Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore สามัคคีเภทคำฉันท๋ 6.7

สามัคคีเภทคำฉันท๋ 6.7

Published by โชค 'คค, 2021-06-20 07:49:18

Description: สามัคคีเภทคำฉันท๋ 6.7

Search

Read the Text Version

สมาชกิ (๖.๗) ๑. นายณฐั โชค ไกรทองสขุ เลขที ๑๒ เลขที ๒๓ ๒. นางสาวฐญิ าดา จติ ต์ภักดี เลขที ๒๖ เลขที ๓๑ ๓. นางสาวพรรษกร คดุ ดอน เลขที ๓๙ ๔. นางสาววลิ าสนิ ี อาชนะชยั ๕. นางสาวรตั ติการณ์ ตามสงวน เสนอ ครณู ฐั ยา อาจมงั กร โรงเรียนมธั ยมวดั หนองแขม สาํ นกั งานเขตพนื ทีการศึกษามธั ยมศึกษา เขต1

สมาชกิ (๖.๗) ๑. นายณฐั โชค ไกรทองสขุ เลขที ๑๒ เลขที ๒๓ ๒. นางสาวฐญิ าดา จติ ต์ภักดี เลขที ๒๖ เลขที ๓๑ ๓. นางสาวพรรษกร คดุ ดอน เลขที ๓๙ ๔. นางสาววลิ าสนิ ี อาชนะชยั ๕. นางสาวรตั ติการณ์ ตามสงวน เสนอ ครณู ฐั ยา อาจมงั กร โรงเรียนมธั ยมวดั หนองแขม สาํ นกั งานเขตพนื ทีการศึกษามธั ยมศึกษา เขต1

หนังสือเลม่ นจี ดั ทําขนึ เพือประกอบการศกึ ษาวิชาภาษาไทยชนั มธั ยมศึกษาปที ๕ เรอื งสามัคคีเภทคาํ ฉนั ท์สาเหตทุ ผี ู้จัดทําเลือกเรอื งนมี า นําเสนอเนอื งจากตอ้ งการให้ผ้อู ่านหรือบคุ คลทีสนใจในภาษาไทยได้ ศึกษาเกยี วกบั สามคั คเี ถลภทคาํ ฉนั ท์โดยเรยี บเรียงใหม่ดว้ ยภาษาทีเขา้ ใจ ง่ายและมีเนือหาทนี า่ สนใจ ออกแบบสวยงาม เหมาะกับทุกเพศ ทุกวยั ผูจ้ ดั ทาํ หวงั ว่าหนังสือเล่มนีจะเปนประโยชน์แกผ่ ูอ้ า่ นหรอื นกั เรยี น นักศึกษาทกี ําลังหาขอ้ มลู เกียวกับเรอื งนอี ยหู่ ากมีข้อแนะนําหรอื ขอ้ ผดิ พลาดประการใดทางผู้จัดทาํ ชอนอ้ มรับไวแ้ ละขออภยั มา ณ ทนี ี คณะผู้จดั ทาํ

ประวตั ิผู้แต่ง หนา้ จดุ ประสงค์ของผ้แู ตง่ ๑ ทมี าเรอื ง ๒ ลักษณะคําประพันธ คาํ ประพนั ธ์: อินทรวเิ ชียรฉันท์ ๑๑ ๔ คําประพันธ์: วชิ มุ มาลาฉนั ท์ ๘ ๕ ๓๓ เรืองย่อ ๓๔ ถอดคาํ ประพนั ธ์ ๔๑ คํายาก คณุ คา่ วรรณคดี บรรณานุกรม

ผแู้ ต่ง นายชติ บุรทัต กวใี นรชั กาลที ๖ ในขณะที บรรพชาเปนสามเณร อายุเพยี ง ๑๘ ป ไดเ้ ขา้ รว่ มแต่งฉันท์ สมโภชพระมหาเศวตฉัตรในงานราชพธิ ฉี ัตรมงคล รชั กาลที ๖ เมอื อายุ ๒๒ ป ไดส้ ง่ กาพยป์ ลกุ ใจลงในหนงั สอื พมิ พ์ สมุทรสาร นายชติ มนี ามสกลุ เดมิ วา่ ชวางกรู ไดร้ บั พระราชทานนามสกลุ “บุรทัต” จากพระบาทสมเดจ็ พระ มงกฎุ เกล้าฯ ในป ๒๔๕๐ เมอื อายะ ๒๓ ป ใชน้ ามปากกาวา่ เจา้ เงาะ เอกชน และแมวคราว จุดประสงค์ในการแต่ง นายชติ บุรทัต อาศัยเค้าคําแปลของเรอื งสามคั คีเภทมาแต่ง เปนคําฉันท์ เพอื แสดงความสามารถในเชงิ กวี ใหเ้ ปนทีปรากฏ และเปนพทิ ยาภรณป์ ระดบั บา้ นเมอื ง ทีมาของเรอื ง “สามคั คีเภทคําฉันท์”สามคั คีเภทคําฉันท์” เกิดจากวกิ ฤตการณท์ ังภายในและ ภายนอกประเทศในสมยั รชั กาลที ๖ เชน่ สงครามโลกครงั ที ๑, กบฏ ร.ศ. ๑๓๐ ประกอบกับคนไทย ในสมยั นนั ไดร้ บั การศึกษามากขนึ ทําใหเ้ กิดแนวความคิดเกียวกับกิจการบา้ นเมอื งทีหลากหลาย จงึ สง่ ผลกระทบต่อความมนั คงของบา้ นเมอื ง ทําใหใ้ นชว่ งดงั กล่าวมกั เกิดความนยิ มแต่ง วรรณคดปี ลกุ ใจใหร้ กั ชาติสามคั คีเภทคําฉันท์ก็เปนวรรณคดเี รอื งหนงึ ทีมุง่ ชใี หเ้ หน็ ความสาํ คัญ ของความสามคั คี การรวมเปนหมูค่ ณะเปนนาํ หนงึ ใจเดยี วกัน สามคั คีเภทคําฉันท์จงึ ถือเปน วรรณคดที ีมเี นอื หาเปนคติสอนใจ

คําประพนั ธท์ ีใชแ้ ต่งสามคั คีเภทคําฉันท์นนั ใชฉ้ ันท์และกาพยส์ ลับกัน จงึ เรยี กวา่ คําฉันท์ โดยมฉี ันท์ถึง ๒๐ ชนดิ ดว้ ยกัน นบั วา่ เปนวรรณคดคี ําฉันท์เล่มหนงึ ทีอนชุ นรนุ่ หลังยกยอ่ งและ นบั ถือเปนแบบเรอื ยมา อินทรวเิ ชยี รฉันท์ ๑๑ จะมแี บบแผนเหมอื นกับ กาพยย์ านี ๑๑ แต่เพมิ คร,ุ ลหุ เขา้ ไป อินทรวเิ ชยี ร แปลวา่ เพชรพระอินทร์ หมายถึง ฉันท์ทีมลี ีลาอยา่ งเพชรของพระอินทร์ นยิ มใช้ แต่งขอ้ ความทีเปนบทชมหรอื บทคราํ ครวญนอกจากนยี งั แต่งเปนบทสวด หรอื พากยโ์ ขนดว้ ย หมายถึง คําทีประสมดว้ ยสระเสยี งยาวในแม่ ก กา เชน่ กา ตี งู กับคําทีประสมดว้ ยสระ เสยี งสนั หรอื ยาวก็ไดท้ ีมตี ัวสะกด เชน่ นก บนิ จาก รงั นอน และคําทีประสมดว้ ยสระ อํา ไอ ใอ เอา ซงึ ถึอวา่ เปนเสยี งมตี ัวสะกด หมายถึง คําทีประสมดว้ ยสระเสยี งสนั ในแม่ ก กา เชน่ จะ ติ มุ เตะ และคําทีใชพ้ ยญั ชนะคํา เดยี ว เชน่ ก็ บ่ ณ ธนอกจากนคี ําทีประสมดว้ ย สระอํา บางทีก็อนโุ ลมใหเ้ ปนคําลหไุ ด้ เชน่ ลํา คําลหุ เวลาเขยี นเปนสญั ลักษณ์ ใชเ้ ครอื งหมายเหมอื นสระอุ แทน

วชิ ชุมมาลา แปลวา่ ระเบยี บสายฟา หมายถึง ฉันท์ทีมลี ีลาอยา่ งสายฟาแลบ คณะและ พยางค์ฉันท์บทหนงึ มี ๔ บาท บาทละ ๒ วรรควรรคละ ๔ คํา ๒ วรรคเปน ๘ คํา จงึ เขยี น ๘ หลังชอื วชิ ชุมมาลาฉันท์ วชิ ชุมมาลาฉันท์นคี ล้ายกาพยส์ รุ างคนางค์เพยี งแต่เพมิ วรรคต้นขนึ อีก ๑ วรรคเท่านนั รวมทังบทมี ๔ บาท ๘ วรรค สว่ นกาพยส์ รุ างคนางค์มเี พยี ง ๗ วรรค สมั ผสั บงั คับดไู ดจ้ ากแผนตามเสน้ โยงสมั ผสั และจากตัวอยา่ งคําทีสมั ผสั กันใชว้ งกลมสเี ขม้ คําครุ คําลหุ บงั คับครลุ ้วนทกุ วรรค

พระเจา้ อชาตศัตรแู หง่ กรงุ ราชคฤห์ แควน้ มคธ มอี ํามาตยค์ นสนทิ ชอื วสั สการพรา หมณเ์ ขาเปนผทู้ ีฉลาดและรอบรดู้ า้ นศิลปศาสตรแ์ ละยงั เปนทีปรกึ ษา พระเจา้ อชาตศัตรมู ี พระประสงค์ทีต้องการขยายอาณาจกั รไปยงั เเควน้ วชั ชี แต่แควน้ วชั ชปี กครองดว้ ยความ ยดึ มนั ในธรรมและเนน้ ความสามคั คีมาก จงึ ทําใหพ้ ระเจา้ อชาตศัตรปู รกึ ษากับวสั สการพรา หมณเ์ พอื หาอุบายการทําลายความสามคั คีของเหล่ากษัตรยิ ล์ ิจฉวี โดยการเนรเทศใหว้ สั สการพราหมณอ์ อกจากมคธ และเดนิ ทางไปยงั เมอื งเวสาลี วสั สการพราหมณไ์ ดใ้ ชอ้ ุบาย จนไดเ้ ขา้ เฝากษัตรยิ ล์ ิจฉวี ต่อมาเขาก็ไดเ้ ปนครสู อนศิลปวทิ ยาแก่ราชกมุ ารทังหลาย พอได้ โอกาสวสั สการพราหมณจ์ งึ ไดอ้ อกอุบายใหศ้ ิษยแ์ ตกรา้ วกัน จนเกิดการทะเลาะววิ าทขนึ และเปนเหตใุ หค้ วามสามคั คีในหมูก่ ษัตรยิ ล์ ิจฉวถี กู ทําลายลง พระเจา้ อชาตศัตรจู งึ ไดย้ กทัพ ไปสเู่ มอื งเวสาลีและสามารถปราบแควน้ วชั ชลี งไดอ้ ยา่ งสาํ เรจ็ และง่ายดาย

ทิชงค์ชาติฉลาดยล คะเนกลคะนงึ การ กษัตรยิ ล์ ิจฉววี าร ระวงั เหอื ดระแวงหาย เหมาะแก่การณจ์ ะเสกสรร ปวตั นว์ ญั จโนบาย มล้างเหตพุ เิ ฉทสาย สมคั รสนธสิ โมสร ลศึกษาพชิ ากร ณวนั หนงึ ลถุ ึงกา เสดจ็ พรอ้ มประชุมกัน กมุ ารลิจฉววี ร สถานราชเรยี นพลัน ตระบดั วสั สการมา สนทิ หนงึ พระองค์ไป ธแกล้งเชญิ กมุ ารฉัน ก็ถามการณ์ ณ ทันใด กถาเชน่ ธปุจฉา ลหุ อ้ งหบั รโหฐาน มนษุ ยผ์ กู้ ระทํานา มลิ ีลับอะไรใน ประเทียบไถมใิ ชห่ รอื จะถกู ผดิ กระไรอยู่ ก็รบั อรรถอออือ และค่โู คก็จูงมา ประดจุ คําพระอาจารย์ นวิ ตั ในมชิ า้ นาน กมุ ารลิจฉวขี ตั ติย์ สมยั เลิกลเุ วลา กสกิ เขากระทําคือ พชวนกันเสดจ็ มา ก็เท่านนั ธเชญิ ให้ ชองค์นนั จะเอาความ ประสทิ ธศิ ิลปประศาสนส์ าร ณขา้ งในธไต่ถาม อุรสลิจฉวสี รร วจสี ตั ยก์ ะสาํ เรา และต่างซกั กมุ ารรา รวากยว์ าทตามเลา พระอาจารยส์ เิ รยี กไป วภาพโดยคดมี า อะไรเธอเสนอตาม มเิ ชอื ในพระวาจา และต่างองค์ก็พาที กมุ ารนนั สนองสา เฉลยพจนก์ ะครเู สา กมุ ารอืนก็สงสยั สหายราชธพรรณนา

ไฉนเลยพระครเู รา จะพูดเปล่าประโยชนม์ ี เลอะเหลวนกั ละล้วนนี รผลเหน็ บเปนไป เถอะถึงถ้าจะจรงิ แม้ ธพูดแท้ก็ทําไม แนะชวนเขา้ ณข้างใน จะถามนอกบยากเยน็ ธคิดอ่านกะท่านเปน ชะรอยวา่ ทิชาจารย์ ละแนช่ ดั ถนดั ความ รหสั เหตปุ ระเภทเหน็ มกิ ล้าอาจจะบอกตา และท่านมามุสาวาท ไถลแสรง้ แถลงสาร พจจี รงิ พยายาม ก็สอดคล้องและแคลงดาล อุบตั ิขนึ เพราะขุน่ เคือง กมุ ารราชมติ รผอง ประดามนี ริ นั ดรเ์ นอื ง พโิ รธกาจววิ าทการณ์ มลายปลาตพนิ าศปลงฯ พพิ ธิ พนั ธไมตรี กะองค์นนั ก็พลันเปลือง

ทิชงค์ชาติฉลาดยล ถึง มลายปลาดพนิ าศปลง พราหมณผ์ ฉู้ ลาดคาดวา่ กษัตรยิ ล์ ิจฉววี างใจคลายความหวาดระแวง เปนโอกาส เหมาะทีจะเรมิ ดาํ เนนิ การตามกลอุบายทําลายความสามคั คี วนั หนงึ เมอื ถึงโอกาสทีจะ สอนวชิ า กมุ ารลิจฉวกี ็เสดจ็ มาโดยพรอ้ มกัน ทันใดวสั สการพราหมณก์ ็มาถึงและแกล้ง เชญิ พระกมุ ารพระองค์ทีสนทิ เขา้ ไปหาในหอ้ งสว่ นตัว แล้วก็ทลู ถามเรอื งทีไมใ่ ชค่ วามลับ เชงิ ถามวา่ ชาวนาจูงโคมาค่หู นงึ เพอื เทียมไถใชห่ รอื ไม่ พระกมุ ารลิจฉวกี ็รบั สงั เหน็ ดว้ ย วา่ ชาวนาก็คงจะทําดงั คําของพระอาจารย์ ถามเพยี งเท่านนั พราหมณก์ ็เชญิ ใหเ้ สดจ็ กลับ ออกไป ครนั ถึงเวลาเลิกเรยี นเหล่าโอรสลิจฉวกี ็พากันมาซกั ไซพ้ ระกมุ ารวา่ พระอาจารย์ เรยี กเขา้ ไปขา้ งใน ไดถ้ ามอะไรบา้ ง ขอใหบ้ อกมาตามความจรงิ พระกมุ ารพระองค์นนั ก็ เล่าเรอื งราวทีพระอาจารยเ์ รยี กไปถาม แต่เหล่ากมุ ารสงสยั ไมเ่ ชอื คําพูดของพระสหาย ต่างองค์ก็วจิ ารณว์ า่ พระอาจารยจ์ ะพูดเรอื งเหลวไหลไรส้ าระแบบนเี ปนไปไมไ่ ด้ และ หากวา่ จะพูดจรงิ ทําไมจะต้องเรยี กเขา้ ไปถามขา้ งในหอ้ ง ถามขา้ งนอกหอ้ งก็ได้ สงสยั วา่ ท่านอาจารยก์ ับพระกมุ ารต้องมคี วามลับอยา่ งแนน่ อน แล้วก็มาพูดโกหก ไมก่ ล้าบอก ตามความเปนจรงิ แกล้งพูดไปเรอื ย กมุ ารลิจฉวที ังหลายคิดเหมอื นกันก็เกิดความ โกรธเคือง การทะเลาะววิ าทก็เกิดขนึ เพราะความขุน่ เคืองใจ ความสมั พนั ธท์ ีดที ีเคยมมี า ตลอดก็ถกู ทําลายลง

ล่วงลปุ ระมาณ กาลอนกุ รม หนงึ ณนยิ ม ท่านทวชิ งค์ เมอื จะประสทิ ธิ วทิ ยะยง เชญิ วรองค์ เอกกมุ าร พราหมณไป เธอจรตาม หอ้ งรหฐุ าน โดยเฉพาะใน ความพสิ ดา จงึ พฤฒถิ าม โทษะและไข ขอธประทาน ครจู ะเฉลย ภัตกะอะไร อยา่ ติและหลู่ ดฤี ไฉน เธอนะ่ เสวย ยงิ ละกระมงั ในทินนี เค้าณประโยค พอหฤทัย แล้วขณะหลัง เรอื งสปิ ระทัง ราชธก็เล่า สกิ ขสภา ตนบรโิ ภค ราชอุรส วาทะประเทือง ต่างธก็มา อาคมยงั ท่านพฤฒอิ า รภกระไร เสรจ็ อนศุ าสน์ ลิจฉวหิ มด ถามนยมาน จารยปรา

เธอก็แถลง แจง้ ระบุมวล ความเฉพาะล้วน จรงิ หฤทัย ต่างบมเิ ชอื เมอื ตรไิ ฉน จงึ ผลใน เหตบุ มสิ ม เรอื งนฤสาร ขุน่ มนเคือง ก่อนก็ระ เชน่ กะกมุ าร แตกคณะกล เลิกสละแยก คบดจุ เดมิ เกลียวบนยิ ม ล่วงลปุ ระมาณ ถึง คบดจุ เดมิ เวลาผา่ นไปตามเวลา เมอื ถึงคราวทีจะสอนวชิ าก็จะเชญิ พระกมุ ารพระองค์หนงึ พระกมุ ารก็ตามพราหมณเ์ ขา้ ไปในหอ้ งเฉพาะ พราหมณจ์ งึ ถามเนอื ความแปลก ๆ วา่ ขออภัย ชว่ ยตอบดว้ ย อยา่ หาวา่ ตําหนหิ รอื ลบหลู่ ครขู อถามวา่ วนั นพี ระกมุ ารเสวยพระ กระยาหารอะไร รสชาติดหี รอื ไม่ พอพระทัยมากหรอื ไม่ พระกมุ ารก็เล่าเรอื งเกียวกับพระ กระยาหารทีเสวย หลังจากนนั ก็สนทนาเรอื งทัวไป แล้วก็เสดจ็ กลับออกมายงั หอ้ งเรยี น เมอื เสรจ็ การสอนราชกมุ ารลิจฉวที ังหมดก็มาถามเรอื งราวทีมมี าวา่ ท่าน อาจารยไ์ ดพ้ ูดเรอื งอะไรบา้ ง พระกมุ ารก็ตอบตามความจรงิ แต่เหล่ากมุ ารต่างไมเ่ ชอื เพราะคิดแล้วไมส่ มเหตสุ มผล ต่างขุน่ เคืองใจดว้ ยเรอื งไรส้ าระเชน่ เดยี วกับพระกมุ าร พระองค์ก่อน และเกิดความแตกแยกไมค่ บกันอยา่ งกลมเกลียวเหมอื นเดมิ

ทิชงค์เจาะจงเจตน์ กลหเ์ หตยุ ุยงเสรมิ กระหนาํ และซาํ เติม นฤพทั ธก่อการณ์ ละครงั ระหวา่ งครา ทินวารนานนาน เหมาะท่าทิชาจารย์ ธก็เชญิ เสดจ็ ไป รฤหาประโยชนไ์ ร บหอ่ นจะมสี า เสาะแสดงธแสรง้ ถาม กระนนั เสมอนยั นะ่ แนะ่ ขา้ สดบั ตาม และบา้ งก็พูดวา่ พจแจง้ กระจายมา ยุบลระบลิ ความ ก็เพราะท่านสแิ สนสา วและสดุ จะขดั สน ละเมดิ ติเตียนท่าน พเิ คราะหเ์ ชอื เพราะยากยล รพดั ทลิทภา ธก็ควรขยายความ จะแนม่ แิ นเ่ หลือ นะ่ แนะ่ ขา้ จะขอถาม ณทีบมคี น วจลือระบอื มา ก็เพราะท่านสแิ สนสา และบา้ งก็กล่าววา่ ยพลิ ึกประหลาดเปน เพราะทราบคดตี าม มนเชอื เพราะไปเหน็ ติฉินเยาะหมนิ ท่าน ธก็ควรขยายความ รพนั พกิ ลกา วนเค้าคดตี าม นยสดุ จะสงสยั จะจรงิ มจิ รงิ เหลือ ครุ ทุ ่านจะถามไย ผขิ อ้ บลําเค็ญ ระบุแจง้ กะอาจารย์ กมุ ารองค์เสา พระกมุ ารโนน้ ขาน กระท้พู ระครถู าม เฉพาะอยูก่ ะกันสอง ก็คํามคิ วรการณ์ ธซกั เสาะสบื ใคร ทวชิ แถลงวา่ ยุบลกะตกู าล

กมุ ารพระองค์นนั ธมทิ ันจะไตรต่ รอง ก็เชอื ณคําของ พฤฒคิ รแู ละวูว่ าม พโิ รธกมุ ารองค์ เหมาะเจาะจงพยายาม ยุครเู พราะเอาความ บมดิ ปี ระเดตน ทรุ ทิฐมิ านจน ก็พอ้ และต่อพษิ ธพิ พิ าทเสมอมา ลโุ ทสะสบื สน ทิชครมู เิ รยี กหา และฝายกมุ ารผู้ ชกมุ ารทิชงค์เชญิ ก็แหนงประดารา ฉวมิ ติ รจติ เมนิ คณะหา่ งก็ต่างถือ พระราชบุตรลิจ พลล้นเถลิงลือ ณกันและกันเหนิ มนฮึกบนกึ ขามฯ ทะนงชนกตน ก็หาญกระเหมิ ฮือ

ทิชงค์เจาะจงเจตน์ ถึง มนฮึก บ นกึ ขาม พราหมณเ์ จตนาหาเรอื งมาแหยซ่ าํ เติมอยูเ่ สมอ ๆ แต่ละครงั แต่ละวนั นานนานครงั เหน็ โอกาสเหมาะก็จะเชญิ พระกมุ ารเสดจ็ ไปโดยไมม่ ปี ระโยชนอ์ ะไร แล้วก็แกล้งทลู ถาม บางครงั ก็พูดวา่ นแี นะ่ ขา้ พระองค์ไดย้ นิ ขา่ วเล่าลือกันทัวไป เขานนิ ทาพระกมุ ารวา่ พระองค์แสนจะยากจนและขดั สน จะเปนเชน่ นนั แนห่ รอื พเิ คราะหแ์ ล้วไมน่ า่ เชอื ณ ทีนไี มม่ ผี ใู้ ด ขอใหท้ รงเล่ามาเถิด บางครงั ก็พูดวา่ ขา้ พระองค์ขอทลู ถามพระกมุ าร เพราะไดย้ นิ เขาเล่าลือกันทัวไปเยาะเยย้ ดหู มนิ ท่าน วา่ ท่านนมี รี า่ งกายผดิ ประหลาดต่าง ๆ นานาจะเปนจรงิ หรอื ไม่ ใจไมอ่ ยากเชอื เลยเพราะไมเ่ หน็ ถ้าหากมสี งิ ใดทีลําบากยากแค้นก็ตรสั มาเถิด พระกมุ ารไดท้ รงฟงเรอื งทีพระอาจารยถ์ ามก็ถามกลับวา่ สงสยั เหลือ เกินเรอื งไมส่ มควรเชน่ นที ่านอาจารยจ์ ะถามทําไม แล้วก็ถามวา่ ใครเปนผมู้ าบอก กับอาจารย์ พราหมณก์ ็ตอบวา่ พระกมุ ารพระองค์โนน้ ตรสั บอกเมอื อยูก่ ันเพยี ง สองต่อสอง กมุ ารพระองค์นนั ไมท่ ันไดไ้ ตรต่ รอง ก็ทรงเชอื ในคําพูดของ อาจารย์ ดว้ ยความวูว่ ามก็โกรธพระกมุ ารทียุพระอาจารยใ์ สค่ วามตน จงึ ตัดพอ้ ต่อวา่ กันขนึ เกิดความโกรธเคืองทะเลาะววิ าทกันอยูเ่ สมอ ฝายพระกมุ ารที พราหมณไ์ มเ่ คยเรยี กเขา้ ไปหาก็ไมพ่ อใจพระกมุ ารทีพราหมณเ์ รยี กไปพบ พระกุ มารลิจฉวหี มางใจและเหนิ หา่ งกัน ต่างองค์ทะนงวา่ พระบดิ าของตนมอี ํานาจล้น เหลือ จงึ ไมเ่ กรงกลัวกัน

ลําดบั นนั วสั สการพราหมณ์ ธก็ยุศิษยตาม แต่งอุบายงาม ฉงนงํา ปวงโอรสลิจฉวดี าํ รณิ วริ ธุ ก็สาํ คัญประดจุ คํา ธเสกสรร ไปเหลือเลยสกั พระองค์อัน มลิ ะปยะสหฉันท์ ขาดสมคั รพนั ธ์ ก็อาดรู ต่างองค์นาํ ความมงิ ามทลู พระชนกอดศิ ูร แหง่ ธโดยมูล ปวตั ติความ แตกรา้ วก้าวรา้ ยก็ปายปาม ลวุ รบดิ รลาม ทีละนอ้ ยตาม ณเหตผุ ล ฟนเฝอเชอื นยั ดนยั ตน นฤวเิ คราะหเสาะสน สบื จะหมองมล เพราะหมายใด แท้ท่านวสั สการใน กษณะตรเิ หมาะไฉน เสรมิ เสมอไป สะดวกดาย หลายอยา่ งต่างกลธขวนขวาย พจนยุปรยิ าย วญั จโนบาย บเวน้ ครา ครนั ล่วงสามปประมาณมา สหกรณประดา ลิจฉวรี า ชทังหลาย สามคั คีธรรมทําลาย มติ รภิทนะกระจาย สรรพเสอื มหายน์ ก็เปนไป ต่างองค์ทรงแคลงระแวงใน พระราชหฤทยวสิ ยั ผพู้ โิ รธใจ ระวงั กันฯ

ลําดบั นนั วสั สการพราหมณ์ ถึง ระวงั กันฯ ในขณะนนั วสั สการพราหมณก์ ็คอยยุลกู ศิษย์ แต่งกลอุบายใหเ้ กิดความแคลงใจ พระโอรสกษัตรยิ ล์ ิจฉวที ังหลายไตรต่ รองในอาการนา่ สงสยั ก็เขา้ ใจวา่ เปนจรงิ ดงั ถ้อยคําที อาจารยป์ นเรอื งขนึ ไมม่ เี หลือเลยสกั พระองค์เดยี วทีจะมคี วามรกั ใครก่ ลมเกลียว ต่างขาด ความสมั พนั ธ์ เกิดความเดอื ดรอ้ นใจ แต่ละองค์นาํ เรอื งไมด่ ที ีเกิดขนึ ไปทลู พระบดิ าของตน ความแตกแยกก็ค่อย ๆ ลกุ ลามไปสพู่ ระบดิ า เนอื งจากความหลงเชอื โอรสของตน ปราศจากการใครค่ รวญเกิดความผดิ พอ้ งหมองใจกันขนึ ฝายวสั สการพราหมณค์ รนั เหน็ โอกาสเหมาะสมก็คอยยุแหยอ่ ยา่ งง่ายดาย ทํากลอุบายต่าง ๆ พูดยุยงตามกลอุบายตลอด เวลา เวลาผา่ นไปประมาณ ๓ ป ความรว่ มมอื กันระหวา่ งกษัตรยิ ล์ ิจฉวที ังหลายและความ สามคั คีถกู ทําลายลงสนิ ความเปนมติ รแตกแยก ความเสอื ม ความหายนะก็บงั เกิดขนึ กษัตรยิ ต์ ่างองค์ระแวงแคลงใจ มคี วามขุน่ เคืองใจซงึ กันและกัน

พราหมณค์ รรู สู้ งั เกต ตระหนกั เหตถุ นดั ครนั ราชาวชั ชสี รร พจกั สพู่ นิ าศสม ยนิ ดบี ดั นกี ิจ จะสมั ฤทธมิ นารมณ์ เรมิ มาดว้ ยปรากรม และอุตสาหแหง่ ตน ประชุมขตั ติยม์ ณฑล ใหล้ องตีกลองนดั กษัตรยิ ส์ สู่ ภาคาร เชญิ ซงึ สาํ สากล สดบั กลองกระหมึ ขาน วชั ชภี มู ผี อง ณกิจเพอื เสดจ็ ไป ทกุ ไท้ไปเอาภาร จะเรยี กหาประชุมไย ก็ขลาดกลัวบกล้าหาญ ต่างทรงรบั สงั วา่ และกล้าใครมเิ ปรยี บปาน เราใชเ่ ปนใหญใ่ จ ประชุมชอบก็เชญิ เขา ท่านใดทีเปนใหญ่ ไฉนนนั ก็ทําเนา พอใจใครใ่ นการ บแลเหน็ ประโยชนเ์ ลย และทกุ องค์ธเพกิ เฉย ปรกึ ษาหารอื กัน สมคั รเขา้ สมาคมฯ จกั เรยี กประชุมเรา รบั สงั ผลักไสสง่ ไปไดไ้ ปดงั เคย

พราหมณค์ รรู สู้ งั เกต ถึง สมาคม พราหมณผ์ เู้ ปนครสู งั เกตเหน็ ดงั นนั ก็รวู้ า่ เหล่ากษัตรยิ ล์ ิจฉวกี ําลังจะประสบความ พนิ าศ จงึ ยนิ ดมี ากทีภารกิจประสบผลสาํ เรจ็ สมดงั ใจ หลังจากเรมิ ต้นดว้ ยความบากบนั และความอดทนของตน จงึ ใหล้ องตีกลองนดั ประชุมกษัตรยิ ฉ์ วี เชญิ ทกุ พระองค์เสดจ็ มายงั ทีประชุม ฝายกษัตรยิ ว์ ชั ชที ังหลายทรงสดบั เสยี งกลองดงั กึกก้อง ทกุ พระองค์ไม่ ทรงเปนธุระในการเสดจ็ ไป ต่างองค์รบั สงั วา่ จะเรยี กประชุมดว้ ยเหตใุ ด เราไมไ่ ดเ้ ปนใหญ่ ใจ ก็ขลาด ไมก่ ล้าหาญ ผใู้ ดเปนใหญ่ มคี วามกล้าหาญไมม่ ผี ใู้ ดเปรยี บได้ พอใจจะเสดจ็ ไปรว่ ม ประชุมก็เชญิ เขาเถิด จะปรกึ ษาหารอื กันประการใดก็ชา่ งเถิด จะเรยี กเราไปประชุมมองไม่ เหน็ ประโยชนป์ ระการใดเลย รบั สงั ใหพ้ น้ ตัวไป และทกุ พระองค์ก็ทรงเพกิ เฉยไมเ่ สดจ็ ไป เขา้ รว่ มการประชุมเหมอื นเคย

ประสบสม ธก็ลอบแถลงการณ์ พราหมณเ์ วทอุดม คมดลประเทศฐาน ใหว้ ลั ลภชน ภิเผา้ มคธไกร กราบทลู นฤบาล สนวา่ กษัตรยิ ใ์ น วลหล้าตลอดกัน แจง้ ลักษณสา คณะแผกและแยกพรรค์ วชั ชบี ุรไกร ทเสมอื นเสมอมา บดั นสี กิ ็แตก ขณะไหนประหนงึ ครา ไปเปนสหฉัน ก็บไดส้ ะดวกดี พยุหย์ าตรเสดจ็ กรี โอกาสเหมาะสมยั รยิ ยุทธโดยไวฯ นหี ากผจิ ะหา ขอเชญิ วรบาท ธาทัพพลพี ประสบสม ถึง โดยไว เมอื พจิ ารณาเหน็ ชอ่ งทางทีจะไดช้ ยั ชนะอยา่ งง่ายดาย พราหมณผ์ รู้ อบรู้ พระเวทก็ลอบสง่ ขา่ ว ใหค้ นสนทิ เดนิ ทางกลับไปยงั บา้ นเมอื ง กราบทลู กษัตรยิ ์ แหง่ แควน้ มคธอันยงิ ใหญ่ ในสาสนแ์ จง้ วา่ กษัตรยิ ว์ ชั ชที กุ พระองค์ขณะนเี กิด ความแตกแยก แบง่ พรรคแบง่ พวก ไมส่ ามคั คีกันเหมอื นแต่เดมิ จะหาโอกาสอัน เหมาะสมครงั ใดเหมอื นดงั ครงั นคี งจะไมม่ อี ีกแล้ว ขอทลู เชญิ พระองค์ยกกองทัพ อันยงิ ใหญม่ าทําสงครามโดยเรว็ เถิด

ขา่ วเศิกเอิกอึง ทราบถึงบดั ดล ในหมูผ่ คู้ น ชาวเวสาลี แทบทกุ ถินหมด ชนบทบูรี อกสนั ขวญั หนี หวาดกลัวทัวไป หมดเลือดสนั กาย ตืนตาหนา้ เผอื ด วุน่ หวนั พรนั ใจ หลบลีหนตี าย ซอ่ นตัวแตกภัย ซุกครอกซอกครวั ทิงยา่ นบา้ นตน เขา้ ดงพงไพร ชาวคามล่าลาด ขุนดา่ นตําบล เหลือจกั หา้ มปราม คิดผนั ผอ่ นปรน พนั หวั หนา้ ราษฎร์ มาคธขา้ มมา หารอื แก่กัน ปาวรอ้ งทันที จกั ไมใ่ หพ้ ล รกุ เบยี นบฑี า วชั ชอี าณา จงึ ใหต้ ีกลอง ปองกันฉันใด แจง้ ขา่ วไพรี เพอื หมูภ่ มู ี ชุมนมุ บญั ชา

ราชาลิจฉวี ไปมสี กั องค์ อันนกึ จาํ นง เพอื จกั เสดจ็ ไป ต่างองค์ดาํ รสั เรยี กนดั ทําไม ใครเปนใหญใ่ คร กล้าหาญเหน็ ดี ขดั ขอ้ งขอ้ ไหน เชญิ เทอญท่านต้อง ตามเรอื งตามที ปรกึ ษาปราศรยั เปนใหญย่ งั มี สว่ นเราเล่าใช่ รกุ ปราศอาจหาญ ใจอยา่ งผภู้ ี ความแขงอํานาจ แก่งแยง่ โดยมาน ต่างทรงสาํ แดง วชั ชรี ฐั บาล สามคั คีขาด แมแ้ ต่สกั องค์ฯ ภมู ศิ ลิจฉวี บช่ ุมนมุ สมาน

ขา่ วเศิกเอิกอึง ถึง ปองกันฉันใด ขา่ วศึกแพรไ่ ปจนรถู้ ึงชาวเมอื งเวสาลี แทบทกุ คนในเมอื งต่างตกใจและหวาด กลัวกันไปทัว หนา้ ตาตืน หนา้ ซดี ไมม่ สี เี ลือด ตัวสนั พากันหนตี ายวุน่ วาย พากันอพยพ ครอบครวั หนภี ัย ทิงบา้ นเรอื นไปซุม่ ซอ่ นตัวเสยี ในปา ไมส่ ามารถหา้ มปรามชาวบา้ นได้ หวั หนา้ ราษฎรและนายดา่ นตําบลต่าง ๆ ปรกึ ษากันคิดจะยบั ยงั ไมใ่ หก้ องทัพมคธขา้ ม มาได้ จงึ ตีกลองปาวรอ้ งแจง้ ขา่ วขา้ ศึกเขา้ รกุ ราน เพอื ใหเ้ หล่ากษัตรยิ แ์ หง่ วชั ชเี สดจ็ มาประชุมหาหนทางปองกันประการใด ไมม่ กี ษัตรยิ ล์ ิจฉวแี มแ้ ต่พระองค์เดยี วคิดจะ เสดจ็ ไป แต่ละพระองค์ทรงดาํ รสั วา่ จะเรยี กประชุมดว้ ยเหตใุ ด ผใู้ ดเปนใหญผ่ ใู้ ดกล้า หาญ เหน็ ดปี ระการใดก็เชญิ เถิด จะปรกึ ษาหารอื อยา่ งไรก็ตามแต่ใจ ตัวของเรานนั ไมไ่ ด้ มอี ํานาจยงิ ใหญ่ จติ ใจก็ขขี ลาด ไมอ่ งอาจกล้าหาญ แต่ละพระองค์ต่างแสดงอาการ เพกิ เฉย ปราศจากความสามคั คีปรองดองในจติ ใจ กษัตรยิ ล์ ิจฉวแี หง่ วชั ชไี มเ่ สดจ็ มา ประชุมกันแมแ้ ต่พระองค์เดยี ว

ปนเขตมคธขตั ติยรชั ธาํ รง ยงั ทัพประทับตรง นคเรศวสิ าลี ภธู รธสงั เกต พเิ คราะหเ์ หตณุ ธานี แหง่ ราชวชั ชี ขณะเศิกประชดิ แดน และมนิ กึ จะเกรงแกลน เฉยดบู รสู้ กึ รณทัพระงับภัย ฤๅคิดจะตอบแทน บมทิ ําประการใด นงิ เงียบสงบงํา บุรวา่ งและรา้ งคน ปรากฏประหนงึ ใน สยคงกระทบกล ลกุ ระนถี นดั ตา แนโ่ ดยมพิ กั สง คิยพรรคพระราชา ท่านวสั สการจน รจะพอ้ งอนตั ถ์ภัย ภินท์พทั ธสามคั รกกาลขวา้ งไป ชาวลิจฉววี า ดจุ กันฉะนนั หนอ กลแหยย่ ุดพี อ ลกู ขา่ งประดาทา จะมริ า้ วมริ านกัน หมุนเล่นสนกุ ไฉน ครวู สั สการแส่ ปนปวนบเหลือหลอ

ครนั ทรงพระปรารภ ธุระจบธจงึ บญั ชานายนกิ ายสรร พทแกล้วทหารหาญ เรง่ ทําอุฬุมปเว ฬุคะเนกะเกณฑ์การ เพอื ขา้ มนทีธาร จรเขา้ นครบร อดศิ ูรบดศี ร เขารบั พระบณั ฑรู ทิวรงุ่ สฤษฎ์พลัน ภาโรปกรณต์ อน พยุหาธทิ ัพขนั ธ์ จอมนาถพระยาตรา พลขา้ มณคงคา โดยแพและพว่ งปน พศิ เนอื งขนดั คลา ลิบุเรศสะดวกดายฯ จนหมดพหลเนอื ง ขนึ ฝงลเุ วสา

ปนเขตมคธขตั ถึง ลิบุเรศสะดวกดายฯ ตรงหนา้ เมอื งเวสาลี พระองค์ทรงสงั เกตวเิ คราะหเ์ หตกุ ารณท์ างเมอื งวชั ชใี น ขณะทีขา้ ศึกมาประชดิ เมอื ง ดนู งิ เฉยไมร่ สู้ กึ เกรงกลัว หรอื คิดจะทําสงิ ใดโต้ตอบระงับ เหตรุ า้ ย กลับอยูอ่ ยา่ งสงบเงียบไมท่ ําการสงิ ใด มองดรู าวกับเปนเมอื งรา้ งปราศจาก ผคู้ น แนน่ อนไมต่ ้องสงสยั เลยวา่ คงจะถกู กลอุบายของวสั สการพราหมณจ์ นเปนเชน่ นี ความสามคั คีผกู พนั แหง่ กษัตรยิ ล์ ิจฉวถี กู ทําลายลงและจะประสบกับภัยพบิ ตั ิ ลกู ขา่ งที เดก็ ขวา้ งเล่นไดส้ นกุ ฉันใด วสั สการพราหมณก์ ็สามารถยุแหยใ่ หเ้ หล่ากษัตรยิ ล์ ิจฉวี แตกความสามคั คีไดต้ ามใจชอบและคิดทีจะสนกุ ฉันนนั ครนั ทรงคิดไดด้ งั นนั จงึ มพี ระ ราชบญั ชาแก่เหล่าทหารหาญใหร้ บี สรา้ งแพไมไ้ ผเ่ พอื ขา้ มแมน่ าํ จะเขา้ เมอื งของฝายศัตรู พวกทหารรบั ราชโองการแล้วก็ปฏิบตั ิภารกิจทีไดร้ บั ในตอนเชา้ งานนนั ก็เสรจ็ ทันที จอมกษัตรยิ เ์ คลือนกองทัพอันมกี ําลังพลมากมายลงในแพทีติดกัน นาํ กําลังขา้ ม แมน่ าํ จนกองทัพหมดสนิ มองดแู นน่ ขนดั ขนึ ฝงเมอื งเวสาลีอยา่ งสะดวกสบาย

นาครธา นวิ สิ าลี เหน็ รปิ ุมี พลมากมาย ขา้ มติรชล ก็ลพุ น้ หมาย มุง่ จะทลาย พระนครตน มนอกเต้น ต่างก็ตระหนก ตะละผคู้ น ตืนบมเิ วน้ มจลาจล ทัวบุรคา เสยี งอลวน อลเวงไป มุขมนตรี สรรพสกล รกุ เภทภัย ตรอมมนภี ทรปราศรยั บางคณะอา ขณะนหี นอ ยงั มกิ ระไร พระทวารมนั อรกิ ่อนพอ ควรบรบิ าล ชสภารอ ต้านปะทะกัน วรโองการ ขตั ติยรา ดาํ รจิ ะขอ

ทรงตรไิ ฉน ก็จะไดท้ ํา โดยนยดาํ รสั ภบู าล เสวกผอง ก็เคาะกลองขาน อาณตั ิปาน ดจุ กลองพงั ประลโุ สตท้าว ศัพทอุโฆษ ขณะทรงฟง ลิจฉวดี า้ ว และละเลยดงั ต่างธก็เฉย ธุระกับใคร ไท้มอิ ินงั ณสภาคา บุรทัวไป ต่างก็บคลา และทวารใด แมพ้ ระทวาร สจิ ะปดมฯี รอบทิศดา้ น เหน็ นรไหน

นาครธา ถึง สจิ ะปดมฯี ฝายเมอื งเวสาลีมองเหน็ ขา้ ศึกจาํ นวนมากขา้ มแมน่ าํ มาเพอื จะทําลายล้าง บา้ นเมอื งของตน ต่างก็ตระหนกตกใจกันถ้วนหนา้ ในเมอื งเกิดจลาจลวุน่ วายไป ทัวเมอื ง ขา้ ราชการชนั ผใู้ หญต่ ่างหวาดกลัวภัย บางพวกก็พูดวา่ ขณะนยี งั ไมเ่ ปนไร หรอก ควรจะปองกันประตเู มอื งเอาไวใ้ หม้ นั คง ต้านทานขา้ ศึกเอาไวก้ ่อน รอใหท้ ี ประชุมเหล่ากษัตรยิ ม์ คี วามเหน็ วา่ จะทรงทําประการใด ก็จะไดด้ าํ เนนิ การตามพระ บญั ชาของพระองค์ เหล่าขา้ ราชการทังหลายก็ตีกลองสญั ญาณขนึ ราวกับกลอง จะพงั เสยี งดงั กึกก้องไปถึงพระกรรณกษัตรยิ ล์ ิจฉวี ต่างองค์ทรงเพกิ เฉย ราวกับไมเ่ อาใจใสใ่ นเรอื งราวของผใู้ ด ต่างองค์ไมเ่ สดจ็ ไปทีประชุม แมแ้ ต่ประตู เมอื งรอบทิศทกุ บานก็ไมม่ ผี ใู้ ดปด

จอมทัพมาคธราษฎรธ์ ยาตรพยุหกรี ธาสวู่ สิ าลี นคร โดยทางอันพระทวารเปดนรนกิ ร ฤๅรอต่อรอน อะไร เบอื งนนั ท่านครุ วุ สั สการทิชก็ไป นาํ ทัพชเนนทรไ์ ท มคธ เขา้ ปราบลิจฉวขิ ตั ติยร์ ฐั ชนบท สเู่ งือมพระหตั ถ์หมด และโดย ไปพกั ต้องจะกะเกณฑ์นกิ าย พหลโรย แรงเปลืองระดมโปรย ประยุทธ์ ราบคาบเสรจ็ ธเสดจ็ ลรุ าช คฤหอุต คมเขตบุเรศดจุ ณเดมิ เรอื งต้นยุกติก็แต่จะต่อพจนเติม ภาษิตลิขติ เสรมิ ประสงค์ ปรงุ โสตเปนคติสนุ ทราภรณจง จบั ขอ้ ประโยชนต์ รง ตรดิ ู

จอมทัพมาคธราษฎรธ์ ยาตรพยุหกรี ถึง ตรดิ ู จอมทัพแหง่ แควน้ มคธกรธี าทัพเขา้ เมอื งเวสาลีทางประตเู มอื งทีเปดอยูโ่ ดย ไมม่ ผี คู้ นหรอื ทหารต่อสปู้ ระการใด ขณะนนั วสั สการพราหมณผ์ เู้ ปนอาจารยก์ ็ไปนาํ ทัพของกษัตรยิ แ์ หง่ มคธเขา้ มาปราบกษัตรยิ ล์ ิจฉวี อาณาจกั รทังหมดก็ตกอยูใ่ น เงือมพระหตั ถ์ โดยทีกองทัพไมต่ ้องเปลืองแรงในการต่อสู้ ปราบราบคาบแล้วเสดจ็ ยงั ราชคฤหเ์ มอื งยงิ ใหญด่ งั เดมิ เนอื เรอื งแต่เดมิ จบลงเพยี งนี แต่ประสงค์จะแต่ง สภุ าษิตเพมิ เติมใหไ้ ดร้ บั ฟงเพอื เปนคติอันทรงคณุ ค่านาํ ไปคิดไตรต่ รอง

อันภบู ดรี า ชอชาตศัตรู ไดล้ ิจฉวภี ู วประเทศสะดวกดี แลสรรพบรรดา วรราชวชั ชี ถึงซงึ พบิ ตั ิบี ฑอนตั ถ์พนิ าศหนา เหยี มนนั เพราะผนั แผก คณะแตกและต่างมา ถือทิฐมิ านสา หสโทษพโิ รธจอง แยกพรรคสมรรคภิน ทนสนิ บปรองดอง ขาดญาณพจิ ารณต์ รอง ตรมิ ลักประจกั ษ์เจอื เชอื อรรถยุบลเอา รสเล่าก็ง่ายเหลือ เหตหุ ากธมากเมอื คติโมหเปนมูล จงึ ดาลประการหา ยนภาวอาดรู เสยี แดนไผทสญู ยศศักดเิ สอื มนาม ควรชมนยิ มจดั ครุ วุ สั สการพราหมณ์ เปนเอกอุบายงาม กลงํากระทํามา

อันภบู ดรี า ถึง กลงํากระทํามา พระเจา้ อชาตศัตรไู ดแ้ ผน่ ดนิ วชั ชอี ยา่ งสะดวก และกษัตรยิ ล์ ิจฉวที ัง หลายก็ถึงซงึ ความพนิ าศล่มจม เหตเุ พราะความแตกแยกกัน ต่างก็มคี วามยดึ มนั ในความคิดของตน ผกู โกรธซงึ กันและกัน ต่างแยกพรรค แตกสามคั คีกัน ไมป่ รองดองกัน ขาดปญญาทีจะพจิ ารณาไตรต่ รอง เชอื ถ้อยความของบรรดา พระโอรสอยา่ งง่ายดาย เหตทุ ีเปนเชน่ นนั เพราะกษัตรยิ แ์ ต่ละพระองค์ทรงมาก ไปดว้ ยความหลง จงึ ทําใหถ้ ึงซงึ ความฉิบหาย มภี าวะความเปนอยูอ่ ันทกุ ขร์ ะทม เสยี ทังแผน่ ดนิ เกียรติยศ และชอื เสยี งทีเคยมอี ยู่ สว่ นวสั สการพราหมณน์ นั นา่ ชนื ชมอยา่ งยงิ เพราะเปนเลิศในการกระทํากลอุบาย

พุทธาทิบณั ฑิต พเิ คราะหค์ ิดพนิ จิ ปรา รภสรรเสรญิ สา ธุสมคั รภาพผล วา่ อาจจะอวยผา สกุ ภาวมาดล ดสี ณู่ หมูต่ น บนริ าศนริ นั ดร คยพรรคสโมสร หมูใ่ ดผสิ ามคั คณุ ไรไ้ ฉนดล ไปปราศนริ าศรอน เพราะฉะนนั แหละบุคคล พรอ้ มเพรยี งประเสรฐิ ครนั ธุระเกียวกะหมูเ่ ขา ผหู้ วงั เจรญิ ตน มุขเปนประธานเอา บมเิ หน็ ณฝายเดยี ว พงึ หมายสมคั รเปน นรอืนก็แลเหลียว ธูรทัวณตัวเรา มติ รภาพผดงุ ครอง ควรยกประโยชนย์ นื ทมผอ่ นผจงจอง ดบู า้ งและกลมเกลียว มนเมอื จะทําใด ลกุ ็ปนก็แบง่ ไป ยงั ทิฐมิ านหยอ่ น สจุ รติ นยิ มธรรม์ อารมี มิ หี มอง สปุ ระพฤติสงวนพรรค์ ลาภผลสกลบรร อุปเฉทไมตรี ตามนอ้ ยและมากใจ ผบิ ไรส้ มคั รมี รววิ าทระแวงกัน พงึ มรรยาทยดึ รอื รษิ ยาอัน ดงั นนั ณหมูใ่ ด พรอ้ มเพรยี งนพิ ทั ธน์ ี

หวงั เทอญมติ ้องสง สยคงประสบพลัน ซงึ สขุ เกษมสนั ต์ หติ ะกอบทวกิ าร ใครเล่าจะสามารถ มนอาจระรานหาญ หกั ล้างบแหลกลาญ ก็เพราะพรอ้ มเพราะเพรยี งกัน นรสงู ประเสรฐิ ครนั ปวยกล่าวอะไรฝูง เฉพาะมชี วี คี รอง ฤๅสรรพสตั วอ์ ัน ผวิ ใครจะใครล่ อ แมม้ ากผกิ ิงไม้ พลหกั ก็เต็มทน มดั กํากระนนั ปอง สละลีณหมูต่ น บมพิ รอ้ มมเิ พรยี งกัน เหล่าไหนผไิ มตรี สขุ ทังเจรญิ อัน กิจใดจะขวายขวน ลไุ ฉนบไดม้ ี อยา่ ปรารถนาหวงั พภยนั ตรายกลี มวลมาอุบตั ิบรร ติประสงค์ก็คงสม คณะเปนสมาคม ปวงทกุ ขพ์ บิ ตั ิสรร ภนพิ ทั ธราํ พงึ แมป้ ราศนยิ มปรี ผวิ มกี ็คํานงึ ควรชนประชุมเชน่ จะประสบสขุ าลัยฯ สามคั คิปรารม ไปมกี ็ใหม้ ี เนอื งเพอื ภิยโยจงึ

พุทธาทิบณั ฑิตสแี ดง ถึง จะประสบสขุ าลัยฯ ผรู้ ทู้ ังหลายมพี ระพุทธเจา้ เปนต้น ไดใ้ ครค่ รวญพจิ ารณากล่าวสรรเสรญิ วา่ ชอบแล้วใน เรอื งผลแหง่ ความพรอ้ มเพรยี งกัน ความสามคั คีอาจอํานวยใหถ้ ึงซงึ สภาพแหง่ ความผาสกุ ณ หมูข่ องตนไมเ่ สอื มคลายตลอดไป หากหมูใ่ ดมคี วามสามคั คีรว่ มชุมนมุ กัน ไมห่ า่ งเหนิ กัน สงิ ทีไร้ ประโยชนจ์ ะมาสไู่ ดอ้ ยา่ งไร ความพรอ้ มเพรยี งนนั ประเสรฐิ ยงิ นกั เพราะฉะนนั บุคคลใดหวงั ทีจะ ไดร้ บั ความเจรญิ แหง่ ตนและมกี ิจธุระอันเปนสว่ นรวม ก็พงึ ตังใจเปนหวั หนา้ เอาเปนธุระดว้ ยตัว ของเราเองโดยมเิ หน็ ประโยชนต์ นแต่ฝายเดยี ว ควรยกประโยชนใ์ หบ้ ุคคลอืนบา้ ง นกึ ถึงผอู้ ืน บา้ ง ต้องกลมเกลียว มคี วามเปนมติ รกันไว้ ต้องลดทิฐมิ านะ รจู้ กั ขม่ ใจ จะทําสงิ ใดก็เอือเฟอกัน ไมม่ คี วามบาดหมางใจ ผลประโยชนท์ ังหลายทีเกิดขนึ ก็แบง่ ปนกันไป มากบา้ งนอ้ ยบา้ งอยา่ ง เปนธรรม ควรยดึ มนั ในมารยาทและความประพฤติทีดงี าม รกั ษาหมูค่ ณะโดยไมม่ คี วามรษิ ยา กันอันจะตัดรอนไมตรี ดงั นนั ถ้าหมูค่ ณะใดไมข่ าดซงึ ความสามคั คี มคี วามพรอ้ มเพรยี งกันอยู่ เสมอ ไมม่ กี ารววิ าท และระแวงกัน ก็หวงั ไดโ้ ดยไมต่ ้องสงสยั วา่ คงจะพบซงึ ความสขุ ความสงบ และประกอบดว้ ยประโยชนม์ ากมาย ใครเล่าจะมใี จกล้าคิดทําสงครามดว้ ย หวงั จะทําลายล้างก็ไม่ ได้ ทังนเี พราะความพรอ้ มเพรยี งกันนนั เอง กล่าวไปไยกับมนษุ ยผ์ ปู้ ระเสรฐิ หรอื สรรพสตั วท์ ีมี ชวี ติ แมแ้ ต่กิงไมห้ ากใครจะใครล่ องเอามามดั เปนกํา ตังใจใชก้ ําลังหกั ก็ยากเต็มทน หากหมูใ่ ด ไมม่ คี วามสามคั คีในหมูค่ ณะของตน และกิจการอันใดทีจะต้องขวนขวายทําก็มพิ รอ้ มเพรยี งกัน ก็อยา่ ไดห้ วงั เลยความสขุ ความเจรญิ จะเกิดขนึ ไดอ้ ยา่ งไร ความทกุ ขพ์ บิ ตั ิอันตรายและความชวั รา้ ยทังปวง ถึงแมจ้ ะไมต่ ้องการก็จะต้องไดร้ บั เปนแนแ่ ท้ ผทู้ ีอยูร่ วมกันเปนหมูค่ ณะหรอื สมาคม ควรคํานงึ ถึงความสามคั คีอยูเ่ ปนนจิ ถ้ายงั ไมม่ กี ็ควรจะมขี นึ ถ้ามอี ยูแ่ ล้วก็ควรใหเ้ จรญิ รงุ่ เรอื ง ยงิ ขนึ ไปจงึ จะถึงซงึ ความสขุ ความสบาย

กถา ถ้อยคํา กลหเ์ หตุ เหตแุ หง่ การทะเลาะ กสกิ ชาวนา ไกวล ทัวไป ขตั ติย์ พระเจา้ แผน่ ดนิ คดี เรอื ง คม ไป ชเนนทร์ (ชน+อินทร)์ ผเู้ ปนใหญใ่ นหมูช่ น ทม ความขม่ ใจ ทลิทภาว ยากจน ทัวบุรคาม ทัวบา้ นทัวเมอื ง

ทิช บางทีก็ใชว้ า่ ทวชิ ทิชงค์ ทิชาจารย์ ทวชิ งค์ หมายถึง ผเู้ กิดสองครงั คือ พราหมณ์ กล่าวคือ เกิดเปนคนโดยทัวไปครงั หนงึ และเกิดเปน พราหมณโ์ ดย ตําแหนง่ อีกครงั หนงึ ทิน วนั นครบร เมอื งของขา้ ศึก นย นยั เค้าความ ความหมาย นยมาน ใจความสาํ คัญ (มาน=หวั ใจ) นรนกิ ร ฝูงชน นฤพทั ธ,นพิ ทั ธ์ เนอื งๆ เสมอ เนอื งกัน นฤสาร ไมม่ สี าระ นวิ ตั กลับ นรี ผล ไมเ่ ปนผล ประเด มอบใหห้ มด

ทิช บางทีก็ใชว้ า่ ทวชิ ทิชงค์ ทิชาจารย์ ทวชิ งค์ หมายถึง ผเู้ กิดสองครงั คือ พราหมณ์ กล่าวคือ เกิดเปนคนโดยทัวไปครงั หนงึ และเกิดเปน พราหมณโ์ ดย ตําแหนง่ อีกครงั หนงึ ทิน วนั นครบร เมอื งของขา้ ศึก นย นยั เค้าความ ความหมาย นยมาน ใจความสาํ คัญ (มาน=หวั ใจ) นรนกิ ร ฝูงชน นฤพทั ธ,นพิ ทั ธ์ เนอื งๆ เสมอ เนอื งกัน นฤสาร ไมม่ สี าระ นวิ ตั กลับ นรี ผล ไมเ่ ปนผล ประเด มอบใหห้ มด

ประศาสน์ การสงั สอน ปรากรม ความเพยี ร ปรงุ โสต ตกแต่งใหไ้ พเราะนา่ ฟง ปลาต หายไป ปวตั น์ บางทีใชว้ า่ ปวตั ติ หมายถึง ความเปนไป พฤติ ผเู้ ฒา่ หมายถึง วสั สการพราหมณ? พเิ ฉท ทําลาย การตัดขาด พชิ ากร วชิ าความรู้ พุทธาทิบณั ฑิต ผรู้ มู้ พี ระพุทธเจา้ เปนต้น ภัต ขา้ ว ภาโรปกรณ์ (จดั ทํา) เ ครอื งมอื ตามทีไดร้ บั มอบหมาย ภิณท์พทั ธสามคั คิย การแตกสามคั คี ภินท์ แปลวา่ แตกแยก พทั ธแปลวา่ ผกู พนั สามคั คิย แปลวา่ สามคั คี ภิยโย ยงิ ขนึ ไป

รหฐุ าน รโหฐาน หมายถึง ทีสงัด ทีลับ ลักษณสาสน คือ ลักษณแ์ ละสาสน์ หมายถึง จดหมาย เลา รปู ความ ขอ้ ความเค้า วญั จโนบาย อุบายหลอกลวง วลั ลภชน คนสนทิ วริ ธุ ผดิ ปกติ สมรรคภินทน การแตกสามคั คี สมคั รภาพ ความสมคั รสมานสามคั คี สหกรณ หมูเ่ หล่า สาํ หมู่ พวก สกิ ขสภา หอ้ งเรยี น สขุ าลัย ทีทีมคี วามสขุ เสาวน ฟง

เสาวภาพ สภุ าพ ละมุนละมอ่ น หายน,์ หายน ความเสอื ม หติ ะ ประโยชน์ เหยี มนนั เหตนุ นั อนตั ถ์ ไมเ่ ปนประโยชน์ อนกุ รม ตามลําดบั อภิผา้ ผเู้ ปนใหญ่ อาคม มา มาถึง อุปเฉทไมตรี ตัดไมตรี อุรส โอรส ลกู ชาย อุฬุมปเวฬุ แพไ้ มไ้ ผ่ เอาธูร เอาใจใสเ่ ปนธุระ เอาภาร รบั ภาระ รบั ผดิ ชอบ

กวมี คี วามเชยี วชาญในการแต่งคําประพนั ธเ์ ปนอยา่ งมาก และสามารถใชฉ้ ันทลักษณไ์ ด้ อยา่ ง งดงามเหมาะสมโดยเลือกฉันท์ชนดิ ต่าง ๆ มาใชส้ ลับกันตามความเหมาะสมกับ เนอื เรอื ง ทําใหเ้ นอื เรอื งนา่ จดจาํ และมคี วามไพเราะสละสลวย นทิ านสภุ าษิตเรอื งสามคั คีเภทคําฉันท์มกี ารประพนั ธท์ ีใชภ้ าษาเขา้ ใจง่าย ทําใหผ้ อู้ ่านเหน็ ภาพทีผปู้ ระพนั ธต์ ้องการจะสอื ไดอ้ ยา่ งชดั เจน เปนวรรณคดทีไดร้ บั การยกยอ่ งวา่ มคี วามไพเราะงดงามเปนทีนยิ ม เนอื งจากมกี ารเล่น สมั ผสั ใน ทังสมั ผสั อักษรและสมั ผสั สระอยา่ งไพเราะ ๑. สะท้อนวฒั นธรรมของคนในสงั คม ๑.๑ สะท้อนภาพการปกครองโดยระบอบสามคั คีธรรม เนน้ โทษของการแตกความสามคั คี ในหมู่ คณะ และเนน้ ถึงหลักธรรม อปรหิ านยิ ธรรม 7 ประการ ซงึ เปนหลักธรรมทีสง่ ผล ใหเ้ กิดความ เจรญิ ของหมูค่ ณะ ปราศจากความเสอื ม ไดแ้ ก่ ๑) ไมเ่ บอื หนา่ ยการประชุม เมอื มภี ารกิจก็ประชุมปรกึ ษาหารอื กัน เพอื ชว่ ยกันคิดหาทาง แก้ไขปญหา ๒) เขา้ ประชุมพรอ้ มกัน เลิกประชุมพรอ้ มกัน รว่ มกันประกอบกิจอันควรกระทํา - มคี วาม สามคั คีกัน ๓) ยดึ มนั ในจารตี ประเพณอี ันดงี าม และประพฤติดปี ฏิบตั ิตามสงิ ทีบญั ญตั ิไว้ ๒. แสดงใหเ้ หน็ ถึงโทษของการแตกความสามคั คีในหมูค่ ณะ ๒.๒ ถ้าไมส่ ามคั คีเปนอันหนงึ อันเดยี วกัน ก็จะนาํ บา้ นเมอื งไปสคู่ วามหายนะได้ (ฝายตรงขา้ ม สามารถใชจ้ ุดอ่อนในเรอื งนเี พอื โจมตีไดง้ ่าย) ๓. เนน้ การใชส้ ติปญญาไตรต่ รองในการแก้ไขปญหามากกวา่ การใชก้ ําลัง

๑. ควรมคี วามสามคั คีปรองดองกันเพราะความสามคั คีเปนหลักธรรมของการอยูร่ ว่ มกัน เปนหมูค่ ณะ ๒. หมูค่ ณะควรรว่ มใจกันแก้ไขปญหาต่างๆเพอื ความอยูร่ อดของสงั คม ๓. บุคคลควรมวี จิ ารณญาณ ไตรต่ รองเหตผุ ลทีถกู ต้องในการคิดหรอื การพูดเรอื งต่างๆ ๔. บุคคลต้องรจู้ กั ลดทิฐมิ านะของตนเองและรจู้ กั ทีจะชว่ ยเหลือสว่ นรอมใหเ้ จรญิ มนั คง ๕. ควรใชป้ ญญาในการแก้ไขปญหามากกวา่ การใชก้ ําลัง ๖. ควรเลือกใชบ้ ุคคลใหเ้ หมาะสมกับงานจะทําใหง้ านสาํ เรจ็ ไดด้ ว้ ยดี ๗. ไมค่ วรถือความคิดของตนเปนใหญแ่ ละทะนงตนวา่ ดกี วา่ ผอู้ ืน ยอ่ มทําใหเ้ กิดความเสยี หายแก่สว่ นรวม ๘. ควรนาํ สารทีไดม้ าไตรต่ รองใหด้ กี ่อนเพอื ทีจะไดไ้ มเ่ กิดความเสยี หาย

แปว กัลยาณี. (6 กันยายน 2556). [ออนไลน]์ . เขา้ ถึงได้จาก : https://www.gotoknow.org /posts/283759. (วนั ทีค้นหาขอ้ มูล : 6 มถิ นุ ายน 2564) โบว.์ (23 พฤษภาคม 2562). [ออนไลน]์ . เขา้ ถึงได้จาก : https://campus.campus- star.com/variety/113938.html. (วนั ทีค้นหาขอ้ มูล : 5 มถิ นุ ายน 2564) บวร แก้วหมนื ทรง. (ม.ป.ป.). [ออนไลน]์ . เขา้ ถึงได้จาก : https://sites.google.com /site/faiitanradee19/home. (วนั ทีค้นขอ้ มูล : 5 มถิ นุ ายน 2564). พรี ะเสก บรสิ ทุ ธบิ วั ทิพย. (ม.ป.ป.). [ออนไลน]์ . เขา้ ถึงได้จาก : http://www.digitalschool.club /digitalschool/thai2_4_1/thai9_5/paper/3.pdf. (วนั ทีค้นหาขอ้ มูล : 5 มถิ นุ ายน 2564)


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook