Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

1

Published by มยุรีย์ มาทะ, 2020-08-20 07:26:16

Description: 1

Keywords: math

Search

Read the Text Version

การเลือกหน่วยตวั อยา่ ง

การเลือกหน่วยตวั อย่าง การตดั สินใจที7จะใช้ข้อมลู ทงั> หมดที7เกี7ยวข้อง กบั ปรากฏการณ์ท7ีจะศึกษา หรือ ใช้ข้อมลู บางส่วนของปรากฏการณ์ท7ีจะศึกษา

ประชากรและกล่มุ ตวั อย่าง ประชากร(Population) คือ ชดุ ข้อมลู ทกุ หน่วยท7ีให้ข้อมลู ทงั> หมดที7เกี7ยวข้องกบั ปรากฏการณ์ท7ีต้องการจะศึกษา กล่มุ ตวั อย่าง (Sample) คือ ชดุ ข้อมลู ของหน่วยท7ีถกู เลือก เพื7อที7จะรวบรวมข้อมลู จากที7ต้องการจะศึกษา

ประชากร (Population) ประชากรท7ีมีจาํ นวนไม่จาํ กดั (Infinite population) Uncountable population ประชากรที7มีจาํ นวนจาํ กดั (Finite population) Countable population

จำนวนเคร่ืองบินของสายการบนิ ไทย จำนวนเม็ดทรายบนชายหาด จำนวนเส:นผมบนหวั จำนวนดวงดาวบนท:องฟา> นักเรียนในโรงเรียนหนงึ่ แหDง จำนวนเช้อื โรคในคนปวG ย

ข้อดี ข้อเสียของการเกบ็ ข้อมลู จากประชากรและกล่มุ ตวั อย่าง ข้อดี ข้อเสีย เกบ็ ข้อมลู จากประชากร 1. ได้ข้อมลู ครบถ้วน 1.เสียเวลาและค่าใช้จ่ายมาก จากทกุ หน่วย 2. ได้ผลการสาํ รวจช้า ไม่ทนั ต่อ ประชากร ความต้องการ 3.ปริมาณงานมาก ควบคมุ ได้ยาก

ข้อดี ข้อเสียของการเกบ็ ข้อมลู จากประชากรและกล่มุ ตวั อย่าง ข้อดี ข้อเสีย เกบ็ ข้อมลู จากกล่มุ ตวั อย่าง 1.ประหยดั เวลาและค่าใช้จ่าย 1.เกิดความคลาดเคลื7อนในการส่มุ 2.ได้ผลสาํ รวจเรว็ ตวั อย่าง 3.ข้อมลู ที7ได้จะมีคณุ ภาพดีกว่า 2.ถ้าขนาดกล่มุ ตวั อย่างน้อยเกินไปหรือ เน7ืองจากปริมาณงานน้อยกว่า วางแผนการส่มุ ตวั อย่างไม่ดี จะทาํ ให้ จึงสามารถควบคมุ และ ข้อมลู ตวั อย่างไม่มีความเป็นตวั ตรวจสอบความถกู ต้องได้อย่าง แทนท7ีดี ทวั7 ถึง

ลกั ษณะกล่มุ ตวั อย่างที7ดี v เป็นตวั แทนที7ดีของกล่มุ ประชากร (Representative) ต้องจาํ ลองลกั ษณะท7ีสาํ คญั ๆท7ีเกี7ยวกบั ตวั แปรท7ีจะศึกษาของ ประชากรอย่างครบถ้วน v มีขนาดพอเหมาะ (Optimal size) ขนาดของกล่มุ ตวั อย่างต้องมีขนาดเหมาะสม สามารถสรปุ อ้างอิงถึงกล่มุ ประชากรได้อย่างแม่นยาํ

เทคนิคการส่มุ กล่มุ ตวั อย่าง จาํ แนกเป็น 2 ประเภทใหญ่ 1. การส่มุ กล่มุ ตวั อย่างโดยไม่อาศยั ความน่าจะเป็น (Nonprobability Sampling) 2. การส่มุ กล่มุ ตวั อย่างโดยอาศยั ความน่าจะเป็น (Probability Sampling)

การส่มุ กล่มุ ตวั อย่างโดยไม่อาศยั ความ น่าจะเป็น (Nonprobability sampling) การส่มุ โดยบงั เอิญ (Accidental sampling) การเลือกแบบเจาะจง (Purposive Sampling) การส่มุ ตามสะดวก (Convenience Sampling) การส่มุ แบบก้อนหิมะ (Snowball Sampling) การส่มุ แบบกาํ หนดโควต้า (Quota Sampling)

การส่มุ กล่มุ ตวั อย่างโดยอาศยั ความน่าจะเป็น (Probability sampling) 1. การส่มุ อย่างง่าย(simple random sampling) การส่มุ ตวั อย่างท7ีเปิ ดโอกาสให้ประชากรทกุ หน่วยมีสิทธxิได้รบั เลือกเท่าๆกนั โดยใช้วิธีการ - จบั สลาก - ตารางเลขส่มุ - โปรแกรมคอมพิวเตอร์



2. การส่มุ อย่างเป็นระบบ (Systematic Sampling) เป็นการส่มุ ตวั อย่างเป็นช่วงๆ โดยมีบญั ชีรายชื7อของ ประชากรทกุ หน่วย ขนั> ตอนการส่มุ กล่มุ ตวั อย่าง 1.ทาํ บญั ชีรายชื7อของสมาชิกทกุ หน่วยในประชากร 2.หาช่วงของการส่มุ (k) N คือ ประชากรทงั> หมด k =N n n คือ ขนาดของกล่มุ ตวั อย่าง ท7ีต้องการ

3. หาตวั เริ7มต้น (r) ที7มีค่าอย่รู ะหว่าง 1 ถึง k โดยวิธีส่มุ อย่างง่าย จากนัน> จึงส่มุ หน่วยตวั อย่าง โดยเริ7มต้นจาก r, r+k ,r+2k, ... ตามลาํ ดบั จนครบตามจาํ นวนท7ีต้องการ ตวั อย่าง ต้องการส่มุ กล่มุ ตวั อย่างจาํ นวน 50 หน่วย จากประชากร 500 หน่วย ขนั> แรก ทาํ บญั ชีรายช7ือของสมาชิกทกุ หน่วยในประชากร ขนั> ท7ีสอง หาช่วงท7ีใช้ในการส่มุ k = 500/50 , k =10 ขนั> ท7ีสาม ส่มุ หาตวั เร7ิมต้น สมมตุ ิได้เลข 6 จะได้ว่า สมาชิกหมายเลข 6,16,26,36 ... จนกระทงั7 ครบ 50 หน่วย กจ็ ะได้กล่มุ ตวั อย่างจาํ นวน 50 หน่วย

3. การส่มุ แบบแบง่ ชนั> (Stratified sampling) เป็ นการสุ่มตวั อย่างแบบแบ่งประชากรออกเป็ น กลุ่มย่อยหรือชนั> โดยมีลกั ษณะภายในชนั> เดียวกนั มี ความคล้ายคลึงกันมากท7ีสุด แต่จะแตกต่างกัน ระหว่างชนั>

¨ µu ¨¨u u µ µu ¨µ ¨µ ¨ u uµ µu µµµµµµµµ µ u µµµµµµµµ o µ µµµµ u µµ กล่มุ แบง่ ชนั> uuuuuuuu ¨¨¨¨¨¨¨¨¨¨ u ¨¨¨¨¨¨¨¨¨¨ ส่มุ ตวั อย่าง uuu ¨¨¨¨ u µuµ¨ กล่มุ ตวั อย่าง ¨ µuµ¨ µ ¨

4. การส่มุ แบบเป็นกล่มุ (Cluster sampling) เป็ นการสุ่มกลุ่มตัวอย่างที7มีการแบ่งประชากร ออกเป็นกล่มุ ๆ โดยมีลกั ษณะภายในของแต่ละกล่มุ มีความแตกต่างกัน แต่ระหว่างกลุ่มมีลักษณะ คล้ายกนั

¨µu¨¨uu ¨ µ µ u µu ¨ µ u u ¨ ¨ µ µ µ uµ µ u¨ ¨ uu u µ¨ µµ µu µ µu ¨ o uu µ¨ µ µ µ uµ µu¨ o u u u µ¨ µ µ จดั กล่มุ µµuµµ µµuµµ µµuµµ µµuµµ µµuµµ ¨µuu¨ ¨µuu¨ ¨µuu¨ ¨µuu¨ ¨µuu¨ µµuµµ µµuµµ µµuµµ µµuµµ µµuµµ ¨µuu¨ ¨µuu¨ ¨µuu¨ ¨µuu¨ ¨µuu¨ ส่มุ ตวั อย่าง µµuµµ µµuµµ กล่มุ ตวั อย่าง ¨µuu¨ ¨µuu¨

5. การส่มุ แบบหลายขนั> ตอน(Multi-stage sampling) ก า ร สุ่ม ตัว อ ย่ า ง โ ด ย ใ ช้ กับ ป ร ะ ช า ก ร ที7 มี โครงสร้างเป็ นลําดับชัน> ต่างๆ เช่น ภาค อําเภอ ตาํ บล หม่บู า้ น เป็นต้น แล้วทาํ การส่มุ จากลาํ ดบั ชนั> ที7 ให ญ่ ที7 สุด จ าก นั>น ก็สุ่มห น่ วยที7 มี ลําดับให ญ่ รองลงมาทีละขนั> จนถึงกล่มุ ตวั อย่างในชนั> ที7ต้องการ

การกาํ หนดขนาดของกล่มุ ตวั อย่าง 1. ตารางกาํ หนดกล่มุ ตวั อย่าง - Taro Yamane - R.V. Krejcie & D.W. Morgan 2. การคาํ นวณจากสตู ร ประชากรมีจาํ นวนจาํ กดั = NZa2 2s 2 2 NE 2 + Z 2s n

ประชากรมีจาํ นวนไม่จาํ กดั Za2 2s 2 n = E2 N คือ ขนาดประชากร n คือ ขนาดของกล่มุ ตวั อย่างที7ควรจะเป็น Za2 2 คือ ค่าตวั แปรส่มุ ปกติมาตรฐานท7ีสอดคล้องกบั ความเชื7อมนั 7 1-α s 2 คือ ค่าความแปรปรวนของตวั แปรที7สนใจในประชากร E คือ ขนาดของความคลาดเคลื7อนที7มากที7สดุ ท7ีจะยอมให้เกิดได้

THE END


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook