Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore รายงานผลการสอน 2564 สมบูรร์

รายงานผลการสอน 2564 สมบูรร์

Published by มัสก๊ะ ชุมนุมพันธ์, 2023-04-20 08:00:08

Description: รายงานผลการสอน 2564 สมบูรร์

Search

Read the Text Version



คำนำ การรายงานผลการจัดกิจกรรมการเรียนการสอน เป็นการสรุปผลการดำเนินงานในการจัดการ ศึกษาในรอบปีการศึกษา เป็นการสรุปผลการดำเนินงานในกลุ่มสาระการเรียนรู้กลุ่มสาระการเรียนรู้ ภาษาต่างประเทศ(ภาษาอังกฤษ) ประกอบด้วยผลการเรียนของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ ๑ จำนวน ๓ ห้องเรียนและชั้นมัธยมศึกษาปีที่ ๒ จำนวน ๓ ห้องเรียน การประเมินผลการเรียนโดยปฏิบัติกิจกรรม การเรียนการสอน การสังเกตพฤติกรรม การประเมินโดยการทดสอบความรู้และอื่นๆ ตามลักษณะวิชาท่ี ครูผู้สอนได้วางแผนการวัดผลประเมินผลเอาไว้ ดังนั้นผลการเรียนของผู้เรียนจึงเป็นผลจากการปฏิบัติ กิจกรรมด้านการเรียนรู้ของผู้เรียนตามความเป็นจริงและมีการประเมินผลที่หลากหลาย รวมถึงการประเมิน คุณลักษณะอันพึงประสงค์ และการประเมินการอ่าน คิด วิเคราะห์และเขยี นสื่อความหมาย ตลอดจนการจัด แบ่งกลุ่มนักเรียน เพื่อให้ทราบผลการพัฒนาด้านการเรียนรู้ของนักเรียนไว้อย่างชัดเจนสามารถนำไปพัฒนา การจดั กิจกรรมการเรียนรูใ้ ห้กับนักเรยี นในปีการศึกษาต่อไป ขอขอบคุณบุคลากรทุกฝ่ายที่ให้ความร่วมมือ ในการจัดกิจกรรมการเรียนการสอน ในปีการศึกษา ๒๕๖๕ ให้บรรลุผลไปด้วยดี นางมัสกะ๊ สงสรุ นิ ทร์

สารบัญ หนา้ เร่ือง (ก) คำนำ (ข) ๑ สารบญั ๒ ๓ บันทึกข้อความ ๔ แบบรายงานผลการจดั การเรียนการสอนของขา้ ราชการครูและบุคลากรทางการศึกษา ๘ บทท่ี ๑ บทนำ ๙ ๑๒ ท่มี าและความสำคัญ ๑๕ วัตถปุ ระสงค์ ๑๘ ประโยชนท์ ่ีคาดวา่ จะไดร้ บั ๒๑ ขอบเขตของการรายงานสรปุ ผล ๒๔ ๒๗ บทที่ ๒ เอกสารทีเ่ ก่ียวข้อง ๓๐ บทที่ ๓ วธิ ดี ำเนินการศึกษา ๓๑ ๓๒ ผลสัมฤทธ์สิ าระการเรียนรู้และการจัดกลุ่มเพือ่ พฒั นาผเู้ รยี น ๓๓ ๓๔ ๓.๑สรปุ ผลการวัดผลประเมินผลชน้ั มธั ยมศกึ ษาปีท่ี ๑/๔ ๓๕ ๓๖ 3.2สรปุ ผลการวดั ผลประเมินผลช้ันมัธยมศกึ ษาปีท่ี ๒/๑ ๓๘ 3.3สรปุ ผลการวดั ผลประเมินผลชน้ั มธั ยมศึกษาปที ่ี ๒/๒ 3.4สรุปผลการวดั ผลประเมินผลชนั้ มัธยมศกึ ษาปีที่ ๒/๓ 3.5สรุปผลการวดั ผลประเมนิ ผลช้นั มัธยมศึกษาปีท่ี ๒/๔ 3.6 สรุปผลการวัดผลประเมินผลชนั้ มธั ยมศกึ ษาปีท่ี ๒/๕ 3.7 สรุปผลการวัดผลประเมนิ ผลชั้นมธั ยมศกึ ษาปีที่ ๒/๖ บทที่ ๔ ผลการดำเนินงานการจัดกจิ กรรมการเรียนการสอนประจำปกี ารศกึ ษา ๒๕๖๓ ๔.๑ ผลการเรยี นรรู้ ายสาระการเรียนรู้ ๔.๒ ระดบั ผลการเรยี น ๔.๓ คณุ ลกั ษณะอันพึงประสงค์ ๔.๔ การประเมินการอา่ น เขียน และคิดวเิ คราะห์ ๔.๕ กราฟแสดงผลสมั ฤทธิท์ างการเรยี น(ค่าคะแนนเฉลยี่ ) ๔.๖ กราฟแสดงผลสมั ฤทธิ์ทางการเรียน(แสดงระดับผลการเรียน) บทที่ ๕ บทสรุป การอภิปรายผล และข้อเสนอแนะ เอกสารอ้างองิ ภาคผนวก

แบบรายงานผลการจดั การเรยี นการสอนของขา้ ราชการครูและบุคลากรทางการศึกษา โรงเรียนบา้ นตะโละหะลอ สังกดั สำนักงานเขตพื้นทก่ี ารศกึ ษาประถมศึกษายะลา เขต ๑ ------------------------------------------------------------------------- ข้อมูลท่ัวไป ข้อมูลพ้นื ฐาน ช่ือ นางมสั ก๊ะ นามสกุล สงสรุ ินทร์ คุณวฒุ ิ ปรญิ ญาตรี ตำแหนง่ ครู วทิ ยฐานะครูชำนาญการพิเศษ ตำแหนง่ เลขที่ ๒๒๔๕ การรบั ราชการ เรม่ิ รับราชการในตำแหนง่ อาจารย์ ๑ ระดบั ๓ โรงเรยี นบา้ นปะนาเระ(รัฐอุทศิ ) เม่อื วนั ที่ ๒๑ มกราคม ๒๕๔๕ ปจั จบุ นั รบั เงินเดือนอนั ดบั คศ. ๓ ขน้ั /เงินเดอื น ๔๗,๓๒๐ บาท สถานศกึ ษา/หน่วยการศึกษา โรงเรยี นบ้านตะโละหะลอ อำเภอ รามนั จังหวัด ยะลา สงั กัดสว่ นราชการ สำนักงานเขตพน้ื ที่การศึกษา ประถมศกึ ษายะลา เขต ๑ สำนกั งานคณะกรรมการการศกึ ษาข้นั พ้นื ฐาน กระทรวงศึกษาธิการ ข้อมูลการปฏิบัตหิ นา้ ที่ ภาระงานการสอน ปกี ารศกึ ษา ๒๕๖๕ วชิ า/สาขา/กล่มุ สาระการเรยี นรู้ ช้นั /ระดับ จำนวนชัว่ โมงสอน (ช่วั โมง/สปั ดาห์) ภาษาองั กฤษ มธั ยมศกึ ษาปีท่ี ๑ ชน้ั มัธยมศกึ ษาปที ี่ ๑ ๙ ชว่ั โมง/สปั ดาห์ กลุ่มสาระภาษาตา่ งประเทศ จำนวน ๓ ห้อง ๙ ชว่ั โมง/สัปดาห์ ภาษาอังกฤษ มธั ยมศึกษาปที ี่ ๒ ชั้นมัธยมศกึ ษาปที ่ี ๒ ๑ ชัว่ โมง/สปั ดาห์ ๑ ชวั่ โมง/สัปดาห์ กลมุ่ สาระภาษาตา่ งประเทศ) จำนวน ๓ หอ้ ง ๑ ชั่วโมง/สัปดาห์ ๑ ช่ัวโมง/สัปดาห์ แนะแนว ช้ันมธั ยมศึกษาปที ่ี ๑/๔ ๒๒ ช่วั โมง/สัปดาห์ ชุมนมุ ช้ันมธั ยมศึกษาปีท่ี ๑ ลกู เสือ - เนตรนารี ช้นั มัธยมศึกษาปีท่ี ๑ กจิ กรรมโฮมรมู ชนั้ มัธยมศึกษาปีท่ี ๑/๔ รวมชั่วโมงสอน/สัปดาห์

บทท่ี ๑ บทนำ ทีม่ าและความสำคญั ในปีการศึกษา ๒๕๖๕ ข้าพเจ้า นางมัสก๊ะ สงสุรินทร์ ได้รับคำสั่งโรงเรียนบ้านตะโละหะลอ ตามคำสั่งที่ ........./๒๕๖๕ ลงวันที่ .............................................. เรื่องการจัดชั้นเรียน ปีการศึกษา ๒๕๖๕ และมีการเพิ่มเติม ให้ข้าพเจ้าได้รับมอบหมายให้ประจำชั้นมัธยมศึกษาปีที่ ๑/๔ สอนกลุ่มสาระการเรียนรู้ ภาษาต่างประเทศ(ภาษาอังกฤษ) ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ ๒ จำนวน ๓ ห้องเรียน ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ ๑ จำนวน ๓ ห้อง กิจกรรมลูกเสือ-เนตรนารี กิจกรรมชุมนุม กิจกรรมแนะแนวและกิจกรรมโฮมรูม ของนักเรียนชั้น มัธยมศึกษาปีที่ ๑/๔ จากการดำเนินงานการจัดกิจกรรมการเรียนการสอนในปีการศึกษา ๒๕๖๕ ปรากฏว่า ผลสัมฤทธ์ทิ างการเรยี นและพฒั นาการทกุ ดา้ นของนักเรยี นอยู่ในระดับดี เพื่อให้การรายงานผลชัดเจน ข้าพเจ้าจึงได้จัดทำรายงานสรุปผลการจัดกิจกรรมการเรียนการสอน ประจำปกี ารศกึ ษา ๒๕๖๕ ขึน้ มา ความสำคัญและประโยชน์ 1. เพ่ือสรุปและรายงานผลการปฏบิ ัติงานแกผ่ ู้บริหารสถานศึกษาและผเู้ กีย่ วข้องทราบ 2. เพอื่ รายงานผลสัมฤทธท์ิ างการเรียนของนักเรยี นในกลุ่มสาระการเรยี นรู้ภาษาต่างประเทศ (ภาษาอังกฤษ) 3. เพือ่ เปรยี บเทยี บผลสมั ฤทธทิ์ างการเรยี นของนกั เรียนในกลมุ่ สาระการเรยี นรูภ้ าษาต่างประเทศ (ภาษาอังกฤษ) 4. เพ่ือใช้เป็นข้อมลู พ้ืนฐานในการพฒั นากระบวนการเรียนการสอน 5. เพ่ือใชเ้ ป็นขอ้ มลู พ้ืนฐานในการพัฒนานกั เรียนในปีการศึกษาตอ่ ไป ขอบเขตของการรายงานสรุปผล เป็นการสรุปรายงานผลการเรียนของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ ๑ และ ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ ๒ ปีการศึกษา ๒๕๖๕ ในกลุ่มสาระการเรียนรู้ภาษาต่างประเทศ(ภาษาอังกฤษ) เป็นรายบุคคลและภาพรวม ของชั้นเรียน โดยจัดทำเป็นตารางแสดงผลการเรียนรายบุคคล และแสดงเป็นแผนภูมิแท่ง ในแต่ละชั้นเรียน และจำแนกกลุ่มผู้เรียนเป็น ๓ กลุ่ม จากผลการเรียนของนักเรียนที่ประเมินโดยวิธีการวัดผลประเมินผล การเรยี นเพ่อื การพฒั นาผเู้ รียนตามศักยภาพ

บทท่ี ๒ เอกสารท่ีเกี่ยวขอ้ ง เอกสารที่เกย่ี วข้องกับการจดั การเรยี นการสอนตามหลกั การสำคัญของการปฏิรูปกระบวนการ เรียนรู้ดงั ต่อไปน้ี หลักการสำคัญของการปฏริ ูปกระบวนการเรยี นรู้ 1. ผ้เู รียนทุกคนมีความสามารถเรียนร้แู ละพฒั นาตนเองได้ 2. การเรยี นรู้เกดิ ขึ้นได้ทุกที่ทุกเวลาและต่อเนื่องตลอดชวี ติ 3. การเรียนรคู้ วรสนองความตอ้ งการ เพราะความแตกต่างของผเู้ รียน 4. การเรยี นรู้สง่ เสริมให้ผเู้ รยี นพัฒนารอบดา้ นอย่างสมดลุ เปน็ ไปตามธรรมชาติ และเต็มศักยภาพ 5. ผเู้ รียนมสี ่วนรว่ มในการจัดการเรียนรู้ ไดแ้ สวงหาความรู้ ได้คิด ได้ปฏบิ ตั จิ ริง ไดส้ รปุ หรือสรา้ งความร้ดู ว้ ยตนเอง 6. ผ้เู กีย่ วข้องมีสว่ นร่วมในกระบวนการพัฒนาผเู้ รียน 7. การวัดและประเมนิ ผล ม่งุ ประโยชนเ์ พื่อการปรบั ปรงุ พัฒนาผู้เรยี น การจดั กจิ กรรมการเรยี นรนู้ ั้นนอกจากผเู้ รียนและเน้ือหาสาระที่เปน็ ตวั แปรสำคญั แล้วครูผู้สอนเป็นอีก องค์ประกอบที่มีความสำคัญอย่างยิ่งในฐานะผู้จัดการเรียนรู้ ผู้กระตุ้น ผู้อำนวยความสะดวกและส่งเสริม การเรียนรู้และฐานสำคญั มากอีกลกั ษณะหน่งึ คือ ครูเปน็ ผมู้ ีลักษณะแห่งกลั ยาณมิตรแก่ผเู้ รียน ดว้ ยคุณลักษณะ แห่งกัลยาณมิตรทีม่ ีความรกั ความเมตตา ความปรารถนาดีต่อศิษย์ พยายามจัดการเรียนรู้ใหเ้ กิดประโยชนต์ อ่ ศิษย์มากที่สุด จากฐานแห่งความรัก ความเมตตา ความปรารถนาดีนี้จะนำมาสู่การหาแนวทางวิธีการในการ จัดการเรียนรู้ที่ดีต่อไป ด้วยคุณลักษณะแห่งกัลยาณมิตรของครูนี้เองจะเป็นเหตุแห่งความเชื่อมั่นที่สำคัญที่จะ ทำให้พ่อแม่ผู้ปกครองของนักเรียนไว้ใจ พอใจที่จะให้ครูเป็นผู้ดูแลการพัฒนาชีวิตลูกหลานอันเป็นที่รักของ ตนเองและยิ่งถ้าครูส่วนใหญ่หรือทั้งหมดทั้งโรงเรียนมีความเป็นกัลยาณมิตรความมั่นใจใน โรงเรียนของ ผู้ปกครอง ชมุ ชนและสังคมย่อมเกดิ ขนึ้ อย่างชัดเจนตามมา อย่างไรก็ตามในการปฏิบัติการเรียนการสอนของครู แนวทางหนึ่งที่สามารถส่งเสริมการปฏิรูป กระบวนการเรียนรู้ตามพระราชบัญญัติการศึกษาแห่งชาติ คือ การจัดการเรียนรู้ที่ส่งเสริมให้เกิดการเรียนรู้ ๕ ลกั ษณะดังตอ่ ไปนใ้ี ห้มากทสี่ ดุ หรอื ย่งิ ส่งเสรมิ ให้เกิดมากกวา่ ๕ ลักษณะจะยง่ิ เกิดประโยชน์ มากยง่ิ ขึ้น การเรียนรู้ ๕ ลักษณะ ๑. การเรียนรู้อย่างมีความสุข เมื่อการเรียนส่งเสริมให้ผู้เรียนมีความสุขขณะเรียน ผู้เรียนเรียนรู้ อย่างมีความสขุ อยู่เสมอ จะเป็นฐานสำคัญที่จะทำให้ผูเ้ รียนรักการเรยี นรู้ อยากมีฉันทะในการเรยี นรู้ต่อเนือ่ ง ต่อไป เมื่อผู้เรียนมีความรักในการเรียนรู้อยู่เสมอก็จะเกิดนิสัยใฝ่รู้ตามมาความสุขโดยธรรมชาติ จะเป็น พื้นฐานสำคัญของการทำให้เกิดคุณภาพของจิตใจ ที่จะพร้อมในการเรียนในการทำงานต่อไป อย่างไรก็ตาม ความสุขมีหลายระดับ ผสู้ อนควรสง่ เสริมให้ผเู้ รียนพฒั นาความสามารถในการมีความสขุ ของผู้เรยี นควบคู่กันไป อาจเริ่มที่ความสุขทั่วไปที่ต้องพึ่งพาครู พึ่งพาสิ่งล่อจากภายนอก เช่น ของขวัญรางวัล พัฒนาเป็นความสุข ได้จากภายใน เช่น ความสุขจากการได้เรียนรู้ ได้เข้าใจ ได้หาคำตอบด้วยตัวเอง และความสุขจากการ มีจิตใจสงบ จากการมีปญั ญารู้เข้าใจตนเอง เพราะเขา้ ใจธรรมชาติ เป็นต้น

๒. การเรยี นรู้จากการไดแ้ สวงหาความรู้ ไดค้ ิดและปฏิบัตจิ รงิ จะเปน็ การพัฒนากระบวนการเรียนรู้ เพราะการกระทำของผู้เรียนซง่ึ ผเู้ รียนจะไดท้ ักษะกระบวนการแสวงหาความรู้ การคดิ และการปฏิบัติที่จะเป็น เครื่องมือการเรียนรู้ติดตัวผู้เรียนต่อไปในอนาคตได้ นอกจากนี้การที่ผู้เรียนได้คิดได้ลงมือปฏิบัติจะส่งผลให้ ผู้เรยี นเกดิ การเรียนร้ทู ชี่ ัดเจนและจดจำความร้แู ละประสบการณ์ไดน้ าน ๓. การเรียนรู้ร่วมกับบุคคลอื่น จะเป็นฐานสำคัญในการฝึกให้ผู้เรียนทำงานเพราะต้องอยู่ร่วมกับ บุคคลอื่นในสังคม ฝึกการทำงานเป็นทีมเป็นกลุ่ม ฝึกและพัฒนาวิถีชีวิตประชาธิปไตยที่สำคัญการเรียนรู้ ร่วมกัน ช่วยเหลือกันและกัน แบ่งปันความรู้กัน จะช่วยให้ประหยัดเวลาและพลังงานในการแสวงหาความรู้ ได้มากและที่สำคัญจะมีความสุขและอบอุ่นใจในการเป็นส่วนหนึ่งและมีส่วนร่วมในสังคมที่ช่วยเหลือและ เอือ้ อาทรกนั ๔. การเรียนรู้แบบองค์รวมหรือบูรณาการ เป็นการเรียนรู้ที่สอดคล้องกับวิถีธรรมชาติที่สรรพสิ่ง ล้วนสัมพันธ์กัน การเรียนรู้บูรณาการที่แท้จริงคือการบูรณาการกับวิถีชีวิตโดยเชื่อมโยงจากสิ่งใกล้ตัว จากเรื่องในพื้นบ้านสู่เรื่องราวสากลครอบคลุมองค์รวมแห่งชีวิตและธรรมชาติการเรียนรู้อย่างบูรณาการและ เป็นองค์รวมนี้ ผู้เรียนจะเรยี นรู้อย่างมีความหมาย เรียนรู้ได้รอบด้านครอบคลุมเรื่องราวน้ัน และพร้อมที่จะ นำความรู้ไปใช้ได้จริงด้วยลักษณะที่เห็นความเชื่อมโยงและรอบคอบ ที่สำคัญการเรียนรู้และพัฒนาอย่างเป็น องค์รวมนี้มีความชัดเจนสู่การพัฒนาชีวิตที่สมบูรณ์ดังความหมายของคำว่า “ บูรณาการ ” คือการทำให้ สมบรู ณ์นนั่ เอง ๕. การเรยี นรู้กระบวนการเรยี นรู้ของตนเอง เป็นการสง่ เสรมิ หรือกระตนุ้ ให้ผู้เรียนได้ ทบทวนสิ่งที่ตนเองได้เรียนรู้ หรือได้กระทำไปอยู่เสมอว่าได้เรียนรู้อะไรไป เรียนอย่างไร เกิดผลหรือมี อุปสรรคอะไร มีการแก้ไขหรือจะแก้ไขอย่างไรจึงเหมาะสม เป็นต้น จะทำให้ผู้เรียนเกิดความตระหนักรู้ใน กระบวนการเรียนรู้ที่เกิดขึ้น และผลที่ตามมาส่งผลให้ผู้เรียนเข้าใจตนเองเข้าใจวิธีการเรียนรู้ของตนเอง พรอ้ มทจ่ี ะเลอื กวธิ กี ารเรียนรู้ท่ีมีประสทิ ธิภาพแก่ตนเอง อกี ทัง้ ส่งเสริมให้มคี วามพร้อมทีจ่ ะพฒั นากระบวนการ เรียนรู้ที่เหมาะสมขึ้นแก่ตนเองในสถานการณ์หรือโอกาสต่างๆด้วย เพราะการเรียนรู้กระบวนการเรียนรู้ของ ตนเอง จะทำให้เข้าเหตุเข้าใจผลแห่งวิธีการเรียนรู้ต่างๆได้อย่างชัดเจน ที่สำคัญผู้เรียนจะมีเครื่องมือ พัฒนาการเรียนรู้ติดตวั ไปตลอดชวี ิต การจัดการเรียนการสอนตามลักษณะทั้ง ๕ ดังกล่าว สามารถเป็นจุดเน้นที่ควรส่งเสริมให้เกิดขึ้น อย่างต่อเนื่องเพราะเป็นปัจจัยสำคัญที่เอื้อให้ผู้เรียนพัฒนาการเรียนรู้และพัฒนาคุณลักษณะของชีวิตได้ตาม เจตนารมณ์ของพระราชบัญญัติการศึกษาแห่งชาติ เหนือสิ่งอื่นใดจะเป็นการพัฒนาชีวิตตามที่ควรจะเป็นได้ ชัดเจน เพราะการเรียนรู้ทั้ง ๕ ลักษณะจะสามารถหลอมรวมจัดกับรูปแบบ วิธีการสอนลักษณะต่างๆได้ อยา่ งไรก็ตามยังมีแนวคิด มยี ุทธศาสตรส์ ำคญั อื่นๆอกี มากมายท่ีจะเสรมิ ให้การจดั กระบวนการเรียนรู้ตามแนว ปฏิรูปฯ มีประสิทธิภาพ โดยจะขึ้นอยู่กับครูที่สามารถนำหลักการ แนวคิด หรือวิธีการต่างๆมาประยุกต์ใช้ให้ เหมาะสมให้เกิดประโยชน์ต่อการเรียนรู้ของผู้เรียนได้มากที่สุด โดยผ่านการทำงานของครูอย่างครูมืออาชีพท่ี จัดการเรียนรู้อย่างมีหลักการ ใช้การวิจัยในชั้นเรียนช่วยให้เกิดความเชื่อมั่นในการพัฒนาการเรียนรู้และที่ สำคญั คอื มคี วามศรัทธาในวิชาชพี ท่ียึดประโยชน์สงู สดุ แกผ่ เู้ รยี นอย่างแท้จริง

การจดั การเรียนรูเ้ พ่ือพัฒนาความร้แู ละทักษะ การจัดการเรียนรู้เพื่อพัฒนาความรู้และทักษะ เป็นกระบวนการเรียนรู้ที่มุ่งให้ผู้เรียนมีความรู้และ ทกั ษะท่กี ำหนดไวใ้ นพระราชบัญญตั ิการศกึ ษาแห่งชาติ พ.ศ. ๒๕๔๒ ดงั นี้ ๑. ความรู้เร่อื งเกีย่ วกบั ตนเองและทกั ษะในการจดั การตนเอง (Self management) ทั้งในด้านสุขภาพร่างกาย จิตใจ สติปัญญา อารมณ์ เพื่อการเข้าใจตนเอง ค้นพบตนเองในด้านความถนัด และความสนใจ มีทักษะการดำเนินชีวิตที่จะอยู่ร่วมกับสังคม ได้แก่ครอบครัว ชุมชน ชาติ และสังคมโลก เข้าใจประวตั ิศาสตร์ความเป็นมาของชาติและภาคภมู ิใจในความเปน็ ไทย มีจติ สำนึก ความตื่นตัวทางการเมือง การปกครองในระบอบประชาธปิ ไตยอันมีพระมหากษตั ริยท์ รงเปน็ ประมุข ๒. ความรู้และทักษะด้านวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี การฝึกฝนตนเองให้เป็นคนคิดเป็นระบบ มีเหตุผล มีความจริงใจ ตรงไปตรงมา (Scientific mind) มีความรู้ความเข้าใจและประสบการณ์เรื่องการ จัดการ การบำรุงรักษา และการใช้ประโยชน์จากทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อมอ ย่างสมดุล ยั่งยืน ยึดแนวทางของแนวพระราชดำริในเรื่องเศรษฐกิจพอเพียง มีทักษะในการนำเสนอ ข้อมูลสารสนเทศ เพ่ือ ประโยชนใ์ นการดำรงชวี ติ ๓. ความรู้เก่ียวกับศาสนา ศลิ ปะวฒั นธรรม การกีฬา ภูมปิ ญั ญาไทย และการประยุกตใ์ ช้ภูมปิ ญั ญา ๔. ความรู้และทักษะด้านคณิตศาสตร์ เพื่อเป็นการฝึกฝนให้เป็นคนคิดเชิงระบบมีเหตุผลและด้าน ภาษา ซึ่งในโลกปัจจุบันจำเป็นจะต้องตระหนักในการใช้ภาษาอย่างถูกต้อง เห็นคุณค่าและอนุรักษ์ภาษาไทย ซึ่งเป็นภาษามาตรฐานและภาษาถิ่น และมีความรู้ในภาษาต่างประเทศ สามารถสื่อสารได้อย่าง มีประสิทธิภาพ ๕. มีความรู้และทักษะในการประกอบอาชีพ และการดำรงชีวิตอย่างมีความสุขทั้งนี้ผู้สอนต้องจัด เนื้อหาสาระและกิจกรรมการเรียนการสอนอย่างหลากหลายเหมาะสมกับธรรมชาติและสนองความต้องการ ความสนใจความถนัดของผเู้ รียน ฝึกทักษะกระบวนการคดิ และจัดการเรยี นรู้ทผี่ สมผสานสาระความร้ดู ้านต่างๆ อย่างได้สัดสว่ นสมดุลกัน รวมทงั้ ปลกู ฝงั คุณธรรมจรยิ ธรรมคา่ นยิ มทดี่ แี ละคณุ ลกั ษณะที่พึงประสงค์ในทกุ วิชา ดา้ นการจดั การเรียนการสอน การสรา้ งและการพัฒนาหลกั สตู ร ข้าพเจ้าศึกษาเอกสารทางวิชาการหลักสูตร เอกสารที่เกี่ยวข้องกับแนวคิดทฤษฎีการศึกษาจิตวิทยา การศึกษารัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทยพุทธศักราช ๒๕๖๐ พระราชบัญญัติการศึกษาแห่งชาติ พ.ศ. ๒๕๔๒ หลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐานพุทธศักราช ๒๕๕๑ และหลักสูตรแกนกลางการศึกษา ขั้นพื้นฐานฉบับปรับปรุง ๒๕๖๐ หลักสูตรสถานศึกษาขั้นพื้นฐานโรงเรียนบ้านตะโละหะลอ คู่มือการจัด สาระการเรียนรู้กลุ่มสาระการเรียนรู้ทุกกลุ่มสาระการเรียนรู้ และกิจกรรมพัฒนาผู้เรียน โดยนำสาระและ มาตรฐานการเรียนรู้ของสถานศึกษามาจัดทำมาตรฐานช่วงชั้น มาตรฐานการเรียนรู้รายปีในแต่ละช้ัน จัดทำตารางวิเคราะห์ผลการเรียนรู้ที่คาดหวัง สาระการเรียนรู้และกิจกรรม และจัดทำคำอธิบายรายวิชา หลกั สตู รของสถานศกึ ษาสู่แผนการจัดการเรยี นรู้ เอกสารประกอบการเรียนการสอน และผลการเรยี นรู้ ที่คาดหวงั

การจัดการเรียนรู้ การจัดการเรียนการสอนที่เน้นการสอนแบบบูรณาการ กิจกรรม active learning กิจกรรมยืดหยุ่น ตามความเหมาะสม ได้ทำการสอนอย่างเต็มความรู้ความสามารถเต็มเวลา ใช้วิธีการสอนที่หลากหลาย เช่น ทักษะการวิเคราะห์ สังเคราะห์ การแก้ปัญหา การอภิปราย การทำกิจกรรมกลุ่ม การเรียนแบบร่วมมือการ ค้นพบความรู้ด้วยตนเอง เกมต่างๆ ฯลฯ ซึ่งแต่ละวิธีนั้นได้นำมาใช้โดยคำนึงถึงความเหมาะสมของเนื้อหาวิชา ความพร้อมของนักเรียน โดยเน้นนักเรียนเป็นสำคัญ เพื่อให้นักเรียนรูจ้ ักการคิดเป็น ทำเป็น แก้ปัญหาได้ และ นำไปใชใ้ นชีวิตประจำวันได้ และได้ดำเนินการตามขั้นตอนดังนี้ ๓.๑ ขั้นนำ ก่อนการสอนจะมีการนำเข้าสู่เรื่องที่จะเรียนโดยการสนทนา ซักถาม หรือใช้เพลง เกม นิทาน บทบาทสมมุติ หรือภาพประกอบตามลำดบั เพือ่ ให้นักเรียนเกิดอยากเรียนรู้ ๓.๒ ขัน้ สอน สอนตามกจิ กรรมที่วางแผนโดยใชว้ ธิ ีสอนทีห่ ลากหลายใหเ้ หมาะสมกบั เนื้อหา และผ้เู รียน เช่นการปฏิบตั ิจริง บทบาทสมสุติ การแกป้ ัญหา อภิปราย การอธิบาย สาธติ การเสนอสถานการณ์ ให้ผเู้ รียนเกิดการเรียนรดู้ ้วยตนเอง การสอนแบบโครงงาน และอ่นื ๆ ๓.๓ ขั้นฝึกทักษะ เป็นการฝึกความชำนาญ ทดสอบความรู้ความเข้าใจ และฝึกการแก้ปัญหาใน สถานการณ์และปญั หาทห่ี ลากหลาย เปน็ การประเมินผลการเรยี นรู้ตามแผนแต่ละแผน เพอ่ื นำผลมาวิเคราะห์ ในการปรบั ปรุงวธิ สี อนและสอนซ่อมสำหรับนักเรยี นทม่ี ผี ลการเรียนต่ำและสอนเสริมสำหรับกลุ่มนักเรียนท่ีมีผล การเรียนทปี่ านกลางถึงดี การออกแบบหนว่ ยการเรียนรู้ ข้าพเจ้าได้วิเคราะห์ตัวชี้วัดสู่มาตรฐานการเรียนรู้ กำหนดสาระสำคัญ ว่าผู้เรียนรู้อะไร ทำอะไรได้ จัดทำโครงสร้างรายวิชา วิเคราะห์มาตรฐานสู่สมรรถนะและคุณลักษณะ วิเคราะห์หลักฐานการเรียนรู้ วางแผนกำหนดหลักฐานการเรียนรู้ ออกแบบกิจกรรมการเรียนรู้ ตรวจสอบกิจกรรมการเรียนรู้ ศึกษา องค์ประกอบของหน่วยการเรียนรู้ มีการนำหลักสูตรสถานศึกษาของโรงเรียน ที่มีการบูรณาการ ให้สอดคล้องกับความต้องการของชุมชนและท้องถิ่น โดยใช้แนวคิด หลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง บูรณาการเข้าสู่การจัดกิจกรรมการเรียนรู้ มีการจัดทำหน่วยการเรียนรู้ในรายวิชาที่สอน และมี แผนการจัดการเรียนรู้ที่ชัดเจน โดยมีการกำหนดสาระสำคัญ ว่าผู้เรียนรู้อะไร ทำอะไรได้ จัดทำโครงสร้าง รายวิชา วิเคราะห์มาตรฐานส่สู มรรถนะและคณุ ลักษณะ ออกแบบกจิ กรรมการเรียนรู้ อย่างครบถว้ น

บทที่ ๓ วิธดี ำเนินการศึกษา วธิ ีดำเนนิ การเพอื่ ศกึ ษาการพัฒนาการเรียนรู้ของนกั เรียนชั้นมธั ยมศึกษาปีที่ ๑ และชั้นมัธยมศกึ ษาปีท่ี ๒ ไดด้ ำเนินการตามลำดับดังน้ี ๑. ศึกษาหลักสูตรการศกึ ษาขั้นพนื้ ฐาน ๒. วิเคราะห์หลักสูตรการเรยี นรู้ ๓. ศกึ ษาวิธกี ารสอนทห่ี ลากหลาย ๔. กำหนดหนว่ ยการเรียนรู้ ๕. จดั ทำแผนการจัดการเรียนรซู้ ง่ึ ประกอบด้วยหัวข้อดังน้ี ๕.๑ สาระสำคญั ๕.๒ จุดประสงคก์ ารเรียนรู้ ๕.๓ สาระการเรียนรู้ ๕.๔ กระบวนการจัดการเรียนรู้ ๕.๕ สื่อ / แหลง่ การเรยี นรู้ ๕.๖ การวดั และประเมินผล ๕.๗ บนั ทึกผลหลังสอน ๕.๘ ขอ้ เสนอแนะและแนวทางแก้ไข ๕.๙ ความเห็นหรือขอ้ เสนอแนะของผู้บรหิ าร ๕.๑๐ ภาคผนวกท้ายแผน ๖. จัดทำสื่อ / นวัตกรรมทใี่ ช้ในการจดั กระบวนการเรียนรู้ ๗. จดั ทำเครอ่ื งมือวัดและประเมินผล ๘. ประเมนิ ผลอย่างหลากวธิ ีเพ่ือค้นหาและพฒั นาศกั ยภาพผู้เรียน ๙. รวบรวมขอ้ มูลท่ีไดจ้ ากการวัดและประเมนิ ผล จากการดำเนินการในเรื่องดังกล่าวข้างต้นทำให้ทราบถึงผลสัมฤทธิ์ในรายสาระวิชาเพื่อนำมาจัดกลุ่ม ผู้เรียนและทำการพัฒนาส่งเสริมช่วยเหลือ ให้ผู้เรียนเกิดการเรียนรู้ได้ตามศักยภาพ และเพื่อเป็นพื้น ฐานขอ้ มลู ในการนำไปพัฒนาผู้เรียนและจดั กิจกรรมการเรยี นการสอนให้กับผเู้ รยี นได้อย่างเหมาะสมต่อไป ท้ัง ในส่วนของการสง่ เสรมิ ผู้เรยี นทมี่ ีความสามารถพิเศษและจัดกิจกรรมเพ่ือช่วยแกไ้ ขข้อบกพร่องแก่ผู้เรียนท่ีเรียน ช้าหรือต้องการความช่วยเหลือและเสริมทักษะการเรียนรู้ใหม่ให้ผู้เรียนได้พัฒนาเต็มความสามารถซึ่งเป็นการ จดั กิจกรรมท่ีนอกเหนือจากการจัดกจิ กรรมการเรยี นการสอนตามปกติซ่ึงการดำเนินการในเร่ืองดังกล่าวนี้ได้นำ ขอ้ มูลผลสัมฤทธ์ิทางการเรยี นในสาระการเรียนรมู้ าสรปุ ผลและจดั กลุ่มเพ่ือพฒั นาผ้เู รยี นได้ดังน้ี

ผลสัมฤทธิร์ ายสาระการเรียนรู้และการจัดกลมุ่ เพอ่ื พัฒนาผ้เู รียน ตาราง ๑ สรปุ ผลการวัดผลประเมินผลสาระการเรยี นรภู้ าษาตา่ งประเทศช้ันมัธยมศึกษาปีที่ ๑/๔ ท่ี ช่ือ-สกุล ผลการประเมนิ อ่าน เขียน คะแนน ผลการ คณุ ลกั ษณะ คดิ วเิ คราะห์ เรียน อนั พงึ ประสงค์ ๑ เด็กชายอัฟฟาน ดะเจะตู ๘๙ ดเี ยี่ยม ๒ เด็กชายเมธีร์ มะมิง ๘๕ ๔ ดเี ยีย่ ม ดีเยย่ี ม ๓ เด็กชายมฮู ำหมัดซอฟา สาและดิง ๗๙ ๔ ดเี ยี่ยม ดเี ยยี่ ม ๔ เดก็ ชายนุรดุ นี ดอเลาะสาเลง็ ๗๕ ๓.๕ ดีเยี่ยม ดีเยี่ยม ๕ เดก็ ชายฮัมดนั มะแอ ๕๐ ๓.๕ ดเี ยยี่ ม ผา่ น ๖ เดก็ ชายลตุ ฟีร์ สะมะแอ ๕๐ ๑ ดี ผ่าน ๗ เดก็ ชายมสุ ตากีม สามารอ ๙๐ ๑ ดี ดีเยย่ี ม ๘ เด็กชายฮากมิ เจะ๊ มะ ๕๐ ๔ ดเี ยี่ยม ๙ เด็กชายฮากมิ ยะโก๊ะ ๕๐ ๑ ดี ดี ๑๐ เด็กชายอามีน ตาเละ ๖๐ ๑ ดี ผ่าน ๑๑ เด็กชายมูหมั หมดั อัฟกนั บูละ ๐ ๒ ดี ดี ๑๒ เดก็ ชายฮาฟิก สามะ ๕๐ ๐๐ ๐ ๑๓ เดก็ ชายมฮู ัมหมดั อัสรี ยะสารี ๖๐ ๑ ดี ดี ๑๔ เด็กชายมูฮัมหมัดไฟซอล อาบู ๕๕ ๒ ดี ดี ๑๕ เดก็ ชายมฮู ัมหมดั ไซดี ยามา ๖๗ ๑.๕ ดีเยย่ี ม ดี ๑๖ เดก็ ชายมูฮัมหมัดฮัยซัน สะตายา ๘๐ ๒.๕ ดีเยี่ยม ดีเยีย่ ม ๑๗ เด็กชายมฮู ำหมัดนาฟี ขาเรง็ ๐ ๔ ดเี ยี่ยม ดีเยย่ี ม ๑๘ เด็กหญงิ รอเดยี อมู า ๖๓ ๐๐ ๐ ๑๙ เด็กหญิงดาเรยี โดตะเซะ ๖๒ ๒ ดเี ยย่ี ม ดี ๒๐ เดก็ หญงิ นูรลุ อาซีระ๊ ฮ์ แลมีซอ ๖๐ ๒ ดเี ย่ียม ดเี ยย่ี ม ๒๑ เดก็ หญิงอัสมตี า สาและรี ๘๕ ๒ ดีเยี่ยม ดี ๒๒ เดก็ หญงิ รุซณดี าห์ รีเดง็ ๘๗ ๔ ดเี ยย่ี ม ดเี ยยี่ ม ๒๓ เด็กหญิงนรู เดยี นา ยุมอ ๗๓ ๔ ดีเยี่ยม ดเี ย่ียม ๒๔ เดก็ หญิงนรู ฮายาตี เจะหลง ๐ ๓ ดเี ยย่ี ม ดี ๒๕ เด็กหญงิ กูอามรี า สาและ ๗๗ ๐๐ ๐ ๒๖ เดก็ หญิงนิฟริ ดาวน์ ยูโซะ ๙๓ ๓.๕ ดีเยีย่ ม ดีเยี่ยม ๒๗ เดก็ หญิงนุรไอดา ไอนา ๖๕ ๔ ดีเยี่ยม ดเี ยย่ี ม ๒๘ เด็กหญิงฟิรดาวร์ จิใจ ๙๒ ๒.๕ ดเี ยย่ี ม ดเี ยี่ยม ๔ ดีเย่ียม ดีเยี่ยม

ผลการประเมิน ที่ ชือ่ - สกลุ คะแนน ผลการ คุณลกั ษณะ อา่ น เขียน เรียน อนั พึงประสงค์ คดิ วเิ คราะห์ ๒๙ เด็กหญิงนูรูฮดู ้า สาโระ ๓๐ เด็กหญงิ อานตี า บาโงย ๕๓ ๑ ดีเยย่ี ม ผา่ น ๓๑ เดก็ หญิงนูรฟาซีกิม อาแวกือจิ ๓๒ เดก็ หญงิ นรู ไอซากีรา ดีสะเอะ ๖๕ ๒.๕ ดีเยี่ยม ดเี ยย่ี ม ๓๓ เดก็ หญิงนรู ฮายาตี สมิ ะยอ ๓๔ เดก็ หญิงนซั มี ลอื แมตานิง ๗๘ ๓.๕ ดเี ยี่ยม ดี ๓๕ เด็กหญงิ โซเฟียนี นงั ลุวา ๓๖ เดก็ หญงิ ฟาเดยี รอแม ๘๔ ๔ ดีเยย่ี ม ผา่ น ๓๗ เดก็ หญิงนูรีฮัน ดาแม ๓๘ เดก็ หญิงบสิ มี เต็งโซ๊ะ ๕๓ ๑ ดีเยี่ยม ผา่ น ๓๙ เด็กหญิงอัสสูวานี โต๊ะลามะ ๘๕ ๔ ดีเยี่ยม ดเี ย่ยี ม ๘๕ ๔ ดีเยย่ี ม ดเี ย่ียม ๐๐ ๐ ๐ ดี ๕๒ ๑ ดีเยีย่ ม ดี ๕๙ ๑.๕ ดีเย่ียม ดเี ย่ยี ม ๗๕ ๓.๕ ดีเยีย่ ม จากตารางที่ ๑ สรุปผลการเรียนกลุ่มสาระการเรียนรู้ภาษาต่างประเทศ(ภาษาอังกฤษ) ของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ ๑/๔ จากจำนวนนักเรียนทั้งหมด ๓๙ คน เข้าสอบ ๓๕ คน มีคะแนนรวม ท้งั หมด ๒,๓๑๗ คะแนน ผลการเรยี นเฉลี่ยคิดเป็นร้อยละ ๕๙.๔๑ ผลการประเมินคุณลักษณะอันพึงประสงค์ อยู่ในระดับ ดีเยี่ยม ๒๘ คน คิดเป็นร้อยละ ๗๑.๗๙ ระดับดี ๗ คน คิดเป็นร้อยละ ๑๗.๙๕ ผลการประเมิน การอ่าน คิดวิเคราะห์และเขียนอยู่ในระดับ ดีเยี่ยม ๑๖ คน คิดเป็นร้อยละ ๔๑.๐๓ ระดับดี ๑๑ คน คิดเป็น รอ้ ยละ ๒๘.๒๑ ระดับผา่ น จำนวน ๖ คน คดิ เปน็ ร้อยละ ๑๕.๓๘ หมายเหตุ นกั เรียนอีก ๔ ท่ผี ลการประเมนิ ทกุ รายการเปน็ ๐ เน่ืองด้วยเปน็ นักเรียนทข่ี าดเรียนประจำ จงึ ไม่มีคะแนนใดๆปรากฏ คดิ เป็นร้อยละ ๑๐.๒๕ การจัดกลมุ่ นกั เรยี นเพอ่ื การพัฒนากลมุ่ สาระการเรียนรู้ภาษาตา่ งประเทศ(ภาษาอังกฤษ) ในการจัดกิจกรรมการเรียนการสอนใหแ้ ก่นักเรียน เพื่อให้เกิดการเรียนรูไ้ ด้ตามศักยภาพ ของผู้เรียน ซึ่งมีความแตกตา่ งกัน ครูผู้สอนจึงจำเป็นต้องรู้จักนักเรยี นของตนเอง เพื่อทำการพัฒนาสง่ เสริมและช่วยเหลอื ให้ผู้เรียนเกิดการเรียนรู้ได้ตามศักยภาพ การจัดกลุ่มผู้เรียนเป็นวิธีหนึ่ง ที่สามารถนำมาพัฒนาผู้เรียนและ จดั การเรยี นรู้ใหแ้ กน่ ักเรียนได้อย่างเหมาะสม ดังนั้นในฐานะที่เป็นครูผู้สอนกลุ่มสาระการเรียนรู้ภาษาต่างประเทศ(ภาษาอังกฤษ) ของนักเรียนชั้น มธั ยมศกึ ษาปที ่ี ๑/๔ จงึ ได้ทำการจดั กลมุ่ ผเู้ รียนเปน็ ๓ กลุ่ม โดยนำผลการเรียนเป็นเคร่อื งมอื ในการจัดกลุ่ม เพื่อเปน็ พื้นฐานข้อมูลในการนำไปพัฒนาผูเ้ รียนและจัดกิจกรรมการเรยี นการสอนให้เหมาะสมกับผู้เรียนต่อไป

ตาราง ๒ แสดงการจัดกล่มุ ผเู้ รยี นเพื่อพฒั นากลุ่มสาระการเรียนรู้ภาษาต่างประเทศ(ภาษาอังกฤษ) ของ นกั เรยี นชั้นมัธยมศกึ ษาปีท่ี ๑/๔ กลุม่ พฒั นา กล่มุ กำลงั พฒั นา กลมุ่ เร่งพฒั นา ( ระดบั ผลการเรียน ๔, ๓.๕, ๓ ) ( ระดับผลการเรยี น ๒.๕ , ๒) ( ระดบั ผลการเรยี น ๑.๕ ๑ ) ๑. เดก็ ชายอัฟฟาน ดะเจะตู ๑. เดก็ ชายอามีน ตาเละ ๑. เด็กชายฮัมดนั มะแอ ๒. เด็กชายเมธีร์ มะมิง ๒. เดก็ ชายมฮู ัมหมดั อัสรี ยะสารี ๒. เดก็ ชายลตุ ฟีร์ สะมะแอ ๓. เด็กชายมฮู ัมหมดั ไซดี ยามา ๓. เด็กชายฮากิม เจะ๊ มะ ๓. เดก็ ชายมฮู ำหมดั ซอฟา สาและดงิ ๔. เดก็ หญิงรอเดีย อมู า ๔. เด็กชายฮากิม ยะโก๊ะ ๕. เด็กหญงิ ดาเรยี โดตะเซะ ๕. เดก็ ชายฮาฟิก สามะ ๔. เด็กชายนรุ ดุ ีน ดอเลาะสาเลง็ ๖. เดก็ หญงิ นูรลุ อาซีระ๊ ฮ์ แลมซี อ ๖. เดก็ หญงิ นูรูฮดู ้า สาโระ ๕. เด็กชายมสุ ตากีม สามารอ ๗. เดก็ หญิงนรุ ไอดา ไอนา ๗. เดก็ หญิงนูรฮายาตี สมิ ะยอ ๖. เดก็ ชายมูฮมั หมดั ฮัยซนั สะตายา ๘. เด็กหญงิ อานตี า บาโงย ๘. เด็กหญิงนูรีฮนั ดาแม ๗. เดก็ หญงิ อสั มีตา สาและรี ๙. เด็กหญิงบิสมี เตง็ โซ๊ะ ๘. เดก็ หญิงรุซณดี าห์ รเี ด็ง ๙. เดก็ หญงิ นรู เดียนา ยุมอ หมายเหตุ นักเรยี นทข่ี าดเรียน ๑๐.เด็กหญงิ กูอามรี า สาและ ประจำ ๑๑.เดก็ หญงิ นิฟิรดาวน์ ยูโซะ ๑๒.เด็กหญงิ ฟริ ดาวร์ จิใจ ๑. เดก็ ชายมูหัมหมัดอัฟกนั บูละ ๑๓.เดก็ หญิงนรู ฟาซีกิม อาแวกือจิ ๒. เด็กชายมฮู ำหมัดนาฟี ขาเร็ง ๑๔.เด็กหญิงนูรไอซากรี า ดีสะเอะ ๓. เดก็ หญิงนรู ฮายาตี เจะหลง ๑๕.เด็กหญงิ นซั มี ลือแมตานิง ๔. เดก็ หญงิ ฟาเดยี รอแม ๑๖.เด็กหญงิ โซเฟียนี นังลุวา ๑๗.เดก็ หญงิ อัสสูวานี โต๊ะลามะ จากตาราง ๒ จำนวนนกั เรยี นที่อย่ใู น จำนวน ๑๗ คน คดิ เปน็ ร้อยละ ๔๓.๕๘ กลุม่ พัฒนาคอื ระดบั ผลการเรียน ๔ , ๓.๕ , ๓ จำนวน ๘ คน คิดเปน็ รอ้ ยละ ๒๐.๕๑ กลมุ่ กำลังพฒั นาคือระดบั ผลการเรยี น ๒.๕ , ๒ , จำนวน ๙ คน คดิ เป็นรอ้ ยละ ๒๓.๐๗ กลมุ่ เรง่ พฒั นา คอื ระดับผลการเรียน ๑.๕, ๑

ผลสัมฤทธิร์ ายสาระการเรียนรแู้ ละการจดั กล่มุ เพอื่ พัฒนาผเู้ รยี น ตาราง ๓ สรปุ ผลการวัดผลประเมนิ ผลสาระการเรียนร้ภู าษาตา่ งประเทศชัน้ มัธยมศึกษาปีที่ ๑/๕ ที่ ช่อื -สกุล ผลการประเมนิ อา่ น เขียน คะแนน ผลการ คุณลกั ษณะ คิดวเิ คราะห์ เรียน อนั พึงประสงค์ ปรับปรงุ ๑ เด็กชายพรี ะพล มะสลี ะ ๒๒ ๒ เดก็ ชายวลี ดาน เจะซอ ๕๕ ๐ ดี ดี ๓ เดก็ ชายซาฟรี ีน แลมีซอ ๕๕ ๑.๕ ดี ดี ๔ เดก็ ชายบดั รอน เจ๊ะมะ ๒๔ ๑.๕ ดี ปรับปรงุ ๕ เดก็ ชายฟิตรี สาระ ๕๖ ๐ ดี ดี ๖ เดก็ ชายฟุรกอน ซุหะแล ๕๕ ๑.๕ ดี ดี ๗ เด็กชายมูฮัมหมดั เดนสิ สามอ ๕๕ ๑.๕ ดี ดี ๘ เดก็ ชายมฮู ัมหมัดเตาฟิก ดาแม ๑๙ ๑.๕ ดี ปรบั ปรุง ๙ เดก็ ชายมูฮำหมดั ซยั ฟดุ ดีน สาและ ๘๒ ๐ ดี ดเี ยย่ี ม ๑๐ เด็กชายมูไฮมีน มาหะ ๖๐ ๔ ดเี ยย่ี ม ดี ๑๑ เด็กชายอับดุลฟาตะห์ มะเกะ ๖๐ ๒ ดี ดี ๑๒ เดก็ ชายอบั ดลุ ฮากิม สุหลง ๒๑ ๒ ดี ปรบั ปรุง ๑๓ เด็กชายอัฟนนั เจ๊ะสู ๕๓ ๐ ดี ผ่าน ๑๔ เด็กชายอัมรู มูซอ ๕๑ ๑ ดี ดี ๑๕ เด็กชายอานัส แบเล๊าะ ๕๒ ๑ ดี ดี ๑๖ เดก็ ชายอิรฟาน ตีมุ ๕๕ ๑ ดี ดี ๑๗ เดก็ หญิงราซตี า หะยีมซู อ ๒๘ ๑ ดี ปรบั ปรงุ ๑๘ เด็กหญิงนูรลู อีมาน เซ็งมะสู ๒๘ ๐ ดี ดี ๑๙ เด็กหญิงซูลอาฟีฟะฮ์ วาเลาะ ๖๖ ๑ ดี ดี ๒๐ เดก็ หญงิ ซวู านี งอปแู ล ๕๐ ๒.๕ ดเี ยย่ี ม ผา่ น ๒๑ เด็กหญงิ โซฟิตตรี วาหะ ๕๑ ๑ ดี ผ่าน ๒๒ เดก็ หญิงโซเฟีย จดู ิบ ๖๒ ๑ ดี ดี ๒๓ เด็กหญงิ ต่วนมะห์ซมู ี มะลี ๘๐ ๒ ดี ดีเยย่ี ม ๒๔ เด็กหญงิ นจั มยี ์ ลาเต๊ะ ๗๓ ๔ ดีเยย่ี ม ดีเยี่ยม ๒๕ เด็กหญิงนรุ เดยี นา วะทา ๗๒ ๓ ดเี ยี่ยม ดเี ย่ียม ๒๖ เดก็ หญงิ นูรดาวาตี นอปู ๕๒ ๓ ดีเยย่ี ม ดี ๒๗ เด็กหญิงนรู ฟาเดีย เจ๊ะแว ๕๐ ๑ ดี ดี ๒๘ เดก็ หญิงนรู ัยณี เยะ ๖๖ ๑ ดี ดี ๒.๕ ดีเยี่ยม

ที่ ช่อื -สกุล ผลการประเมิน ๒๙ เด็กหญงิ ฟาดลี า หะยีสามะ คะแนน ผลการ คุณลกั ษณะ อา่ น เขยี น ๓๐ เดก็ หญงิ ฟริ ดาวส์ กาเสง้ คดิ วิเคราะห์ ๓๑ เดก็ หญงิ ยูไรนะ๊ บู่เอยี ด เรยี น อนั พึงประสงค์ ปรับปรงุ ๓๒ เด็กหญงิ โรสลนิ ดา มูสอ ๓๓ เดก็ หญงิ วานสิ า พุดารอ ๑๗ ๐ ดี ดี ๓๔ เดก็ หญิงสีตแี อเสาะ มะลมิ ะ ดีเยี่ยม ๓๕ เดก็ หญงิ สุนิตา บือแน ๕๓ ๑ ดี ๓๖ เด็กหญิงอานิซ รอเกะ๊ ดี ๓๗ เด็กหญิงอานซี า ลือมานะ ๗๗ ๓.๕ ดเี ยี่ยม ปรบั ปรงุ ๓๘ เด็กหญงิ อามานยี ์ สาแล๊ะ ๓๙ เดก็ หญิงอาวาตี อแี ตเบ็ญ ๖๖ ๒.๕ ดีเยี่ยม ดี ๔๐ เดก็ หญงิ อาวาตฟี เจ๊ะสู ดี ๔๑ เด็กหญิงฮสู นา สาแม ๑๘ ๐ ดี ผ่าน ดี ๕๐ ๑ ดี ดเี ยย่ี ม ดี ๕๘ ๑.๕ ดี ผ่าน ดี ๕๒ ๑ ดี ๕๖ ๑.๕ ดี ๗๐ ๓ ดีเยยี่ ม ๕๖ ๑.๕ ดี ๕๐ ๑ ดี ๕๖ ๑.๕ ดี จากตารางที่ ๓ สรุปผลการเรียนกลุ่มสาระการเรียนรู้ภาษาต่างประเทศ(ภาษาอังกฤษ) ของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ ๑/๕ จากจำนวนนักเรียนทั้งหมด ๔๑ คน เข้าสอบ ๓๔ คน มีคะแนนรวม ทง้ั หมด ๒,๐๒๗ คะแนน ผลการเรียนเฉลย่ี คิดเป็นร้อยละ ๕๐.๖๗ ผลการประเมินคุณลักษณะอันพึงประสงค์ อยู่ในระดับ ดีเยี่ยม ๙ คน คิดเป็นร้อยละ ๒๑.๙๕ ระดับดี ๓๒ คน คิดเป็นร้อยละ ๗๘.๐๔ ผลการประเมิน การอา่ น คดิ วิเคราะหแ์ ละเขียนอยู่ในระดับ ดีเยยี่ ม ๖ คน คิดเปน็ ร้อยละ ๑๔.๖๓ ระดับดี ๒๓ คน คิดเป็นร้อย ละ ๕๖.๐๙ ระดบั ผ่าน จำนวน ๕ คน คดิ เปน็ ร้อยละ ๑๒.๑๙ หมายเหตุ นกั เรียนอีก ๗ คนทีผ่ ลการประเมนิ รายการผลการเรียนเปน็ ๐ และผลการประเมินการอ่าน คิด วิเคราะห์อยู่ในระดับที่ควรปรับปรุง เนื่องด้วย เป็นนักเรียนที่ขาดเรียนบ่อยจึงไม่มีคะแนนใดๆปรากฏ คิด เป็นรอ้ ยละ ๑๗.๐๗ การจดั กลุ่มนกั เรียนเพ่ือการพัฒนากลุ่มสาระการเรยี นรภู้ าษาต่างประเทศ(ภาษาองั กฤษ) ในการจัดกิจกรรมการเรียนการสอนใหแ้ ก่นักเรียน เพื่อให้เกิดการเรียนรูไ้ ด้ตามศักยภาพ ของผู้เรียน ซึ่งมีความแตกตา่ งกนั ครูผู้สอนจึงจำเป็นต้องรู้จักนักเรียนของตนเอง เพื่อทำการพัฒนาสง่ เสริมและช่วยเหลอื ให้ผู้เรียนเกิดการเรียนรู้ได้ตามศักยภาพ การจัดกลุ่มผู้เรียนเป็นวิธีหนึ่ง ที่สามารถนำมาพัฒนาผู้เรียนและ จัดการเรียนรใู้ หแ้ ก่นักเรยี นได้อย่างเหมาะสม ดังนั้นในฐานะที่เป็นครูผู้สอนกลุ่มสาระการเรียนรู้ภาษาต่างประเทศ(ภาษาอังกฤษ) ของนักเรียนช้ัน มธั ยมศึกษาปีท่ี ๑/๕ จงึ ไดท้ ำการจดั กลุ่มผู้เรยี นเป็น ๓ กลุม่ โดยนำผลการเรยี นเป็นเครือ่ งมือในการจัดกลุ่ม เพือ่ เปน็ พน้ื ฐานขอ้ มลู ในการนำไปพัฒนาผู้เรยี นและจัดกิจกรรมการเรยี นการสอนให้เหมาะสมกบั ผเู้ รียนต่อไป

ตาราง ๔ แสดงการจัดกลุ่มผูเ้ รยี นเพ่อื พัฒนากลุ่มสาระการเรยี นรภู้ าษาตา่ งประเทศ(ภาษาองั กฤษ) ของ นกั เรียนชั้นมัธยมศกึ ษาปที ี่ ๑/๕ กลมุ่ พัฒนา กลมุ่ กำลงั พัฒนา กล่มุ เร่งพฒั นา ( ระดบั ผลการเรยี น ๔, ๓.๕, ๓ ) ( ระดบั ผลการเรยี น ๒.๕ , ๒,) ( ระดบั ผลการเรียน ๑.๕ , ๑ ) ๑.เด็กชายมูฮำหมัดซยั ฟดุ ดีน สาและ ๑. เดก็ ชายมูไฮมีน มาหะ ๑. เด็กชายวลี ดาน เจะซอ ๒.เดก็ หญิงต่วนมะหซ์ ูมี มะลี ๒. เด็กชายอับดุลฟาตะห์ มะเกะ ๒. เด็กชายซาฟีรนี แลมีซอ ๓.เดก็ หญิงนัจมยี ์ ลาเต๊ะ ๓. เดก็ หญงิ ซูลอาฟีฟะฮ์ วาเลาะ ๓. เด็กชายฟิตรี สาระ ๔.เดก็ หญิงนรุ เดยี นา วะทา ๔. เด็กหญงิ โซเฟีย จดู บิ ๔. เดก็ ชายฟรุ กอน ซุหะแล ๕.เดก็ หญงิ ยูไรน๊ะ บูเ่ อยี ด ๕. เด็กหญิงนูรยั ณี เยะ ๕. เดก็ ชายมฮู ัมหมัดเดนสิ สามอ ๖.เดก็ หญงิ อามานยี ์ สาแล๊ะ ๖. เด็กหญิงโรสลินดา มสู อ ๖. เด็กชายอัฟนัน เจะ๊ สู ๗. เดก็ ชายอมั รู มูซอ ๘. เด็กชายอานัส แบเลา๊ ะ ๙. เด็กชายอิรฟาน ตีมุ ๑๐.เดก็ หญงิ นรู ูลอมี าน เซ็งมะสู ๑๑.เดก็ หญิงซูวานี งอปูแล ๑๒.เดก็ หญิงโซฟิตตรี วาหะ ๑๓.เดก็ หญิงนรู ดาวาตี นอปู ๑๔.เด็กหญิงนรู ฟาเดยี เจะ๊ แว ๑๕.เด็กหญงิ ฟิรดาวส์ กาเสง้ ๑๖.เด็กหญงิ สีตีแอเสาะ มะลิมะ ๑๗.เดก็ หญิงสุนติ า บือแน ๑๘.เดก็ หญงิ อานซิ รอเก๊ะ ๑๙.เดก็ หญงิ อานีซา ลือมานะ ๒๐.เด็กหญงิ อาวาตี อีแตเบ็ญ ๒๑.เด็กหญิงอาวาตีฟ เจ๊ะสู ๒๒.เด็กหญงิ ฮูสนา สาแม นักเรียนที่ขาดเรียนบ่อย ๑. เดก็ ชายพรี ะพล มะสีละ ๒. เด็กชายบัดรอน เจ๊ะมะ ๓. เดก็ ชายมฮู ัมหมัดเตาฟิก ดาแม ๔. เด็กชายอับดุลฮากิม สหุ ลง ๕. เดก็ หญงิ ราซตี า หะยมี ซู อ ๖. เดก็ หญงิ ฟาดลี า หะยีสามะ ๗. เด็กหญงิ วานสิ า พดุ ารอ

จากตาราง ๔ จำนวนนกั เรียนทีอ่ ยู่ใน จำนวน ๖ คน คดิ เป็นร้อยละ ๑๔.๖๓ กลมุ่ พัฒนาคือระดับผลการเรียน ๔ , ๓.๕ , ๓ จำนวน ๖ คน คิดเป็นร้อยละ ๑๔.๖๓ กลุ่มกำลังพฒั นาคือระดับผลการเรียน ๒.๕ , ๒ จำนวน ๒๙ คน คิดเป็นรอ้ ยละ ๗๐.๗๔ กลุ่มเร่งพัฒนา คอื ระดบั ผลการเรียน ๑.๕ , ๑ ผลสัมฤทธิ์รายสาระการเรียนรูแ้ ละการจดั กลมุ่ เพอ่ื พัฒนาผู้เรยี น ตาราง ๕ สรปุ ผลการวัดผลประเมนิ ผลสาระการเรยี นรู้ภาษาต่างประเทศช้นั มธั ยมศกึ ษาปที ี่ ๑/๖ ที่ ชอื่ -สกุล ผลการประเมนิ ๑ เด็กชายอาสนั มะสลี ะ คะแนน ผลการ คณุ ลกั ษณะ อา่ น เขยี น ๒ เด็กชายฟรุ กอน อปี ง คิดวิเคราะห์ ๓ เด็กชายอาบัส สารอเอง เรยี น อันพึงประสงค์ ๔ เด็กชายมะยูโซะ ยาแลกา ๐ ๕ เด็กชายสุฮยั ลี สลี ะรู ๐๐ ๐ ๖ เดก็ ชายอาบาดี แวโต๊ะยะ ผ่าน ๗ เดก็ ชายนัสริน เบนมะ ๕๒ ๑ ดี ผา่ น ๘ เด็กชายรอมฎอน อะตะบู ผา่ น ๙ เด็กชายมูฮำหมัดเจฟฟรี มามะ ๕๑ ๑ ดี ผา่ น ๑๐ เด็กชายอาดัม มีสายะลง ผา่ น ๑๑ เด็กชายอิรฟาน สะเตาะ ๕๒ ๑ ดี ๐ ๑๒ เด็กชายอานัส บือแน ๑๓ เด็กชายฮาฟิต แป๊ะลี ๕๓ ๑ ดี ดี ๑๔ เด็กชายนิอิสมาแอ กาซอ ผ่าน ๑๕ เดก็ ชายมูฮัมหมดั อัมรี ดาโอะ ๕๔ ๑ ดี ผา่ น ๑๖ เดก็ ชายย๊ะยา กะลาแต ๐ ๑๗ เด็กชายอัฟดอน มานิ๊ ๐๐ ๐ ๑๘ เด็กชายอัฟฟาน กลนิ่ เจริญ ดี ๑๙ เดก็ ชายอารอฟัต อาแวบือซา ๕๒ ๑ ดี ดี ๒๐ เดก็ ชายมุสฮาฟีกีม เจะ๊ เหา๊ ะ ดเี ย่ียม ๒๑ เด็กหญงิ อัมนะห์ ดอื รานิง ๕๒ ๑ ดี ผ่าน ๒๒ เด็กหญงิ อัสวานี สาและดิง ผ่าน ๒๓ เด็กหญงิ อามนี า สาและดงิ ๕๒ ๑ ดี ดี ผ่าน ๐๐ ๐ ดี ผ่าน ๕๑ ๑ ดี ดี ผ่าน ๕๐ ๑ ดี ดี ๗๕ ๓.๕ ดีเยี่ยม ๕๒ ๑ ดี ๕๐ ๑ ดี ๕๐ ๑ ดี ๕๔ ๑ ดี ๖๑ ๒ ดีเย่ยี ม ๕๒ ๑ ดี ๖๑ ๒ ดเี ย่ยี ม ๕๓ ๑ ดี ๖๒ ๒ ดีเย่ยี ม

ที่ ผลการประเมิน ๒๔ เดก็ หญิงอิมตีนาร์ ฮะตะมะ คะแนน ผลการ คุณลกั ษณะ อา่ น เขียน ๒๕ เด็กหญิงฟิรดาวส์ หะสแี ม คิดวิเคราะห์ ๒๖ เด็กหญงิ อสั มีรา มะแนซายอ เรียน อนั พึงประสงค์ ๒๗ เดก็ หญงิ นาเดยี ร นิโซ๊ะ ดี ๒๘ เด็กหญิงรุสมาเรีย แยนา ๖๒ ๒ ดเี ยี่ยม ดี ๒๙ เดก็ หญิงอามานี เจะ๊ ปิ ดเี ยีย่ ม ๓๐ เดก็ หญงิ อัฟวานี กือแต ๕๖ ๑.๕ ดีเยี่ยม ๐ ๓๑ เด็กหญิงเกาซัร สาและ ๓๒ เด็กหญิงสุฟิยนี กาเน๊ะ ๘๑ ๔ ดีเยย่ี ม ดี ๓๓ เด็กหญิงฟาดลี า สาแม ดีเย่ียม ๓๔ เดก็ หญงิ รุสนา ยา ๐๐ ๐ ๓๕ เดก็ หญงิ ยสั วตี า แอโอ๊ะ ๐ ๓๖ เดก็ หญงิ นรู ฮซู ณา สาราเซ๊ะ ๕๘ ๑.๕ ดีเย่ียม ๓๗ เดก็ หญงิ รุสนีลดา เจะ๊ มะ ดเี ยย่ี ม ๓๘ เดก็ หญงิ โซเฟีย สะสอเล็ง ๗๐ ๓ ดีเยี่ยม ดี ๓๙ เด็กหญิงโซเฟยี ดือมานิ ๐ ๔๐ เด็กหญิงนูรอาซีกีนต์ จิใจ ๐๐ ๐ ๐ ๐ ๗๕ ๓.๕ ดีเย่ียม ดเี ยย่ี ม ๕๒ ๑ ดี ดีเย่ียม ดเี ยีย่ ม ๐๐ ๐ ดเี ยี่ยม ดเี ยี่ยม ๐๐ ๐ ๐๐ ๐ ๗๐ ๓ ดเี ยี่ยม ๘๖ ๔ ดเี ยย่ี ม ๗๕ ๓.๕ ดีเยย่ี ม ๘๐ ๔ ดีเยี่ยม ๘๓ ๔ ดีเยี่ยม จากตารางที่ ๕ สรุปผลการเรียนกลุ่มสาระการเรียนรู้ภาษาต่างประเทศ(ภาษาอังกฤษ) ของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ ๑/๖ จากจำนวนนักเรียนทั้งหมด ๔๐ คน เข้าสอบ ๓๒ คน มีคะแนนรวม ทั้งหมด ๑,๙๓๗ คะแนน ผลการเรยี นเฉล่ยี คิดเปน็ ร้อยละ ๖๐.๕๓ ผลการประเมนิ คุณลักษณะอันพึงประสงค์ อยู่ในระดับ ดีเยี่ยม ๑๕ คน คิดเป็นร้อยละ ๓๗.๕๐ ระดับดี ๑๗ คน คิดเป็นร้อยละ ๔๒.๕๐ ผลการประเมิน การอ่าน คิดวเิ คราะห์และเขียนอยใู่ นระดับ เยยี่ ม ๙ คน คิดเปน็ ร้อยละ ๒๒.๕๐ ระดบั ดี ๑๑ คน คดิ เป็นร้อยละ ๒๗.๕๐ ระดบั ผา่ น จำนวน ๑๒ คน คดิ เปน็ ร้อยละ ๓๐ หมายเหตุ นักเรียนอีก ๘ คน ที่ผลการประเมินทุกรายการเป็น ๐ เนื่องด้วย เป็นนักเรียนที่ขาดเรียน ประจำจึงไมม่ คี ะแนนใดๆปรากฏ คิดเปน็ รอ้ ยละ ๒๐

การจัดกลมุ่ นักเรยี นเพื่อการพัฒนากล่มุ สาระการเรียนรู้ภาษาต่างประเทศ(ภาษาองั กฤษ) ในการจัดกิจกรรมการเรียนการสอนใหแ้ ก่นักเรียน เพื่อให้เกิดการเรียนรูไ้ ด้ตามศักยภาพ ของผู้เรียน ซึ่งมีความแตกต่างกนั ครูผู้สอนจึงจำเป็นต้องรู้จักนักเรียนของตนเอง เพื่อทำการพัฒนาสง่ เสริมและช่วยเหลอื ให้ผู้เรียนเกิดการเรียนรู้ได้ตามศักยภาพ การจัดกลุ่มผู้เรียนเป็นวิธีหนึ่ง ที่สามารถนำมาพัฒนาผู้เรียนและ จดั การเรยี นรู้ใหแ้ กน่ กั เรยี นได้อยา่ งเหมาะสม ดังนั้นในฐานะที่เป็นครูผู้สอนกลุ่มสาระการเรียนรู้ภาษาต่างประเทศ(ภาษาอังกฤษ) ของนักเรียนช้ัน มธั ยมศึกษาปีที่ ๑/๖ จงึ ไดท้ ำการจดั กลุ่มผู้เรียนเป็น ๓ กลมุ่ โดยนำผลการเรียนเป็นเคร่ืองมือในการจัดกลุ่ม เพือ่ เปน็ พน้ื ฐานข้อมูลในการนำไปพฒั นาผเู้ รยี นและจดั กจิ กรรมการเรียนการสอนให้เหมาะสมกบั ผ้เู รยี นต่อไป ตาราง ๖ แสดงการจัดกลุ่มผูเ้ รียนเพือ่ พฒั นากลุ่มสาระการเรียนรภู้ าษาต่างประเทศ(ภาษาอังกฤษ) ของ นักเรยี นชั้นมัธยมศกึ ษาปที ี่ ๑/๖ กล่มุ พฒั นา กลุม่ กำลังพฒั นา กล่มุ เร่งพฒั นา ( ระดับผลการเรยี น ๔, ๓.๕, ๓ ) ( ระดบั ผลการเรยี น ๒.๕ , ๒ ) ( ระดับผลการเรยี น ๑.๕ , ๑ ) ๑. เดก็ ชายนอิ ิสมาแอ กาซอ ๑. เด็กชายอารอฟัต อาแวบือซา ๑. เดก็ ชายฟรุ กอน อปี ง ๒. เดก็ หญงิ อัสมีรา มะแนซายอ ๒. เดก็ หญิงอัมนะห์ ดือรานงิ ๒. เด็กชายอาบัส สารอเอง ๓. เด็กหญิงอามานี เจะ๊ ปิ ๓. เดก็ หญิงอามีนา สาและดงิ ๓. เด็กชายมะยโู ซะ ยาแลกา ๔. เดก็ หญงิ เกาซัร สาและ ๔. เดก็ หญงิ อิมตีนาร์ ฮะตะมะ ๔. เดก็ ชายสฮุ ยั ลี สีละรู ๕. เดก็ หญงิ นรู ฮูซณา สาราเซ๊ะ ๕. เด็กชายอาบาดี แวโต๊ะยะ ๖. เดก็ หญิงรสุ นีลดา เจ๊ะมะ ๖. เด็กชายรอมฎอน อะตะบู ๗. เดก็ หญงิ โซเฟีย สะสอเลง็ ๗. เดก็ ชายมูฮำหมดั เจฟฟรี มามะ ๘. เด็กหญิงโซเฟยี ดือมานิ ๘. เดก็ ชายอาดัม มสี ายะลง ๙. เด็กหญิงนูรอาซีกีนต์ จใิ จ ๙. เด็กชายอานสั บอื แน ๑๐. เด็กชายฮาฟิต แป๊ะลี ๑๑. เด็กชายมฮู ัมหมัดอมั รี ดาโอะ ๑๒. เดก็ ชายยะ๊ ยา กะลาแต ๑๓. เด็กชายอัฟดอน มาน๊ิ ๑๔. เด็กชายอัฟฟาน กลน่ิ เจริญ ๑๕. เดก็ ชายมสุ ฮาฟกี มี เจะ๊ เห๊าะ ๑๖. เด็กหญงิ อสั วานี สาและดงิ ๑๗. เด็กหญงิ ฟริ ดาวส์ หะสีแม ๑๘. เด็กหญิงรสุ มาเรยี แยนา ๑๙. เดก็ หญิงสฟุ ยิ นี กาเนะ๊

กลมุ่ พัฒนา กลุม่ กำลังพัฒนา กล่มุ เรง่ พัฒนา ( ระดับผลการเรียน ๔, ๓.๕, ๓ ) ( ระดับผลการเรยี น ๒.๕ , ๒ ) ( ระดับผลการเรยี น ๑.๕ , ๑ ) นกั เรยี นทข่ี าดเรยี นบอ่ ย ๑. เดก็ ชายอาสนั มะสลี ะ ๒. เด็กชายนัสริน เบนมะ ๓. เด็กชายอิรฟาน สะเตาะ ๔. เด็กหญิงนาเดยี ร นโิ ซะ๊ ๕. เด็กหญงิ อัฟวานี กือแต ๖. เดก็ หญงิ ฟาดีลา สาแม ๗. เด็กหญิงรุสนา ยา ๘. เดก็ หญิงยัสวีตา แอโอ๊ะ จากตาราง ๖ จำนวนนกั เรียนท่ีอย่ใู น จำนวน ๙ คน คดิ เป็นรอ้ ยละ ๒๒.๕๐ กล่มุ พัฒนาคอื ระดับผลการเรียน ๔ , ๓.๕ , ๓ จำนวน ๖ คน คิดเปน็ ร้อยละ ๑๕ กลุม่ กำลังพัฒนาคือระดับผลการเรยี น ๒.๕ , ๒ จำนวน ๒๗ คน คิดเป็นรอ้ ยละ ๖๗.๕๐ กลมุ่ เร่งพฒั นา คือระดับผลการเรยี น ๑.๕, ๑

ผลสัมฤทธริ์ ายสาระการเรยี นรู้และการจดั กลุ่มเพอื่ พัฒนาผูเ้ รียน ตาราง ๗ สรปุ ผลการวัดผลประเมนิ ผลสาระการเรียนรูภ้ าษาต่างประเทศช้ันมัธยมศกึ ษาปีท่ี ๒/๑ ท่ี ชอื่ -สกุล ผลการประเมนิ คะแนน ผลการ คุณลักษณะ อ่าน เขยี น เรยี น อนั พึงประสงค์ คดิ วเิ คราะห์ ๑ เด็กชายซุลฟนั มะวะวา ๕๐ ๑ ดี ผา่ น ๒ เดก็ ชายมฮู ยั มีน มะตูแก ๕๑ ๑ ดี ผ่าน ๓ เดก็ ชายนิอดำ แนยงเมเซียม ๕๐ ๑ ดี ผ่าน ๔ เดก็ ชายอัฟฟาน ม๊ะติ ๐๐ ๐ ๐ ๕ เด็กชายอสั วาน อาลี ๕๐ ๑ ดี ผา่ น ๖ เด็กชายเวลดาน ดอเลา๊ ะ ๗๖ ๓.๕ ดเี ยย่ี ม ดเี ยยี่ ม ๗ เด็กชายมฮู ัมหมัดยสุ ือรี สาแม็ง ๕๑ ๑ ดี ผา่ น ๘ เดก็ ชายมูหมั หมัดอามิน โต๊ะตาหยง ๕๐ ๑ ดี ดี ๙ เดก็ ชายอานัส หายสี าแม ๕๒ ๑ ดี ผา่ น ๑๐ เดก็ ชายอาณัติ ตมุ ะ ๕๒ ๑ ดี ผ่าน ๑๑ เด็กชายมูฮัมหมัดซอบรี มะมิง ๕๐ ๑ ดี ดี ๑๒ เด็กชายอาดินนั ดือเร๊ะ ๐๐ ๐ ๐ ๑๓ เดก็ ชายฟาฮัด มารอมุ า ๕๓ ๑ ดี ดี ๑๔ เดก็ ชายอูบยั ฎิลฬะห์ สอื รี ๕๐ ๑ ดี ผ่าน ๑๕ เด็กชายมฮู ัมหมัดฟายซอ โซมา ๕๕ ๑.๕ ดเี ยย่ี ม ดี ๑๖ เดก็ ชายมูฮัมหมดั นูรดี กาเจ ๕๒ ๑ ดี ผา่ น ๑๗ เดก็ ชายมฮู ัมมัดฟีรดาว มะแซ ๕๐ ๑ ดี ผา่ น ๑๘ เด็กหญงิ ต่วนซูรวาซา ตว่ นจอหลง ๗๓ ๓ ดีเยย่ี ม ดี ๑๙ เด็กหญิงฮาสานะ๊ แดเบาะ ๖๑ ๒ ดเี ยยี่ ม ดเี ยย่ี ม ๒๐ เดก็ หญงิ อัลมซี ัน สาเหาะ ๘๓ ๔ ดีเยีย่ ม ดเี ยีย่ ม ๒๑ เดก็ หญิงนรู ลุ ซูฮาดา ฮาซนั ๕๘ ๑.๕ ดี ดี ๒๒ เดก็ หญิงนาซูฮา บือซา ๖๐ ๒ ดเี ยย่ี ม ดี ๒๓ เด็กหญิงนรุ อมี าน ม๊ะติ ๐๐ ๐ ๐ ๒๔ เด็กหญิงซนู ยั ยา มาหเิ ละ ๕๒ ๑ ดเี ยย่ี ม ดี ๒๕ เดก็ หญิงมสั ตูรา สาระ ๙๕ ๔ ดีเย่ยี ม ดเี ยย่ี ม ๒๖ เด็กหญงิ นาดา เซะบากอ ๐๐ ๐ ๐ ๒๗ เด็กหญงิ นาซูฮา ตารอ ๕๕ ๑.๕ ดเี ยยี่ ม ดี ๒๘ เด็กหญงิ อามีรา กาเซง็ ๙๑ ๔ ดเี ย่ยี ม ดีเยี่ยม

ท่ี ชอ่ื -สกุล ผลการประเมนิ ๒๙ เดก็ หญิงฟาดลี ๊ะห์ ลาเต๊ะ คะแนน ผลการ คณุ ลักษณะ อา่ น เขียน ๓๐ เดก็ หญิงวานีซา ยะโก๊ะ เรยี น อันพงึ ประสงค์ คดิ วเิ คราะห์ ๓๑ เดก็ หญิงนรู ฟรั ฮะห์ สาอิ ๓๒ เด็กหญิงอาซยี ๊ะ บากา ๕๖ ๑.๕ ดเี ยย่ี ม ดี ๓๓ เดก็ หญิงตอวยี ะห์ เจะ๊ เต๊ะ ดีเยยี่ ม ๓๔ เดก็ หญงิ นาดยี า มณรี ัตน์ ๘๑ ๔ ดเี ยย่ี ม ดีเยย่ี ม ๓๕ เดก็ หญิงสตี คี อลีเย๊าะ มะดี ๓๖ เดก็ หญงิ นรู ซาวาตี ซามะ ๘๕ ๔ ดเี ยี่ยม ๐ ๓๗ เดก็ หญงิ นัสรียะฮ์ สาและเร๊ะ ๓๘ เด็กหญิงฮมั มือด๊ะ อาบบู ือซา ๐๐ ๐ ดี ๓๙ เด็กหญิงนรู มี สา ผา่ น ๔๐ เด็กหญงิ ซนุ รี า ตอแลมา ๖๕ ๒.๕ ดีเย่ียม ๔๑ เด็กหญิงนรู ีฟา วาจิ ดีเย่ยี ม ๔๒ เดก็ หญิงนูรฮัยนี ดอเลาะ ๕๓ ๑ ดี ดีเยีย่ ม ๖๕ ๒.๕ ดเี ยยี่ ม ผ่าน ดี ๗๑ ๓ ดเี ยี่ยม ดเี ยยี่ ม ดเี ยย่ี ม ๕๓ ๑ ดี ดเี ยย่ี ม ๕๓ ๑ ดี ดี ๘๓ ๔ ดเี ยย่ี ม ๘๐ ๔ ดเี ยี่ยม ๘๘ ๔ ดีเยย่ี ม ๕๖ ๑.๕ ดีเยี่ยม จากตารางที่ ๗ สรุปผลการเรียนกลุ่มสาระการเรียนรู้ภาษาต่างประเทศ(ภาษาอังกฤษ) ของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ ๒/๑ จากจำนวนนักเรียนทั้งหมด ๔๒ คน เข้าสอบ ๓๗ คน มีคะแนน รวมทงั้ หมด ๒,๓๐๙ คะแนน ผลการเรียนเฉลย่ี คิดเปน็ ร้อยละ ๖๒.๔๑ ผลการประเมินคุณลักษณะอันพึง ประสงค์ อยู่ในระดบั ดีเยย่ี ม ๒๐ คน คดิ เปน็ รอ้ ยละ ๔๗.๖๑ ระดับดี ๑๗ คน คิดเปน็ ร้อยละ ๔๐.๔๗ ผล การประเมินการอ่าน คิดวิเคราะห์และเขียนอยู่ในระดับ ดีเยี่ยม ๑๒ คน คิดเป็นร้อยละ ๒๘.๕๗ ระดับดี ๑๓ คน คิดเปน็ รอ้ ยละ ๓๐.๙๕ ระดับผา่ น จำนวน ๑๒ คน คิดเป็นร้อยละ ๒๘.๕๗ หมายเหตุ นักเรียนอีก ๕ คน ที่ผลการประเมินทุกรายการเป็น ๐ เนื่องด้วย เป็นนักเรียนที่ขาด เรียนประจำจงึ ไม่มคี ะแนนใดๆปรากฏ คดิ เปน็ ร้อยละ ๑๑.๙๑ การจดั กลุ่มนักเรียนเพอื่ การพัฒนากล่มุ สาระการเรยี นรู้ภาษาตา่ งประเทศ(ภาษาองั กฤษ) ในการจัดกิจกรรมการเรียนการสอนให้แก่นักเรียน เพื่อให้เกิดการเรียนรู้ได้ตามศักยภาพ ของ ผู้เรียน ซึ่งมีความแตกต่างกัน ครูผู้สอนจึงจำเป็นต้องรู้จักนักเรียนของตนเอง เพื่อทำการพัฒนาส่งเสริม และช่วยเหลือ ให้ผู้เรียนเกิดการเรียนรู้ได้ตามศักยภาพ การจัดกลุ่มผู้เรียนเป็นวิธีหนึ่ง ท่ีสามารถนำมา พฒั นาผูเ้ รียนและจดั การเรยี นรูใ้ หแ้ ก่นักเรยี นได้อยา่ งเหมาะสม ดังนั้นในฐานะที่เป็นครูผู้สอนกลุ่มสาระการเรียนรู้ภาษาต่างประเทศ(ภาษาอังกฤษ) ของนักเรียนชั้น มัธยมศึกษาปที ่ี ๒/๑ จงึ ไดท้ ำการจัดกล่มุ ผูเ้ รียนเปน็ ๓ กลมุ่ โดยนำผลการเรยี นเป็นเครือ่ งมอื ในการจัดกลุ่ม เพ่อื เป็นพื้นฐานข้อมลู ในการนำไปพฒั นาผเู้ รียนและจดั กจิ กรรมการเรียนการสอนให้เหมาะสมกบั ผเู้ รียนตอ่ ไป

ตาราง ๘ แสดงการจดั กลมุ่ ผเู้ รยี นเพ่ือพฒั นากลุ่มสาระการเรยี นรภู้ าษาตา่ งประเทศ(ภาษาอังกฤษ) ของนักเรียนชั้นมัธยมศกึ ษาปที ่ี ๒/๑ กล่มุ พฒั นา กลมุ่ กำลงั พัฒนา กลมุ่ เร่งพัฒนา ( ระดบั ผลการเรยี น ๔, ๓.๕, ๓ ) ( ระดับผลการเรยี น ๒.๕ , ๒,) ( ระดับผลการเรียน ๑.๕ , ๑ ) ๑.เด็กชายเวลดาน ดอเลา๊ ะ ๑. เดก็ หญิงฮาสานะ๊ แดเบาะ ๑. เดก็ ชายซลุ ฟนั มะวะวา ๒.เด็กหญงิ ต่วนซรู วาซา ตว่ นจอหลง ๒. เด็กหญิงนาซูฮา บือซา ๒. เด็กชายมฮู ยั มีน มะตูแก ๓.เด็กหญิงอัลมซี นั สาเหาะ ๓. เดก็ หญงิ ตอวยี ะห์ เจะ๊ เต๊ะ ๓. เด็กชายนิอดำ แนยงเมเซียม ๔.เด็กหญงิ มสั ตูรา สาระ ๔. เดก็ หญงิ สตี ีคอลีเย๊าะ มะดี ๔. เดก็ ชายอัสวาน อาลี ๕.เดก็ หญงิ อามรี า กาเซ็ง ๕. เด็กชายมูฮัมหมัดยุสือรี สาแมง็ ๖.เด็กหญิงวานซี า ยะโก๊ะ ๗.เดก็ หญงิ นูรฟัรฮะห์ สาอิ ๖. เด็กชายมหู มั หมดั อามิน โตะ๊ ตาหยง ๘.เดก็ หญงิ นรู ซาวาตี ซามะ ๙.เดก็ หญงิ นูรมี สา ๗. เดก็ ชายอานัส หายีสาแม ๑๐.เด็กหญงิ ซุนีรา ตอแลมา ๘. เด็กชายอาณตั ิ ตุมะ ๙. เด็กชายมฮู ัมหมัดซอบรี มะมิง ๑๑.เด็กหญงิ นูรฟี า วาจิ ๑๐.เด็กชายฟาฮดั มารอุมา ๑๑.เด็กชายอบู ัยฎลิ ฬะห์ สอื รี ๑๒.เด็กชายมฮู มั หมัดฟายซอ โซมา ๑๓.เดก็ ชายมูฮัมหมัดนูรดี กาเจ ๑๔.เด็กชายมฮู มั มัดฟีรดาว มะแซ ๑๕.เด็กหญงิ นูรลุ ซฮู าดา ฮาซัน ๑๖.เดก็ หญิงซูนยั ยา มาหิเละ ๑๗.เด็กหญิงนาซฮู า ตารอ ๑๘.เด็กหญิงฟาดลี ๊ะห์ ลาเตะ๊ ๑๙.เด็กหญิงนาดยี า มณีรตั น์ ๒๐.เดก็ หญิงนัสรียะฮ์ สาและเร๊ะ ๒๑.เด็กหญงิ ฮมั มือด๊ะ อาบูบือซา ๒๒.เดก็ หญงิ นูรฮัยนี ดอเลาะ นกั เรียนขาดประจำ ๑. เด็กชายอัฟฟาน ม๊ะติ ๒. เดก็ ชายอาดินนั ดือเร๊ะ ๓. เด็กหญงิ นุรอีมาน ม๊ะติ ๔. เดก็ หญงิ นาดา เซะบากอ ๕. เด็กหญิงอาซยี ๊ะ บากา

จากตาราง ๘ จำนวนนกั เรียนท่อี ยใู่ น จำนวน ๑๑ คน คดิ เปน็ รอ้ ยละ ๒๖.๑๙ กลุ่มพัฒนาคอื ระดับผลการเรียน ๔ , ๓.๕ , ๓ จำนวน ๔ คน คิดเป็นรอ้ ยละ ๙.๕๒ กล่มุ กำลังพัฒนาคือระดบั ผลการเรยี น ๒.๕ , ๒ จำนวน ๒๗ คน คิดเปน็ รอ้ ยละ ๖๔.๒๘ กลุม่ เร่งพฒั นา คือระดบั ผลการเรยี น ๑.๕, ๑ ผลสมั ฤทธ์ริ ายสาระการเรียนรูแ้ ละการจัดกลุม่ เพ่ือพัฒนาผู้เรยี น ตาราง ๙ สรปุ ผลการวดั ผลประเมินผลสาระการเรียนรภู้ าษาต่างประเทศชนั้ มัธยมศกึ ษาปที ี่ ๒/๒ ท่ี ชอ่ื -สกุล ผลการประเมนิ คะแนน ผลการ คณุ ลักษณะ อา่ น เขียน เรียน อนั พงึ ประสงค์ คิดวิเคราะห์ ๑ เดก็ ชาย ฮาฟีซ ยอื ฆา ๐๐ ๐ ๐ ๒ เดก็ ชาย มฮู ัมหมดั อีรฟาน ยะโกะ๊ ๐ ๐ ๐ ๐ ๓ เดก็ ชาย อับดุลมันนาน ซามิง ๕๐ ๑ ผา่ น ผา่ น ๔ เด็กชาย นอิ ฟั ฟาน แวกะจิ ๕๒ ๑ ผ่าน ผ่าน ๕ เดก็ ชาย ฮารฟาน มะเกะ ๐๐ ๐ ๐ ๖ เดก็ ชาย อานสั สะตะ ๕๐ ๑ ผา่ น ผ่าน ๗ เด็กชาย มฮู ัมหมดั มะซาอิ ๐๐ ๐ ๐ ๘ เด็กชาย วันดารสุ มิงมะ ๕๒ ๑ ผา่ น ผา่ น ๙ เด็กชาย ฮากิม มะเด็ง ๕๒ ๑ ผ่าน ผา่ น ๑๐ เด็กชาย บารดู ิง บราเฮง ๕๓ ๑ ดี ผา่ น ๑๑ เด็กชาย ดารสุ สลาม ปะจิ ๕๔ ๑ ดี ดี ๑๒ เดก็ ชาย อิบรอเฮม สาแล๊ะ ๐๐ ๐ ๐ ๑๓ เดก็ หญงิ รสุ มนี า บอื ราเฮง ๐๐ ๐ ๐ ๑๔ เดก็ หญิง ไซนะ๊ บากา ๖๕ ๒.๕ ดีเยย่ี ม ดีเยย่ี ม ๑๕ เด็กหญิง ซูฟยี า ตเี ยาะ ๕๐ ๑ ดีเยย่ี ม ดี ๑๖ เด็กหญงิ ปนดั ดา รัญจวนจติ ร ๕๔ ๑ ผ่าน ผา่ น ๑๗ เด็กหญงิ พาตฮี ะ ดารี ๕๒ ๑ ดีเยย่ี ม ดี ๑๘ เด็กหญิง อาซรี า อาบู ๕๗ ๑.๕ ดี ดี ๑๙ เด็กหญงิ ซลั วาน วาโยะ ๕๘ ๑.๕ ดเี ยย่ี ม ดเี ยีย่ ม ๒๐ เด็กหญงิ พาริณี มูซอ ๖๐ ๒ ดเี ยี่ยม ดีเยย่ี ม ๒๑ เดก็ หญงิ ซูไฮลา วาแมยูซา ๕๓ ๑ ดี ดเี ย่ียม ๒๒ เด็กหญิง รุสนานี เจะสนิ ๕๓ ๑ ผ่าน ผ่าน ๒๓ เด็กหญงิ นรู อาซกี นี บอื ราเฮง ๖๐ ๒ ดเี ย่ียม ดเี ยี่ยม ๒๔ เดก็ หญิง นาเดยี อินทจักร์ ๕๔ ๑ ดี ผ่าน

ท่ี ช่ือ-สกุล ผลการประเมนิ อา่ น เขยี น คะแนน ผลการ คุณลักษณะ คิดวเิ คราะห์ เรียน อนั พึงประสงค์ ๒๕ เดก็ หญงิ อาซรู า แมงกาจิ ๘๐ ดเี ยย่ี ม ๒๖ เดก็ หญิง นิสรนิ หะนะเต๊ะ ๕๕ ๔ ดเี ยยี่ ม ผา่ น ๒๗ เดก็ หญิง นรู มี ลาเตะ๊ ๖๕ ๑.๕ ดี ดี ๒๘ เด็กหญิง รอซาดา โดซอมิ ๗๗ ๒.๕ ดเี ย่ียม ดีเยี่ยม ๒๙ เด็กหญงิ ฟิตตรี มิงมะ ๕๖ ๓.๕ ดเี ย่ยี ม ดเี ยย่ี ม ๓๐ เด็กหญงิ อัสวาณี มะซูเปะ ๘๐ ๑.๕ ดเี ยี่ยม ดีเยี่ยม ๓๑ เดก็ หญงิ นูรู มะนงั ซายา ๕๗ ๔ ดีเย่ียม ดี ๓๒ เดก็ หญงิ ฟาดียา อาบู ๘๒ ๑.๕ ผา่ น ดี ๓๓ เดก็ หญงิ สารนิ ยี ์ เจะสือแลแม ๐ ๔ ดเี ยี่ยม ๐ ๓๔ เดก็ หญิง ฮาบีบะ๊ ซบี ะ ๗๕ ๐๐ ๓๕ เด็กหญงิ ฟาตีฮะ แดเบาะ ๖๒ ดีเยี่ยม ๓๖ เด็กหญิง นาซูฮา ตาตา ๖๒ ๓.๕ ดีเยี่ยม ดี ๓๗ เด็กหญิง นาดยี า โดโซมิ ๐ ๒ ดี ดี ๓๘ เดก็ หญิง นรู อิรฟาร์ ยะโก๊ะ ๕๐ ๒ ผ่าน ๐ ๓๙ เดก็ หญิง ฮสั มาวาตี เปาะสา ๖๒ ๐๐ ๔๐ เดก็ หญงิ นูรฮานาฟีซัม เมาะมาวี ๘๑ ผ่าน ๔๑ เด็กหญิง นารีกานต์ หมาดหีม ๕๕ ๑ ผา่ น ดีเยี่ยม ๒ ดีเยยี่ ม ดเี ยย่ี ม ๔ ดีเย่ียม ผ่าน ๑.๕ ดี จากตารางที่ ๙ สรุปผลการเรียนกลุ่มสาระการเรียนรู้ภาษาต่างประเทศ(ภาษาอังกฤษ) ของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ ๒/๒ จากจำนวนนักเรียนทั้งหมด ๔๑ คน เข้าสอบ ๓๓ คน มีคะแนน รวมทั้งหมด ๑,๙๙๓ คะแนน ผลการเรียนเฉลีย่ คิดเป็นร้อยละ ๖๐.๓๙ ผลการประเมินคุณลักษณะอันพงึ ประสงค์ อยู่ในระดบั ดีเย่ียม ๑๕ คน คิดเป็นร้อยละ ๓๖.๕๘ ระดับดี ๘ คน คิดเป็นร้อยละ ๑๙.๕๑ ผลการ ประเมินการอ่าน คิดวิเคราะห์และเขียนอยู่ในระดับ ดีเยี่ยม ๑๒ คน คิดเป็นร้อยละ ๒.๙๒ ระดับดี ๙ คน คดิ เปน็ ร้อยละ ๒๑.๙๕ ระดบั ผา่ น จำนวน ๑๒ คน คดิ เปน็ รอ้ ยละ ๒.๙๒ หมายเหตุ นักเรียนอีก ๘ คน ที่ผลการประเมินทุกรายการเป็น ๐ เนื่องด้วย เป็นนักเรียนที่ขาด เรียนประจำจึงไม่มีคะแนนใดๆปรากฏ คดิ เป็นร้อยละ ๑๙.๕๑ การจดั กลุ่มนกั เรียนเพือ่ การพฒั นากลมุ่ สาระการเรียนร้ภู าษาตา่ งประเทศ(ภาษาอังกฤษ) ในการจัดกิจกรรมการเรียนการสอนให้แก่นักเรียน เพื่อให้เกิดการเรียนรู้ได้ตามศักยภาพ ของ ผู้เรียน ซึ่งมีความแตกต่างกัน ครูผู้สอนจึงจำเป็นต้องรู้จักนักเรียนของตนเอง เพื่อทำการพัฒนาส่งเสริม และช่วยเหลือ ให้ผู้เรียนเกิดการเรียนรู้ได้ตามศักยภาพ การจัดกลุ่มผู้เรียนเป็นวิธีหนึ่ง ที่สามารถนำมา พฒั นาผู้เรยี นและจัดการเรยี นรู้ให้แกน่ ักเรยี นได้อย่างเหมาะสม

ดังนั้นในฐานะที่เป็นครูผู้สอนกล่มุ สาระการเรียนรู้ภาษาต่างประเทศ(ภาษาอังกฤษ) ของนกั เรียนช้ัน มัธยมศึกษาปีท่ี ๒/๒ จึงได้ทำการจัดกลุม่ ผู้เรียนเป็น ๓ กลุ่ม โดยนำผลการเรียนเป็นเครือ่ งมอื ในการจัด กลุ่ม เพื่อเป็นพื้นฐานข้อมูลในการนำไปพัฒนาผู้เรียนและจัดกิจกรรมการเรียนการสอนให้เหมาะสมกับ ผ้เู รียนต่อไป ตาราง ๑๐ แสดงการจัดกลมุ่ ผเู้ รยี นเพ่ือพัฒนากล่มุ สาระการเรยี นร้ภู าษาตา่ งประเทศ(ภาษาองั กฤษ) ของนักเรียนชน้ั มัธยมศึกษาปีท่ี ๒/๒ กลุ่มพฒั นา กลมุ่ กำลังพัฒนา กลุ่มเร่งพัฒนา ( ระดับผลการเรยี น ๔, ๓.๕, ๓ ) ( ระดับผลการเรยี น ๒.๕ , ๒) ( ระดบั ผลการเรียน ๑.๕ , ๑ ) ๑.เด็กหญงิ อาซูรา แมงกาจิ ๑. เด็กหญิง ไซน๊ะ บากา ๑. เดก็ ชาย อบั ดุลมันนาน ซามิง ๒.เด็กหญิง รอซาดา โดซอมิ ๒. เด็กหญิง พารณิ ี มซู อ ๒. เด็กชาย นิอัฟฟาน แวกะจิ ๓.เดก็ หญงิ อสั วาณี มะซูเปะ ๓. เดก็ หญิง นรู อาซีกนี บือราเฮง ๓. เดก็ ชาย อานสั สะตะ ๔.เดก็ หญงิ ฟาดยี า อาบู ๔. เดก็ หญิง นูรมี ลาเตะ๊ ๔. เด็กชาย วนั ดารุส มิงมะ ๕.เดก็ หญิง ฮาบบี ะ๊ ซีบะ ๕. เดก็ หญิง ฟาตีฮะ แดเบาะ ๕. เดก็ ชาย ฮากิม มะเด็ง ๖.เดก็ หญงิ นูรฮานาฟีซมั เมาะมาวี ๖. เดก็ หญิง นาซูฮา ตาตา ๖. เด็กชาย บารูดงิ บราเฮง ๗. เด็กหญิง ฮัสมาวาตี เปาะสา ๗. เดก็ ชาย ดารสุ สลาม ปะจิ ๘. เดก็ ชาย อิบรอเฮม สาและ๊ ๙. เดก็ หญงิ ซูฟยี า ตีเยาะ ๑๐. เดก็ หญิง ปนดั ดา รญั จวนจิตร ๑๑. เด็กหญิง พาตีฮะ ดารี ๑๒. เด็กหญงิ อาซรี า อาบู ๑๓. เด็กหญิง ซลั วาน วาโยะ ๑๔. เดก็ หญงิ ซูไฮลา วาแมยูซา ๑๕. เดก็ หญิง รุสนานี เจะสนิ ๑๖. เดก็ หญิง นาเดยี อนิ ทจกั ร์ ๑๗. เดก็ หญงิ นสิ รนิ หะนะเต๊ะ ๑๘. เด็กหญงิ ฟิตตรี มิงมะ ๑๙. เด็กหญงิ นรู ู มะนงั ซายา ๒๐. เดก็ หญิง นรู อริ ฟาร์ ยะโก๊ะ ๒๑. เด็กหญิง นารกี านต์ หมาดหีม

กลุ่มพฒั นา กลมุ่ กำลงั พัฒนา กลุ่มเรง่ พฒั นา ๗.( ระดบั ผลการเรยี น ๔, ๓.๕, ๓ ) ๘. ( ระดบั ผลการเรียน ๒.๕ , ๒) ๒๒. ( ระดบั ผลการเรยี น ๑.๕ , ๑ ) นักเรยี นทีข่ าดประจำ ๑. เด็กชาย ฮาฟซี ยอื ฆา ๒. เด็กชาย มฮู มั หมดั อรี ฟาน ยะโกะ๊ ๓. เดก็ ชาย ฮารฟาน มะเกะ ๔. เดก็ ชาย มฮู ัมหมดั มะซาอิ ๕. เดก็ หญิง รสุ มนี า บอื ราเฮง ๖. เด็กหญงิ สารนิ ีย์ เจะสือแลแม ๗. เด็กหญงิ นาดยี า โดโซมิ จากตาราง ๑๐ จำนวนนักเรียนทอ่ี ยใู่ น จำนวน ๖ คน คิดเปน็ ร้อยละ ๑๔.๖๓ กลุ่มพฒั นาคือระดบั ผลการเรียน ๔ , ๓.๕ , ๓ จำนวน ๗ คน คดิ เปน็ รอ้ ยละ ๑๗.๐๗ กล่มุ กำลังพัฒนาคือระดบั ผลการเรียน ๒.๕ , ๒ จำนวน ๒๘ คน คิดเปน็ รอ้ ยละ ๖๘.๒๙ กลุ่มเรง่ พัฒนา คอื ระดับผลการเรยี น ๑.๕, ๑ ผลสัมฤทธ์ิรายสาระการเรียนรูแ้ ละการจัดกลมุ่ เพ่ือพัฒนาผเู้ รียน ตาราง ๑๑ สรุปผลการวดั ผลประเมินผลสาระการเรียนร้ภู าษาต่างประเทศช้ันมธั ยมศึกษาปีที่ ๒/๓ ท่ี ช่ือ-สกุล ผลการประเมิน คะแนน ผลการ คุณลักษณะ อ่าน เขียน เรียน อันพงึ ประสงค์ คิดวิเคราะห์ ๑ เดก็ ชายมูฮัมหมัดซูเฟยี น เจ๊ะและ๊ ๕๐ ๑ ผา่ น ผ่าน ๒ เดก็ ชายมะอารจิ ญ์ มะหิเละ ๕๓ ๑ ผา่ น ผา่ น ๓ เด็กชายอารีฟนี มะดาโอะ้ ๖๐ ๒ ดีเยี่ยม ดี ๔ เดก็ ชายอาลี ยีระกูดา ๗๖ ๓.๕ ดเี ยี่ยม ดีเยีย่ ม ๕ เดก็ ชายมสุ ตากิม วาหะ ๐๐ ๐ ๐ ๖ เด็กชายฮาซนั โดซอมิ ๐๐ ๐ ๐ ๗ เด็กชายรลุ ไฮกา มะสลี ะ ๕๖ ๑.๕ ดี ดี ๘ เดก็ ชายฟิตรี มะกะนิ ๕๒ ๑ ผ่าน ผา่ น ๙ เดก็ ชายแวรดิ วาน กูรุง ๕๓ ๑ ผา่ น ผา่ น ๑๐ เดก็ ชายมฮู ัมหมดั ฟายรลุ โซมา ๖๒ ๒ ดีเย่ียม ดี

ท่ี ชอื่ -สกุล ผลการประเมิน ๑๑ เดก็ ชายอบั ดุลนิลี ดะเซะ คะแนน ผลการ คุณลกั ษณะ อ่าน เขียน ๑๒ เดก็ ชายอาหามะ มะลาเว็ง เรยี น อนั พึงประสงค์ คิดวิเคราะห์ ๑๓ เด็กชายฮานาฟี เจะและ ๑๔ เด็กชายฮาซานนั ท์ มะแซ ๐๐ ๐ ๐ ๑๕ เดก็ ชายนิอิสมาแอ สมบรู ณ์ ดี ๑๖ เด็กชายฟาริต ยาพา ๖๐ ๒ ดเี ยย่ี ม ผา่ น ๑๗ เด็กชายมารวู นั เปาะหารง ๐ ๑๘ เด็กชายมฮู ัมหมดั อาลีฟ วาเต๊ะ ๕๐ ๑ ผ่าน ดี ๑๙ เดก็ ชายมูฮัมหมดั ซูโก มะ ผ่าน ๒๐ เดก็ ชายนฟิ ฏิ ตรี เจ๊ะซอ ๐๐ ๐ ๐ ๒๑ เดก็ ชายอบั ดุลบาเซร หะสีแม ๐ ๒๒ เดก็ ชายมูสตากิม แน ๕๕ ๑.๕ ดี ผ่าน ๒๓ เดก็ ชายมฮู ัมหมดั สุกรี เจ๊ะเงาะ ๐ ๒๔ เดก็ ชายอารมนั กามานะไท ๕๒ ๑ ผา่ น ผ่าน ๒๕ เดก็ ชายรซี ูวนั อาแว ๐ ๒๖ เด็กหญงิ นุรฟารียา อาแซ ๐๐ ๐ ๐ ๒๗ เด็กหญงิ ฮาซือนา เจะ๊ แล ผา่ น ๒๘ เด็กหญงิ ซารหี มะ๊ ยาแม ๐๐ ๐ ดี ๒๙ เด็กหญิงอานสี พุดารอ ดี ๓๐ เด็กหญงิ โซรายา เจะ๊ นง ๖๒ ๒ ดีเยย่ี ม ดี ๓๑ เด็กหญงิ บัรกิสต์ โดตะเซะ ดี ๓๒ เด็กหญงิ ซูมยั ยะ๊ เรืองประดษิ ฐ์ ๐๐ ๐ ๐ ๓๓ เดก็ หญงิ มารีซาร์ แวกาจิ ผา่ น ๓๔ เดก็ หญิงซาลีฟ๊ะ สะมะแอ ๕๔ ๑ ผา่ น ดี ๓๕ เดก็ หญิงโซเฟีย ลีมาดาอิ ผ่าน ๓๖ เดก็ หญิงซูไวบะห์ บาบาที ๐๐ ๐ ผ่าน ๓๗ เดก็ หญงิ รอฮานา มะมิง ผ่าน ๓๘ เด็กหญงิ อาลีสา มะสลี ะ ๐๐ ๐ ดี ๓๙ เดก็ หญิงนูรูลฮูดา เตะแต ดเี ยี่ยม ๔๐ เด็กหญิงโซฟา ซหุ ะแล ๕๐ ๑ ผ่าน ดเี ย่ยี ม ๔๑ เด็กหญงิ นุรฟติ รี สาเหาะ ดี ๕๗ ๑.๕ ดี ดี ดี ๕๖ ๑.๕ ดี ดี ๖๑ ๒ ดเี ยย่ี ม ๖๐ ๒ ดเี ยย่ี ม ๐๐ ๐ ๕๑ ๑ ผา่ น ๕๖ ๑.๕ ดี ๕๒ ๑ ผา่ น ๕๓ ๑ ผา่ น ๕๓ ๑ ผา่ น ๕๗ ๑.๕ ดี ๖๕ ๒.๕ ดีเยีย่ ม ๖๕ ๒.๕ ดีเยี่ยม ๕๕ ๑.๕ ดี ๖๐ ๒ ดีเย่ียม ๖๐ ๒ ดีเยย่ี ม ๖๐ ๒ ดเี ยี่ยม

จากตารางที่ ๑๑ สรุปผลการเรียนกลุ่มสาระการเรียนรู้ภาษาต่างประเทศ(ภาษาอังกฤษ) ของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ ๒/๓ จากจำนวนนักเรียนทั้งหมด ๔๑ คน เข้าสอบ ๓๑ คน มีคะแนน รวมทั้งหมด ๑๗๓๓ คะแนน ผลการเรียนเฉลี่ยคิดเป็นร้อยละ ๕๕.๙๐ ผลการประเมินคุณลักษณะอันพึง ประสงค์ อยู่ในระดบั ดเี ยีย่ ม ๑๒ คน คดิ เปน็ ร้อยละ ๒๙.๒๖ ระดับดี ๗ คน คิดเปน็ ร้อยละ ๑๗.๐๗ ระดับ ผ่าน จำนวน ๑๒ คน คิดเป็นร้อยละ ๒๙.๒๖ ผลการประเมินการอ่าน คิดวิเคราะห์และเขียนอยู่ในระดับ ดีเยี่ยม ๓ คน คิดเป็นร้อยละ ๗.๓๒ ระดับดี ๑๕ คน คิดเป็นร้อยละ ๓๖.๕๘ ระดับผ่าน จำนวน ๑๓ คน คิดเป็นรอ้ ยละ ๓๑.๗๑ หมายเหตุ นักเรียนอีก ๑๐ คน ที่ผลการประเมินทุกรายการเป็น ๐ เนื่องด้วย เป็นนักเรียนที่ขาด เรยี นประจำจงึ ไมม่ ีคะแนนใดๆปรากฏ คดิ เปน็ รอ้ ยละ ๒๔.๓๙ การจดั กล่มุ นกั เรยี นเพ่ือการพัฒนากลุ่มสาระการเรียนรู้ภาษาต่างประเทศ(ภาษาองั กฤษ) ในการจัดกิจกรรมการเรียนการสอนให้แก่นักเรียน เพื่อให้เกิดการเรียนรู้ได้ตามศักยภาพ ของ ผู้เรียน ซึ่งมีความแตกต่างกัน ครูผู้สอนจึงจำเป็นต้องรู้จักนักเรียนของตนเอง เพื่อทำการพัฒนาส่งเสริม และช่วยเหลือ ให้ผู้เรียนเกิดการเรียนรู้ได้ตามศักยภาพ การจัดกลุ่มผู้เรียนเป็นวิธีหนึ่ง ที่สามารถนำมา พัฒนาผเู้ รียนและจัดการเรยี นรู้ให้แก่นกั เรียนไดอ้ ยา่ งเหมาะสม ดังนั้นในฐานะท่ีเปน็ ครผู สู้ อนกลุม่ สาระการเรียนรูภ้ าษาตา่ งประเทศ(ภาษาอังกฤษ) ของนกั เรียนช้ัน มัธยมศึกษาปีท่ี ๒/๓ จึงได้ทำการจัดกลุ่มผูเ้ รียนเป็น ๓ กลุ่ม โดยนำผลการเรียนเป็นเครื่องมอื ในการจัด กลุ่ม เพื่อเป็นพื้นฐานข้อมูลในการนำไปพัฒนาผู้เรียนและจัดกิจกรรมการเรียนการสอนให้เหมาะสมกับ ผู้เรยี นตอ่ ไป ตาราง ๑๒ แสดงการจดั กลุ่มผเู้ รยี นเพอื่ พัฒนากลุม่ สาระการเรยี นรู้ภาษาตา่ งประเทศ(ภาษาองั กฤษ) ของนักเรยี นช้ันมธั ยมศึกษาปที ่ี ๒/๕ กลุ่มพัฒนา กลุ่มกำลงั พัฒนา กลุ่มเรง่ พัฒนา ( ระดับผลการเรยี น ๔, ๓.๕, ๓ ) ( ระดบั ผลการเรียน ๒.๕ , ๒) ( ระดับผลการเรียน ๑.๕ , ๑ ) เด็กชายอาลี ยีระกูดา ๑. เดก็ ชายอารีฟีน มะดาโอะ้ ๑.เดก็ ชายมฮู ัมหมดั ซเู ฟียน เจ๊ะและ๊ ๒. เด็กชายมูฮัมหมัดฟายรลุ โซมา ๒.เดก็ ชายมะอาริจญ์ มะหเิ ละ ๓. เดก็ ชายอาหามะ มะลาเว็ง ๓.เดก็ ชายรุลไฮกา มะสลี ะ ๔. เด็กชายมฮู ัมหมดั ซูโก มะ ๔.เดก็ ชายฟติ รี มะกะนิ ๕. เด็กหญงิ ฮาซือนา เจ๊ะแล ๕.เด็กชายแวรดิ วาน กูรุง ๖. เดก็ หญงิ ซารหี ม๊ะ ยาแม ๖.เดก็ ชายฮานาฟี เจะและ ๗. เด็กหญิงซูไวบะห์ บาบาที ๗.เด็กชายนอิ สิ มาแอ สมบูรณ์ ๘. เดก็ หญิงรอฮานา มะมิง ๘.เดก็ ชายฟาริต ยาพา

กล่มุ พฒั นา กลมุ่ กำลังพัฒนา กลุม่ เร่งพัฒนา ( ระดับผลการเรียน ๔, ๓.๕, ๓ ) ( ระดบั ผลการเรยี น ๑.๕ , ๑ ) ( ระดับผลการเรยี น ๒.๕ , ๒) ๙.เด็กชายอบั ดุลบาเซร หะสีแม ๙. เด็กหญิงนูรูลฮูดา เตะแต ๑๐.เด็กชายอารมนั กามานะไท ๑๐. เด็กหญิงโซฟา ซุหะแล ๑๑. เด็กชายรีซวู ัน อาแว เดก็ หญงิ นรุ ฟติ รี สาเหาะ ๑๒.เดก็ หญิงโซรายา เจ๊ะนง ๑๓. เดก็ หญงิ บรั กสิ ต์ โดตะเซะ ๑๔. เด็กหญิงซูมัยยะ๊ เรืองประดิษฐ์ ๑๕. เดก็ หญงิ มารีซาร์ แวกาจิ ๑๖. เด็กหญิงซาลีฟะ๊ สะมะแอ ๑๗. เดก็ หญิงโซเฟยี ลีมาดาอิ ๑๘. เดก็ หญิงอาลีสา มะสีละ ๑๙. เดก็ หญิงนรุ ฟารยี า อาแซ นกั เรยี นที่ขาดประจำ ๑. เด็กชายมุสตากิม วาหะ ๒. เดก็ ชายฮาซัน โดซอมิ ๓. เด็กชายอับดลุ นลิ ี ดะเซะ ๔. เดก็ ชายฮาซานันท์ มะแซ ๕. เดก็ ชายมารูวนั เปาะหารง ๖. เด็กชายมฮู ัมหมัดอาลีฟ วาเต๊ะ ๗. เด็กชายนิฟิฏตรี เจ๊ะซอ ๘. เด็กชายมสู ตากิม แน ๙. เดก็ ชายมูฮัมหมดั สกุ รี เจ๊ะเงาะ ๑๐. เดก็ หญิงอานสี พดุ ารอ จากตาราง ๑๒ จำนวนนักเรยี นท่อี ยใู่ น จำนวน ๑ คน คิดเป็นร้อยละ ๒.๔๓ กลมุ่ พัฒนาคือระดับผลการเรียน ๔ , ๓.๕ , ๓ จำนวน ๑๑ คน คดิ เปน็ ร้อยละ ๒๖.๘๓ กลมุ่ กำลงั พัฒนาคือระดับผลการเรยี น ๒.๕ , ๒ จำนวน ๒๙ คน คิดเป็นร้อยละ ๗๐.๗๓ กลมุ่ เร่งพฒั นา คอื ระดบั ผลการเรยี น ๑.๕, ๑

ผลการดำเนนิ งานการจดั กจิ กรรมการเรียนการสอนประจำปีการศกึ ษา ๒๕๖๕ สรุปผลการเรยี นประจำปกี ารศกึ ษา ๒๕๖๕ สรุปผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ ๑ และชั้นมัธยมศึกษาปีที่ ๒ ปีการศึกษา ๒๕๖๕ โดยสรุปเป็นตารางแสดงผลการเรียน แสดงระดับผลการเรียน คุณลักษณะอันพึง ประสงค์ และการประเมินผลการอ่าน เขียนและการคิดวิเคราะห์ รายสาระการเรียนรู้ในภาพรวมของ ห้องเรียน คิดเป็นร้อยละของผลการเรียนและคิดเป็นร้อยละของจำนวนนักเรียนในภาพรวม จากจำนวน นกั เรียนที่ผ่านการประเมนิ ผลการเรยี นปลายภาคเรยี น โดยแสดงตารางดงั นี้ ตาราง ๑๓ แสดงผลการเรยี นรายสาระการเรยี นรู้ ผลสมั ฤทธ์ิทางการเรียนกลุ่มสาระการเรียนรูภ้ าษาต่างประเทศ(ภาษาองั กฤษ) นกั เรยี นชน้ั มธั ยมศกึ ษาปที ี่ ๑ และ ชนั้ มธั ยมศึกษาปีท่ี ๒ ปกี ารศกึ ษา ๒๕๖๕ ชน้ั คะแนนรวม คะแนนเฉลี่ย มัธยมศกึ ษาปีที่ ๑ / ๔ ๒๓๑๗ ๕๙.๔๑ มธั ยมศึกษาปที ่ี ๑ / ๕ ๒๐๒๗ ๕๐.๖๗ มธั ยมศึกษาปีที่ ๑ / ๖ ๑๗๐๗ ๕๔.๗๗ ๖๐๕๔ ๑๖๔.๘๕ รวม ๒๐๑๘ ๕๔.๙๕ เฉลยี่ ๒๓๐๙ ๖๒.๔๑ มัธยมศึกษาปีท่ี ๒/๑ ๑๙๙๓ ๖๐.๓๙ มัธยมศึกษาปที ่ี ๒/๒ ๑๗๓๓ ๕๕.๙๐ มัธยมศกึ ษาปีที่ ๒/๓ ๖๐๓๕ ๑๗๘.๗๐ รวม ๒๐๑๒ ๕๙.๕๖ เฉล่ยี จากตาราง ๑๓ คะแนนสรปุ ได้วา่ นกั เรยี นช้นั มัธยมศกึ ษาปที ี่ ๑ / ๔ มคี ะแนนรวม ๒,๓๑๗ คะแนนและคิดเฉลีย่ ได้ ๕๙.๔๑ ซง่ึ ตำ่ กวา่ เปา้ ทว่ี างไวค้ ือร้อยละ ๖๐ อยู่ ๐.๕๙ นักเรียนชนั้ มธั ยมศกึ ษาปที ่ี ๑ / ๕ มีคะแนนรวม ๒,๐๒๗ คะแนนและคิดเฉลย่ี ได้ ๕๐.๖๗ ซง่ึ ตำ่ กวา่ เปา้ ทว่ี างไว้คือร้อยละ ๖๐ อยู่ ๙.๓๓ นักเรยี นชน้ั มธั ยมศกึ ษาปที ี่ ๑ / ๖ มีคะแนนรวม ๑,๗๐๗ คะแนนและคดิ เฉลี่ยได้ ๕๔.๗๗ ซง่ึ ตำ่ กวา่ เป้าทว่ี างไวค้ ือรอ้ ยละ ๖๐ อยู่ ๕.๒๓ นกั เรียนช้นั มัธยมศกึ ษาปีที่ ๒ / ๑ มคี ะแนนรวม ๒,๓๐๙ คะแนนและคิดเฉลย่ี ได้ ๖๒.๔๑ ซง่ึ สูงกว่าเป้าท่วี างไวค้ ือร้อยละ ๖๐ อยู่ ๒.๔๑ นกั เรยี นชน้ั มัธยมศึกษาปีท่ี ๒ / ๒ มคี ะแนนรวม ๑,๙๙๓ คะแนนและคดิ เฉลย่ี ได้ ๖๐.๓๙ ซง่ึ สงู กวา่ เป้าท่ีวางไวค้ ือร้อยละ ๖๐ อยู่ ๐.๓๙ กเรียนช้นั มัธยมศึกษาปที ี่ ๒ / ๓ มคี ะแนนรวม ๑,๗๓๓ คะแนนและคิดเฉลยี่ ได้ ๕๕.๙๐

ซง่ึ ตำ่ กวา่ เป้าทว่ี างไวค้ ือรอ้ ยละ ๖๐ อยู่ ๔.๑๐ ตาราง ๑๔ สรปุ ระดบั ผลการเรยี นกลุ่มสาระการเรียนรู้ภาษาตา่ งประเทศ(ภาษาอังกฤษ) นักเรยี นช้ันมธั ยมศึกษาปีท่ี ๑ และชั้นมธั ยมศึกษาปีท่ี ๒ ปกี ารศกึ ษา ๒๕๖๕ ชนั้ / ร ๐ ๑ ๑.๕ ๒ ๒.๕ ๓ ๓.๕ ๔ รวม ระดับ (คน) ม.๑/๔ ๘ ๔ ๒ ๕ ๓ ๑ ๕ ๑๑ ๓๙ ม.๑/๕ ๑๑ ๘ ๙ ๓ ๓ ๓ ๑ ๒ ๔๑ ม.๑/๖ ๑๒ ๙ ๓ ๔ - ๒ ๓ ๔ ๓๗ รวม ๓๑ ๒๑ ๑๔ ๑๒ ๖ ๖ ๘ ๑๗ ๑๑๗ รอ้ ยละ ๒๖.๔๙ ๑๗.๙๔ ๑๑.๙๖ ๑๐.๒๖ ๕.๑๒ ๕.๑๒ ๖.๘๓ ๑๔.๕๒ ม.๒/๑ ๔ ๒๐ ๒ ๒ ๒ ๒ ๑ ๘ ๔๑ ม.๒/๒ ๗ ๒๓ - ๓ ๑ - ๒ ๔ ๔๐ ม.๒/๓ ๘ ๑๓ ๖ ๙ ๒ - ๑ - ๓๙ รวม ๑๙ ๕๖ ๘ ๑๔ ๕ ๒ ๔ ๑๒ ๑๒๐ รอ้ ยละ ๑๕.๘๓ ๔๖.๖๖ ๖.๖๖ ๑๑.๖๖ ๔.๑๖ ๑.๖๖ ๓.๓๓ ๑๐ จากตาราง ๑๔ แสดงระดบั ผลการเรยี นของนักเรียน สรุปไดว้ า่ นักเรียนชน้ั มัธยมศกึ ษาปีที่ ๑ มี ระดับผลการเรยี น ๔ มนี กั เรยี นได้ทง้ั หมดจำนวน ๑๗ คน คดิ เปน็ ร้อยละ ๑๔.๕๒ ระดับผลการเรยี น ๓.๕ มีนกั เรียนได้ทง้ั หมดจำนวน ๘ คน คดิ เปน็ ร้อยละ ๖.๘๓ ระดับผลการเรยี น ๓ มนี ักเรียนได้ทงั้ หมดจำนวน ๖ คน คดิ เปน็ ร้อยละ ๕.๑๒ ระดบั ผลการเรียน ๒.๕ มีนกั เรียนได้ทั้งหมดจำนวน ๖ คน คิดเปน็ รอ้ ยละ ๕.๑๒ ระดับผลการเรียน ๒ มนี ักเรยี นได้ทั้งหมดจำนวน ๑๒ คน คดิ เป็นรอ้ ยละ ๑๐.๒๖ ระดับผลการเรียน ๑.๕ มีนกั เรียนได้ทง้ั หมดจำนวน ๑๔ คน คดิ เปน็ รอ้ ยละ ๑๑.๙๖ ระดบั ผลการเรียน ๑ มีนักเรียนได้ทง้ั หมดจำนวน ๒๑ คน คดิ เป็นร้อยละ ๑๗.๙๔ ระดบั ผลการเรยี น ๐ มนี กั เรียนได้ทั้งหมดจำนวน ๓๑ คน คดิ เป็นร้อยละ ๒๖.๔๙ นักเรียนกลุม่ นค้ี ือนักเรียนทีข่ าดเรยี นเป็นประจำทำให้ปรากฏผลการเรียนเปน็ ศนู ย์ นกั เรยี นชัน้ มธั ยมศกึ ษาปีท่ี ๒ มี ระดบั ผลการเรยี น ๔ มนี ักเรยี นได้ทั้งหมดจำนวน ๑๒ คน คดิ เป็นร้อยละ ๑๐.๐๐ ระดบั ผลการเรียน ๓.๕ มนี กั เรียนได้ทง้ั หมดจำนวน ๔ คน คิดเป็น รอ้ ยละ ๓.๓๓ ระดับผลการเรยี น ๓ มนี ักเรียนได้ท้ังหมดจำนวน ๒ คน คดิ เปน็ ร้อยละ ๑.๖๖ ระดบั ผลการเรียน ๒.๕ มนี กั เรียนได้ทั้งหมดจำนวน ๕ คน คิดเป็นร้อยละ ๕’๒๙ ระดบั ผลการเรียน ๒ มีนกั เรียนได้ทั้งหมดจำนวน ๑๔ คน คิดเป็นรอ้ ยละ ๑๑.๖๖ ระดบั ผลการเรียน ๑.๕ มนี ักเรยี นได้ทั้งหมดจำนว ๘ คน คิดเปน็ ร้อยละ ๖.๖๖

ระดับผลการเรยี น ๑ มนี กั เรยี นได้ทง้ั หมดจำนวน ๕๖ คน คดิ เป็นรอ้ ยละ ๔๖.๖๖ ระดบั ผลการเรยี น ๐ มีนักเรยี นได้ทั้งหมดจำนวน ๑๙ คน คิดเป็นร้อยละ ๑๕.๘๓ นักเรยี นกลมุ่ นคี้ ือนกั เรยี นทข่ี าดเรียนเปน็ ประจำทำใหป้ รากฏผลการเรียนเป็นศนู ย์ ตาราง ๑๕ สรุปผลการประเมนิ คณุ ลกั ษณะอนั พึงประสงคก์ ลุม่ สาระการเรียนรภู้ าษาต่างประเทศ (ภาษาอังกฤษ) ชัน้ นกั เรยี น ดีเยีย่ ม ดี ผา่ น ไมผ่ า่ น มธั ยมศึกษาปที ี่ ๑ / ๔ ๓๙ ๒๘ ๗ -๔ มัธยมศึกษาปีที่ ๑ / ๕ ๔๑ ๒๖ ๑๔ ๑ - มธั ยมศึกษาปีที่ ๑ / ๖ ๔๐ ๑๔ ๒๕ ๑ - รวม ๑๒๐ ๖๘ ๓๖ ๒ ๔ เฉล่ยี ๔๐ ๒๒.๖๗ ๑๕.๓๓ ๐.๖๖ ๑.๓๓ ชั้น นักเรียน ดเี ยย่ี ม ดี ผ่าน ไมผ่ า่ น มธั ยมศกึ ษาปีที่ ๒ / ๑ ๔๑ ๒๐ ๑๗ - ๔ มัธยมศกึ ษาปีท่ี ๒ / ๒ ๔๐ ๑๕ ๘ ๑๐ ๗ มัธยมศกึ ษาปีท่ี ๒ / ๓ ๔๑ ๓ ๒๐ ๘ ๑๐ รวม ๑๒๒ ๓๘ ๔๕ ๑๘ ๒๑ เฉล่ยี ๔๐.๖๗ ๑๒.๖๗ ๑๕ ๖๗ จากตาราง ๑๕ แสดงผลคุณลกั ษณะอนั พงึ ประสงค์ สรุปไดว้ ่า ชัน้ มธั ยมศกึ ษาปที ่ี ๑ นักเรียนทผี่ ่านอยู่ในระดบั เยี่ยม มจี ำนวนท้ังส้ิน ๖๘ คน คดิ เป็นรอ้ ยละ ๒๒.๖๖ นกั เรียนทผ่ี ่านอยใู่ นระดบั ดี มีจำนวน ๓๖ คน คดิ เป็นรอ้ ยละ ๑๕.๓๓ นักเรียนทผ่ี า่ นอยใู่ นระดบั ผ่าน มจี ำนวน ๒ คน คดิ เป็นร้อยละ ๐.๖๖ นกั เรียนที่ผา่ นอยูใ่ นระดับ ไม่ผ่าน มีจำนวน ๔ คน คิดเปน็ รอ้ ยละ ๑.๓๓ ชัน้ มัธยมศึกษาปีที่ ๒ คดิ เป็นร้อยละ ๑๒.๖๗ นกั เรียนทผ่ี ่านอยูใ่ นระดับเย่ยี ม มจี ำนวนทงั้ สิ้น ๓๘ คน คิดเป็นรอ้ ยละ ๑๕.๐๐ นกั เรียนทผ่ี ่านอยู่ในระดบั ดี มจี ำนวน ๔๕ คน คิดเปน็ รอ้ ยละ ๖.๐๐ นกั เรียนที่ผ่านอยใู่ นระดับ ผา่ น มจี ำนวน ๑๘ คน คิดเป็นร้อยละ ๗.๐๐ นักเรียนทผ่ี ่านอยใู่ นระดับ ไม่ผ่าน มีจำนวน ๒๑ คน

ตาราง ๑๖ สรุปผลการประเมินการอ่าน เขียน คิด วเิ คราะห์ กลุ่มสาระการเรียนรภู้ าษาต่างประเทศ (ภาษาองั กฤษ) ช้ัน นักเรยี น ดเี ยี่ยม ดี ผา่ น ไมผ่ ่าน มธั ยมศึกษาปีท่ี ๑ / ๔ ๓๙ ๑๖ ๑๑ ๖ ๔ มัธยมศกึ ษาปที ่ี ๑ / ๕ ๔๑ ๖ ๒๓ ๕ ๗ มัธยมศึกษาปที ่ี ๑ / ๖ ๔๐ ๙ ๑๑ ๑๒ ๘ ๑๒๐ ๓๑ ๔๕ ๒๓ ๑๙ รวม ๔๐ ๒๕.๘๓ ๓๗.๕๐ ๑๙.๑๗ เฉลี่ย ดเี ยย่ี ม ดี ผา่ น ๑๕.๘๓ ช้นั นกั เรยี น ๑๒ ๑๓ ๑๒ ไม่ผ่าน มธั ยมศึกษาปีที่ ๒ / ๑ ๔๑ ๑๒ ๙ ๑๒ มธั ยมศกึ ษาปที ่ี ๒ / ๒ ๔๐ ๓ ๑๕ ๑๓ ๕ มัธยมศึกษาปที ่ี ๒ / ๓ ๔๑ ๒๗ ๓๗ ๓๗ ๘ รวม ๑๒๒ ๒๒.๑๓ ๓๐.๓๓ ๓๐.๒๓ ๑๐ เฉลยี่ ๒๓ ๔๐.๖๗ ๑๘.๘๕ จากตาราง ๑๖ แสดงผลคณุ ลักษณะอนั พงึ ประสงค์ สรปุ ได้ว่า ชั้นนมัธยมศกึ ษาปีท่ี ๑ นกั เรียนที่ผา่ นอยู่ในระดับเยย่ี ม มจี ำนวนท้งั สิน้ ๓๑ คน คดิ เป็นรอ้ ยละ ๒๕.๘๓ นกั เรียนทีผ่ า่ นอยู่ในระดบั ดี มีจำนวน ๔๕ คน คิดเป็นร้อยละ ๓๗.๕๐ นักเรียนที่ผ่านอยู่ในระดับ ผา่ น มีจำนวน ๒๓ คน คดิ เปน็ รอ้ ยละ ๑๙.๑๗ นักเรียนที่ผา่ นอยู่ในระดบั ไม่ผ่าน มจี ำนวน ๑๙ คน คดิ เปน็ ร้อยละ ๑๕.๘๓ ชัน้ มัธยมศึกษาปีที่ ๒ นกั เรยี นที่ผ่านอยู่ในระดับเย่ยี ม มีจำนวนทั้งสน้ิ ๒๗ คน คิดเป็นร้อยละ ๒๒.๑๓ นักเรียนที่ผา่ นอยู่ในระดับ ดี มีจำนวน ๓๗ คน คดิ เปน็ ร้อยละ ๓๐.๓๓ นักเรยี นที่ผา่ นอยู่ในระดับ ผา่ น มีจำนวน ๓๗ คน คดิ เป็นร้อยละ ๓๐.๓๓ นกั เรยี นที่ผา่ นอยู่ในระดบั ไม่ผ่าน มีจำนวน ๒๓ คน คิดเป็นร้อยละ ๑๘.๘๕

บทที่ ๕ บทสรปุ การอภปิ รายผลและขอ้ เสนอแนะ จากการดำเนนิ งานการจดั กิจกรรมการเรียนการสอนในปีการศึกษา ๒๕๖๔ นกั เรียนชัน้ มัธยมศกึ ษา ปที ี่ ๑ จำนวน ๓ หอ้ งเรยี น มนี กั เรียน ทั้งส้ิน ๑๒๐ คน ช้นั มัธยมศกึ ษาปีท่ี ๒ ทั้งหมด ๓ หอ้ งเรยี น จำนวน ๑๒๒ คน มีพฒั นาการทางด้านสตปิ ัญญา อารมณ์ จิตใจ สงั คม และรา่ งกายอยู่ในเกณฑด์ ี กล่าวคอื มี ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนในกลุ่มสาระการเรียนรู้ภาษาต่างประเทศ(ภาษาอังกฤษ) อยู่ในระดับน่าพอใจเป็น ส่วนมาก นักเรียนทุกคนสามารถทำงานร่วมกับผู้อื่นได้ดี มีคุณธรรมจริยธรรมท่ีเหมาะสม มีโอกาสใช้ ความคิดสร้างสรรค์ทางภาษาอย่างอิสระ รู้จักกระบวนการคิดและการเรียนรู้ของตนเอง เกิดความ ภาคภูมิใจในผลสำเร็จของการปฏิบัติกิจกรรม ตลอดจนรู้จักระวังรักษาความปลอดภัยทั้งของตนเองและ ผอู้ ื่น ได้เหมาะสมกบั วยั สำหรับนักเรียนที่มีผลการเรียนอยู่ในเกณฑ์ที่ไม่น่าพอใจ กล่าวคือนักเรียนที่จัดอยู่ในกลุ่มที่ ๓ เนื่องจากมีพัฒนาการทางด้านสติปัญญาค่อนข้างช้า ซึ่งข้าพเจ้าจะได้หาแนวทางในการพัฒนาร่วมกับ ครูผู้สอนในช่วงชั้นต่อไปเพื่อช่วยสร้างสรรค์ “กระบวนการเรียนรู้”ที่ดีและเหมาะสมกับยุคสมัยให้ผู้เรียน โดยตระหนักในเรื่อง “ปฏิรูปตนเอง”ทั้งในด้านความคิด จิตสำนึก พฤติกรรม ตลอดจนโลกทัศน์ใหม่ เกี่ยวกับการ “สอนหนังสือ” ที่เน้นให้ผู้เรียนรู้จักตั้งคำถาม หาคำตอบคิดวิเคราะห์และตัดสินใจด้วย ตนเอง กล่าวคือ สอนใหร้ ู้ “วธิ กี ารเรยี นรู้”กบั ผู้เรยี น จากการจัดกิจกรรมการเรียนการสอนและดำเนินการวัดผลประเมินผลทางการเรียนนักเรียนช้ัน มธั ยมศึกษาปที ่ี ๑ และนกั เรยี นช้ันมัธยมศกึ ษาปีที่ ๒ ในปกี ารศกึ ษา ๒๕๖๕ พบวา่ นักเรยี นมรี ะดบั ผลการ เรียนไม่น่าเป็นที่น่าพอใจ ทุกชั้นเรียนโดยมีคะแนนรวม ๑๒,๐๘๙ คะแนน คิดเป็นคะแนนเฉลี่ยร้อยละ ๔๙.๙๕ ทั้งนี้เป็นเพราะว่าในการจัดกิจกรรมการเรียนการสอนนักเรียนขาดเรียนบ่อย ทำให้ขาดความ ต่อเนื่องในการจัดการเรียนรู้ ส่วนตัวครูผู้สอนมีภาระงานที่ทำให้ไม่สามารถเข้าสอนตามชั่วโมงสอน แก้ปัญหาโดยการฝากงานและแบบฝึกหัดให้นักเรียนกลับไปทบทวนและทำงานที่ค้างมาส่งในชั่วโมงถัดไป แต่นักเรียนขาดความรับผิดชอบ และที่สำคัญอย่างยิ่งโดยธรรมชาติวิชา วิชาภาษาอังกฤษเป็นวิชาที่ยาก สำหรับนักเรยี นทำให้นักเรยี นไม่สามารถทำแบบฝึกหัดได้ด้วยตนเอง ผู้ปกครองไม่สามารถสอนหรือแนะนำ นกั เรียนได้ ย่งิ ทำให้เกดิ ปัญหากับตวั ผู้เรยี นเน้นผเู้ รยี นซำ้ อีก

ข้อเสนอแนะในการพฒั นาการเรียนการสอน 1. สนับสนุนปฏิสัมพันธ์ระหว่างผู้เรียนกับผู้เรียน และผู้เรียนกับผู้สอน มีลักษณะเป็น กัลยาณมติ ร ช่วยเหลอื เกอื้ กูลซง่ึ กันและกัน โดยจัดห้องเรยี นเป็นแบบกลุ่มและคละนักเรียน รวมท้ังมีการ เสรมิ แรงและนันทนาการตามความเหมาะสม 2. จัดแหล่งเรียนรู้ที่หลากหลายและเพียงพอที่จะให้ผู้เรียนได้ใช้เป็นแหล่งค้นคว้าความรู้ ความถนัดและความสนใจ 3. สร้างโอกาสให้ผู้เรียนเกิดการเรียนรู้ด้วยวิธีการที่หลากหลายและต่อเนื่อง รวมทั้งมี กิจกรรมเสนอแนะใหเ้ ลือกใชเ้ หมาะสมกบั ธรรมชาติของกล่มุ ผ้เู รียน 4. ให้ความสนใจผเู้ รียนท่แี ตกตา่ งจากปกติในดา้ นความสามารถทางสตปิ ัญญา / อารมณ์ สังคม หรือความพร้อมทางรา่ งกาย โดยจัดกิจกรรมการเรยี นรู้ท่ีเหมาะสมให้ ทั้งกลุ่มปัญญาเลิศและกลมุ่ ทเี่ รียนรูช้ า้ 5. เชื่อมโยงสาระการเรียนรกู้ บั เหตกุ ารณ์และสงิ่ แวดลอ้ มรอบตวั ผ้เู รียน เพ่ือใหผ้ เู้ รียน สามารถนำไปประยุกต์ใช้ในชวี ิตประจำวนั ได้ 6. ส่งเสริมให้ผู้เรียนมีโอกาสคิด ทำ สร้างสรรค์ และมีส่วนร่วมในทุกขั้นตอนโดยครูผู้สอน ช่วยจดั บรรยากาศการเรยี นรู้ จัดส่อื อปุ กรณ์ แหลง่ เรยี นรู้ และสรปุ การเรียนรู้รว่ มกัน ๗. ส่งเสริมใหผ้ ู้เรยี นได้มีโอกาสเรยี นรู้ในหลายรปู แบบ

เอกสารอา้ งองิ กระทรวงศึกษาธกิ าร. สรา้ งเด็กไทยให้อ่านเก่ง อา่ นเร็ว. กรุงเทพฯ: โรงพิมพ์ สกสค. ลาดพร้าว. ๒๕๕๒ คณะกรรมการการศกึ ษาแหง่ ชาติ.ทฤษฎกี ารเรยี นรอู้ ย่างมีความสุข.กรุงเทพฯ: โรงพมิ พโ์ อเดยี นสแควร์, ๒๕๔๙. ชาตรี สำราญ. ครรู ู้ไดอ้ ย่างไรวา่ เด็กเกดิ การเรยี นรู้. กรุงเทพฯ: มูลนิธิสดศรี-สฤษดิว์ งศ.์ ๒๕๕๒. ทิศนา แขมมณี.ศาสตรก์ ารสอน องค์ความรูเ้ พอื่ การจัดระบบการเรียนรู้ท่ีมี ประสิทธิภาพ.พิมพ์ครัง้ ท่ี ๔. กรุงเทพฯ: ๒๕๔๘. มีนา.แนวคดิ ทฤษฏกี ารเรยี นภาษาองั กฤษ. http://site.google.com/site/creativeenglishbymeena/gramma วชิ าการ,กรม.แนวการจัดกิจกรรมเพ่ือเสรมิ สร้างคุณลกั ษณะดี เก่ง มสี ขุ . กรุงเทพฯ: โรงพิมพ์ศาสนา. ๒๕๔๒. สมบัติ การจนารกั ษ์พงศ์. นวตั กรรมการศึกษาชดุ ๒๙ เทคนิคการจดั กจิ กรรม การเรยี นร้ทู ่ีหลากหลาย การเรียนแบบรว่ มมอื . กรุงเทพฯ: บรษิ ทั สำนักพิมพธ์ ารอักษรจำกดั . ๒๕๕๐. อารีย์ พันธ์มณี. จติ วทิ ยาการเรียนการสอน.กรุงเทพฯ: บริษัทตน้ อ้อจำกดั . ๒๕๓๔. อารีย์ สัณหฉวี.พหปุ ัญญาและการเรยี นแบบร่วมมือ. กรุงเทพฯ: ๒๕๔๓. อารม์ สตรอง โธมสั .พหุปัญญาในหอ้ งเรียน: วธิ ีสอนเพื่อพฒั นาปัญญาหลายด้าน. อารยี ์ สนั หฉวี ผูแ้ ปล. กรงุ เทพฯ: ศนู ย์พัฒนาหนังสอื กรมวชิ าการ. ๒๕๔๓.

บันทกึ ข้อความ สว่ นราชการ โรงเรียนบา้ นตะโละหะลอ ท.่ี ........../................... วนั ที่ ๓๐ มีนาคม ๒๕๖๕ เรือ่ ง รายงานผลสัมฤทธิท์ างการเรยี นกลมุ่ สาระการเรยี นรู้ภาษาตา่ งประเทศ(ภาษาอังกฤษ) นักเรยี นชัน้ มัธยมศกึ ษาปที ่ี ๑ และช้นั มธั ยมศกึ ษาปีที่ ๒ ปกี ารศึกษา ๒๕๖๕ เรยี น ผูอ้ ำนวยการโรงเรยี นบ้านตะโละหะลอ สืบเนื่องจากข้าพเจ้านางมัสก๊ะ สงสุรินทร์ ตำแหน่งครู วิทยฐานะ ครูชำนาญการพิเศษโรงเรียน บ้านตะโละหะลอ ได้รับมอบหมายจาก ผู้อำนวยการโรงเรียนบ้านตะโละหะลอ ตามคำสั่งเรื่องการจัด ชั้นเรียน ปีการศึกษา ๒๕๖๕ ให้รับผิดชอบหน้าที่เป็นครูผู้สอนกลุ่มสาระการเรียนรู้ภาษาต่างประเทศ (ภาษาอังกฤษ) นักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ ๑ จำนวน ๓ ห้องเรียน มีนักเรียนจำนวน ๑๒๐ คน ชั้นมธั ยมศึกษาปีที่ ๒ ปีการศึกษา ๒๕๖๔๕ จำนวนทงั้ สิน้ ๓ ห้องเรียน จำนวนนกั เรียน ๑๒๒ คน น้นั บัดนี้ภาระหน้าที่ที่ได้รับมอบหมายได้สำเร็จลงแล้วจึงขอสรุปผลผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน กล่มุ สาระการเรียนรู้ภาษาต่างประเทศ (ภาษาอังกฤษ) นกั เรยี นชนั้ มธั ยมศึกษาปที ี่ ๑ และชั้นมัธยมศึกษาปี ที่ ๒ ปกี ารศึกษา ๒๕๖๕ โดยแบง่ เปน็ คะแนนเฉลยี่ ระดบั ผลการเรียน ตวั ช้ีวัด คุณลกั ษณะอนั พึงประสงค์ และการประเมินด้านการอ่าน เขียนและคิดวิเคราะห์ ตามรายงานผลการจัดการเรียนการสอนตามข้อมูลที่ สรุปแนบ จึงเรยี นมาเพ่ือทราบ (ลงช่อื ) (นางมัสก๊ะ สงสุรนิ ทร์) ครู โรงเรยี นบ้านตะโละหะลอ  ทราบ ขอ้ เสนอแนะผ้บู รหิ าร ......................................................................................................................................................................... ............................................................................................................................. ............................................ ........................................................................................................................ ................................................. ลงชื่อ (นางรอยทรง การีอุมา) ผู้อำนวยการโรงเรยี นบ้านตะโละหะลอ

ภาคผนวก

การใชส้ อ่ื การจดั การเรยี นการสอนประกอบการสอนเรอื่ ง Question word M ๒ ๘ มิถนุ ายน ๒๕๖๕ การทดสอบประโยคคำถาม - ตอบ question word โดยการจบั คปู่ ระโยคจากแถบประโยค โดยสามารถเลอื กสอบแบบรายบุคคล รายคู่ หรอื รายกลุ่มตามความสมัครใจ

ทัศนศึกษา ณ โครงการพฒั นาและศูนย์ฟ้นื ฟปู า่ ชายเลน เขาหวั แกว้ สิงหนคร สงขลา วันท่ี ๒ สงิ หาคม ๒๕๖๕ การบูรณาการการสอนคำศพั ท์สิง่ แวดลอ้ มรอบตวั กบั การทัศนศกึ ษา โดยให้นกั เรียนบันทึกคำศัพท์ หรอื กจิ กรรมทีน่ กั เรียนสนใจรวมไปถงึ การสนทนางา่ ยๆในการถามตอบเกย่ี วกับส่ิงทน่ี กั เรียนพบเจอ

นำนกั เรยี นทำแบบทดสอบวัดแววความสามารถ ณ ห้อง USOR Net ๑๗ สิงหาคม ๒๕๖๕ นกั เรยี นไดท้ ำแบบทดสอบความสามารถทตี่ นเองสนใจหรอื มคี วามถนัด ทั้งทางดา้ นทักษะ ภาษา ศลิ ป์ เพ่อื ใหน้ ักเรียนคน้ พบตนเอง

นำนักเรียนเข้ารว่ มแขง่ ขนั กิจกรรมมหกรรมวิชาการ ชายแดนใต้ระดับเขตพ้ืนทีก่ ารศึกษาประถมศึกษายะลาเขต ๑ ๓๑ สิงหาคม ๒๕๖๕ สง่ นักเรียนเขา้ ร่วมประกวดกิจกรรมรอ้ งเพลงสากลหญิง ระดับมัธยมศึกษา ผลการประกวด รองชนะเลศิ อนั ดบั เงนิ รางวลั เหรยี ญทอง ด.ญ.อาดาวยี ะห์ สายอ

กิจกรรมตลาดนดั วชิ การ ตลาดไอเดยี ระดบั มธั ยมศกึ ษา ๘ กันยายน ๒๕๖๕ สนบั สนุนนักเรยี นใหก้ ลา้ แสดงออกในการใช้ความรู้ ภาษาท่ีเรียนมาในหอ้ งเรียน นักเรยี นที่มาร่วมกจิ กรรมมีทงั้ รอ้ งเพลง อานาซีด ท่องกลอน บทอาขยาน และอ่นื ๆ

รบั การนเิ ทศการตวิ โอเนต ๑๔ พฤศจิกายน ๒๕๖๕ รบั การนิเทศติดตามในระยะแรกของการติวโอเนตภายใต้นโยบาย +๕ จากท่าน ดร.อาดลุ ย์ พรมแสง ผู้อำนวยการสำนักงานเขตพ้ืนท่กี ารศึกษาประถมศึกษายะลาเขต ๑

กิจกรรมตวิ โอเนตนกั เรียนช้ันมัธยมศกึ ษาปีที่ ๓ ปีการศกึ ษา ๒๕๖๕ ต้งั แต่เดือนพฤศจิกายน ถึงเดือน กุมภาพนั ธ์ รบั หน้าที่ ตวิ วิชาภาษาอังกฤษช้นั มธั ยมศึกษาปที ี่ ๓/๑ ๓/๒ ๓/๓ และ ๓/๖

กิจกรรมการจดั การเรียนการสอนวิชาภาษาอังกฤษ ช้นั มธั ยมศกึ ษาปที ่ี ๑ ๑๖ ธนั วาคม ๒๕๖๕ present simple tense ใหน้ ักเรยี นสรปุ หลกั การเติม s es ในคำกรยิ าและทำเป็นแผนผงั ความรู้

กจิ กรรมการเรียนการสอน ในเรื่องวนั สำคญั ๒๗ ธันวาคม ๒๕๖๕ ให้นักเรยี นทำการด์ อวยพรในวันปีใหม่ หรือ คริตรส์ มาส โดยนกั เรียนสามารถเลือกทำได้ในรูปแบบทีน่ ักเรยี น ต้องการ จะเป็นแบบเดีย่ ว แบบกลุ่ม เพื่อให้นกั เรยี นไดเ้ รียนรเู้ ก่ียวกบั เทศกาลทส่ี ำคญั ของเจ้าของภาษา

กิจกรรมการจดั การเรยี นการสอน การทำ pop up looking good ๑๙ มกราคม ๒๕๖๖ ใหน้ กั เรยี น เรียนรู้การบรรยายลกั ษะบุคคลทั้งในเรือ่ งของการเขียน การลงมือทำ และการนำเสนอผลงาน

กจิ กรรมการจดั การเรียนการสอน วิชาภาษาอังกฤษ การสอนโดยใชส้ ื่อเทคโนโลยผี า่ น POWER POINT การใช้สีสนั เพอ่ื ชว่ ยเนน้ คำ เน้นข้อความ ทำให้นกั เรยี นสามารถเข้าใจและสนใจในเนอ้ื หามากข้ึน


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook