Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore Important person 1

Important person 1

Published by โชค 'คค, 2021-02-28 09:00:17

Description: บุคคลสำคัญในประวัติศาสตร์ไทย

Search

Read the Text Version

IMPORTANT PERSON เสนอ ครูวฒุ ิชัย เชอื มประไพ โรงเรยี นมธั ยมวดั หนองแขม สํานักงานเขตพืนทีการศึกษามัธยมศึกษา เขต1



IMPORTANT PERSON สมาชิก (ม.5.6) 1.นายธเนศ เฉลิมศักดิ เลขที 2 2.นายวศิ รตุ ตะก้อง เลขที 5 3.นายสานติ พันธ์แุ ตง เลขที 6 4.นายอตินนั ท์ นมิ จัน เลขที 7 5.นายขจรเกยี รติ นกแสง เลขที 9 6.นายณัฐโชค ไกรทองสุข เลขที 12 7.นายแทนไท คําศักดิ เลขที 13 8.นายสุภทั ร ทองบาง เลขที 16 เสนอ ครูวฒุ ชิ ัย เชอื มประไพ โรงเรยี นมธั ยมวดั หนองแขม สํานักงานเขตพืนทกี ารศึกษามธั ยมศึกษา เขต1

คํานํา หนงั สือเลม นจ้ี ดั ทาํ ขึน้ เพ่ือประกอบการศึกษาวชิ าประวัติศาสตร ชน้ั มธั ยมศึกษาปท ี่ ๕ เรอื่ งบคุ คลสาํ คัญทางประวตั ิศาสตรสาเหตุที่ผูจัด ทาํ เลือกเร่อื งนม้ี านําเสนอเนือ่ งจากตอ งการใหผ ูอานหรือบคุ คลท่ี สนใจในวิชาประวัตศิ าสตรไ ดศ กึ ษาเก่ียวกบั บุคคลทสี่ าํ คัญในอดตี โดย เรียบเรียงใหมดว ยภาษาทเ่ี ขาใจงา ยและมีเนือ้ หาเกี่ยวกับพระราชกรณียกจิ ท่ี บางทา นอาจไมเคยทราบมากอ น ผูจัดทาํ หวงั วาหนังสอื เลม น้ีจะเปน ประโยชนแ กผูอา นหรอื นกั เรยี น นักศกึ ษาท่กี าํ ลังหาขอมูลเก่ียวกับเร่อื งนี้อยหู ากมขี อแนะนาํ หรอื ขอ ผิด พลาดประการใดทางผูจดั ทาํ ชอนอ มรบั ไวและขออภยั มา ณ ท่นี ้ี คณะผจู ัดทาํ

สารบญั หน้า พระบาทสมเด็จพระปรเมนทรรามาธิบดีศรีสินทรมหาวชิราลงกรณ พระวชิรเกล้าเจ้าอยู่หัว 1 2 สมเด็จพระนางเจ้าสิริกติ ิ พระบรมราชินีนาถ พระบรมราชชนนีพันปหลวง 3 พระบาทสมเด็จพระปนเกล้าเจ้าอยู่หัว 4 กรมพระราชวังบวรวิไชยชาญ 5 สมเด็จพระศรีพัชรินทราบรมราชินีนาถ พระบรมราชชนนีพันปหลวง 6 นายวิภาคภูวดล (เจมส์ แมคคาร์ที) พ่อขุนรามคําแหงมหาราช 7 พ่อขุนศรีอินทราทิตย์ 8 พระมหาธรรมราชาที 1 9 สมเด็จพระรามาธิบดีที 1 10 พระบรมไตรโลกนาถ 11 สมเด็จพระสุริโยททัย 12 สมเด็จพระนเรศวรมหาราช 13 พระนารายณ์มหาราช 14 สมเด็จพระเจ้าตากสินมหาราช หรือสมเด็จพระเจ้ากรุงธนบุรี 15 พระบาทสมเด็จพระพุทธยอดฟาจุฬาโลกมหาราช 16 พระบาทสมเด็จพระพุทธเลิศหล้านภาลัย 17 พระบาทสมเด็จพระนังเกลา้เจ้าอยู่หัว 18 พระบาทสมเด็จพระจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว 19 พระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว 20

พระบาทสมเดจ็ พระปรเมนทรรามาธิบดศี รีสิ นทรมหาวชิราลงกรณ พระวชิรเกลา้ เจ้าอยูห่ ัว ประวตั ิ พระราชสมภพ 28 กรกฎาคม พ.ศ. 2495 เปนพระมหากษตั รยิ ไทยรัชกาลท่ี 10 แหง ราชวงศจกั รี เสด็จข้นึ ครองราชยเ ม่ือวันที่ 13 ตุลาคม พ.ศ. 2559 จนถงึ ปจ จบุ ันเปนพระราชโอรสพระองคเดียวในพระบาทสมเด็จพระมหา ภมู พิ ลอดุลยเดชมหาราชบรมนาถบพิตร และสมเด็จพระนางเจาสิ รกิ ติ ิ์พระบรมราชินนี าถ พระบรมราชชนนพี ันปห ลวงพระองคม ี พระเชษฐภคนิ ีและพระขนษิ ฐภคินีรวมพระราชชนนี 3 พระองค ราชาภเิ ษกเมอื่ วนั ท่ี 4 พฤษภาคม พ.ศ.2562 พระราชกรณียกิจ ดา้ นราชกาล ทรงเขาประจําการ ณ กองปฏบิ ตั กิ ารทางอากาศพิเศษ เมอื งเพิรท รัฐออสเตรเลียตะวันตก ประเทศออสเตรเลยี ทรงเขา รวมปฏบิ ตั ิการรบในการตอตา นการกอ การรา ย บรเิ วณภาคเหนือ ภาคตะวันออกเฉยี งเหนอื รวมทง้ั การคมุ กันพ้ืนท่ีบริเวณ รอบคายผอู พยพชาวกมั พชู า ณ เขาลาน จงั หวัดตราด 9 ธันวาคม พ.ศ. 2518 ทรงเขารับราชการเปนนายทหาร ประจาํ กรมขา วทหารบกกระทรวงกลาโหม ด้านการขบั เคลอื นโครงการอันเนอื งมาจากพระราชดาํ ริ โดยไดติดตามการขับเคลื่อนใน 2 โครงการ ไดแก 1. โครงการกอสรางอางเก็บนาลาํ นํา้ ชีอันเน่ืองมาจากพระราชดาํ ริอําเภอบานเขวา และอาํ เภอหนองบวระเหว จังหวัดชัยภูมิ 2. โครงการกอสรางอางเก็บน้าํ ลําสะพุงอันเนื่องมาจากพระราชดาํ ริ อาํ เภอหนองบัวแดง จังหวัดชัยภูมิ ซึ่งชวยเหลือประชาชนใหมีนา้ํ ทาํ การเพาะปลูก และเพ่ือการอุปโภคบริโภครวมถึงบรรเทาปญหาอุทกภัย

สมเดจ็ พระนางเจ้าสิ ริกิติ พระบรมราชินีนาถ พระบรมราชชนนีพันปหลวง ประวัติ (เดมิ : หมอ มราชวงศส ริ กิ ิติ์ กิติยากร) พระราชสมภพเมอ่ื วนั ที่ 12 สิงหาคม พ.ศ.2475 เปนสมเดจ็ พระบรมราชนิ ีนาถในพระบาทสมเดจ็ พระมหาภูมิพลอดุลยเดช มหาราช บรมนาถบพติ ร เปนสมเด็จพระบรมราชชนนีพันปห ลวง ในพระบาทสมเด็จพระวชิรเกลาเจา อยหู วั และโดยพระชนมพรรษา จงึ นบั เปน พระกลุ เชษฐพ ระองคปจจบุ นั ใน พระบรมราชจักรวี งศ พระราชกรณียกิจ ยังทรงพยายามไมใหเ กษตรกรยดึ ติดกับพืชผลทางการเกษตร ดา้ นการเกษตรและชลประทาน เพยี งอยา งเดียวเพราะอาจ เกดิ ปญ หาอนั เน่ืองมาจาก ในดา นการเกษตรจะทรงเนนในเร่อื งของ ความแปรปรวนของสภาพ การคน ควา ทดลอง และวิจัยหาพันธุ ดินฟาอากาศหรอื พืชใหม ๆทั้งพืชเศรษฐกิจพชื สมุนไพร รวมถึงการศกึ ษาเก่ยี ว ความแปรปรวนทางการตลาด กบั แมลงศัตรพู ืช และพนั ธสุ ตั ว แตเ กษตรกรควรจะมีรายได ตา ง ๆ ท่เี หมาะสมกบั จากดานอ่นื นอกเหนือ สภาพทองถ่นิ นนั้ ๆ ซึง่ แตล ะ ไปจากการเกษตรเพ่มิ ข้นึ ดวย โครงการจะเนนใหส ามารถนําไป ปฏบิ ัติไดจ รงิ มีราคาถูก ใชเ ทคโนโลยี เพื่อจะไดพึ่งตนเองไดในระดับหน่ึง งาย ไมสลบั ซับซอ น เกษตรกรสามารถ ดาํ เนินการเองไดนอกจากนี้

พระบาทสมเดจ็ พระปนเกลา้ เจ้าอยูห่ ัว ประวัติ พระบาทสมเดจ็ พระปน เกลาเจา อยหู วั ทรงมีช่ืนชอบ จักรกลและ การรบและไดทรงดาํ รงตําแหนงผูบัญชาการ ทหารเรอื เปน พระองคแ รกหลักจากไดพ ระราชทานบวร ราชาภเิ ษกและทรงดาํ รงตําแหนงนตี้ ลอดชีพในสวนของพระ ราชกรณยี กจิ ดานทหารเรอื นีเ้ ร่ิมเปน ทปี่ ระจักษต้งั แตชว ง ตนของปพ.ศ.2384ซงึ่ ในขณะนน้ั ประเทศไทยไดทําสงคราม ตดิ พันกับญวนตดิ ตอ กนั มาหลายป พระบาทสมเด็จพระนงั่ เกลา เจาอยหู ัวไดโปรดเกลาฯใหพ ระบาทสมเด็จพระปน เกลาเจา อยูหัว (เมอ่ื คร้ังดาํ รงพระยศเปนเจา ฟา พกรรมะขุนรอาศิ เรชศรกังสรรรณค) เปียน แกมทิจพั ใหญคุมกองทพั เรือ ยกทัพไปตเี มืองบนั ทายมาศ ดา้ นการศึกษา เปนผแู ปลหนงั สือเก่ียวกับวชิ าทหารและเครอื่ งจกั รกล จากอังกฤษมาไทยไวห ลายเลม รวม ทัง้ ทรงแปลพจนานุกรมภาษาองั กฤษเปน ไทยดว ย ดา้ นการทหารบก ในพ.ศ.2375 พระบาทสมเด็จพระน่งั เกลาเจา อยหู ัวไดโ ปรดเกลาฯ ใหสมเดจ็ พระเจา นองยาเธอ เจา ฟากรมขุนอิศเรศรงั สรรคส ราง \"ปอมพฆิ าตขา ศึก\" ข้นึ เพือ่ รักษาปากนาํ้ แมก ลองทสี่ มทุ รสงคราม นับเปน พระราชกรณยี กิจแรกทเี่ กย่ี วกบั ราชการบา นเมอื งซง่ึ ไดมีการบนั ทึกไวใ นพระราชพงศาวดาร

กรมพระราชวงั บวรวิไชยชาญ ประวัติ กรมพระราชวงั บวรวไิ ชยชาญเปนพระราชโอรส พระองคใ หญใ นพระบาทสมเด็จพระปน เกลา เจา อยูห วั ประสูตแิ ต เจา คณุ จอมมารดาเอม เม่ือวนั พฤหัสบดี แรม 2 คาํ เดือน 10 ตรงกับวันท่ี 6 กันยายน พ.ศ. 2381 เมื่อแรกประสตู ิพระองค มีพระอสิ รยิ ยศทีห่ มอ มเจา พระบาทสมเดจ็ พระปน เกลาเจา อยูหวั พระราชทานพระนามวา ยอรชวอชงิ ตนั ตามชือ่ ของจอรจ วอชิงตนั ประธานาธิบดีสหรัฐคนแรกคนทัว่ ไปออกพระนามวา ยอด ตอมาพระบาทสมเด็จพระจอมเกลาเจาอยูห ัวพระราชทาน พระนามใหใ หมว า พระเจาวรวงศเธอพระองคเจา ยอดยงิ่ ยศ บวรราโชรสรตั นราชกุมาร และไดร ับการสถาปนาเปนพระองคเจาตา งกรมที่กรมหมน่ื บวรวิไชยชาญ เมื่อ พ.ศ. 2404 และไดเฉลิมพระราชมนเทยี รเปน กรมพระราชวงั บวรสถานมงคลในรัชสมัยพระบาท สมเด็จพระจุลจอมเกลาเจาอยหู ัว ปรีชาสามรถ กรมพระราชวังบวรวิไชยชาญ ทรงเปน เจานายทมี่ คี วามสามารถหลายดาน ดาน นาฏกรรม ทรงพระปรีชา เลนหุน ไทย หุน จนี เชิดหนัง และงิ้ว ดา นการชาง ทรงชํานาญ เครือ่ งจักรกล ทรงตอ เรอื กาํ ปน ทรงทําแผนท่แี บบสากล ทรงสนพระทัยในแรธาตุ ถงึ กับ ทรงสรา งโรงถลงุ แรไ วในพระราชวังบวรสถานมงคล เมื่อ พ.ศ. 2426 ทรงไดร ับ ประกาศนยี บัตรจากฝรัง่ เศส ในฐานะผเู ชย่ี วชาญสาขาวิชาชาง

สมเดจ็ พระศรีพัชรินทราบรมราชินีนาถ พระบรมราชชนนีพันปหลวง ประวตั ิ พนั เอกหญงิ สมเดจ็ พระศรีพัชรินทราบรมราชินนี าถ พระบรมราชชนนพี ันปห ลวงมพี ระนามเดมิ วา พระเจาลกู เธอ พระองคเจา เสาวภาผอ งศรเี ปน พระราชธดิ าในพระบาท สมเด็จพระจอมเกลา เจาอยหู ัว พระราชสมภพแตส มเดจ็ พระ ปยมาวดีศรพี ัชรินทรมาตา (เจาจอมมารดาเปย ม) เมอ่ื วนั ท่ี 1 มกราคม พ.ศ. 2407 เปน พระอคั รมเหสใี นพระบาทสมเด็จ พระจลุ จอมเกลาเจาอยหู ัว พรอมดวยพระโสทรเชษภคนิ ีอกี 2 พระองค ไดแ ก พระองคเ จา สุนันทากุมารรี ตั น (สมเด็จ พระนางเจาสนุ ันทากุมารรี ตั นพ ระบรมราชเทว)ี และพระองค เจาสวา งวัฒนา (สมเด็จพระศรีสวรินทิราบรมราชเทวี พระพนั วสั สาอยั ยกิ าเจา พระราชกรณียกจิ ดา้ นการศึกษา ด้านการเกษตร สมเด็จพระศรพี ชั รินทราบรมราชนิ นี าถ พระบรม สมเด็จพระศรีพัชรนิ ทราบรมราชินีนาถ ราชชนนพี นั ปห ลวง สนพระทัยในการพัฒนาสตรีและมีพระ พระบรมราชชนนพี นั ปหลวง ทรงสนพระทัย ราชดาํ รวิ าความรุงเรืองของบานเมืองยอ มอาศัยการ และโปรดดา นการเกษตร โปรดใหเลีย้ งไก ศกึ ษาเลาเรียนทด่ี ีดงั นัน้ ในป พ.ศ. 2444 จึงทรงบริจาค พันธุ ธญั พชื ไมดอก ไมป ระดบั ในบริเวณท่ี พระราชทรพั ยส ว นพระองคจัดตั้งโรงเรียนสําหรบั เด็ก ประทบั หญงิ แหงท่ีสองข้นึ ในกรงุ เทพมหานครพระราชทานช่ือวา “โรงเรียนสตรบี ํารงุ วิชา”

นายวิภาคภวู ดล (เจมส์ แมคคาร์ท)ี ประวัติ พระวภิ าคภูวดล (2396-2462) นามเดิม เจมส ฟตซร อย แมคคารที เปน นักสํารวจรงั วดั และ นักทาํ แผนที่ชาวไอริชซ่งึ มบี ทบาทสําคญั ในการปกปน เขตแดนของไทย(ตอนน้ันรจู กั ในชอ่ื สยาม) ในปลาย ครสิ ตศตวรรษท่ี 19, ซ่งึ ชว ยใหสยามพฒั นาไปสกู าร เปน รัฐชาติ ทีท่ นั สมัย. เขารบั ราชการเปน เจา กรม แผนท่ี (ปจ จบุ ันคือ กรมแผนที่ทหาร) ซึ่งกอต้ังเมอ่ื วนั ท่ี 3 กันยายน พ.ศ. 2428. โดยเขาดาํ รงตาํ แหนง นย้ี าวนานถงึ 16 ปก อ นจะกราบถวายบงั คมลาออก จากราชการเนื่องจากครบกําหนดสญั ญาเมื่อวันท่ี 18 พฤศจกิ ายน พ.ศ. 2444 โดยมีนายโรนลั ด เวริ ธ ธี กบิ ลนิ ชาวออสเตรเลยี เปนเจา กรมแผนท่ีสืบ ตอมา คุณงามความดี การทําแผนท่ีแบบตะวันตกในประเทศไทยเรม่ิ ตั้งแตน ายแมคคารท เี ขา รบั ราชการไทย ไดใ ช หลักมลู ฐานขนาดมติ ทิ รงวงรี เอเวอเรสต ใน การสาํ รวจทาํ แผนทีต่ ลอดมา ชื่อทรงวงรี \"เอเวอเรสต\" มาจากชื่อของนายพนั เอกเอเวอเรสต นายทหารชางชาวอังกฤษผเู ปนหัวหนา สถาบนั การแผนทอ่ี นิ เดีย ในสมยั ท่อี นิ เดียยังข้ึนกบั องั กฤษการทาํ แผนทีซ่ ่งึ ไดจ ดั ทาํ กอ นสถาปนาเปน กรมแผนทเี่ ร่ิมแรกในตอน ปลาย พ.ศ. ๒๔๒๔ เปน การสํารวจ สําหรบั วางแนวทางสายโทรเลข ระหวางกรุงเทพฯ และมะละแหมง (Moulmein) ผา นระแหง (ตาก) ในการนี้นายแมคคารทไี ดท าํ การสํารวจสามเหลี่ยมเลก็ โยงยึดกบั สายสามเหลี่ยมของอนิ เดยี ทยี่ อดเขา ซึง่ อยูท างตะวนั ตกของระแหงไว ๓ แหง งานแผนท่ีทใี่ ชส าํ รจ มี การวดั ทางดาราศาสตร และการวางหมุดหลกั ฐานวงรอบ (traverse)

พ่อขุนรามคาํ แหงมหาราช ประวตั ิ พอ ขนุ รามคาํ แหงมหาราช หรอื พญารวง หรอื พระบาทกมรเตงอัญศรีรามราช เปน พระมหา กษัตรยิ พ ระองคที่ 3 ในราชวงศพระรวงแหงราช อาณาจักรสโุ ขทยั เสวยราชยประมาณ พ.ศ. 1822 ถงึ ประมาณ พ.ศ. 1842 พระองคท รงเปนกษัตริย พระองคแ รกของไทยที่ไดร ับการยกยองเปน \"มหาราช\" ดว ยทรงบําเพญ็ พระราชกรณยี กิจอนั ทรง คณุ ประโยชนแกแผน ดิน ทรงรวบรวมอาณาจกั รไทย จนเปน ปก แผน กวางขวางท้งั ยงั ไดทรงประดิษฐต วั อักษรไทยขน้ึ ทาํ ใหช าติไทยไดส ะสมความรูทางศิลปะ วฒั นธรรม และวิชาการตาง ๆ สบื ทอดกันมากกวา เจ็ดรอ ยป พระราชกรณยี กจิ ดา้ นการเมืองการปกครอง ด้านศาสนาและวฒั นธรรม การปกครองของกษตั รยิ ส โุ ขทยั ได ทรงคิดประดิษฐอกั ษรไทยขน้ึ ใชแ ทนตวั ใชร ะบบปตุราชาธปิ ไตยหรือ \"พอ ปกครองลกู \" อักษรขอมทเี่ คยใชก ันมาแตเดมิ เม่ือ พ.ศ.1826 ดังขอ ความในศิลาจารกึ พอขนุ รามคําแหงวา เรยี กวา “ลายสือไทย” และไดมกี ารพฒั นาการมา คําพดู \"....เม่อื ชัว่ พอ กู กบู าํ เรอแกพอ กู กไู ดต ัว เปน ลําดับจนถึงอักษรไทยในยุคปจ จบุ นั ทําใหคน เน้ือตัวปลากเู อามาแกพ อ กู กูไดห มากสม หมาก ไทยมอี ักษรไทยใชมาจนถงึ ทกุ วนั นี้ หวาน อนั ใดกินอรอยดี กูเอามาแกพอกกู ไู ปตี หนงั วงั ชา งได กูเอามาแกพ อ กู กูไปทอบา นทอ เมอื ง ไดช า งไดงวงไดปว ไดน าง ไดเ งือนได ทอง กเู อามาเวนแกพอ กู..\"

พ่อขุนศรีอินทราทิตย์ ประวตั ิ พอขุนศรอี นิ ทราทติ ย หรอื พระนามเตม็ กมรเต งอญั ศรอี ินทรบดนิ ทราทิตย พระนามเดิม \"พอขุนบาง กลางหาว\" เปนปฐมกษตั รยิ แหง ราชวงศพ ระรวง ตาม ประวัติศาสตรไทย ทรงครองราชยตงั้ แต พ.ศ.1781 ตราบจนเสด็จสวรรคตเม่อื พ.ศ. 1811 พระราชกรณยี กิจ พอ ขนุ ศรอี ินทราทิตยเ ม่อื ครั้งยังเปน พอขนุ บางกลางหาวไดรว มกับพอขุนผาเมอื งเจาเมืองราดแหง ราชวงศศ รีนาวนาํ ถมุ รวมกาํ ลงั พลกัน กระทาํ รฐั ประหาร ขอมสบาดโขลญลําพงโดยพอขุนบางกลางหาวตีเมอื ง ศรีสชั นาลัยและเมอื งบางขลงไดและยกทัง้ สองเมอื งให พอ ขุนผาเมอื ง สว นพอขุนผาเมืองตเี มืองสโุ ขทัยไดก ไ็ ด มอบเมอื งสโุ ขทัยใหพอขนุ บางกลาวหาว พรอมพระขรรค ชัยศรแี ละพระนาม \"ศรีอินทรบดนิ ทราทิตย\" ซงึ่ ไดน ํามา ใชเ ปน พระนาม ภายหลังไดค ลายเปนศรีอินทราทติ ย การเขา มาครองสโุ ขทัยของพระองคส งผลใหราชวงศ พระรว งเขามามีอิทธพิ ลในเขตนครสุโขทยั เพ่มิ ากข้ึนและได แผขยายดินแดนกวา งขวางมากออกไปแตเขตแดนเมอื ง สรลวงสองแควกย็ งั คงเปนฐานกําลงั ของราชวงศศรนี า วนําถุมอยู

พระมหาธรรมราชาที 1 ประวัติ พระมหาธรรมราชาท่ี ๑ ทรงเปนพระราชโอรสของ พระเจา เลอไท และเปน พระนัดดาของพระเจา รามคําแหง มหาราชทรงเปนพระมหากษัตริย ราชวงศพ ระรวง ครองกรงุ สโุ ขทยั เม่ือ พ.ศ. ๑๘๙๐ - พ.ศ.๑๙๑๒ (๑๙๑๔) กอนข้นึ ครองราชสมบัติทรงดาํ รงตําแหนงอปุ ราช ครองเมอื งศรสี ัชนาลัยต้ังแต พ.ศ. ๑๘๘๓ - พ.ศ.๑๘๙๐ ใน พ.ศ. ๑๘๙๐ เมือ่ พระยางวั่ นาํ ถมพระมหากษตั ริย ครองราชสมบัติ ณ กรงุ สโุ ขทยั ไดเสดจ็ สวรรคตไดเกิด การจราจลชงิ ราชสมบตั ิกรงุ สุโขทยั ขึน้ พระมหาธรรม ราชาที่ ๑ (พระยาลไิ ท) ทรงสามารถยกกองทพั มาปราบ ปรามศตั รูไดห มดส้ิน และเสดจ็ ขึน้ ครองราชสมบตั ิเปน พระมหากษัตริยองคท่ี ๖ แหงราช วงศพระรว งเฉลิม พระนามวา ศรสี รุ ิยพงศร ามมหาธรรมราชาธิราช พระราชกรณียกิจ ดา้ นการเกษตร ด้านความสมั พันธก์ ับเพอื นบา้ น ในสมยั สโุ ขทยั พระพทุ ธศาสนาไดร บั การเคารพ พระองคทรงใชพระพุทธศาสนามาเปนส่อื กลาง นับถอื มากและเจริญสูงสุดในสมยั ของพระมหา ในดา นการเจรญิ สัมพันธไมตรีและวัฒนธรรมกบั แวน ธรรมราชาที่ 1 (ลไิ ทย) ซง่ึ เปนหลานของพอ ขนุ แควนตางๆเชน ทรงสงพระสงฆไ ปเผยแพรพระพทุ ธ รามคาํ แหงมหาราชโดยพระยาลิไทยทรงเปน ศาสนาในลา นนา กษตั รยิ ทม่ี ี พระราชศรทั ธาในพระพทุ ธศาสนาเปน อยางยิ่งโดยพระองคทรงพระราชนพิ นธห นังสือ เกย่ี วกับพระพุทธศาสนาเร่ืองไตรภมู ิพระรวง เม่ือ พ.ศ. 1888 หนงั สือเรือ่ งนไ้ี ดถูกนาํ มาใชเ ปน หลกั ในการศึกษาพระพุทธศาสนามาจนปจ จุบนั

สมเดจ็ พระรามาธิบดที ี 1 ประวตั ิ สมเด็จพระรามาธิบดที ่ี 1 หรอื พระเจา อูท อง เปน พระปฐมบรมกษตั ริยแหง อาณาจักรอยธุ ยา เสด็จพระราชสมภพเมอ่ื พ.ศ.1855 ทรงสถาปนา กรงุ ศรีอยุธยาเปน ราชธานีของอาณาจักรอยุธยา เมอ่ื จุลศักราช 712 ปข าล โทศก วันศกุ ร เดือนหา ขึ้นหกคํ่า เวลา 3 นาฬกิ า 9 บาท (ตรง กบั วันที่ 3 เมษายน พ.ศ. 1893) มีพระนามเต็มวา สมเด็จพระรามาธบิ ดศี รีสนุ ทรบรมบพติ ร พระพทุ ธเจาอยหู วั รามาธบิ ดีท่ี1 อทู อง และเสด็จ สวรรคต เม่อื ปร ะกา เอกศกจุลศักราช 731 (ตรงกับ พ.ศ. 1912) ครองราชสมบตั ิ 20 ปผสู ืบ ราชพระราชบัลลังกต อคือ สมเด็จพระราเมศวร พระราชกรณียกจิ ในสมยั สมเด็จพระรามาธิบดีที่ 1 พระองคท รง เจรญิ สมั พนั ธไมตรกี บั แวน แควนตา งๆมากมาย แมก ระทั่งขอม ซึ่งก็เปน มาดวยดจี นกระทั่งกษตั ริย ขอมสวรรคต พระราชโอรสนาม พระบรมลําพงศทรง ขึน้ ครองราชย ซงึ่ พระบรมลําพงศกแ็ ปรพักตรไ มเ ปน ไมตรดี งั แตกอ นสมเดจ็ พระรามาธิบดที ่ี 1 จงึ ให สมเด็จพระราเมศวรยกทัพไปตีกัมพชู าและใหส มเด็จ พระบรมราชาธิราชที่ 1 (ขนุ หลวงพะงั่ว) ทรงยกทพั ไปชว ยจงึ สามารถตเี มอื งนครธมแตกได พระบรมลาํ พงศส วรรคตในศึกครงั้ น้ีสมเด็จพระบรมราชาธริ าชท่ี 1 จึงแตง ตงั้ ปาสัต พระราชโอรสของพระบรมลาํ พงศเปนกษัตรยิ ขอม

พระบรมไตรโลกนาถ ประวัติ สมเดจ็ พระบรมไตรโลกนาถ หรอื สมเดจ็ พระราเม ศวรบรมไตรโลกนาถบพติ ร มพี ระนามเดิมวา สมเดจ็ พระราเมศวร หมายถงึ \"พระพทุ ธเจา \" หรือ \"พระอศิ วร\" พระราชสมภพทอี่ ยธุ ยาเมอื่ ป พ.ศ.1974 แตเ ตบิ โตและมี ชีวิตในวยั เยาวทีพ่ ษิ ณโุ ลก โดยเปนพระราชโอรสของ สมเด็จพระบรมราชาธบิ ดที ี่ 2 (เจา สามพระยา) กับพระ ราชธดิ าของพระมหาธรรมราชาที่ 2 แหง สโุ ขทัย พระองคจงึ เปนเชอ้ื สายราชวงศส ุพรรณบุรแี ลราชวงศ พระรว ง พระราชกรณียกจิ การรวมอาณาจักรสโุ ขทัยเข้ากบั อยุธยา เม่อื สมเด็จพระบรมไตรโลกนาถขึ้นเสวย ราชยใน พ.ศ. ๑๙๙๑ นั้นทางสุโขทัยไมม ีพระมหา ธรรมราชาปกครองแลว คงมแี ตพ ระยายุทธิ ษเฐยี ร พระโอรสของพระมหาธรรมราชาที่ ๔ ไดร บั แตง ตง้ั จากอยุธยาใหไปปกครองเมือง พิษณุโลก ถงึ พ.ศ. ๑๙๙๔ พระยายุทธิษเฐียร ไปเขากบั พระเจาตโิ ลกราชแหง ลา นนา พระราช มารดาของสมเดจ็ พระบรมไตรโลกนาถได ปกครองเมืองพษิ ณโุ ลกตอมาจนส้นิ พระชนม เมอ่ื พ.ศ.๒๐๐๖ สมเดจ็ พระบรมไตรโลกนาถ ไดเสดจ็ ไปประทับทพี่ ิษณโุ ลกและถอื วา อาณาจักรสุโขทยั ถกู รวมเขา กับอาณาจักร อยุธยานบั ตัง้ แตนั้นเปนตนมา

สมเดจ็ พระสุริโยททยั ประวตั ิ สจังหวัดกาญจนบรุ แี ละตงั้ คา ยลอ ม พระนคร การศึกครัง้ น้ันเปน ทเี่ ลอ่ื ง สมเดจ็ พระสุริโยทยั สบื เช้ือสายมาจากราชวงศ ลอื ถึงวรี กรรมของ สมเด็จพระศรีสุริ พระรว งดาํ รงตาํ แหนงพระอคั รมเหสีใน โยทยั ซงึ่ ไสชา งพระทนี่ ั่งเขา ขวาง สมเด็จพระมหาจักรพรรดิ พระเจา แปรดวยเกรงวา สมเดจ็ พระ ในขณะที่สมเด็จพระมหาจกั รพรรดิ มหาจักรพรรดพิ ระราชสวามี จะเปน ขึน้ ครองราชสมบตั กิ รงุ ศรีอยธุ ยาตอ จากขุน อันตรายจนถกู พระแสงของา วฟนพระ วรวงศาธริ าชไดเ พยี ง 7 เดอื น อังสาขาดสะพายแลง ส้ินพระชนมอ ยู เม่อื พ.ศ. 2091 พระเจา ตะเบง็ ชะเวตีแ้ ละ บนคอชา งเพ่ือปกปอ งพระราชสวามี มหาอุปราชาบุเรงนองยกกองทพั พมาเขามา ไว ลอ มกรงุ ศรีอยุธยาคร้งั แรก โดยผานมาทางดา นดา นพระเจดียส ามองค พระราชกรณียกิจ เมอ่ื วันท่ี 3 กุมภาพันธ พ.ศ. 2092 สมเดจ็ พระ มหาจักรพรรดิทรงตดั สนิ พระทัยยกทพั ออกนอกพระนครเพอื่ เปนการบํารงุ ขวัญทหารและทอดพระเนตรจํานวนขา ศึกสมเดจ็ พระสรุ โิ ยทัยพรอ มกบั พระราชโอรส-พระราชธิดารวม 4 พระองคไดเสดจ็ ตดิ ตามไปดวย โดยพระองคทรงแตงกาย อยางมหาอุปราชครัน้ ยกกองทพั ออกไปบริเวณทุงภเู ขาทอง กองทพั อยุธยาปะทะกับกองทัพพระเจา แปรซง่ึ เปน ทัพหนา ของ พมา ชา งทรงของสมเด็จพระมหาจกั รพรรดิเกิดเสยี ทหี นั หลงั หนี จากขา ศกึ พระเจาแปรกท็ รงขับชางไลตามมาอยา งกระชน้ั ชิด สมเดจ็ พระสรุ โิ ยทัยทอดพระเนตรเหน็ พระราชสวามกี าํ ลังอยูใ น อนั ตรายจึงรบี ขับชา งเขา ขวางพระเจา แปร

สมเดจ็ พระนเรศวรมหาราช ประวตั ิ เกดิ : 25 เมษายน 2098 เสยี ชีวติ เมือ่ : 25 เมษายน 2148, อาํ เภอ เวยี งแหง ชอ่ื เต็ม: สมเด็จพระสรรเพชญท ่ี ๒ บิดา/มารดา: สมเดจ็ พระมหาธรรมราชาธิราช, พระวสิ ุทธกิ ษตั รยี  พี่นอง: สมเด็จพระเอกาทศรถ, พระสุพรรณกัลยา การครองราชย ราชวงศ ราชวงศส โุ ขทัย ทรงราชย ๒๙ กรกฎาคม พ.ศ. ๒๑๓๓ - ๒๕ เมษายน พ.ศ. ๒๑๔๘ พระราชกรณยี กิจ นบั ต้ังแตส มเด็จพระนเรศวรประกาศอสิ รภาพเปน ตน มา หงสาวดไี ดเพียรสงกองทัพเขา มาหลายครงั้ แตก็ถกู กองทพั กรงุ ศรอี ยธุ ยาตีแตกพา ยไปทุกคร้งั เมือ่ สมเด็จพระมหาธรรมราชา เสด็จสวรรคต เมือ่ ป พ.ศ. ๒๑๓๓ พระองคไดเ สดจ็ ขึน้ ครองราชยเม่ือวนั อาทติ ยท ่ี ๒๙ กรกฎาคม พ.ศ. ๒๑๓๓ เมอ่ื พระชนมายไุ ด ๓๕ พรรษา ทรงพระนามวา สมเด็จพระนเรศวรหรอื สมเดจ็ พระสรร เพชญท ี่ ๒ และโปรดเกลา ฯ ใหพระเอกาทศรถ พระอนชุ าข้นึ เปน พระมหาอปุ ราช แตมศี กั ดเิ์ สมอ พระมหากษัตริยอกี พระองคหนงึ่ ตลอดรชั สมยั ของพระองคท รงกอบกูกรงุ ศรอี ยุธยาจากหงสาว ดแี ละไดท าํ สงครามกับอริราชศตั รทู ้ังพมา และเขมร จนราชอาณาจกั รไทยเปน ปก แผน ม่ันคงขยาย พระราชอาณาเขตออกไปอยางกวา งใหญไพศาลกวาครัง้ ใดในอดีตท่ผี า นมา

พระนารายณ์มหาราช ประวัติ เกิด: 16 กุมภาพนั ธ 2175 เสยี ชวี ิตเมื่อ: 11 กรกฎาคม 2231, ลพบุรี ชื่อเตม็ : นารายณ บตุ ร: สมเดจ็ พระสรรเพชญท ่ี 8, กรมหลวงโยธาเทพ พ่ีนอง: สมเด็จเจา ฟาไชย, ศรีสพุ รรณ พระราชกรณยี กจิ พระองคเปน พระมหากษัตริยท ่ที รงพระปรชี าสามารถยงิ่ จนไดรบั การเทิดพระเกยี รติเปน \" มหาราช \" และทรงนาํ ความเจริญรุงเรอื งมาสูกรงุ ศรีอยธุ ยาเปนอยางมากทรงมพี ระบรม เดชานุภาพที่ยิ่งใหญ ทําสงครามกับอาณาจกั รตา งๆใกลเคยี งไดรับชัยชนะหลายครั้งมีการเจรญิ สมั พันธไมตรี กบั ประเทศตางๆอยางกวา งขวาง เชน จีน ญ่ปี ุน ฮอลนั ดา อังกฤษ อหิ รา น ทส่ี ําคัญท่ีสดุ คอื ไดส งทตู ไปเจริญสมั พนั ธไมตรีกับราชสํานกั พระเจา หลุยสท่ี 14 แหง ฝร่งั เศสถงึ 4 ครัง้ จนไดร บั การเทดิ ทูนวา ทรงเปนนักการคาและนักการทูตทย่ี ่ิงใหญ นอกจากนน้ั ยังทรง พระปรีชา ในดานวรรณกรรมเปนอยางยิ่งโดยทรงพระราชนิพนธวรรณคดีไวหลายเร่ือง เชน โคลงทศรถสอนพระราม พาลีสอนนอ งราชสวัสดิ์ สมทุ รโฆษคําฉนั ท( ตอนกลาง) คาํ ฉนั ทกลอ ม ชา ง(ของเกา ) และพระราชนพิ นธโคลงโตตอบกับศรปี ราชญแ ละกวี มชี อื่ อ่นื ๆ ทัง้ ยงั ทรงสนบั สนนุ งานกวนี ิพนธใ หเ ฟอ งฟู เชนสมทุ รโฆษคาํ ฉันทของพระมหาราชครู

สมเดจ็ พระเจ้าตากสิ นมหาราช หรือ สมเดจ็ พระเจ้ากรุงธนบุรี ประวตั ิ เกดิ : พ.ศ. 2277, เทศบาลนคร พระนครศรีอยุธยา เสยี ชีวิตเมื่อ: 6 เมษายน 235, พระราชวังเดมิ (พระราชวงั กรุงธนบรุ )ี , กรงุ เทพมหานคร คสู มรส: สมเดจ็ พระเจาบรมวงศเ ธอ เจา ฟาฉิมใหญ บุตร: เจา จอมมารดาสาํ ลี ในสมเดจ็ พระบวรราชเจา มหาเสนานรุ ักษ และอกี เยอะมากมาย บิดา/มารดา: หยง แซแต, นกเอยี้ ง พระราชกรณียกจิ ทรงกอบกเู อกราชเริม่ แตใ นวันที่ 3 มกราคม พ.ศ.2309 เห็นวา กรุงศรอี ยธุ ยาคงตองเสียที แกพมา จึงตัดสินใจรวบรวมทหารกลา ราว 500 คน ตฝี า วงลอมทหารพมาโดยตั้งใจวา จะกลับมากู กรุงศรีอยุธยากลบั คืนใหไดโ ดยเร็วทรงเขายึดเมอื งจนั ทบรุ ี เรม่ิ สะสมเสบียงอาหาร อาวุธ กาํ ลัง ทหารเพื่อเขา ทําการกอบกกู รุงศรีอยุธยากรุงศรีอยธุ ยาแตกเมอ่ื วนั องั คาร ขึ้น 9 ค่าํ เดอื น 8 และ สมเดจ็ พระเจา ตากสิน สามารถกกู ลบั คนื มาได เมอ่ื วันศุกร ขึ้น 15 คา่ํ เดอื น 12

พระบาทสมเดจ็ พระพุทธยอดฟาจุฬาโลกมหาราช ประวัติ เกดิ : 20 มนี าคม 2280, เทศบาลนคร พระนครศรอี ยธุ ยา เสยี ชีวติ เมอ่ื : 7 กันยายน 2352 ชือ่ เตม็ : พระพุทธยอดฟาจฬุ าโลก คสู มรส: สมเดจ็ พระอมรินทราบรมราชินี (สมรส ไมแ นช ดั –พ.ศ. 2352) บุตร: พระบาทสมเด็จพระพุทธเลิศหลานภาลยั , เพม่ิ เตมิ พระราชกรณียกิจ การสถาปนากรุงรตั นโกสินทร์ โปรดเกลาโปรดกระหมอมใหตงั้ กรงุ รัตนโกสนิ ทร เปน ราชธานีใหม ทางตะวนั ออกของแมน ํา้ เจาพระยาแทน กรงุ ธนบรุ ี ดวยเหตผุ ลทางดา นยทุ ธศาสตรเนอ่ื งจาก กรุงธนบุรตี ง้ั อยบู นสองฝง แมน ํ้า ทาํ ใหก ารลําเลียงอาวุธ ยทุ ธภัณฑและการรกั ษาพระนครเปน ไปไดย าก อกี ทัง้ พระราชวังเดิมมีพ้นื ทีจ่ าํ กัดไมส ามารถขยายได เน่ืองจาก ตดิ วดั อรณุ ราชวรารามราชวรมหาวิหารและวดั โมลโี ลกยา รามราชวรวิหาร สวนทางฝง กรงุ รัตนโกสนิ ทรน ั้นมีความ เหมาะสมกวาตรงทมี่ ีพื้นแผน ดนิ เปน ลกั ษณะหวั แหลมมี แมนํา้ เปนคเู มอื งธรรมชาติ มีชยั ภมู ิเหมาะสม และสามารถ รบั ศึกไดเ ปนอยา งดี

พระบาทสมเดจ็ พระพุทธเลศิ หลา้ นภาลยั ประวัติ พระบาทสมเดจ็ พระพทุ ธเลศิ หลา นภาลยั มพี ระนามเดมิ วา ฉิม เปนพระราชโอรสพระองค ใหญใ นพระบาทสมเด็จพระพุทธยอดฟา จุฬาโลก มหาราชพระราชสมภพเม่อื วันพธุ ขนึ้ 7 คํ่า เดอื น 4 ปกุน เวลาเชา 5 ยามซ่ึงตรงกบั วันที่ 24 กุมภาพันธ พ.ศ. 2310 เปน พระราชโอรส พระองคท ี่ 4 พระบาทสมเดจ็ พระพทุ ธยอดฟา จุฬาโลกมหาราช เสวยราชสมบตั ิ เม่อื ปมะเส็ง ปพ .ศ. 2352 - 2367 ขณะมีพระชนมายไุ ด 42 พรรษา พระราชกรณียกจิ ในรชั สมยั ของพระบาทสมเด็จพระพุทธเลศิ หลานภาลัย ไดร บั การยกยอ งวา เปน ยุคทองของวรรณคดสี มยั หนึ่งเลยทีเดยี ว ดา นกาพยก ลอนเจรญิ สงู สดุ จนมคี ํากลาววา \"ในรชั กาลท่ี 2 นั้น ใครเปน กวีก็เปนคนโปรด\"พระองคมพี ระราชนิพนธท ่เี ปน บทกลอน มากมาย ทรงเปนยอดกวดี า นการแตง บทละครทัง้ ละครในและละคร นอก มหี ลายเรอื่ งทม่ี ีอยเู ดิมและทรงนํามาแตง ใหมเพอ่ื ใหใ ชใ นการ แสดงได เชน รามเกยี รต์ิ อุณรุท และอเิ หนา โดยเรอ่ื งอเิ หนานี้ เรื่องเดิมมีความยาวมาก ไดทรงพระราชนพิ นธใหมต้ังแตตน จนจบ เปนเรื่องยาวที่สุดของพระองค วรรณคดีสโมสรในรชั กาลที่ 6 ได ยกยอ งใหเ ปน ยอดบทละครราํ ท่ีแตงดี ยอดเยย่ี มทั้งเนือ้ ความ ทาํ นองกลอนและกระบวนการเลน ทั้งรอ งและรํา นอกจากนีย้ ังมี ละครนอกอนื่ ๆ เชน ไกรทอง สงั ขท อง

พระบาทสมเดจ็ พระนังเกลา้ เจ้าอยูห่ ัว ประวัติ พระบาทสมเด็จพระนงั่ เกลาเจา อยหู วั เปน พระราชโอรสในพระบาทสมเด็จพระพทุ ธเลศิ หลานภาลยั และพระองคแรกทปี่ ระสตู ิแตเ จา จอม มารดาเรียม เสดจ็ พระราชสมภพเม่อื วนั จนั ทรท ี่ 31 มีนาคม พ.ศ. 2330 เสวยราชสมบัตเิ มอ่ื วนั อาทติ ย เดอื น 9 ขนึ้ 7 คํ่า ปว อก ซ่งึ ตรงกบั วันที่ 21 กรกฎาคม พ.ศ. 2367 สิรดิ ํารงราช สมบัติได 27 ป พระราชกรณียกจิ เมือ่ ครง้ั ท่ที รงกาํ กับราชการกรมทา (ในสมัยรชั กาลท่ี 2) ไดท รงแตงสาํ เภา บรรทกุ สนิ คา ออกไปคาขายในตางประเทศมรี ายไดเ พม่ิ ขึ้นในทอ งพระคลังเปน อันมาก พระราชบดิ า ทรงเรยี กพระองควา \"เจา สวั \" เม่อื รชั กาลท่ี 2 เสดจ็ สวรรคต มไิ ดต รสั มอบราชสมบตั ิแกผูใ ด ขุนนางและพระราชวงศตางมคี วามเห็นวาพระองค (ขณะทรงดาํ รงพระราชอสิ ริยยศเปน กรมหมื่น เจษฏาบดนิ ทร) ขณะนัน้ มีพระชนมายุ 37 พรรษา ทรงรอบรกู ิจการบานเมอื งดี ทรงปราดเปรือ่ ง ในทางกฎหมาย การคาและการปกครอง จึงพรอมใจกันอัญเชิญครองราชยเปนรัชกาลท่ี 3.

พระบาทสมเดจ็ พระจอมเกลา้ เจ้าอยูห่ ัว ประวัติ พระราชโอรสองคท ี่ 43 ในพระบาทสมเด็จ พระพุทธเลิศหลานภาลยั ที่ประสตู ิแตส มเด็จพระศรสี รุ ิเยน ทราบรมราชินี ทรงพระราชสมภพเมอื่ วนั พฤหัสบดี ขึ้น 14 คํ่า เดือน 11 ปช วด ฉศก จ.ศ. 1166 ซงึ่ ตรงกับวนั ที่ 18 ตลุ าคม พ.ศ. 2347 เมอื่ คร้ังยังดํารงพระอสิ รยิ ยศ เปนสมเด็จพระเจา ลูกยาเธอ เจาฟากรมหลวงอิศรสนุ ทร โดยพระนามกอ นการมพี ระราชพิธีลงสรงเฉลมิ พระนามวา \"ทูลกระหมอมฟา ใหญ\" พระองคมี พระเชษฐาและ พระอนชุ ารว มพระราชมารดา รวมท้ังสิ้น 3 พระองค ไดแ ก สมเดจ็ เจา ฟาชาย (สน้ิ พระชนมเ มอื่ ประสตู )ิ สม เดจ็ ฯ เจา ฟา มงกุฎ และสมเด็จฯ เจาฟา จฑุ ามณี (ภายหลัง ไดรับการสถาปนาขน้ึ เปน พระบาทสมเด็จพระปน เกลาเจา อยูหัว) พระองคจงึ เปน สมเด็จพระเจาลกู ยาเธอเจาฟา พระองคแ รกทมี่ ีพระชนมในพระบาทสมเด็จพระพทุ ธเลิศ หลานภาลัยพระบาทสมเดจ็ พระจอมเกลาเจาอยหู วั เสวย ราชสมบตั ิในวนั พธุ ข้นึ 1 ค่าํ เดือน 5 ปก นุ ยังเปนโทศก พ.ศ. 2394 รวมดาํ รงสริ ริ าชสมบัติ 16 ป 6 เดือน พระราชกรณยี กจิ ด้านการศกึ ษาศลิ ปวทิ ยา ดา้ นศาสนา เม่ือ พ.ศ. 2411 พระองคทรงคาํ นวณวา จะ พระองคท รงฟน ฟูพระพุทธศาสนาให สามารถเหน็ สุริยุปราคาเตม็ ดวงไดในประเทศสยาม ณ รงุ เรือง โดยทรงต้ังธรรมยุตติกาวงศข ้นึ เปน นกิ าย หมูบา นหวา กอ ตําบลคลองวาฬ จังหวดั ใหมใ นพระพทุ ธศาสนา ที่มีความเครงครัดในพระ ประจวบครี ีขนั ธ พระองคจ ึงโปรดใหตง้ั พลับพลาเพือ่ ธรรมวินยั และระเบียบแบบแผน ดานพระพุทธศาสนา เสดจ็ พระราชดาํ เนินทอดพระเนตรสุรยิ ุปราคาทต่ี ําบล หวากอ ซึ่งเมื่อถึงเวลาทีพ่ ระองคทรงคาํ นวณกเ็ กิด สรุ ิยปุ ราคาเตม็ ดวงดังที่ทรงไดค ํานวณไว พระองค เสดจ็ ประทับอยูท ่หี วากอเปนระยะเวลาประมาณ 9 วนั

พระบาทสมเดจ็ พระจุลจอมเกลา้ เจ้าอยูห่ ัว ประวตั ิ พระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาจฬุ าลง กรณฯ พระจลุ จอมเกลา เจาอยูหัว หรือ พระพุทธเจา หลวง ทรงเปนรชั กาลท่ี 5 แหง พระบรมราชจักรีวงศ พระบรมราชสมภพเมือ่ วันองั คาร เดอื น 10 แรม 3 ค่ํา ปฉ ลู 20 กนั ยายน พ.ศ. 2396 เปนพระราชโอรส องคที่ 9 ในพระบาทสมเด็จพระจอมเกลา เจา อยหู ัว และ เปนที่ 1 ในสมเด็จพระเทพศริ ินทรามาตย เสวยราช สมบัติ เม่ือวันพฤหัสบดี เดือน 11 ขนึ้ 15 คํา่ ปมะโรง (พ.ศ. 2411) รวมสิริดาํ รงราชสมบตั ิ 42 ป เสดจ็ สวรรคต เม่อื วนั เสาร เดอื น 11 แรม 4 ค่าํ ปจ อ (23 ตลุ าคม พ.ศ. 2453) ดวยโรคพระวกั กะ รวม พระชนมพรรษา 58 พรรษา พรราชกรณยี กิจ ทรงยกเลิกระบบไพร โดยใหไ พรเสยี เงินแทน การถูกเกณฑ นบั เปน การเกิดระบบทหารอาชพี ใน ประเทศไทย นอกจากนี้ พระองคย ังทรงเลิกทาสแบบ คอ ยเปน คอ ยไป เรม่ิ จากออกกฎหมายใหล ูกทาสอายุ ครบ 20 ปเ ปน อิสระ จนกระทั่งออกพระราชบัญญตั ิ เลกิ ทาส ร.ศ. 124 (พ.ศ. 2448) ซง่ึ ปลอยทาสทุกคน ใหเ ปน อสิ ระและหามมีการซื้อขายทาส

บรรณานุกรม วกิ ิพีเดยี .//(2564).//กรมพระราชวังบวรวไิ ชยชาญ.//สบื คนเมอ่ื 18 กุมภาพนั ธ 2564.// จาก http://gg.gg/ogsmu/1 วกิ พิ เี ดยี .//(2564).//พระบรมไตรโลกนาถ.//สืบคน เมอื่ 18 กมุ ภาพันธ 2564.//จาก http://gg.gg/ogsn0 วิกิพเี ดีย .//(2564).//พระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกลาเจา อยหู วั .//สบื คนเม่อื 18 กุมภาพนั ธ 2564.//จาก http://gg.gg/ogtvl วิกพิ เี ดีย .//(2564).//พระบาทสมเด็จพระจอมเกลาเจาอยูห วั .//สืบคนเม่อื 18 กมุ ภาพันธ 2564.//จาก http://gg.gg/ogtvz วกิ ิพีเดยี .//(2564).//พระบาทสมเดจ็ พระนงั่ เกลา เจา อยูหัว.//สืบคนเม่อื 20 กมุ ภาพนั ธ 2564.//จาก http://gg.gg/ogtwm วกิ พิ เี ดีย .//(2564).//พระบาทสมเดจ็ พระปน เกลา เจา อยูหัว.//สบื คนเม่อื 20 กมุ ภาพนั ธ 2564.//จาก http://gg.gg/ogspa วิกิพีเดยี .//(2564).//พระบาทสมเด็จพระพุทธยอดฟาจฬุ าโลกมหาราช.//สบื คน เม่อื 20 กุมภาพันธ 2564.//จาก http://gg.gg/ogtxy วิกพิ เี ดยี .//(2564).//พระบาทสมเดจ็ พระพุทธเลศิ หลานภาลัย.//สบื คนเม่อื 20 กุมภาพันธ 2564.//จาก http://gg.gg/ogtyd วกิ ิพีเดยี .//(2564).//พระบาทสมเด็จพระวชริ เกลาเจา อยหู ัว.//สืบคนเม่ือ 21 กุมภาพันธ 2564.//จาก http://gg.gg/ogtzfy วิกิพเี ดยี .//(2564).//พระมหาธรรมราชาที่๑.//สบื คน เม่ือ 21 กุมภาพันธ 2564.//จาก http://gg.gg/ogu04

วิกพิ ีเดีย .//(2564).//พระวภิ าคภูวดล.//สบื คน เม่อื 21 กมุ ภาพันธ 2564.// จาก http://gg.gg/oh1ju วกิ ิพเี ดยี .//(2564).//พอขุนรามคําแหงมหาราช.//สืบคนเม่อื 21 กมุ ภาพันธ 2564.//จาก http://gg.gg/oh1ko วกิ ิพีเดีย .//(2564).//พอ ขนุ ศรีอินทราทติ ย. //สบื คน เมือ่ 24 กมุ ภาพันธ 2564.//จาก http://gg.gg/oh1ky วกิ ิพีเดยี .//(2564).//สมเด็จพระนางเจาสิรกิ ติ ์ิ พระบรมราชนิ ีนาถ พระบรมราชชนนีพันปห ลวง.// สบื คน เมอื่ 24 กุมภาพันธ 2564.//จาก http://gg.gg/oh1nr วิกิพีเดีย .//(2564).//สมเด็จพระนารายณมหาราช.//สบื คนเมื่อ 24 กมุ ภาพันธ 2564.// จาก http://gg.gg/oh1lw วกิ พิ เี ดยี .//(2564).//สมเด็จพระนเรศวรมหาราช.//สืบคนเมอื่ 27 กุมภาพันธ 2564.//จาก http://gg.gg/oh1mo วกิ ิพีเดีย .//(2564).//สมเดจ็ พระรามาธบิ ดที ี่ 1//สืบคน เม่ือ 27 กุมภาพันธ 2564.//จาก http://gg.gg/oh1on วิกพิ เี ดยี .//(2564).//สมเด็จพระศรพี ชั รินทราบรมราชินนี าถ พระบรมราชชนนีพันปหลวง.// สืบคนเมอื่ 27 กุมภาพันธ 2564.//จาก http://gg.gg/oh1pu วกิ พิ ีเดีย .//(2564).//สมเด็จพระสรุ โิ ยทัย.//สบื คน เม่อื 27 กมุ ภาพนั ธ 2564.//จาก http://gg.gg/oh1p3


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook