอยางดีดวยสมบัติท้ังหลาย เรียกวา เทวโลก คือสถานที่เกิดอยูของพวกเทวดา ในที่นี้ หมายเอาเฉพาะสวรรคชั้นท่ียังเกี่ยวของกับกามซึ่งนับเขาในกามภพ มีทั้งหมด ๖ ชั้น เรียกชื่อ เตม็ วา ฉกามาพจรสวรรค หรอื กามาวจรสวรรค ๖ ชั้น คอื ๑. ชน้ั จาตมุ หาราชิกา สวรรคที่ทาวมหาราช ๔ ปกครอง จัดเปนสวรรคช้ันตํ่าท่ีสุดมี ทา วมหาราช ๔ องค หรือทาวจตโุ ลกบาลเปน ผปู กครองดแู ล ซึ่งมีนามปรากฏดังน้ี (๑) ทาวธตรฐ จอมคนธรรพ ปกครองทิศตะวันออก (๒) ทาววริ ุฬหก จอมกุมภัณฑ ปกครองทิศใต (๓) ทาววิรูปกข จอมนาค ปกครองทศิ ตะวนั ตก (๔) ทา วกเุ วร หรือทา วเวสวณั จอมยักษ ปกครองทศิ เหนือ ๒. ชั้นดาวดึงส แดนแหงเทพ ๓๓ เปนสวรรคที่รูจักกันดี เพราะมีทาวสักกะหรือ พระอินทรเ ปนจอมเทพ บางทีเรียกไตรตรงึ ษ เพราะเปนทอี่ ยูของทาวสักกเทวราชกับเทพผูสหจร รวม ๓๓ ไมมีพวกสัตวดิรัจฉาน แตจะมีพวกเทวดากับอสูร สวนใหญจะทําสงครามกันตลอด ระหวา งเทวดากบั อสรู ผลท่สี ดุ พวกอสรู กแ็ พส งคราม ๓. ชนั้ ยามา แดนแหงเทพผปู ราศจากทกุ ข เปน สวรรคท่ีมีทาวสยุ ามเปนผูปกครอง ๔. ชั้นดุสิต แดนแหงเทพผูเอิบอิ่มดวยสิริสมบัติของตน เปนสวรรคที่มีทาวสันดุสิต เปน ผปู กครอง ถือกันวาเปนท่ีอุบัติของพระบรมโพธิสัตวในพระชาติสุดทายกอนจะเสด็จปฏิสนธิ ในพระครรภมารดาอุบัติเปนมนุษยและตรสั รูเปนพระพทุ ธเจา ๕. ชั้นนิมมานรดี แดนแหงเทพผูยินดีในการเนรมิต เปนสวรรคที่มีทาวสุนิมมิต เปน จอมเทพผปู กครอง ถือกันวา เทวดาช้นั นี้ ปรารถนาส่งิ ใดสง่ิ หนงึ่ กน็ ิรมติ เอาเองได ๖. ช้ันปรนิมมิตวสวัตตี (หรือ วัตดี) แดนแหงเทพผูยังอํานาจใหเปนไปในกามสุข ที่ผูอื่นเนรมิตให คือเสวยสมบัติที่เทพพวกอื่นนิรมิตให เปนสวรรคท่ีมีทาวนิ มมิตวสวัตดี เปนผูปกครอง กลา วกนั วา เทวดาชน้ั นปี้ รารถนาสิ่งใดสง่ิ หน่ึง ไมต อ งนิรมติ เองเหมือนพวกเทวดา ช้ันนิมมานรดี แตม ีเทวดาอ่ืนนริ มติ ใหอกี ที 97

9๙8๘ คูมอื การศกึ ษานกั ธรรมชนั้ โท เน้อื ใน นกั ธรรม ช้นั โท เลม 2 สัตตกะ หมวด ๗ อนสุ ัย แปลวา ความนอนเนื่อง หมายถงึ กเิ ลสทีน่ อนเน่ืองอยูใ นจิตสนั ดาน จัดเปนกิเลส ข้นั ละเอยี ด โดยท่กี เิ ลสเครื่องเศราหมองนน้ั ทา นจัดลําดับเปน ๓ ข้ัน คือกิเลสขั้นหยาบท่ีเปนเหตุ ใหลวงละเมิดศีล เรียกวา วีติกกมกิเลส กิเลสขั้นกลางที่คอยกลุมรุมจิตมิใหสงบเปนสมาธิหรือ บรรลคุ ุณความดี เรยี กวา ปรยิ ุฏฐานกเิ ลส และกิเลสข้ันละเอียดทีฝ่ ง แนนอยูในจิตสันดานโดยจะ ปรากฏออกมาตอเมื่อมีอารมณภายนอกมากระทบ เรียกวาอนุสัยกิเลส ซ่ึงตองอาศัยวิปสสนา ปญ ญาจงึ ละได มี ๗ ชนดิ คือ ๑. กามราคะ หรอื กามราคานสุ ยั อนุสัยคือกามราคะ ความกําหนดั ในกาม หมายถึง ความยินดีตัดใจในเรื่องกามคุณ หรือกามารมณท่ีฝงแนนอยูในจิตสวนลึก เมื่อมีอารมณท่ีนา ปรารถนาเขามาปฏิสัมพันธย่ัวยวนชวนใหกําหนด ก็จะทําใหผูน้ันไมสามารถรูสึกผิดชอบช่ัวดี สามารถทจ่ี ะลวงอกศุ ลกรรมบถประพฤติกาเมสุมจิ ฉาจารได ๒. ปฏฆิ ะ หรอื ปฏฆิ านุสยั อนสุ ัยคือปฏิฆะ ความขัดใจ หมายถึง ความหงุดหงิดขัดเคือง ดวยอํานาจโทสะ คือความคิดประทุษรายท่ีฝงแนนอยูในจิตใจสวนลึกเมื่อถูกอารมณที่ไมนา ปรารถนาหรือไมนายินดีเขากระทบกระท่ังจิตใจ ก็เกิดความฉุนเฉียวขัดใจข้ึนมา หากขาดสติ ยับยั้งชั่งใจ ก็สามารถที่จะบันดาลโทสะลวงอกุศลกรรมบถ ประพฤติปาณาติบาตทําอันตรายแก ผูคนหรอื สตั วท่ตี นมุง รา ยใหต กตายหรอื บาดเจ็บได 98

 9๙9๙ วชิ า ธรรมวิภาค ๓. ทิฏฐิ หรือ ทิฏฐานุสัย อนุสัยคือทิฏฐิ ความเห็นผิด หมายถึง ความคิดเห็นที่ผิด จากทาํ นองคลองธรรม เชน เห็นวาทําดี ไมไดดี ทําชั่ว ไมไดช่ัว คุณของมารดาบิดาไมดี เปนตน ความคิดเห็นผิดเชนนี้เมื่อครอบงําจิตของผูใดก็จะทําใหผูนั้นแสดงพฤติกรรมท่ีเปนไปในทางที่ ผิดๆ คอื ประพฤติอกศุ ลกรรมบถไดต ามใจทปี่ รารถนาอยเู ปนนิตย ๔. วิจิกิจฉา หรือ วิจิกิจฉานุสัย อนุสัยคือวิจิกิจฉา ความลังเลสงสัย หมายถึงความ สงสัยไมแนใจในเร่ืองคุณความดีเปนตนที่ฝงแนนอยูในจิตสวนลึก เม่ือครอบงําจิตของผูใดแลว ก็จะทําใหผูน้ันคิดวกวนไมม่ันใจในการประกอบกิจบําเพ็ญกุศลอันเปนประโยชนแกตน ไมส ามารถจะตัดสินใจใหแ นนอนได ๕. มานะ หรือ มานานุสยั อนสุ ัยคือมานะ ความถือตัว หมายถึง ความสําคัญตัว เชน ถือตัววาตนมีชาติตระกูลสูง มีความรูสูง มีทรัพยสมบัติมาก มีความดีเดนกวาผูอื่น เปนตน ผูมี มานะฝงแนนอยูในใจตนเชนนี้ยอมมีความหยิ่งจองหองอยูในใจ ไมสามารถท่ีจะประพฤติตน ตามมารยาทอันดงี ามในสังคมได ๖. ภวราคะ หรือ ภวราคานุสัย อนุสัยคือภวราคะ ความกําหนัดในภพ หมายถึง ความติดใจเพลิดเพลินใจอยูในภพคือภาวะชีวิตที่เปนอยูน้ัน ๆ ท่ีฝงแนนอยูในจิตใจสวนลึก จิตของผูที่ถูกราคะครอบงํายอมไมยอมรับสภาพความเปนจริงของสรรพส่ิงท่ีเปนไปตามกฎ ไตรลกั ษณหรอื โลกธรรม ทําใจไมไ ดเมอ่ื ประสบความเส่ือมลาภ เสอ่ื มยศ หรอื สญู เสยี สิง่ ใดส่งิ หน่ึง อันเปน ท่ีรกั ไมป รารถนาใหส่ิงอันเปน ท่ีรักเหลานน้ั อันตรธานเสอ่ื มสญู ไป ๗. อวชิ ชา หรือ อวชิ ชานุสยั อนุสัยคืออวิชชา ความไมรูสภาพจริง เปนชื่อของโมหะ หมายถึง สภาพจิตท่ีหลงไมรูจริงในส่ิงอันเปนความจริงแหงชีวิต ไดแก ความไมรูในอริยสัจ หรือ ปฏิจจสมุปบาท คืออวิชชาน้ีมีอยูในจิตสันดานของผูใด ยอมทําใหผูน้ันไมรูอรรถ ไมรูธรรม ไมร เู ทาทันสภาพความเปน จรงิ ของสรรพส่งิ ทั้งหลาย อนุสัยทั้ง ๗ นี้ เรียกอีกอยางวา สังโยชน ๗ (กิเลสท่ีประกอบสัตวไวไมใหหลุดพน จากสงสารทุกข) เปนกิเลสนอนเน่ืองในสันดาน สงบนิ่งอยูในสวนลึกของจิต แตเมื่อมีอารมณที่ ไมนา ยนิ ดี ไมนาปรารถนามากระทบเขาจึงแสดงอาการใหปรากฏ เมถุนสังโยค ๗ สมณะก็ดี พราหมณก็ดี บางคนปฏิญญาณตนวาเปนพรหมจารีจริง ๆ หาไดเสพ เมถุนกับดวยมาตุคามไมเลย แตยังยินดี ปลื้มใจ ช่ืนใจดวยเมถุนสังโยค คืออาการแหง เมถุน ๗ อยา งใดอยางหนึง่ คอื เน้อื ใน นกั ธรรม ช้นั โท เลม 2 99

1๑0๐0๐ คูมอื การศกึ ษานกั ธรรมชนั้ โท เน้อื ใน นกั ธรรม ช้นั โท เลม 2 พรหมจรรยของผูนั้นช่ือวาขาด ช่ือวาทะลุ ช่ือวาดาง ช่ือวาพรอย ผูน้ันประพฤติ พรหมจรรยไ มบ รสิ ุทธ์ิ ประกอบดวยเมถนุ สังโยค ยอ มไมพนไปจากทุกขไ ด เมถุนสังโยค คือ การประกอบกิริยาแหงเมถุน หมายถึง อาการท่ีเก่ียวของกับเมถุน (การประพฤติของคนคูที่มีความกําหนัดรักใครตอกัน) หรือความประพฤติพัวพันกับเมถุน ซึ่งมีความหมายเปนกิริยาที่ใกลตอการเสพเมถุนลดหลั่นกันมาโดยลําดับ ทานกลาววา สมณพราหมณหรือบรรพชิตผูเปนนักบวชปฏิญญาณตนวาประพฤติพรหมจรรย แมจะไมเสพ เมถุนโดยตรง แตถายังมีพฤติกรรมแสดงออกเปนความยินดีในเมถุนสังโยค ๗ อยาง เชนนี้ สมณพราหมณ หรือนักบวชผูน้ันช่ือวาประพฤติพรหมจรรยไมบริสุทธ์ิ ไมสามารถจะหลุดพน จากวฏั ฏทกุ ขได 100


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook