Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore car3

car3

Published by chasmooththunsiri, 2020-04-03 11:01:05

Description: merged (pdf.io) (3)

Search

Read the Text Version

รายงานการวิจัยในช้ันเรียน เรื่อง กำรศึกษำรำยกรณี เดก็ หญงิ วีภำวี ทองศรี นกั เรียนชน้ั มธั ยมศึกษำปที ี่ 1/10 นายชาตรี ธัญสริ กิ ุลกติ ติ์ ครู คศ.1 โรงเรยี นศขี รภูมิพิสัย อำเภอศีขรภูมิ จงั หวัดสรุ นิ ทร์ สำนกั งำนเขตพื้นทกี่ ำรศกึ ษำมธั ยมศกึ ษำ สรุ ินทร์ เขต 33

1 บทที่ 1 บทนาํ พระราชบญั ญตั ิการศึกษาแหง ชาติ พุทธศกั ราช 2542 มาตราที่ 6 กลา วไวว าการจัดการศึกษา ตองเปนไปเพือ่ พฒั นาคนไทย ใหเ ปน มนุษยทสี่ มบรู ณ ท้ังรางกาย จติ ใจ สติปญญา ความรู คณุ ธรรม มี จริยธรรม และวัฒนธรรมในการดําเนินชีวิต สามารถอยูรวมกับผูอื่นไดอยางมีความสุข (กระทรวงศึกษาธิการ 2546:5) และมาตราที่ 28 ไดกลาวถึงหลักสูตรการศึกษา ตองมีลักษณะท่ี หลากหลาย มุง พัฒนาคุณภาพชีวิต ของแตละบคุ คล ใหเหมาะสมกับวัยตามศักยภาพ และมุงพัฒนา คนใหม ีความสมดลุ ทง้ั ดานความรู ความคิด ความสามารถ ความดงี าม และความรับผิดชอบตอสังคม (กระทรวงศึกษาธิการ. 2546 : 13) ตามนโยบายการปฏิรปู การศกึ ษา โดยมงุ เนน จะพัฒนาผูเรียนใหมี คุณลักษณะพงึ ประสงคค อื เปน คนดีคนเกง และมคี วามสขุ คนดี คือ คนทด่ี ําเนินชีวติ อยางมีคุณภาพ มีจิตใจดีงาม มีคณุ ธรรม จรยิ ธรรม คนเกง คือ มีสมรรถภาพในการดาํ เนินชวี ิต หรือมีความพเิ ศษเฉพาะ ทาง มีความสุข คือ มีสขุ ภาพดที ้งั กายและใจ เปนคนรา เริงแจม ใส รา งกายแขง็ แรง มมี นุษยส มั พนั ธ มี ความรักตอ ทุกสรรพสิ่งมีอิสรภาพ ปลอดภยั พนจากการเปน ทาสของอบายมขุ สามารถดํารงชีวิตไดอยาง เพียงพอแกอ ตั ภาพ (คณะอนกุ รรมการปฏิรปู การเรยี นรู. 2543:12) ในสภาพความเปน จรงิ การศึกษาระดับมธั ยมขณะนี้ ไมไ ดผลตามเปาหมายทตี่ อ งการ เนื่องจาก ผเู รยี นมีผลสัมฤทธิท์ างการเรียนตํ่า ผลสําเร็จทางการเรียนสอนไมผาน ตองใชเวลาในการเรยี นมากกวา กําหนด หรืออกระหวางการเรียนเปนการสูญเปลาทางการศึกษาผูเรียนมีผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนตํ่า ผูเรยี นไมพฒั นาความรคู วามสามารถและไมใชป ระโยชนเทาท่จี าํ เปน นอกจากน้ีผลสัมฤทธิท์ างการเรยี น ยังเปนเครื่องแสดงความสําเร็จทางการศึกษาหรือลมเหลวทางการศึกษาของนักเรียนและของ ประเทศชาตอิ ีกดว ย(กอ สวัสดิพาณิชย. 2527 :35) จงึ เปนหนาที่ของครูผูส อนที่จะศึกษาคนควาหาทางแกไข ชวยเหลอื ปรับปรุงแกไข ปองกัน ปญหาทางการเรียนของนกั เรยี น เพอ่ื ใหผลสัมฤทธ์ขิ องการเรยี นสูงขนึ้ ผูศึกษาปฏิบัติหนาครูประจําชั้นประจําวชิ าของนักเรียนชั้นมัธยมศกึ ษาปที่ 1/10 โรงเรียน ศีขรภูมิพิสัย อําเภอศีขรภูมิ จังหวัดสุรินทร จากขอมูลเบื้องตนเก่ียวกับผลการเรียนของนักเรียนใน ภาคเรียนท่ี 2/2562 พบวา นักเรียนมผี ลสัมฤทธิ์ทางการเรียนตํ่า จากพฤติกรรมนักเรียนไมตั้งใจเรียน ไมทําการบา น ไมทบทวนบทเรียน ไมรวมกิจกรรมการเรียน ทาํ ใหนักเรียนไมเขาใจในเนื้อหาวิชาท่ี เรียน ซงึ่ เปน ผลนักเรยี นไมป ระสบผลสําเร็จทางการเรียน การชวยเหลือนกั เรยี นท่ีมีผลสมั ฤทธิ์ทางการเรียนตํา่ จะตอ งศกึ ษาอยางละเอยี ด และวเิ คราะห ปจ จัยที่ทําใหนักเรียนมีผลสัมฤทธิ์ตํ่าสามารถทําไดหลายวิธี เชน การปรับเปล่ียนพฤติกรรมการเรียน การศึกษารายกรณี การใหคําปรกึ ษารายบุคคล การศึกษารายกรณีเปนวิธีการผูศกึ ษามีโอกาสศึกษา

2 รายละเอียดเกี่ยวกับบุคคลอยางลึกซึ้งการแกปญหาดังกลาวไดตรงจุดดังที่ กมลรัตน หลังสุวงษ (2529:3) กลาววาการศึกษารายกรณี (Case Study) คือการศกึ ษารายละเอียดตางๆทีส่ าํ คัญโดยเหมาะ สมตองศกึ ษาอยางตอ เน่อื งกันในระยะเวลาหน่งึ แลว นํารายละเอียดมาวิเคราะหตีความ เพื่อใหเขาใจถึง สาเหตุของพฤติกรรม อาจเปนปญหาหรือไมเปนปญหาก็ได เชนพัฒนาการดานตาง ๆ ความสามารถ ดา นพเิ ศษ ในรายท่ีไมเปนปญหา เปนแนวทางการปอ งกันในอนาคต (กมลรัตน หลังสวุ งษ. 2529 :3) ผูศึกษารายกรณีศึกษาของนักเรียน ชั้นมัธยมศึกษาปที่ 1/10 โรงเรียนศีขรภูมิพิสัย ที่มีผลสัมฤทธ์ิ ทางการเรียนตา่ํ ความมุง หมายของการศกึ ษาคนควา เพื่อศึกษาปญหา สาเหตุที่ทําใหนักเรียนมีผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนตํ่า ของนกั เรียนเปนราย กรณี ไดนาํ วิธกี ารศึกษารายกรณี ไมใชชวยเหลือนักเรียน ใหสามารถมีผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนสูงขึ้น มีพฤติกรรมสนใจเรียนมากขึ้น ความรูที่ไดจากการศกึ ษาคนควาครั้งนี้ เปนขอมูลเบื้องตน ในการ ชวยเหลือนักเรียนที่มผี ลสัมฤทธท์ิ างการเรียนตา่ํ คนอืน่ ๆ อกี ตอไป ขอบเขตของการศกึ ษาคนควา ประชากรและกลมุ ตวั อยางทใ่ี ชในการศกึ ษาคน ควา 1. ประชากรท่ีใชในการศกึ ษาคนควา ประชากรที่ใชในการศึกษาคนควาครั้งนี้ นักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปที่ 1/10 โรงเรยี นศขี รภมู ิพิสัย อําเภอศขี รภูมิ จังหวดั สุรินทร ที่มีผลสัมฤทธิท์ างการเรยี นตํา่ 2. กลมุ ตัวอยา งท่ใี ชในการศกึ ษาคนควา กลุมตัวอยางที่ใชในการศึกษาคนควา เปนนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปที่ 1/10 โรงเรียนศีขรภูมิพิสัย มีผลสมั ฤทธิ์ทางการเรียนต่ํา จํานวน 1 คน ไดมาโดยแบบเจาะจง มีคุณสมบัติ ดงั นี้ 2.1 นักเรียนมผี ลสัมฤทธ์ทิ างการเรยี นตา่ํ 2.2 มีสติปญ ญาอยูในเกณฑปรกติ 2.3 มีพฤติกรรมไมสนใจเรียน 3. ตัวแปรทีศ่ กึ ษา 3.1 ตัวแปรอิสระ ไดแก การศึกษารายกรณี 3.2 ตวั แปรตาม ไดแ ก นกั เรยี นท่มี ผี ลสัมฤทธ์ทิ างการเรยี นตาํ่

3 บทที่ 2 เอกสารที่เกีย่ วขอ ง ไดศึกษาคน ควาเอกสารทีเ่ กี่ยวขอ งตามลําดับดงั น้ี 1. เอกสารท่ีเก่ียวขอ งกบั การศึกษารายกรณี 1.1 ความหมายของการศกึ ษารายกรณี 1.2 จุดมุง หมายของการศกึ ษารายกรณี 1.3 ประโยชนข องการศกึ ษารายกรณี 1.4 กระบวนการในการศกึ ษารายกรณี 1.5 วิธีการทใี่ ชในการศกึ ษารายกรณี 2. เอกสารเก่ยี วของกบั ผลสมั ฤทธิท์ างการเรียน 2.1 ความหมายของผลสมั ฤทธทิ์ างการเรยี น 2.2 สาเหตุของผลสัมฤทธิ์ทางการเรยี น 1. เอกสารท่เี ก่ียวขอ งกับการศกึ ษารายกรณี 1.1 ความหมายของการศกึ ษารายกรณี การศึกษารายกรณี หมายถึง การศึกษารายละเอียดเกี่ยวกับบุคคล อยา งลึกซึ้งวิเคราะหถึง สาเหตุทท่ี ําใหบุคคลมีพฤติกรรมเชนนัน้ หรือมีพฤติกรรมแปลกไปกวา มีสาเหตุมาจากอะไร รวมท้ังแปล ความหมายของพฤติกรรมนน้ั ๆ วา มคี วามสมั พันธกับปญ หา และการปรับปรงุ ของบคุ คลอยางไร (พนม ลิม้ อารีย. 2538:8) วัชราภรณ อภิวัชรางกูร (2535:10) กลาวา การศึกษารายกรณี หมายถึง การศึกษา เร่ืองราวของบคุ คลอยางละเอียด โดยผานกระบวนการในการศกึ ษารายกรณี เพ่ือใหผูศกึ ษาไดทราบถงึ กระบวนการของพฤติกรรมประสบการณ การเปลี่ยนแปลงอยางสมบูรณที่สุด พรอมทั้งแนวทาง ชวยเหลอื การปองกนั และการสง เสริม เพอ่ื ใหบ คุ คลที่ถกู ศกึ ษาสามารถอยูในสงั คมไดอยา งมีความสุข จากแนวคิดขางตน จึงสรุปไดวา การศึกษารายกรณี หมายถึง การศึกษาสาเหตุของ พฤติกรรมของบุคคลอยางละเอียด เพ่ือคนหาแนวทางการชวยเหลือ ปกปอง ปองกัน และสงเสริม เพือ่ ใหบ คุ คลที่ถูกศกึ ษาสามารถดาํ เนินอยใู นสงั คมอยางมีความสุข 1.2 จดุ มุง หมายของการศกึ ษารายกรณี การศกึ ษารายกรณมี จี ุดมุงหมายหลายประการดังน้ี สุภาพรรณ โคตรจรัส (2528:2-3) ไดสรุปจุดมุงหมายของการศึกษารายกรณี วามี 4 ประการคอื 1. ใชใ นการวิจัยเพ่อื ทําความเขา ใจเกี่ยวกับการเจริญเติบโตและพัฒนาการของมนุษย 2. ใชใ นการศกึ ษาผูที่มีปญ หาพเิ ศษ เพอ่ื การแกไ ขบําบัดรกั ษา

4 3. ใชในการศึกษา บุคคลปกติที่ไมมปี ญหาพิเศษเพื่อสง เสริมการพฒั นาการของบคุ คล อยางเตม็ ที่ 4. ใชในการฝกอบรมครู เพื่อชวยครูใหเขาใจเด็กแตละคนนําไปสูความเขาใจ พฤติกรรมของมนุษยโดยทั่วไป ชวยใหครูไดเพิ่มพูนความรูความเขา ใจในปญหาเกี่ยวกับอารมณ และ แรงจูงในของมนุษยเ ปน การอธิบายทฤษฎโี ดยใชตัวอยา งท่ีเห็นชดั เจน 1.3 ประโยชนข องการศึกษารายกรณี การศึกษารายกรณีเปนเทคนิคที่มีประโยชนตองานของบุคคลผูนําไปใช และบคุ คลที่ เกี่ยวของ ดังทีก่ มลรัตน หลังสุวงษ (2529:9-10) ไดแบงประโยชน ของการศึกษารายกรณีออกเปน 2 ทาง คอื 1. ประโยชนท างตรง เปนประโยชนทเ่ี กดิ ขน้ึ กบั ผูรบั การศึกษา คือ ทําใหผูศึกษาได เขาใจถึง ความแตกตางระหวางบุคคลมากขึน้ เขาใจสาเหตุของปญหาไดกวางขวางขณะเดียวกันก็ทํา ใหเปน ครูทรี่ จู กั ใชเหตุผลในการพจิ ารณาสิ่งตาง ๆ 2. เปนประโยชนทางออม เปนประโยชนที่เกิดขึ้น กบั ผูรับการศึกษา ไดรับการ ชว ยเหลืออยางถูกตอง ทันตอ เหตุการณ และในขณะเดียวกัน ผูรบั การศึกษาก็จะเขาใจตนเองมากขึ้น รจู กั ปอ งกนั ปญหาทจี่ ะเกดิ ขึน้ กบั ตนเอง และสามารถพฒั นาตนเองไดด ที ่ีสุด 1.4 กระบวนการในการศึกษารายกรณี การศึกษารายกรณี เปนวิธีการศึกษาบุคคลอยางเปนระบบและละเอียดทุกดานอยาง ตอ เนื่องกันเปนเวลานานโดยใชเทคนิคการแนะแนวหลาย ๆ อยางในการเก็บรวบรวมขอมลู รายบคุ คล โดยมีข้ันตอนในการศึกษาอยางเปนระบบเพื่อพยายามทําใหเปนวิธกี ารทางวิทยาศาสตรท่ีควรแกการ เชื่อถอื ได (กมลรัตน หลงั สวุ งษ. 2529:23) จากเอกสารขางตนดังกลาว จะเห็นวากระบวนการศึกษารายกรณีของแตละทาน สว นใหญม ี ความเห็นวา การทําการศึกษารายกรณีนั้น จําเปนตองทราบวาเพราะเหตุใด จึงเลือกศึกษา ผูถูก ศึกษารายนั้นจึงตองมีการกําหนดจุดมุงหมายของการศึกษาใหชัดเจน ในการศึกษาครั้งนี้ผูศึกษาจะใช รปู แบบของกระบวนการศกึ ษารายกรณี ตามขัน้ ตอนดังน้ี ขัน้ ที่ 1. การกําหนดปญ หา และการตัง้ สมมตฐิ าน ข้นั ท่ี 2. การรวบรวมขอมลู และวิเคราะหขอมูล ขน้ั ที่ 3 การวนิ ิจฉัย ขน้ั ท่ี 4 การชว ยเหลือ ขน้ั ที่ 5 การทํานายผล ขั้นท่ี 6 การติดตามผล ขน้ั ที่ 7 การสรุปผลและขอเสนอแนะ

5 ขน้ั ที่ 1 การกาํ หนดปญ หา และการตั้งสมมตฐิ าน การกําหนดปญหา หมายถึง การที่ผศู กึ ษารายกรณตี ัง้ จดุ มุง หมายหรือกําหนดวาจะศกึ ษาสิ่งใด ในบุคคลหนึ่ง ซึ่งอาจเปนปญหาหรือมิใชปญหาแตเปนความสนใจ ความสามารถพิเศษหรืออื่น 3 (กมลรัตน หลงั สุวงษ. 2529:23) การตง้ั สมมติฐาน หมายถึง การท่ีบุคคลที่ทําการศึกษารายกรณีไดคาดคะเนไววา พฤติกรรม ของผูรับการศึกษา ซงึ่ เปน ผลทเี่ กดิ ขนึ้ แลว มีสาเหตุมาจากสิง่ ใดบา ง โดยอาศัยความรูจากประสบการณ ท่ีผานมา เพื่อจะพิสูจนตอไป โดยการทดสอบหรือคน หาขอเท็จจริงดวยวิธีตา ง ๆ วาเปน ไปตามคาด หรอื ไม (กมลรตั น หลงั สวุ งษ 2529:24) การต้ังสมมติฐานควรตั้งไวหลายๆ สมมตฐิ านทัง้ นี้เพื่อเปน การปอ งกันขอผิดพลาดท่ีอาจเกิดขึน้ นอกจากนั้นการท่แี สดงพฤติกรรมใดพฤติกรรมหนึ่งออกมานน้ั อาจไมไ ดมาจากสาเหตุเดียว พฤติกรรม ทแ่ี ตกตา งอาจมาจากหลายสาเหตหุ รือสาเหตเุ ดยี ว ฉะน้นั จงึ ควรตั้งสมมติฐานไวห ลายสาเหตุ ข้นั ท่ี 2 การเกบ็ รวบรวมขอมูล และวิเคราะหข อ มูล การเก็บรวมรวมขอมูล คือการเอาขอเท็จจริงหลังจากทีก่ ําหนดปญหาและตั้งสมมติฐานแลว โดยใชเครื่องมือการแนะแนว เก็บรวมรวมขอมูลกับผูที่เราศึกษา โดยรวบรวมขอมูลจากแหลงตาง ๆ เชน การสัมภาษณ แผนสังคมมิติการทบสอบทางจติ วทิ ยา และผลการทดสอบ เปนตน การวิเคราะหขอมลู คือ การตคี วามหรือแปลความหมายของขอ มูลที่ไดจากการรวบรวมขอมูล ในแตละวธิ ี เพอื่ อธิบายเหตุผลของพฤติกรรมที่เกิดขึ้น การวิเคราะหขอมลู นี้อาจกระทําโดยวิธีประชุม ปรกึ ษา รวบรวมขอ มลู การรวบรวมขอ มลู เพื่อใหเ ขาใจถึงพฤตกิ รรมของบุคคลท่ไี ดรับการศกึ ษาอยา งละเอียดและตรง กบั ขอ เท็จจรงิ มากทีส่ ุด เทคนคิ ตา ง ๆ ทน่ี ิยมใชมี 9 เทคนคิ ดังนี้ (กมลรัตน หลังสุวงษ. 2529 : 29 : 30) 1. การสังเกต (Observation) 2. การบันทกึ การสงั เกต (Observation Record) 3. การสัมภาษณ (Interview) 4. การเย่ยี มบาน (Home visit) 5. อัดชีวประวัติ และบนั ทึกประจําวัน (Acitobiography and Diary) 6. สงั คมมิติ (Soeiometry) 7. แบบสอบถาม (Testing) 8. แบบทดสอบ (Testing) 1. ระเบียนสะสม (Cumulative Record) เทคนิคตา ง ๆ เหลานี้มีผูศึกษารายละเอียดใช ดงั ตอ ไปนี้ เชน 1. การเยย่ี มบาน (Home Visit)

6 การเยี่ยมบานเปนวิธีหนึ่ง ที่ใชเพื่อเก็บรวมรวมขอมูลเปนรายบุคคลและรวมมือกับบิดา มารดา หรอื ผูป กครองในการชวยเหลือผูรับการศึกษา ขอมูลควรจะไดจากการเยีย่ มบาน เชน สภาพ ทว่ั ไปของบา น สภาพแวดลอมของบา น ลักษณะทา ทีของผูปกครอง โรงเรียนและผูรับการศึกษา เปน ตน โดยทั่วไปแลวครผู เู ยี่ยมบา นจะเปนครูแนะแนวหรือครปู ระจําชั้น วัตถุประสงคของการเยี่ยมบาน 1. ตอ งการตรวจขอเท็จจริงเกี่ยวกับทางบา น 2. เพอ่ื สรา งความเขา ใจระหวา งบานกบั สถาบัน 3. เพอ่ื หาขอมูลบางประการทไี่ มสามารถไดม าดวยวิธอี ่นื ๆ 2. ระเบียบสะสม (Cumulative Record) จาํ เนยี ร ชองโชติ (2517 : 212) ไดใ หค วามหมายของระเบียบสะสมไวดงั น้ี คอื ระเบียนสะสม คอื เอกสารอยางหนงึ่ ทรี่ วบรวมขอ มูล ขอเท็จจริงและรายละเอียดตา งๆ ของ นักเรียนอยางมีแบบแผน เชน ประวัติสวนตัว ประวัติครอบครัว รายงานการเรียน รายงานการ ทดสอบ รายงานสขุ ภาพความถนดั ความสนใจ กจิ กรรมพิเศษ โครงการศึกษา และอาชีพในอนาคต บันทึกสัมภาษณ บันทึกการใหคําปรึกษา และรายงานอื่น ๆ ที่ทางโรงเรียนตองการทราบจากตัว นักเรียน ความเปนไปของนักเรียนคติตอเนื่องกันเปน เวลานาน ตั้งแตเริม่ เขาโรงเรียนจนเรยี นจบจาก โรงเรียน ชนดิ ของระเบียนสะสม ระเบียนสะสมทใี่ ชอยูปจ จุบนั จาํ แนกได 3 ลักษณะ 1. จาํ แนกตามลักษณะของการเก็บขอมลู 2. จาํ แนกตามลักษณะของแบบฟอรม ของระเบียบ 3. จําแนกตามลักษณะแบบฟอรม ระเบียบ จาํ แนกตามลักษณะของการเก็บขอ มลู ไดแก 1. แบบท่ีโรงเรียนเก็บขอมูลเอง ครูไดขอ มูลจากนักเรียนหรอื จากผูปกครอง 2. แบบนักเรียนเปน ผเู กบ็ ขอ มูล แบบนี้เปนแบบทชี่ วยใหนักเรียนรูจักตัวเองมากขึ้น แบบนี้จะตองเก็บรวบรวมไวหลายๆ แหลง เชน ตัวนักเรียนผูปกครอง เพื่อน ครูแนะแนว จากคนอ่ืน ประโยชนข องระเบยี นสะสม 1. ชวยใหเด็กไดรูจกั ตนเองอยา งถูกตองทางดา นการเรียน ความสามารถ บคุ ลิกภาพ และเด็ก คดิ ปรบั ปรงุ ตนเอง 2. ชว ยใหครไู ดรูจักนกั เรยี นแตละคนไดอยา งรวดเร็วย่ิงขน้ึ และรว มมอื กันในการแกปญ หา

7 3. เปนการประเมินผลนกั เรยี นในดานตา ง ๆ นักเรยี นคนใดมปี ญ หาจะชว ยเหลือไดท นั ที 4. เปนการทาํ ความเขาใจการพฒั นาการของนักเรยี น ขนั้ ท่ี 3 การวนิ จิ ฉัย การวินิจฉัย เปนการนําเอาผลการวิเคราะห หรือตีความขอมูลที่รวบรวมไวจากหลาย ๆ วิธีการมาเปนพื้นฐานประกอบการพิจารณาเพื่อวินิจฉัยอะไรจะเปนสาเหตุของปญหา โดยนําเอา หลักเกณฑในทางทฤษฎีทางจิตวิทยามาพิจารณาตัดสินกําหนดแกปญหา แตบางครั้งการวินิจฉัยเปน เพียงการเสนอแนะความคดิ เทา นั้นเพอื่ การชวยเหลอื นันทิกา แยมสรวล (2529:34-35) กลาววา กระบวนการวินิจฉัยปญหาจะดําเนินการเปน 2 ระยะ ดงั นี้ 1. ขั้นกําหนดปญหา ปญหาเกิดขึ้นเมื่อใด ระยะการเกิดปญหานานเพียงใดมีเหตุการณอะไร เกดิ ขน้ึ ใครเกีย่ วของ เกิดขึ้นไดอยางไร 2. การคนหาสาเหตุของปญหาใหนําขอมูลที่อางอิงถึงอดีตและปจจุบันมาพิจารณา หา ความสัมพนั ธของขอมลู ในดานตา งๆ เพ่ือดวู าสาเหตุของปญหาที่เกดิ ขึ้นมลี กั ษณะอยางไร ขน้ั ท่ี 4 การชว ยเหลือ การปองกนั และการสงเสรมิ การชวยเหลอื คอื การแกปญหาดวยวิธกี ารตา ง ๆ เชน 1. การใหคําปรึกษา (Counseling) หมายถึง กระบวนการชวยเหลือผูประสบปญหาชวยให คําปรึกษา รูจักตนเอง ยอมรับตนเอง และรับรูโลกถูกตองย่ิงขึ้น จนสามารถนําไปสู การเลือกและการ ตดั สินใจอยา งฉลาดและนําไปสกู ารพัฒนาตนเองอยางเต็มที่ (จําเนียร ชวงโชติ. 2528:133) 2. สงตอใหผ ูมีประสบการณ เชน หนวยงานผูรับผิดชอบเฉพาะปญหาจติ แพทย นักจิตวิทยา โดยเฉพาะผูท ม่ี ีปญหาซับซอ น ขั้นที่ 5 การทาํ นายผล การทาํ นายผลเปนการคาดคะเนลว งหนา ผรู บั การศกึ ษาจะมีสภาพเปน อยางไรในอนาคต ดังที่ นันทกิ า แยมสรวล (2529:36) กลาววา การทาํ นายผลจะตอ งทําโดยยึดหลกั ความแตกตางระหวาง บุคคล 3 ประการคอื 1.บคุ คลแตละคนตอ งยอมรบั มลี ักษณะเฉพาะของตนเอง 2.บุคคลแตละคนยอมพฒั นาการไปตามลักษณะเฉพาะของตนเอง 3.บคุ คลแตล ะคนยอ มมกี ารเปลี่ยนแปลงเปน ของตนเอง

8 ข้ันที่ 6 การติดตามผล การติดตามผล เปนการกระทําหลังจากการใหความชวยเหลือไปแลว เพื่อประเมินผลวาการ ชว ยเหลือไดผ ลอยา งไร มีปญหาเกิดขน้ึ ใหมอีกหรอื ไม ถามปี ญ หาเกดิ ขน้ึ อีกจะไดช วยเหลอื ไดทนั ที วิธกี ารติดตามผล วธิ ีการติดตามผลสามารถทําไดห ลายวิธี 1.การนดั สัมภาษณ 2.การสงั เกตความเปล่ียนแปลง 3.การสมั ภาษณติดตามผลจากผปู กครองหรอื ครู 4.ติดตอซกั ถามขาวคราวจากจดหมาย หรือแบบสอบถาม 5.ใหผอู นื่ ไปเย่ียมแทน ขนั้ ท่ี 7 การสรุปผลและขอเสนอแนะ การสรุปผลการใหขอเสนอแนะ สามารถทําไดทั้งในขณะทําการศึกษารายกรณีและหลังจาก การศกึ ษารายกรณี โดยท่ัวไปมกั ทาํ คกู นั ไป เพอ่ื ประสทิ ธภิ าพของการศกึ ษารายกรณี ควรสรุปผลและ ใหขอ เสนอแนะไวดว ย กมลรัตน หลังสุวงษ (2529:372) กลาววาการใหขอเสนอแนะที่ดคี วรใหไวหลายๆทางอยาง นอ ย 3 ทาง คอื 1. ขอ เสนอแนะสาํ หรับผูรบั การศกึ ษารายกรณี 2. ขอเสนอแนะสาํ หรบั ผทู เ่ี กีย่ วขอ ง 3. ขอ เสนอแนะสาํ หรบั บคุ คลทีส่ นใจ 2. เอกสารทีเ่ ก่ยี วขอ งกับผลสมั ฤทธทิ์ างการเรยี นตํา่ 2.1 ความหมายของผลสัมฤทธ์ทิ างการเรยี นตา่ํ ผลสัมฤทธิ์ หมายถึงความสําเร็จที่ไดจากการพยายาม เพื่อบรรลุเปาหมายที่ตองการ (เดโช สวนานนท. 2512:3-4) ผลสมั ฤทธิ์ทางการเรยี น หมายถงึ ความสําเรจ็ ที่ไดรับจากการเรียนซึ่งประเมินจากหลาย วิธี (อจั ฉรา สุขารมณ และ อรพนิ ทร ชชู ม. 2530:3) 1. ไดจ ากการทดสอบ 2. ไดจ ากเกรดเฉลย่ี ของโรงเรยี น 2.2 สาเหตขุ องผลสัมฤทธ์ทิ างการเรียนต่าํ การท่บี ุคคลมรี ะดบั สติปญญาเทากนั มไิ ดหมายความวาจะมีผลสัมฤทธ์ิทางการเรยี นเทากนั เมอหเรนส (Mehrens. 1973:402) กลา ววา นกั เรียนทม่ี ผี ลสัมฤทธท์ิ างการเรยี นต่ํานน้ั มิไดข ้ึนอยูก ับ ความสามารถสติปญญาเพียงอยางเดยี วแตมีองคประกอบอื่น ๆ เชน วุฒิภาวะ แรงจูงใจ ทักษะการ เรยี นและทศั นคตขิ องนกั เรยี นท่ีมีตอ โรงเรยี นและวชิ าเหลา นั้น

9 สํานักงานคณะกรรมการการศึกษาแหงชาติ (2530:37-33) กลาวถึงองคประกอบที่มี อทิ ธิพลตอผลสัมฤทธิท์ างการเรยี นของนักเรยี นในดานโรงเรยี นมดี ว ยกนั 4 ปจ จัยคือ 1. ปจจัยเกี่ยวกันการจัดการศึกษา ไดแก สิ่งแวดลอม กิจกรรมหลักสูตรและการจัด อาคารสถานที่ 2. ปจจัยเกี่ยวกับผูบริหาร ไดแก ครูใหญ อาจารยใหญ ซึ่งเปนหัวหนาสถานศึกษา มี ความสมั พันธก ับการเรียนการสอน และการบรหิ าร 3. ปจจัยเกี่ยวกับครู ไดแกอัตราครูกับนักเรียน ความสัมพันธระหวางครูและนักเรียน ประสบการณการสอน 4. กระบวนการเรียนการสอน หมายถึง กิจกรรมการเรียนการสอนทักษะการสอน ความ พรอมการสอน จาํ นวนชวั่ โมง ความเขาใจเร่ืองของหลกั สตู ร จากสาเหตดุ ังกลาวท่ที าํ ใหผ ลสัมฤทธิท์ างการเรียนของนกั เรยี นตาํ่ สรุปได ดงั น้ี 1.จากลกั ษณะสว นตัวของนกั เรียน 2.จากการจัดการศึกษาและโรงเรยี น 3.จากภูมิหลงั ของครอบครัวนกั เรียน

10 บทที่ 3 วธิ ีการดาํ เนนิ การศกึ ษาคนควา ในการศกึ ษาคนควาครั้งนีผ้ ูศึกษาไดด ําเนินตามขัน้ ตอนดังน้ี 1. กําหนดประชากรกลุมตัวอยาง 2. เคร่อื งมือทใ่ี ชในการรวบรวมขอมลู 3. วิธีการดําเนนิ การสรางเครื่องมือ 4. วธิ กี ารศกึ ษารายกรณี 5. การวเิ คราะหข อ มลู การกําหนดประชากรกลุมตวั อยาง 1. ประชากรทใี่ ชในการศกึ ษาครงั้ นี้ เปนนักเรยี นชน้ั มธั ยมศึกษาปท ี่ 1/10 โรงเรียน ศขี รภูมิพสิ ัย อาํ เภอศีขรภูมิ จงั หวัดสุรินทร 2. กลมุ ตวั อยางทใ่ี ชในการศึกษาคน ควา ดงั นี้ เปน นกั เรยี นชัน้ มธั ยมศึกษาปท่ี 1/10 โรงเรยี น ศขี รภูมพิ สิ ัย อําเภอศีขรภูมิ จังหวดั สรุ ินทร ปการศกึ ษา 2562 จํานวน 1 คน ซึ่งไดม าจากการ เจาะจง โดยมคี ุณสมบัตดิ งั น้ีคือ 1. มผี ลสัมฤทธิ์ทางการเรยี นต่าํ 2. มสี ติปญ ญาอยูในเกณฑปรกติ 3. มีพฤติกรรมไมสนใจเรยี นและหนเี รยี น โดยวิธคี ัดเลอื กนักเรยี นในกลุมตวั อยา ง สํารวจรายชื่อนักเรียนที่มีผลสัมฤทธิก์ ารเรียนตํ่า โดยคัดเลือกจากนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปท่ี 1/10 ภาคเรยี นที่ 2 ปก ารศึกษา 2562 จํานวน 1 คน เครอ่ื งมือในการศกึ ษาคน ควา 1. แบบบันทึกการเยี่ยมบาน 2. ระเบียบสะสม (SDQ) ข้นั ตอนในการสรางเครื่องมอื ผศู ึกษาไดดําเนินการสรางเคร่อื งมอื ดงั นี้ คือผูศึกษาคนควาเอกสารการวิจัยที่เกี่ยวของกับการศึกษารายกรณี เพื่อเปนแนวทางในการ สรางเครอ่ื งมอื เชน แบบบันทกึ การเยีย่ มบา น ฯลฯ

11 วธิ กี ารศึกษารายกรณี ผศู กึ ษาไดศ กึ ษาตามขน้ั ตอน 7 ข้ันตอน ดงั น้ี คอื 1. การกําหนดปญ หาและตัง้ สมมตฐิ าน 2. การรวบรวมขอ มลู และวเิ คราะหข อมูล 3. การวินจิ ฉยั 4. การชวยเหลือการปองกัน และการสงเสริม 5. การทํานายผล 6. การคดิ ตามผล 7. การสรุปและขอเสนอแนะ 1. การกําหนดปญ หาและการตง้ั สมมตฐิ าน สมมตฐิ านของปญหาเกิดจาก 1. ลกั ษณะสว นตวั 2. ลกั ษณะครอบครวั 3. การจัดการศึกษาของโรงเรยี น 2. การรวบรวมขอ มูลและวิเคราะหข อ มลู ผูศึกษาไดรวบรวมขอมูล จากผูที่เกี่ยวของกับนกั เรียน เพ่ือศึกษาสาเหตุจากลกั ษณะสวนตัว ลักษณะครอบครัว การจดั การศึกษาของโรงเรียน ตามสมมติฐานตั้งไวใ นขอ 1 โดยใชเทคนคิ ดังน้ี 2.1 การเยี่ยมบาน ผูศึกษาขอมูลทางบา น ศึกษาส่งิ แวดลอม ความสัมพันธระหวางนักเรยี น กับบิดามารดา และญาติผูปกครองไดใ หค วามรว มมอื ชวยเหลอื ในการเยยี่ มบาน ผูศึกษาปฏิบัติดังน้ี 1. กําหนดจุดมงุ หมายของการเยย่ี มบาน 2. นัดเวลาท่จี ะเยย่ี มบา นกบั ผปู กครอง 3. ไปเย่ยี มบานพรอ มสงั เกตสิง่ แวดลอ มของบาน สมั ภาษณผปู กครองพรอ มท้งั บคุ คล อ่ืนๆในบา น ใชเ วลาประมาณ 20-30 นาที ไปเยีย่ มบานคนละ 1 คร้งั 4. ระเบยี นสะสม (SDQ) ผศู กึ ษาใชร ะเบยี บสะสมเพือ่ หาขอมูลของผรู บั การศึกษา เกยี่ วกบั ประวตั ิสว นตวั ประวตั ิ ครอบครวั ประวัติสุขภาพ ประวัติทางการศกึ ษาและรายงานการพัฒนาการ เพือ่ ใชเ ปน แนวทางในการ ชวยเหลือรว มกบั ขอมูลทไ่ี ดจ ากแหลง อ่ืนๆ ระเบยี นสะสมครปู ระจาํ ชน้ั ไดรวบรวมไวแ ลว 3. การวินจิ ฉัย นําผลการวเิ คราะหข อมลู ในขั้นตอนท่ี 2 มาเปน ขอมูลพ้นื ฐานเพื่อวนิ ิจฉยั สาเหตขุ องนักเรียนที่ มผี ลสมั ฤทธิท์ างการเรียนตาํ่

12 4. การชว ยเหลอื การปองกนั และการสงเสริม การใหการชวยเหลอื คอื การปฏิบตั ิดงั นี้ 1. การใหคําปรกึ ษาแกเ ดก็ โดยใชเทคนคิ การใหค าํ ปรกึ ษาแบบนําทางเพ่ือใหเด็กพยายาม พฒั นาตนเอง 2. แนะนาํ วธิ กี ารเรียนที่ถูกตอ ง การสรา งสมาธิในการเรยี น การใชเ วลาวางเปน ประโยชน การอานหนังสือนอกเวลา 3. เพิ่มแรงจงู ใจในการเรยี น โดยใหขอมลู การศึกษาตอและอาชีพ 4. ปรึกษาปญ หาทีเ่ กิดข้ึน กับครผู สู อน 5. ใหความสนใจ เอาใจใสเดก็ อยา งสม่าํ เสมอ ใหกาํ ลังใจ 6. ปรกึ ษาปญ หาทเ่ี กิดขน้ึ กบั บิดามารดา 5. การทาํ นายผล จากขอ มลู ผลสัมฤทธิท์ างการเรยี นตาํ่ ของเดก็ พบวาผลสมั ฤทธ์ทิ างการเรยี นมสี าเหตมุ าจาก ลกั ษณะสวนตวั ครอบครัว และจัดการศกึ ษาของโรงเรยี น ผศู กึ ษาพบวาสาเหตุท่กี ลา วมาน้ันสามารถ แกไ ขได ถา หากเดก็ ใหความรวมมือ กับครู และผปู กครอง และเอาใจใสอ ยางแทจ รงิ 6. การตดิ ตามผล หลังจากไดใหการชวยเหลือ ไดต ิดตามผลเปนระยะๆ ผลปรากฏดงั น้ี 1. การสงั เกตจากสมั ภาษณ สรกุ ไดวา เดก็ มพี ฤตกิ รรมการเรยี นเปลี่ยนไปในทางดขี ึน้ เชน สนใจเรียน ไมห นีเรียน 2. สัมภาษณค รผู สู อน เดก็ ต้ังใจเรียนดขี ้ึน 7. ขอเสนอแนะ ผูศ กึ ษามีขอเสนอแนะดังน้ี 1. ขอเสนอแนะสาํ หรบั เดก็ ควรเขา ใจตนเอง และรูจกั ตนเองมากขึ้น และต้ังเปา หมายสําหรบั อนาคตเองมีความมงุ ม่นั อดทน ทําสิง่ ท่ีตนตง้ั เปา หมายไว 2. ขอเสนอแนะสําหรับบุคคลเก่ยี วขอ ง 1. บิดา มารดาควรตระหนักถงึ บทบาทของตนเอง ในการใหค วามสนใจ เกี่ยวกับเรอ่ื งการ เรียน คอยใหกาํ ลงั ใจคําปรึกษา และลดความขดั แยง 2. ครปู ระจําช้ัน ครูผูส อน และครแู นะแนว ท่ีเก่ยี วขอ งกบั เดก็ สนใจติดตามพฤติกรรม รวมท้งั เสริมแรงในดานพฤติกรรมท่ีดขี องเด็กเกี่ยวกับการเรยี น

13 บทที่ 4 ผลการวิเคราะหขอมลู ในการศกึ ษารายกรณนี ักเรยี นท่ีมผี ลสมั ฤทธิ์ทางการเรียนตา่ํ ผลการศกึ ษาคนควา ดําเนนิ ตาม ข้ันตอนตอ ไปน้ี 1. การกําหนดปญหาและการต้งั สมมติฐาน 2. การเก็บรวบรวมขอ มลู และการวิเคราะหข อมลู 3. การวินิจฉัย 4. การชวยเหลอื การปองกัน และการสงเสรมิ 5. การทาํ นายผล 6. การติดตามผล 7. การสรุปผลและขอ เสนอแนะ ระยะเวลาท่ใี ชในการเกบ็ รวบรวมขอมลู ตั้งแตวันท่ี 1 มิถนุ ายน 2562 ถึงวันท่ี 30 สิงหาคม 2562 รวม 90 วัน ผลการรวบรวมขอมูล วเิ คราะหโ ดยภาพรวมไดดงั น้ี กรณีศกึ ษารายกรณี เด็กหญงิ วภี าวี ทองศรี 1. การกาํ หนดปญหาและการตง้ั สมมติฐาน 1.1 ปญ หาของเด็กหญิงวีภาวี ทองศรี คอื ผลสัมฤทธ์ิทางการเรยี นต่ํา มผี ลการเรียนในภาค เรียนที่ 1 ปก ารศกึ ษา 2562 สมมตฐิ านทท่ี ําใหเด็กหญงิ วภี าวี ทองศรี ผลสมั ฤทธทิ์ างการเรียนตา่ํ มี ดังน้ี 1.1.1 ลักษณะสวนตวั ของเด็กหญิงวภี าวี ทองศรี 1.1.2 ลกั ษณะครอบครัว 1.1.3 การจัดการศึกษาของโรงเรยี น 2. การเก็บรวบรวมขอมลู และการวิเคราะหขอมลู 2.1 แนะนําบุคคลที่ทําวา การศึกษารายกรณี ช่อื – สกุล เดก็ หญงิ วีภาวี ทองศรี วนั เดอื น ป เกิด 27 มกราคม 2550 อายุ 14 ป เชือ้ ชาติ - สัญชาติ ไทย ศาสนา พุทธ สถานภาพ นักเรียน ภูมิลาํ เนาเดมิ จ. สรุ นิ ทร

14 สถานทีเ่ กิด ทบ่ี าน ท่อี ยูปจ จุบัน เลขท่ี 45/1 หมู 22 ตาํ บลแตล อาํ เภอศีขรภูมิ จังหวดั สรุ ินทร 2.2 สาเหตุท่ีศึกษา เด็กหญิงวภี าวี ทองศรี มผี ลสมั ฤทธ์ทิ างการเรยี นต่าํ มีผลการเรียนในภาคเรยี นที่ 1 ป การศกึ ษา 2562 เฉลี่ย 2.80 จากการรวบรวมขอมูลโดยใชเ ทคนิค 4 เทคนิค สามารถสรปุ และวิเคราะหข อ มลู ได ดังน้ี 1) การเย่ยี มบา น ผศู กึ ษาไปเยีย่ มบา นเด็กหญิงวีภาวี ทองศรี จาํ นวน 2 คร้งั ใชเ วลา ประมาณครงั้ ละ 40 นาที ไดส ังเกตและสมั ภาษณบ ุคคลในบา นมีรายละเอียดดังนี้ จากการเยยี่ มบา นสรุปไดว าบา นท่ีเดก็ หญงิ วีภาวี ทองศรี อาศยั อยู เปนบา นชั้นเดียว อยกู ับตา และยาย 2. การเขียนอตั ชีวประวัติ รายงานขอมูลสวนตัว จากการวิเคราะหอตั ชวี ประวัติพบวา เด็กหญิงวีภาวี ทองศรี เปน ผูทีผ่ ลการเรยี นอยใู น ระดบั ออ น เนือ่ งจากไมเ คยสนใจในการอานหนงั สอื และทบทวนบทเรยี น และตดิ โทรศพั ท จากรายงานขอ มลู สว นตวั พบวา เด็กหญงิ วภี าวี ทองศรี ชอบเรยี นวชิ าศลิ ปะ สิ่งท่ไี มชอบ ทส่ี ดุ คอื การเรียนวิชาภาษาอังกฤษ คณติ ศาสตร วทิ ยาศาสตร 3) แบบสอบถาม 1.1 แบบสอบถามนิสยั ทางการเรียนของนักเรียน จากการตอบแบบสอบถามทําใหท ราบวา เด็กหญงิ วีภาวี ทองศรี เรียนหนังสอื ไม เขา ใจ เรียนตามเพือ่ นไมทัน เมื่อมปี ญหาหรือไมเ ขาใจในบทเรียนจะไมถามครหู รอื เพ่ือนใหเขา ใจ ทาํ งานชา ไมคอ ยรบั ผิดชอบทําการบา น 1.2 แบบสอบถามบรรยากาศการเรยี นการสอน จากการตอบแบบสอบถาม ทําใหท ราบวาเดก็ หญงิ วีภาวี ทองศรี มีความคดิ เหน็ ดานครูผูสอนวา ในการสอนครูไมคอยเปดโอกาสใหแสดงความคิดเห็น วิธีการสอนของครู ทําให เดก็ หญงิ วีภาวี ทองศรี เขาใจบทเรยี นนอ ย ครูสว นใหญพ ยายามอธบิ ายและถายทอดความรูใหน ักเรียน รวมทั้งมีขอเสนอแนะทางการเรียนแกนักเรียน ความคดิ เห็นของเด็กหญิงวีภาวี ทองศรี ดานลักษณะ ของหองเรียน ภายในหองเรยี นมีแสงสวางเหมาะสมมากและมอี ากาศถายเทมากที่สุดมีการจัดวางของ ภายในหอ งเรยี นเปนระเบียบ ไมสกปรก เสียงรบกวนจากภายนอกไมคอยมี ดานสือ่ การเรียนการสอน ครูใชสือ่ การสอนที่เหมาะสมและเพียงพอกับนักเรียน มีการทําเอกสารแจกและหนังสือแบบเรียน มี กิจกรรมการเรยี นคอยขางนาสนใจ แตมีหองเรียนมเี ครื่องฉายโปรเจคเตอรแตขาดสื่อเนือ้ หาทีท่ ันสมัย เหมาะสมสาํ หรบั ฝก ภาคปฏิบัตินอ ย

15 4) ระเบียบสะสม จากการศึกษาระเบียบสะสมของเดก็ หญงิ วีภาวี ทองศรี ทําใหทราบวาผลการเรียนของเดก็ หญิง วภี าวี ทองศรี ไดคะแนนตาํ่ มาก ไดแ กวิชาคณิตศาสตร วิทยาศาสตร และภาษาอังกฤษ สว นวิชาที่อยู ในเกณฑที่ตองปรับปรุงคือวิชาภาษาไทย วิชาที่นางสาวเด็กหญิงวีภาวี ทองศรี ทําไดดีคือวิชาดนตรี ดานบุคลิกภาพ เดก็ หญิงวภี าวี ทองศรี มีผลการประเมินบุคลิกภาพที่ควรปรับปรุงและพฒั นาในดาน ตาง ๆ คือ ดานการแบงเวลา ดานการใชเวลาวางใหเปนประโยชน ดานการแสวงหาความรู ดาน ความกลาแสดงออก 3. การวินจิ ฉัย จากการรวบรวมขอมูลดังกลาว วนิ จิ ฉัยไดว าเด็กหญงิ วภี าวี ทองศรี มีผลสมั ฤทธท์ิ างการเรยี น ตํา่ เพราะสาเหตดุ ังน้ี 3.1 สาเหตุจากลักษณะสว นตัวเดก็ หญิงวภี าวี ทองศรี จากการสังเกต การเขียนอัตชีวประวัติและแบบสอบถาม มีผลสอดคลองกันเด็กหญิงวีภาวี ทองศรี เปน คนทไี่ มม ีความกระตอื รือรนดา นการเรยี น มีความตอ งการความสาํ เรจ็ คอ นขางตํ่า ไมคอยมี ความพยายามที่จะทํางานที่ยาก ๆ ใหประสบความสําเร็จ ตองการใหคนอื่นใหกําลังใจตน อาจ เนื่องมาจากสวนหนึ่งมีความสามารถทางดา นการเขียนและการอานคอนขางตํ่า และสวนหนึ่งมีสาเหตุ มาจากการอบรมเลีย้ งดใู นครอบครวั ท่ีเลย้ี งดแู บบปลอ ยปละละเลย ไมส นใจบตุ ร คิดวาบตุ รมีสติปญญา ไมดี จงึ ทําใหเ รยี นหนงั สือไดไมด จี ึงไมไ ดรับการสงเสริมจากบิดามารดาในเรื่องการศึกษา ประกอบกับ เด็กหญิงวีภาวี ทองศรี รูสึกทอแทขาดกําลังใจจากปญหาครอบครัวที่ ทําใหเด็กหญิงวีภาวี ทองศรี เกดิ ความเบ่ือหนา ยในการเรียน ไมมีความพยายามทจี่ ะปรบั ปรุงตนเอง เรื่องการเรียน มีพฤติกรรมไม สนใจการเรียน คอื ไมถามเพือ่ นและครูผูส อน ขาดการเตรียมตัวในการเรียน ไมพยายามทบทวน จงึ ทาํ ใหเกิดปญหาตอเนื่องไปถึงการเรียนไมเ ขาใจในวชิ านั้น ๆ ขาดความสุขในการเรียนแตละวัน และ ชอบทํากิจกรรมทางดา นดนตรี จนขาดการแบงเวลาเรียนใหถูกตอง เปนคนพูดนอยและไมพูดเลยจึงทํา ใหครไู มค อยไดตดิ ตามสาเหตไุ ด

16 บทที่ 5 สรปุ ผล อภปิ ราย และขอ เสนอแนะ ในการศกึ ษาคนควาครงั้ นี้ เพอื่ หาสาเหตทุ ี่ทาํ ใหน กั เรยี นชน้ั มัธยมศกึ ษาปที่ 1/10 โรงเรียน ศขี รภูมพิ สิ ยั ผลการศกึ ษาคนควาสรปุ ไดด งั นี้ ความมงุ หมายของการศึกษา เพื่อศึกษาปญหา สาเหตุทีท่ ําใหน ักเรยี นมผี ลสมั ฤทธ์ทิ างการเรียนต่าํ และแนวทางในการ ดําเนินการชว ยเหลือ การปอ งกัน และการสงเสริมโดยการศกึ ษาเปน รายกรณี ประชากร ประชากรท่ใี ชใ นการศึกษาคน ควาคร้งั น้ี เปน ชน้ั มธั ยมศึกษาปท ่ี 1/10 โรงเรยี นศีขรภูมิพิสยั จังหวัดสรุ นิ ทร ที่มีผลสัมฤทธิ์ทางการเรยี นตา่ํ กลุมตวั อยา ง กลมุ ตวั อยา งท่ีใชใ นการศกึ ษาคนควา คร้งั นี้ คือชนั้ มัธยมศกึ ษาปท ี่ 1/810 โรงเรียนศีขรภูมิ พิสยั ปการศกึ ษา 2562 จาํ นวน 1 คน ซ่งึ ไดม าจากการเลอื กแบบเฉพาะเจาะจง โดยมคี ณุ สมบตั ิ ดังน้ี 1. นกั เรียนท่มี ผี ลสมั ฤทธิ์ทางการเรยี นต่าํ 2. มสี ติปญญาอยใู นเกณฑปกติ 3. มพี ฤตกิ รรมไมกลา แสดงออก เคร่ืองมอื ทใ่ี ชใ นการศกึ ษาคน ควา 1. แบบบันทึกการเย่ียมบาน 2. ระเบียบสะสม วิธดี าํ เนนิ การศกึ ษาคนควา ผูศ กึ ษาไดทําการศึกษากลมุ ตัวอยาง 1 คน เปนรายกรณี โดยใชกระบวนการศกึ ษาบคุ คล เปน รายกรณโี ดยใชก ระบวนการศกึ ษาบุคคลเปนรายกรณี 7 ขั้นตอน ดงั นี้ 1. การกําหนดปญหาและการต้ังสมมติฐาน 2. การรวบรวมขอ มลู และการวิเคราะหขอ มูล 3. การวินจิ ฉัย 4. การชว ยเหลอื การปอ งกนั และการสง เสรมิ 5. การทํานายผล 6. การติดตามผล 7. การสรปุ ผลและขอ เสนอแนะ

17 สรปุ ผลการศกึ ษาคนควา 1. กรณศี กึ ษารายท่ี 1 เด็กหญิงวีภาวี ทองศรี 1.1 ประวัติ เด็กหญิงวภี าวี ทองศรี เปนบุตรสาวของนายปองพล ทองศรี และนางภัทลี เขื่อนเพชร ฐานะ ของครอบครวั มฐี านะปานกลาง บิดาและมารดาประกอบอาชพี คาขาย ผลการเรยี นของเดก็ หญิงวีภาวี ทองศรี อยใู นระดบั คอนขางออน มสี ุขภาพไมแ ขง็ แรง ผิวดาํ แดง อุปนสิ ยั รา เรงิ เงยี บขรมึ บางเวลา มบี คุ ลิกภาพแบบมีความตอ งการความสําเรจ็ นอ ย ขาดความ กระตือรอื รนในการเรยี น และมีพฤติกรรมไมส นใจเรียน และคบเพ่ือนตา งสถานบัน 1.2 ปญ หา จากการศึกษา พบวาเด็กหญิงวีภาวี ทองศรี มีปญหาในเรื่องการเรียน คือขาดความ กระตือรือรนดานการเรียน มีผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนตํ่าสอบตกหลายวิชา มีพื้นความรูทางดาน วิทยาศาสตร ภาษาอังกฤษและคณิตศาสตรไมดี รูสึกขาดแรงจูงใจในการเรียน ขาดการยอมรับจาก เพื่อน มีพฤตกิ รรมในการเรียนท่ไี มถ กู ตอ ง 1.3 การชวยเหลือ ผศู ึกษาไดใหการชว ยเหลอื เด็กหญิงวีภาวี ทองศรี โดยใหคําปรกึ ษาแบบนําทาง และไมน ําทาง เพือ่ ใหเด็กหญงิ วีภาวี ทองศรี พยายามพัฒนาตนเอง เขาใจตนเอง เขา ใจสภาพปญหาของตนเอง ซง่ึ เปนการนําไปสูการยอมรับตนเอง และพยายามพัฒนาตนเองไปสเู ปา หมายทด่ี ขี นึ้ นอกจากนี้ผูศ ึกษาใช เทคนคิ การเพ่มิ แรงจงู ใจในการเรยี นโดยใหข อมูลการศึกษาตอ และอาชพี อกี ทง้ั การแนะนาํ วธิ ีการเรียน ท่ีถกู ตองและการรูจ กั ปรบั ปรุงพฒั นาเองเพอื่ ใหเปน ทีย่ อมรับของเพื่อน ๆ 1.4 สรุปผลและตดิ ตามผล หลงั จากใหค ําปรกึ ษาและคําแนะนําไปแลว ปรากฏวา เด็กหญิงวีภาวี ทองศรี มาโรงเรียน และ ต้งั ใจเรียนมากขึ้น การอภิปรายผล จากการวินจิ ฉัยนักเรียนทัง้ 1 คน ที่มีผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนตํ่า ผลจากการศึกษารายกรณี สรุปไดว า ปญหาผลสมั ฤทธ์ทิ างการเรียนตาํ่ ของนกั เรียน เกิดจากสาเหตดุ งั นี้ 1. สาเหตุจากตวั นักเรยี นเอง คือ 1.1 ลักษณะสวนตวั ไมเหมาะสม จากการศึกษารายกรณีทง้ั 1 ราย พบวา นักเรียนที่มี ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนตํา่ ขาดความสนใจในการเรียน ขาดความกระตือรือรน ไมมีความรับผิดชอบ ขาดความพยายามในการทํางานใหประสบความสําเร็จ ไมรูจกั ใชเ วลา ใหเ กิดประโยชนซงึ่ สอดคลองกับ สุรัตน อังกุรวิโรจน (2532 : 4-6) กลาววาผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนจะสูงหรือตํ่าขึ้นอยูกับความ

18 รับผิดชอบยอ มจะชวยในการทํางานใหประสบความสําเรจ็ แรงจูงใจ ใฝสัมฤทธิ์ เปนองคประกอบที่ ผลกั ดันใหบุคคลตองการควรสําเร็จสูงขึ้น กระตุนใหผูเรียนเกิดการเรียนรูสงเสริมการเรียนใหกาวหนา ขึ้น ความสนใจเปนการแสดงออกซึ่งความชอบพอเปนแรงผลักดนั ใหบุคคลกระทํากิจกรรมใด ๆ เพ่ือ ความสําเรจ็ ในการเรยี น 1.2 พื้นฐานทางการเรียนเดิม จากการศึกษาทั้ง 1 ราย พบวา นักเรียนที่มี ผลสมั ฤทธิ์ทางการเรียนตํ่า มีพื้นฐานทางการเรียนในระดับประถมไมดีเทา ที่ควร ทาํ ใหเปนอุปสรรค สําคัญในการเรียนเพราะเนื้อหาวิชาในการเรียนตอเนื่องกัน คือผูที่จะเรียนในระดับชั้นมัธยมศึกษา ตอนตนศึกษาไดด ี จําเปน ตองความรพู ้ืนฐานดีมาจากชั้นประถมศึกษา ซึง่ ในระดับมัธยมศึกษาตอนตน จะมีเนื้อหาซับซอนมากข้ึน และมีความยากมากขึ้น นักเรียนที่มีความอดทนและมีความพยายามจะ สามารถทําความเขาใจเนือ้ หาไดดี แตถาไมม ีความพยายาม ขาดความสนใจในการเรียนจะทาํ ใหเรียน ไมเขา ใจ และเกดิ ความเบอ่ื หนา ยในท่สี ดุ 1.3 นิสัยในการเรียน พบวานักเรียนที่มีผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนตํ่า ไมสงงานหรือ การบา นที่ครูสั่ง ขาดเรยี นบอย ขณะเรียนเม่ือไมเขาใจบทเรียนไมกลาซักถามครู พูดคุยในเวลาเรียน ทาํ ใหเ รียนไมทนั เพื่อน เลนโทรศพั ทมือถือ ไมทบทวนบทเรยี นเมอ่ื เรียนเสร็จในแตละวนั ไมมีการเตรียม ตัวอานหนงั สือลวงหนา กอนเรยี น ไมมสี มาธใิ นการเรยี น 1.4 การมีทัศนคติที่ไมดีตอการศึกษา พบวานักเรียนที่มีผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนตํ่า ไมช อบวิชาที่ใหการบานมาก เมือ่ ครถู ามแลวตอบไมไ ดทําใหไ มอยากเรียน วิชาทีเ่ รียนไมเขาใจและมี การบา นมากไมไดจะไมอยากเรียน 2. สาเหตจุ ากลกั ษณะครอบครัวของนักเรียน 2.1 บิดามารดาไมมเี วลา เปนปจจัยสําคัญตอผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนของนักเรียน เพราะบิดามารดาที่มีความพรอมยอมเปนที่ปรึกษาใหความรู และความอบอุนแกนักเรียนไดดี จาก การศกึ ษากลุมตัวอยางพบวา นักเรียนที่มีผลสมั ฤทธิท์ างการเรียนตํ่า เนื่องจากบิดามารดาไมมีเวลาใน การดูแลเอาใจใสในการทําการบา น และการหาความรขู องเดก็ 2.2 ไดรับการอบรมเลีย้ งดูแบบตามใจของบิดามารดา สงผลตอปญ หาดานระเบียบ วินัย ในการเรยี นของนักเรยี น 3. สาเหตุจากการจัดการศกึ ษาของโรงเรยี น คือ ขนาดของหองเรียนไมเหมาะสม จํานวนนักเรียนในแตห องมมี ากเกินไปทําใหบรรยากาศในชั้นเรียนไม นาเรียนครูดแู ลไมทั่วถึง การจัดการศึกษาของโรงเรียนเปน ปจจัยสําคัญประการหนึ่ง ที่มีผลสัมฤทธ์ิ ทางการเรียนของนักเรียน ซึ่งสอดคลองกับ สํานักงานคณะกรรมการแหงชาติ (2530:37 - 39) กลาวถึงองคประกอบที่มีอิทธิพล ตอ ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนของนกั เรยี นในดานโรงเรียนวา โรงเรยี น และการจัดการศึกษาในโรงเรียนมีความสําคัญมากตอสภาพการเรียนการสอน อันมีผลถึงผลสัมฤทธิ์ ทางการเรียน ต่ํากวาระดับความสามารถของนักเรียน เพราะนักเรียนจะมีความสุขตอการเรียนการ

19 สอนหรือไมขึ้นอยูกับ การจดั สิ่งแวดลอ มภายในโรงเรียน การจัดอาคารทีโ่ รงเรียน อัตราเฉลี่ยของครู กบั นกั เรียน และความสมั พันธระหวางครกู ับนักเรียน จากการศกึ ษารายกรณีทัง้ 1 ราย นักเรยี นท่ีเปนกลุม ตัวอยางมีพฤตกิ รรมในการเรียนดีขึ้น มี ทศั นคติตอการศึกษา มีความสนใจเรียนมากขน้ึ และมแี นวคดิ ในการปรับเปลีย่ นตนเองไปในทางที่ดขี ึน้ และจากผลการสอบนักเรียนที่เปนกลุมตัวอยางมีผลสมั ฤทธ์ิทางการเรียนสูงขน้ึ 1. ขอเสนอแนะสําหรบั นักเรียนที่เปน กลุมตัวอยาง ดังน้ี 1.1 ควรปรกึ ษาครเู มอ่ื ไมเ ขา ใจในบทเรยี น 1.2 ควรทบทวนบทเรยี นหลังเรยี นเสรจ็ ในแตวัน 1.3 ควรอานหนงั สือลว งหนา กอนเรยี น 1.4 ควรพยายามทาํ การบา นและงานใหเสรจ็ ทันเวลาทค่ี รกู ําหนด 1.5 ควรจัดทําตารางเรียนใหเ หมาะสมกับตนเองและปฏิบัติตามตารางทีจ่ ดั ไว 2. ขอ เสนอแนะสาํ หรับผูท ่เี ก่ียวขอ งกบั กลุมตัวอยาง มดี ังนี้ 2.1 บิดามารดาหรือผปู กครองของนักเรยี นที่เปน กลมุ ตวั อยาง ควรดูแลพฤตกิ รรม การเรียนควรถามนกั เรยี นเกยี่ วกบั การเรยี น ควรดูแลการทาํ การบานและการสงงานทคี่ รูสั่ง 2.2 ครแู นะแนว ครปู ระจาํ ชน้ั และครูประจาํ วชิ า ครูที่เกย่ี วของควรจัดการสอน เสริมใหนักเรียนที่มีผลสมั ฤทธ์ิทางการเรยี นตา่ํ ควรจดั กลมุ เพอื่ ชว ยเพอ่ื น ควรจดั โครงการพัฒนา นักเรยี นทเ่ี รยี นออน 3. ขอเสนอแนะสําหรบั การศึกษาคนควา ครั้งตอไป 3.1 ควรศึกษารายกรณใี นพฤตกิ รรมที่เปน ปญหาอืน่ ๆ เชน พฤตกิ รรมเบย่ี งเบนทางเพศ พฤติกรรมกา วรา ว พฤตกิ รรมกอกวนในช้นั เรยี น การปรบั ตวั กบั เพ่อื น พฤตกิ รรมไมก ลาแสดงออก เปนตน 3.2 การศกึ ษารายกรณีควรใชเวลาในการศกึ ษามากกวา 6 เดือน และศกึ ษาอยา งตอเนือ่ งจะ ทาํ ใหท ราบผลของการพัฒนาพฤติกรรมและสาเหตุของปญ หาชดั เจนย่ิง

20


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook