Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore ข้อปฏิบัติการใช้ห้องปฏิบัติการ

ข้อปฏิบัติการใช้ห้องปฏิบัติการ

Published by Thitima88pra, 2020-05-17 03:01:04

Description: ข้อปฏิบัติการใช้ห้องปฏิบัติการ

Search

Read the Text Version

ว20203 1. ข้อปฏิบัตกิ ารใชห้ อ้ งปฏบิ ัติการ ครูธิติมา ประคองทรพั ย์

คมู่ อื หอ้ งปฏิบตั กิ ารทางวิทยาศาสตร์

PART I ข้อควรปฏบิ ัติในการใช้ห้องปฏบิ ัตกิ ารทางวิทยาศาสตร์ การกาหนดขอ้ ควรปฏบิ ัติในการใชห้ อ้ งปฏบิ ัตกิ าร ทางวิทยาศาสตร์ จัดเปน็ การป้องกันไมใ่ ห้เกิดอุบตั ิเหตุหรอื อนั ตรายข้นึ ซงึ่ ผู้ปฏบิ ตั ิทกุ คนควรทีจ่ ะต้องปฏิบัติตาม ดังน้ี • ควรศึกษาคมู่ ือปฏบิ ัตกิ ารใหเ้ ขา้ ใจกอ่ นลงมอื ปฏบิ ตั ิ ถา้ ไม่เขา้ ใจหรอื ต้องปฏิบัตกิ าร นอกเหนือจากที่กาหนดตอ้ งปรึกษาเจ้าหน้าทป่ี ระจาห้องก่อน และไมค่ วรปฏบิ ตั กิ ารอยู่ ในหอ้ งเพียงลาพัง • ควรศกึ ษาคู่มือการใชง้ านอปุ กรณ์การทดลองทุกชนิดก่อนการใช้งาน ไม่ควรนา อปุ กรณ์ทดลองมาใสอ่ าหาร เครื่องด่ืม และไม่นาออกจากหอ้ งโดยไมไ่ ด้รับอนุญาต

ข้อควรปฏบิ ตั ิในการใชห้ ้องปฏบิ ัตกิ ารทางวทิ ยาศาสตร์ • กอ่ นและหลังลงมือปฏบิ ัติการควรทาความสะอาดโต๊ะปฏิบัติการ และล้างมอื ให้ สะอาด หลังปฏิบัตกิ ารต้องทาความสะอาดเคร่ืองมือและเก็บเข้าที่เดมิ ทุกคร้ัง • สารเคมีทุกชนดิ ในห้องปฏบิ ตั ิการควรไดร้ บั คาแนะนาท่ถี ูกตอ้ งกอ่ นการใช้งาน และไม่นาสารเคมีออกจากห้องกอ่ นได้รับอนญุ าต • ผปู้ ฏิบตั ิการควรแตง่ กายใหร้ ัดกุมและเหมาะสม เม่ือตอ้ งปฏบิ ตั กิ ารกับสารเคมี อนั ตรายควรสวมใส่อปุ กรณ์ปอ้ งกนั ภัยสว่ นบุคคลตามลักษณะการทางาน • เม่ือเกดิ อุบัตเิ หตุ หรือมีความผดิ ปกติใดๆ ต้องแจง้ และรายงานอบุ ตั เิ หตุให้ เจา้ หนา้ ที่ประจาห้องทราบโดยทันที

PART II เครอื่ งมอื และอปุ กรณป์ ระจาหอ้ งปฏิบัติการทางวิทยาศาสตร์ เครอ่ื งมือ อปุ กรณ์ เพือ่ ความปลอดภัยในการทางานกบั สารเคมี 1. เคร่ืองมือเพื่อความปลอดภัยประจาหอ้ งปฏิบตั ิการทางวทิ ยาศาสตร์ 2. อุปกรณ์ป้องกนั สว่ นบุคคล (Personal Protective Equipment)

Fume Hood (ต้ดู ดู ควนั ) เพอ่ื ใช้ในการปฏบิ ัติงานทเ่ี กี่ยวขอ้ งกับสารเคมที ม่ี ี ไอระเหยหรอื มีความเขม้ ข้นสงู ซ่ึงตดิ ตง้ั ใน หอ้ งปฏบิ ัติการทางเคมี หลกั สาคัญของการทางาน คือ ต้องมกี ารดดู ไอหรือควนั ของสารอนั ตรายโดยผ่าน พัดลมดดู อากาศ ซง่ึ ต้องมีการตรวจสอบ/ตรวจวดั ตใู้ ห้ไดม้ าตรฐานตามทรี่ ะบไุ ว้ ในวิธกี ารใช้ และคมู่ อื การใช้เครอ่ื ง ทั้งน้เี พ่อื ให้เกิดความม่นั ใจในความปลอดภัย ของผ้ปู ฏิบัตงิ าน และท่ีผู้เกี่ยวขอ้ ง

Laminar Flow (ตู้ปลอดเช้ือ) เพอื่ ปอ้ งกันตัวผู้ปฏิบตั ิงาน, สภาวะแวดล้อมในพนื้ ทปี่ ฏบิ ัติงานจากการปนเปือ้ น ของเช้อื จลุ ินทรียแ์ ละฝุ่นละอองท่ีอยู่ในอากาศ ซงึ่ ตดิ ตัง้ ในหอ้ งปฏบิ ัตกิ ารชวี วิทยา หลักสาคญั ในการทางาน คือ ตอ้ งปอ้ งกนั ผู้ปฏบิ ตั งิ าน ไมใ่ หไ้ ด้รับอันตรายจากการปนเป้อื น ลงสสู่ ว่ นทเี่ ป็นตัว กรองฝนุ่ และสารจุลชีพ และมีระบบกรองอากาศที่ออก จากตวั เคร่ืองโดยใช้ filter ชนดิ ที่มคี วามสามารถในการ กรองจุลชพี และยงั มีสว่ นของหลอด UV ซง่ึ มไี วใ้ นการฆา่ เชอื้ โรคก่อนและหลงั การปฏบิ ตั ิงาน

Eye Wash & Emergency Shower จะใชท้ าความสะอาดบริเวณตา บริเวณใบหนา้ และลาตวั อัน เนอ่ื งมาจากถูกสารเคมี ควรมตี ดิ ต้ังไวใ้ กล้บริเวณท่ีต้องมีการปฏิบัติงาน กับ สารเคมีและสารอันตราย เพ่อื ช่วยบรรเทาอบุ ัตเิ หตุ ที่ เกดิ ขนึ้ ในเบือ้ งต้นได้

Personal Protective Equipment อุปกรณ์ป้องกนั ใบหน้าและตา อปุ กรณป์ อ้ งกนั การหายใจ อปุ กรณป์ ้องกนั ลาตัว อุปกรณป์ ้องกนั มอื

อปุ กรณป์ อ้ งกนั ใบหน้าและตา ป้องกนั ตา และใบหน้าจากไอระเหย หรือการกระเด็นของสารเคมี หรอื ของเหลวทเ่ี ปน็ อนั ตราย แว่นครอบตาป้องกันสารเคมี (Chemical Goggle) หนา้ กากปอ้ งกันสารเคมี (Face shield)

อปุ กรณ์ปอ้ งกนั การหายใจ เป็นอปุ กรณ์ช่วยปอ้ งกันอันตรายจากมลพษิ เขา้ สู่รา่ งกายโดยผา่ นทางปอด ซง่ึ เกิดจากการหายใจเอามลพิษท่ีปนเปอ้ื นอยู่ในอากาศ หรอื เกิดจากปริมาณ ออกซเิ จนในอากาศไม่เพยี งพอ หน้ากากกรองสารเคมี เพ่อื กาจัด ดดู ซับไอระเหยของมลพิษ สารอินทรีย์ หรือก๊าซพษิ ท่ีจะหายใจเข้าไป

อปุ กรณ์ปอ้ งกันลาตวั เป็นอปุ กรณ์ทส่ี วมใส่เพอ่ื ปอ้ งกนั อนั ตรายจากการกระเดน็ หกรดของสารเคมี ชุดปอ้ งกันสารเคมี ทาจากวัสดุทท่ี นต่อสารเคมี เช่น โพลเิ มอร์ ใยสงั เคราะห์ Polyester และเคลือบด้วย Polymer ซง่ึ มหี ลายแบบ - ผ้ากนั เปื้อนป้องกันเฉพาะลาตัว และขา - เส้ือคลุมป้องกนั ลาตัว แขน และขา

อปุ กรณป์ ้องกันมือ สวมใสเ่ พอื่ ลดการบาดเจบ็ ของอวัยวะส่วนนิ้ว มอื และแขน ป้องกันมือ จากอนั ตรายท่ีอาจเกิดขึ้นขณะทางานกับสารเคมี ใชท้ กุ ครั้งที่มกี ารเตรยี มสารเคมี หรอื ทางานกบั สารเคมี และหลังจากการใช้งานเสร็จใหท้ ิ้งลงในภาชนะที่จัดเตรียม ไว้ให้เฉพาะ Disposable Vinyl Gloves Disposable Nitril Gloves Disposable Latex Gloves

อปุ กรณ์ปอ้ งกนั ใบหนา้ และตา แวน่ ตานริ ภยั ปอ้ งกนั สารเคมี ปอ้ งกันตาจากไอระเหย และ แวน่ ตาควรทาจากวัสดทุ ท่ี นตอ่ (Chemical Goggles) การกระเดน็ ของสารเคมีหรอื สารเคมี ใชค้ รอบตาไดพ้ อดี หรอื สามารถยดื หยนุ่ ได้ ทาความสะอาด ของเหลวทีเ่ ป็นอันตราย ทกุ ครั้งหลังจากการใช้งาน หนา้ กากปอ้ งกันสารเคมี ปอ้ งกันตา และ ใบหน้าจาก ควรใชห้ น้ากากทุกครง้ั ทีท่ างานกบั (Face shield) การกระเดน็ ของสารเคมีหรอื สารเคมี ซ่ึงมโี อกาสกระเด็นใส่ตา ของเหลวทเ่ี ป็นอนั ตราย และใบหนา้

อุปกรณ์ป้องกันการหายใจ หน้ากากกรองสารเคมี (Chemical Cartridge Respirator) เพอื่ กาจัด ดดู ซับไอระเหยของมลพษิ สารอินทรยี ์ หรอื ก๊าซพษิ ท่จี ะหายใจเข้าไป ไมค่ วรใชใ้ นทท่ี ี่มอี ากาศเป็นพษิ มากๆ, ในทท่ี มี่ ีความ เขม้ ข้นของสารเป็นพษิ , ในบรเิ วณท่มี อี อกซิเจนน้อย, ใน บริเวณที่มสี ารเคมเี ป็นพษิ ชนิดไมม่ ีกลิ่น หรอื บริเวณทีม่ ี สารทีท่ าใหเ้ กดิ การระคายเคืองตอ่ ตา

อปุ กรณ์ปอ้ งกนั ลาตวั ชดุ ป้องกนั สารเคมี ทาจากวสั ดุทท่ี นตอ่ สารเคมี เชน่ โพลเิ มอร์ ใย สงั เคราะห์ Polyester และเคลอื บด้วย Polymer ซงึ่ มหี ลายแบบ - ผา้ กันเปื้อนป้องกนั เฉพาะลาตัว และขา - เสอื้ คลุมปอ้ งกันลาตวั แขน และขา

อปุ กรณป์ ้องกันมอื ถงุ มือ ป้องกันมอื จากอนั ตรายทอ่ี าจ ใช้ทุกครั้งท่มี กี ารเตรยี มสารเคมี หรอื ทางาน เกดิ ขน้ึ ขณะทางานกับสารเคมี กับสารเคมี และหลังจากใชง้ านเสร็จใหท้ ง้ิ (Gloves) ลงในภาชนะท่จี ัดเตรยี มไว้ให้เฉพาะ Disposable Vinyl Gloves Disposable Nitril Gloves Disposable Latex Gloves

อุปกรณป์ ้องกันเท้า รองเทา้ ปอ้ งกนั สารเคมี : ทาจากวสั ดุทที่ นตอ่ การกัดกรอ่ นของ สารเคมี เชน่ ไวนลิ นโี อพรนี ยางธรรมชาติ หรือยางสังเคราะห์ ▪ ชนิดทม่ี หี วั โลหะ ▪ ชนิดไมม่ หี ัวโลหะ

Part III ขอ้ มูลเพ่ือความปลอดภัยและการบรหิ ารจัดการสารเคมี 1. ขอ้ มลู ประจาหอ้ งปฏบิ ตั กิ ารทางวิทยาศาสตร์ 2. MSDS (Material Safety Data Sheet) 3. ฉลากปดิ บนภาชนะบรรจสุ ารเคมี

ขอ้ มลู ประจาห้องปฏบิ ัตกิ าร

MSDS (Material Safety Data Sheet) ⚫ คณุ สมบัติ ความเปน็ อนั ตราย วิธกี ารเขา้ ส่รู า่ งกาย การปฐมพยาบาลเบอ้ื งต้น ⚫ วิธรี ะงับเหตเุ บอื้ งต้น ⚫ อปุ กรณป์ อ้ งกนั เฉพาะบคุ คลทจี่ าเป็นต้องใช้ ⚫ แหล่งข้อมลู ความปลอดภัยซงึ่ มขี ้อมลู ด้านความปลอดภัยทีส่ มบรู ณ์ตามมาตรฐานสากล ตามขอ้ กาหนดของ OSHA (Occupational Safety and Health Administration) ⚫ เอกสาร MSDS ทส่ี มบรู ณ์ตามมาตรฐานสากลมีโครงสร้างและข้อมูลรวมท้ังสิ้น 16 สว่ น ⚫ ส่วนท่ี 1-10 ข้อมลู ท่ตี ้องมีตามข้อกาหนดของ OSHA ⚫ ส่วนที่ 11-16 ข้อมลู แนะนาให้บรรจุไวใ้ นเอกสาร MSDS เพ่ือความสมบูรณ์ของเน้อื หา ด้านความปลอดภยั

การบริหารจัดการสารเคมี การทางานกบั สารเคมใี นหอ้ งปฏบิ ัติการทางวทิ ยาศาสตร์ หากนามา ใชโ้ ดยขาดความร้คู วามเข้าใจ กอ็ าจทาใหเ้ กิดความเสยี หายตอ่ ตนเอง และผทู้ ี่ เก่ยี วขอ้ งได้ ดงั น้นั สิ่งทผี่ ปู้ ฏบิ ัตงิ านควรเรียนรู้ คือ เครอ่ื งหมายต่างๆ ทเี่ ก่ยี วข้องกบั สารเคมี และวิธกี ารทางานกับสารเคมีอยา่ งปลอดภยั

เครื่องหมายแสดงอันตราย

เคร่อื งหมายบ่งช้อี ันตราย เคร่อื งหมายบง่ ชี้ระดับอันตราย ของ NFPA

การจดั เกบ็ สารเคมภี ายในหอ้ งปฏิบตั กิ ารทางวิทยาศาสตร์ ใชห้ ลักการของ Compatible table - แยกตามสถานะของสารเคมี : ของแข็ง, ของเหลว, ก๊าซ - แยกตามสมบัตขิ องสารเคมี โดยแบง่ เป็น

ข้อกาหนดเฉพาะในการจดั เกบ็ สารเคมีประเภทตา่ งๆ การจัดเกบ็ สารเคมที ีเ่ ปน็ ของเหลว (ควรแยกออกจากของแขง็ ) ⚫ 1. Inorganic acid ⚫ 2. Organic acid ⚫ 3. Caustic reagent 1-3 รหสั สีเหลือง เก็บใน hood ในกรณไี ม่มี hood ควรเกบ็ ในที่มอี ากาศ ถา่ ยเทไดด้ ี ⚫ 4. Hydrocarbon รหัสสแี ดง ควรจัดเก็บในตู้ท่ีสามารถปอ้ งกนั ไฟไหมไ้ ด้

การจัดเกบ็ สารเคมที ่ีเป็นของแขง็ สารเคมีท่ีเปน็ ของแขง็ ท่ตี ้องการการจัดกลุ่มพเิ ศษ โดยไมป่ นกับกลมุ่ อ่ืน ⚫ 1. กล่มุ Caustic amine และ alkanolamines จัดกลุม่ อยดู่ ว้ ยกัน ⚫ 2. กลมุ่ Halogenated compound และ aldehyde จดั กล่มุ อยู่ด้วยกนั ⚫ 3. กลมุ่ cyanohydrins nitrate ⚫ 4. กลุม่ Alkene oxides ⚫ 5. กล่มุ Elemental phosphorus ⚫ 6. กลมุ่ Acid aldehyde

การจัดเก็บสารเคมที เ่ี ปน็ กา๊ ซ ขอ้ ควรระวงั ในการเก็บถงั ก๊าซทีอ่ ดั จากความดนั สูง ⚫ 1. ติดฉลากถังกา๊ ซเสมอ ⚫ 2. ยึดถงั กา๊ ซกับผนงั ดว้ ยสายหนังหรือโซ่คล้อง ⚫ 3. เมือ่ ใช้เสร็จ ปิดวาลว์ และไล่ความดนั ในตัวควบคุมออก และถอดตัว ควบคมุ ความดัน และปดิ ฝาครอบถังก๊าซ ⚫ 4. แยกทเี่ ก็บถังกา๊ ซออกจากที่เกบ็ สารเคมอี นื่ ๆ ⚫ 5. แยกก๊าซทีไ่ ม่สามารถอยู่รว่ มกันไดแ้ ละเกบ็ พวกท่ีเป็นสารติดไฟได้แยก จากสารทีว่ อ่ งไวต่อปฏิกริ ิยารวมถึงพวกตวั ออกซิไดซแ์ ละกดั กรอ่ นได้ ⚫ 6.แยกถงั ก๊าซเปล่าออกจากถังบรรจุเตม็ ⚫ 7.ศึกษาลกั ษณะทางกายภาพ เชน่ กลน่ิ สี (ทราบเม่อื มีการร่ัวไหล)

Part IV การบริหารจดั การของเสยี อนั ตราย การจัดแยกประเภทของเสียอันตรายภายในหอ้ งปฏิบัตกิ ารทางวิทยาศาสตร์ ของเสียอันตรายภายในห้องปฏิบัตกิ ารทางวิทยาศาสตร์ หมายถึง ของเสยี อนั ตรายจากหอ้ งปฏบิ ัตกิ ารทางวทิ ยาศาสตรท์ ี่เกดิ จากกิจกรรมปฏบิ ัติการต่างๆ ใน ห้องปฏบิ ตั กิ ารทางวทิ ยาศาสตร์ ส่วนใหญ่เป็น ของเสีย อันตรายอันเกิดจากสารเคมี

หลกั การของการแยกประเภทของเสยี หมายเลข 1 ของเสยี ทเ่ี ปน็ กรด หมายถงึ ของเสียท่มี คี า่ pH ต่ากว่า 7 และ มกี รดแร่ปนอยใู่ นสารละลายมากกว่า 5% เชน่ กรดซลั ฟรู ิก หมายเลข 2 ของเสยี ทเ่ี ปน็ เบส หมายถึง ของเสียทมี่ คี ่า pH สงู กว่า 7 และมี เบสปนอย่ใู นสารละลายมากกว่า 5% เชน่ แอมโมเนีย คารบ์ อเนต ไฮดรอกไซด์ หมายเลข 3 ของเสียทเ่ี ป็นเกลือ หมายถึง ของเสียทม่ี คี ณุ สมบัตเิ ป็นเกลือ หรือ ของเสยี ทเ่ี ป็นผลติ ผลจากการทาปฏกิ ริ ยิ าของกรดกับเบส เชน่ โซเดยี มคลอไรด์ หมายเลข 4 ของเสียที่ประกอบดว้ ยฟอสฟอรัส/ฟลูออไรด์ หมายถงึ ของเสยี ทเี่ ปน็ ของเหลวทปี่ ระกอบดว้ ยฟอสฟอรสั /ฟลูออไรด์ เช่น กรดไฮโดรฟลอู อริก หมายเลข 5 ของเสียทป่ี ระกอบด้วย ไซยาไนด์อนินทรยี ์ หมายถงึ ของเสยี ที่ มโี ซเดยี มไซยาไนด์เป็นส่วนประกอบ ซงึ่ จัดเป็นของเสยี อันตราย เช่น โซเดียม ไซยาไนด์

หมายเลข 6 ของเสียท่ีประกอบดว้ ยไซยาไนดอ์ นิ ทรีย์ หมายถึง ของเสียทม่ี ี สารประกอบเชงิ ซอ้ นไซยาไนด์ หรือ ไซยาโนคอมเพล็กเปน็ องคป์ ระกอบ เช่น [Ni (CN)4]2-, [Cu(CN)4)]2- หมายเลข 7 ของเสยี ทีป่ ระกอบดว้ ยโครเมียม หมายถึง ของเสียที่มโี ครเมียมเป็น องคป์ ระกอบ เชน่ สารประกอบ Cr6+ กรดโครมกิ เชน่ การวิเคราะหห์ าคลอไรด์ หมายเลข 8 ของเสียทเ่ี ปน็ สารปรอทอนินทรยี ์ หมายถงึ ของเสียชนดิ ท่ีมีปรอท อนินทรีย์เป็นองคป์ ระกอบ เช่น เมอควิ รี (II) คลอไรด์ ของเสียจาการวิเคราะห์ COD จะจดั อยู่ในประเภทนี้ หมายเลข 9 ของเสียทเ่ี ป็นสารปรอทอนิ ทรีย์ หมายถงึ ของเสียชนดิ ท่ีมีปรอท อนิ ทรยี ์เปน็ องค์ประกอบ เชน่ อลั คิลเมอร์ควิ รี่ หมายเลข 10 ของเสียทเ่ี ป็นสารอารเ์ ซนิก หมายถงึ ของเสยี ชนิดที่มีอารเ์ ซนกิ เป็น องคป์ ระกอบ เช่น อารเ์ ซนกิ ออกไซด์, อารเ์ ซนกิ คลอไรด์

หมายเลข 11 ของเสยี ทเี่ ป็นไอออนของโลหะหนกั อน่ื ๆ หมายถงึ ของเสียทมี่ ีไอออน ของโลหะหนักอ่ืนซงึ่ ไมใ่ ช่โครเมยี ม อารเ์ ซนิก ไซยาไนด์และปรอทเป็นส่วนผสม เช่น ตะก่ัว ซ่งึ ของเสยี จากการวิเคราะห์ TKN : ซึ่งมกี ารใช้ CuSO4 จะจดั อยใู่ นประเภทนี้ หมายเลข 12 ของเสยี ประเภทออกซไิ ดซ์ซงิ เอเจนต์ หมายถึง ของเสียที่มคี ณุ สมบตั ิ ในการทีใ่ หอ้ ิเล็กตรอนซ่ึงอาจเกิดปฏิกริ ิยารุนแรงกับสารอื่นทาใหเ้ กิดการระเบดิ ได้ เชน่ ไฮโดรเจนเปอรอ์ อกไซด์ เปอร์แมงกาเนต ไฮโปคลอไรท์ หมายเลข 13 ของเสียประเภทรีดวิ ซซ์ ิงเอเจนต์ หมายถงึ ของเสยี ทมี่ คี ณุ สมบัตใิ น การรับอเิ ล็กตรอน ซึ่งอาจเกดิ ปฏกิ ิรยิ ารุนแรงกบั สารอ่นื ทาใหเ้ กิดการระเบดิ ได้ เชน่ กรดซลั ฟิวรสั ไฮดราซนี ไฮดรอกซิลเอมนี หมายเลข 14 ของเสยี ทสี่ ามารถเผาไหมไ้ ด้ หมายถงึ ของเสยี ที่เป็นของเหลวอินทรีย์ ท่สี ามารถเผาไหม้ได้ เชน่ ตวั ทาละลายอินทรีย์ พวกอัลกอฮอลเอสเทอร์ อัลดีไฮด์ คีโตน กรดอินทรยี ์ เช่น กรดอะซติ ิก และสารอนิ ทรีย์พวกไนโตรเจนหรอื กามะถัน เช่น เอมนี เอไมด์ น้ายาทไ่ี ดจ้ ากการล้างรูป (developer)

หมายเลข 15 ของเสยี ที่เป็นน้ามนั หมายถึง ของเสียท่ีเป็นของเหลวอินทรยี ์ประเภท ไขมันทไ่ี ดจ้ ากพชื และสัตว์ เช่น กรดไขมนั นา้ มันพืช และสัตว์ น้ามันปิโตรเลยี ม และ ผลติ ภณั ฑท์ ี่ไดจ้ ากน้ามัน เชน่ นา้ มนั เบนซนิ นา้ มนั กา๊ ด น้ามนั เครอื่ ง น้ามนั หล่อลื่น หมายเลข 16 ของเสยี ที่เปน็ สารฮาโลเจน หมายถงึ ของเสียทีเ่ ป็นสารประกอบอนิ ทรีย์ ของธาตฮุ าโลเจน เชน่ คารบ์ อนเตตราคลอไรด์ ( CCl4) คลอโรเบนซิน (C6H5Cl) หมายเลข 17 ของเสยี ท่ีเปน็ ของเหลวอินทรยี ์ทป่ี ระกอบด้วยน้า หมายถึง ของเสยี ที่ เปน็ ของเหลวอนิ ทรียท์ มี่ ีนา้ ผสมอยู่ เช่น น้ามนั ผสมน้า สารท่ีเผาไหมไ้ ดผ้ สมน้า เช่น อัลกอฮอล์ผสมน้า ฟนี อลผสมน้า หมายเลข 18 ของเสียทเี่ ป็นสารไวไฟ หมายถงึ ของเสยี ท่ีสามารถลกุ ติดไฟได้ง่าย ซ่ึงต้องแยกเกบ็ ให้ห่างจากแหลง่ กาเนิดไฟ พวกความรอ้ น เคร่อื งไฟฟา้ ปลก๊ั ไฟ เป็นต้น สารไวไฟเหลา่ นี้ เช่น อะซโิ ตน เบนซิน คาร์บอนไดซัลไฟด์ ไซโคลเฮกเซน

หมายเลข 19 ของเสยี ทีม่ สี ารที่ทา้ ให้ภาพคงตัว หมายถึง ของเสยี ทีเ่ ปน็ พวกนา้ ยาลา้ งรปู หมายเลข 20 ของเสียท่ีเปน็ สารระเบิดได้ หมายถึง ของเสยี ที่เปน็ สารหรอื สารประกอบ ทเี่ มอื่ ได้รับความรอ้ น การเสยี ดสี แรงกระแทก หรอื ความดนั สูงๆ จะสามารถระเบิดได้ เชน่ พวกไนเตรต ไนตรามีน คลอเรต หมายเลข 21 ของเสียที่เป็นสารกมั มันตรังสี หมายถงึ ของเสยี ทป่ี ระกอบด้วยสาร กมั มันตรังสี ซ่งึ เป็นสารท่ไี ม่เสถยี ร สามารถแผร่ ังสี ทาให้เกิดอันตรายตอ่ ทั้งส่ิงมีชีวิต และสิ่งแวดลอ้ ม สารเหลา่ นีไ้ ด้แก่ S35 , P32, I125 เป็นตน้ หมายเลข 22 ของเสยี ที่มีจลุ ินทรยี ์ หมายถึง ของเสยี ที่ได้จากกิจกรรมการเลีย้ งเชื้อ แยกเชื้อ หรอื บ่มเพาะจลุ ินทรยี ์ รา หรอื ยีสต์ ในห้องปฏิบัตกิ าร หมายเลข 23 ของเสียจาก pilot plant หมายถงึ ของเสียท่ีไดจ้ ากกิจกรรมการวิจัย หรือ บรกิ าร โดยใชถ้ ังหมกั ขนาดใหญ่หรือจากกิจกรรมของเครื่องมอื ในระดบั ต้นแบบ

การจดั เกบ็ ของเสยี ภายในหอ้ งปฏบิ ตั กิ าร ต้องคานงึ ถงึ ประเภทของเสียทเ่ี กิดจากกจิ กรรมในห้องปฏบิ ัตกิ ารทางวิทยาศาสตร์ ซ่งึ ต้องมกี ารศึกษา ทาความเข้าใจ และแยกประเภทของของเสยี ใหถ้ กู ต้องก่อนทาการ จดั เก็บ ดังน้ี - ระบปุ ระเภทของเสยี ที่เกดิ ขึ้นอย่างชดั เจน - จดั เตรียมภาชนะจดั เกบ็ ใหถ้ ูกต้องตามประเภทของของเสีย - ตดิ ฉลากระบุหมายเลข และประเภทของของเสยี บนภาชนะจัดเกบ็ ให้เห็นชดั เจน - บนั ทกึ ของเสยี ลงในสมดุ บันทกึ ของเสียประจาห้องปฏิบตั ิการทุกคร้ัง

สถานท่ีทใ่ี ช้ในการจดั เก็บ - ภายในหอ้ งปฏิบัตกิ าร : แบง่ แยกออกจากสว่ นทป่ี ฏิบตั กิ าร และบริเวณทอี่ ากาศ ถ่ายเทไดส้ ะดวก - ประจาอาคาร : ควรอย่ชู ้นั ลา่ งสุดของอาคาร - ส่วนกลาง : ตอ้ งเปน็ สถานโรงเรอื น มพี ้นื ทก่ี วา้ งพอ อากาศถา่ ยเทได้สะดวก มี การจดั เก็บของเสียประเภทตา่ งๆ

Part V วธิ ีปฏิบตั ิเม่อื เกิดเหตฉุ กุ เฉิน เม่อื มผี ปู้ ระสบภยั หรือได้รบั บาดเจ็บ โทรศัพท์แจง้ ตามหมายเลขฉุกเฉนิ ที่ติดไว้ และ ขอความชว่ ยเหลือ ห้ามเคลอ่ื นย้ายผู้ประสบอบุ ัติเหตุ และจึงเรมิ่ ใหก้ ารปฐมพยาบาล แจง้ เหตุ : เจ้าหนา้ ทผ่ี ้รู บั ผิดชอบหอ้ งปฏิบัติการทางวิทยาศาสตร์

วธิ ีปฏิบัตเิ มอื่ เกดิ เหตฉุ ุกเฉนิ ➢ กรณีสารเคมีหกหลน่ ➢ กรณเี มื่อร่างกายถูกสารพิษ ➢ กรณีเสือ้ ผา้ ถกู ไฟไหม้ ➢ กรณีเกิดไฟไหม้หรือการระเบดิ

กรณเี ส้ือผ้าถกู ไฟไหม้ : กล้งิ ตัวผ้ปู ระสบอบุ ตั เิ หตลุ งบนพน้ื เพอ่ื ดับไฟ หรอื ลา้ งตวั ด้วยนา้ หรอื ทาใหเ้ ปยี กน้าเพอื่ ดบั ไฟในกรณีท่ี Safety Shower อยูใ่ กล้ แล้วจึงนาส่ง โรงพยาบาลทนั ที กรณีสารเคมีหกหลน่ บนรา่ งกาย : พยายามถอดเสอื้ ที่ปนเปือ้ นสารเคมีออกทันที และ ลา้ งนา้ ในบรเิ วณทโ่ี ดนสารเคมโี ดยเปิดน้าจาก Safety Shower ไมน่ อ้ ยกวา่ 15 นาที แลว้ จงึ นาส่งโรงพยาบาลทนั ที กรณีสารอนั ตรายกระเด็นเขา้ ตา : ดงึ เปลอื กตาให้เปิดกวา้ งๆ ลา้ งลูกตาและด้านใน เปลือกตา โดยเปดิ นา้ ล้างติดตอ่ กันหลายนาที กรณีทีแ่ ก้วหรอื สารแปลกปลอมอ่นื ๆ เขา้ ไปในตา อย่าขยีต้ า นาสง่ โรงพยาบาลทันที

กรณีเกดิ ไฟไหมห้ รือการระเบิด : กรณที ไี่ ม่สามารถดบั ไฟไดเ้ องให้กดป่มุ สญั ญาณ เตือนไฟไหม้ หรือโทรศพั ท์ฉกุ เฉนิ และรายงานการเกิดไฟไหม้ กรณที ี่สามารถดบั ไฟไดเ้ อง - ใชค้ าร์บอนไดออกไซด์สาหรับกรณเี กิดเพลิงไหมข้ องเหลวติดไฟ (type B) หรือ เนือ่ งจากกระแสไฟฟ้า (type D) - ใชน้ า้ ยาดับเพลิงชนดิ Dry powder-ABC สาหรบั ไฟไหมส้ ารทีต่ ิดไฟหรือเผาไม้ แบบธรรมดา (type A), หรอื ของเหลวตดิ ไฟ (flammable liquid) ซงึ่ เป็น type B หรอื เน่อื งจากกระแสไฟฟ้า type D - ใชน้ า้ ธรรมดาดับไฟกรณไี ฟลุกไหม้เนอื่ งจากสารท่ีเผาไหมไ้ ด้ แบบธรรมดาหรือ type A ใชน้ ้ายาดบั เพลิงชนิด Dry powder D สาหรบั type D ซ่งึ เปน็ ไฟฟ้าเกดิ จากโลหะถูกเผาไหม้

~THE END~


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook